Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปวริศร์ เลขที่9

ปวริศร์ เลขที่9

Published by Raiwa Gamer, 2020-09-20 11:08:40

Description: ปวริศร์ เลขที่9

Search

Read the Text Version

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส จดั ทาโดย นาย ปวริศร์ หาญศริ ิสวสั ด์ิ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 5/2 เลขที่ 9 เสนอ คณุ ครู กาญจนา แก้วคง โรงเรียนโพธิสมั พนั ธ์พิทยาคาร ปี การศกึ ษา 2563/1

คานา รายงานเลม่ นีจ้ ดั ทาขนึ ้ เพื่อเป็นสว่ นหนง่ึ ของวิชาเคมีชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 5 โดยมีจดุ ประสงค์เพ่ือการศกึ ษาผา่ นหนงั สือ เคมี เรื่องแนวคิดเกี่ยวกบั ทฤษฎีจลน์ของแก๊สเพื่อเป็น ประโยชน์ตอ่ การเรียน ทางผ้จู ดั ทาหวงั วา่ เร่ืองทฤษฎีจลน์ของแก๊ส จะเป็น ประโยชน์แก่ผ้อู า่ นท่ีกาลงั ศกึ ษาข้อมลู เรื่องนีอ้ ยหู่ ากมี ข้อผิดพลาดประการใดขออภยั มา ณ ท่ีนีด้ ้วยครับ ผู้จัดทา นาย ปวริศร์ หาญศิริสวสั ด์ิ

สารบญั หน้า แบบทดสอบก่อนเรียน 1-3 ความหมายทฤษฎจี ลน์ของแก๊ส 4 อตั ราเร็วโมเลกลุ แก๊ส 5-6 พลงั งานจลน์โมเลกลุ แก๊ส 7 พลงั งานภายในระบบ 8 ตวั อย่าง 9-12 แบบทดสอบหลงั เรียน 13-16

แบบทดสอบก่อนเรียน 1 1.เตมิ นา้ เย็น 14 °C ปริมาณ 200 g ลงไปในแก้ว แล้วใช้เปลวไฟจากตะเกียง ลนก้นแก้วจนกระทง่ั นา้ มีอณุ หภมู ิเพิ่มขนึ ้ เป็น 19 °C พลงั งานความร้อนท่ีเปลว ไฟจากตะเกียงถ่ายเทให้มีค่าก่ีกิโลจลู (กาหนดให้ ความจคุ วามร้อนจาเพาะ ของนา้ เท่ากบั 4.2 kJ/kg K) ก. 2.1 ข. 4.2 ค. 6.3 ง. 8.4 2. กาต้มนา้ ไฟฟ้ าให้ความร้อนขนาด 700 W นา้ รับพลงั งานความร้อน 80% นานก่ีนาที จงึ ต้มนา้ 500 g ที่ 4 °C มีอณุ หภมู ิเป็น 100 °C (กาหนดให้ ความจคุ วามร้อนจาเพาะของนา้ เท่ากบั 4.2 kJ/kg K) ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6 3. วตั ถชุ ิน้ หนงึ่ มีมวล 500 g เมื่อให้ความร้อนกบั วตั ถนุ ีด้ ้วยอตั ราคงที่ 1 kJ/s เป็นเวลา 4 นาที พบวา่ อณุ หภมู ิของวตั ถเุ ปลี่ยนไป 96 °C จงหาความ จคุ วามร้อนจาเพาะของวตั ถนุ ีเ้ป็นก่ีกิโลจลู ต่อกิโลกรัม เคลวนิ ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5

4. ผลกั ก้อนเหลก็ มวล 6 kg เคลอ่ื นท่ีด้วยความเร็วคงท่ีไปบนพืน้ ฝื ดได้ 2 ระยะทาง 60 m พบวา่ ก้อนเหลก็ มีอณุ หภมู ิเปลยี่ นไป 0.60 °C ถ้าความร้อน เปลยี่ นมาจากแรงเสยี ดทานทงั้ หมด สมั ประสทิ ธ์ิความเสยี ดทานของพืน้ กบั ก้อนเหลก็ มีค่าเทา่ ใด (กาหนดให้ ความจคุ วามร้อนจาเพาะของเหลก็ เท่ากบั 0.50 kJ/kg K) ก. 0.4 ข. 0.5 ค. 0.6 ง. 0.7 5. ก้อนหินนา้ แข็งมวล 3 kg มีอณุ หภมู ิ 0 °C ตกลงไปในทะเลสาบ ท่ีมี อณุ หภมู ิ 0 °C เช่นเดียวกนั ปรากฏวา่ นา้ แขง็ ละลายไป 0.20 kg นา้ แข็งตก ลงมาจากระดบั ความสงู ก่ีเมตร (กาหนดให้ ความร้อนแฝงจาเพาะของการ หลอมเหลวของนา้ แข็งเทา่ กบั 300 kJ/kg) ก. 100 ข. 150 ค. 200 ง. 250 6. ลกู กระสนุ ปืนยิ่งทะลผุ ่านก้อนนา้ แขง็ ในเวลา 0.6 s พบวา่ มีนา้ แขง็ 0.1 kg เปล่ยี นสถานะเป็นนา้ 0 °C ถ้าการละลายของนา้ แข็งเกิดจากการ สญู เสียพลงั งานของลกู ปืนเพียงอย่างเดียว อยากทราบวา่ ลกู ปืนสญู เสีย พลงั งานให้นา้ แข็งก่ีกิโลจลู ตอ่ วินาที (กานหนดให้ ความร้อนแฝงจาเพาะของ การหลอมเหลวเท่ากบั 333 kJ/kg) ก. 33.3 ข. 44.4 ค. 55.5 ง. 66.6

7. ปริมาณความร้อนทงั้ หมดก่ีกิโลจลู ที่ทาให้มวลนา้ แขง็ 500 g อณุ หภมู ิ 3 0 °C กลายเป็นนา้ หมด และสดุ ท้ายนา้ 50 g เดือดกลายเป็นไอ (กานหนดให้ ความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวเทา่ กบั 300 kJ/kg ,ความจคุ วาม ร้อนจาเพาะของนา้ เทา่ กบั 4.2 kJ/kg K ,ความร้อนแฝงของการกลายเป็น ไอเท่ากบั 2,265 kJ/kg) ก.472.8 ข.210.0 ค.150.0 ง.112.8 8. ปริมาณความร้อนในวตั ถหุ นง่ึ คืออะไร ก. ระดบั ความร้อนในวตั ถนุ นั้ ข. ค่าเฉลี่ยของพลงั งานจลน์ของแตล่ ะโมเลกลุ ของวตั ถุ นนั ้ ค. ผลบวกของพลงั งานจลน์ของโมเลกลุ ทกุ โมเลกลุ ของวตั ถนุ นั้ ง. พลงั งานกลที่เปลีย่ นเป็นพลงั งานความร้อนภายในวตั ถนุ นั้ 9. ในการใช้ปรอทบรรจใุ นเทอร์มอมิเตอร์ มีคณุ สมบตั ไิ ม่ดอี ย่างไร ก. ทาให้บริสทุ ธ์ิได้ยาก ข. วดั อณุ หภมู ิสงู กวา่ ปกตธิ รรมดาได้ไมด่ ี ค. วดั อณุ หภมู ิตา่ กวา่ ปกติธรรมดาได้ไม่ดี ง. มองเห็นได้ยาก 10. จงหาจานวนโมลของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ จานวน 6.622×1024 โมเลกลุ ก. 11 โมล ข. 9 โมล เฉลย 9. ง. ค. 7 โมล ง. 5 โมล 1. ข. 5. ค. 10. ก. 2. ง. 6. ค. 3. ง. 7. ก. 4. ข. 8. ค.

4 ทฤษฎจี ลน์ของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊สเป็นทฤษฎีเพ่ือใช้อธิบายพฤตกิ รรมของแก๊สโดย การใช้แบบจาลองหรือทฤษฎีในระดบั จลุ ภาค (microscopic model) คือพิจารณาคณุ สมบตั ิของโมเลกลุ ของแก๊สเพียงหนงึ่ หรือสองโมเลกลุ เพื่อเป็นตวั แทนของโมเลกลุ ล้านๆโมเลกลุ ใน ระดบั มหภาค (macroscopic model) (สมบตั มิ หภาคคือ สมบตั ิท่ีแก๊สแสดงให้เราเหน็ วา่ แก๊สมีปริมาตร มีความดนั มีความ หนืด มีการไหล การนาพาความร้อน เป็นต้น ซง่ึ เป็นสมบตั ิที่โมเลกลุ ของแก๊สเป็นล้านๆ โมเลกลุ รวมกนั เหลา่ นนั้ แสดงออกมา) เมื่อเรา พจิ ารณาโมเลกลุ แก๊สจานวนน้อยๆ เป็นตวั แทนของกลมุ่ ประชากร ทงั้ หมด จงึ หลกี เล่ยี งไม่ได้ที่จะต้องมีศาสตร์ทางคณิตศาสตร์และ สถิตเิ ข้ามาเกี่ยวข้อง เชน่ จาเป็นต้องมีค่าเฉลย่ี มีความน่าจะเป็น เป็นต้น เพราะวา่ ข้อมลู ที่ได้มานนั้ เป็นข้อมลู ของกลมุ่ ตวั อย่างแก๊ส ไมใ่ ช่ประชากรทงั้ หมด ทฤษฎีจลน์โมเลกลุ ของแก๊ส มีพืน้ ฐานสาคญั อย่ทู ่ีหลกั ท่ีวา่ อนภุ าคของแก๊สมีการเคลอื่ นที่อยตู่ ลอดเวลา เม่ือแก๊สมีการเคลือ่ นที่ ก็ยอ่ มมีพลงั งานอยใู่ นโมเลกลุ การเคลื่อนท่ีของโมเลกลุ แก๊สดงั กลา่ ว นีเ้ป็นพลงั งานรูปหนง่ึ ซงึ่ เราอาจให้นิยามวา่ เป็นความสามารถในการ ทางานหรือในการทาให้เกิดการเปลย่ี นแปลง พลงั งานมีหลายชนิด พลงั งานท่ีเกี่ยวข้องกบั การเคลื่อนท่ีของวตั ถตุ า่ งๆ เรียกวา่ พลังงาน จลน์ (kinetic energy) หรืออาจกลา่ วได้ว่า พลงั งานจลน์ คอื พลงั งานของการเคลื่อนที่ ดงั นนั้ เม่ือแก๊สมีการเคลือ่ นที่ตลอดเวลาก็ ยอ่ มมีพลงั งานจลน์อยใู่ นตวั ด้วย

อัตราเร็วโมเลกุลแก๊ส 5 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส เป็นทฤษฎีท่ีศกึ ษาการเคลื่อนที่ของโมเลกลุ ของแก๊ส ใน การศกึ ษาถึง ความเร็ว โมเมนตมั ของโมเลกลุ ภายใต้แบบจาลองของแก๊ส ที่สร้างขนึ ้ มาเพื่อความสะดวกและทาความเข้าใจไดงา่ ยในการศกึ ษา จาก สมมตุ ิฐานท่ีว่า ไมม่ ีแรงกระทาระหวา่ งโมเลกลุ ของแก๊ส ยกเว้นเม่ือเกิดการชนกนั เท่านนั้ จงึ ไมม่ ีพลงั งานศกั ย์ จะมีแตพ่ ลงั งานจลน์เทา่ นนั้ โมเลกลุ เป็นทรงกลม มีขนาดเลก็ มาก และเทา่ กนั ทกุ โมเลกลุ ทาให้โมเลกลุ สามารถอยไู่ ด้ทกุ แหง่ ในภาชนะ ไมว่ า่ โมเลกลุ ของแก๊สจะชนกนั เองหรือชนกบั ผนงั ภาชนะท่ีบรรจุ ถือวา่ เป็น การชนแบบยืดหยนุ่ สมบรู ณ์ คือไมม่ ีการสญู เสียพลงั งานจลน์หลงั การ ชน ทาให้โมเลกลุ ของแก๊สมีอตั ราเร็วคงตวั ความดันและพลังงานจลน์เฉล่ยี ของโมเลกุลของแก๊ส หลายคนอาจจะสงสยั มาโดยตลอดวา่ ทาไมแก๊สถงึ มีปริมาตร ทาไม แก๊สถึงอย่ใู นภาชนะได้ทวั่ ทงั้ ภาชนะ ทาไมอนภุ าคแก๊สไมต่ กลงไปรวมกนั อย่ทู ่ีก้นของ ภาชนะ ในเม่ือแก๊สก็มีมวลเช่นเดยี วกบั ของแข็ง ของเหลว ก็น่าจะถกู แรง โน้มถ่วงของโลกดงึ ลงเหมือนกนั การตอบคาถามเหลา่ นี ้จงึ ทาให้มีการ ทดลองและ ศกึ ษาและรวบรวมข้อมลู มาเขียนเป็นเรื่องราวเพื่อใช้อธิบายพฤตกิ รรม เหลา่ นี ้ในศตวรรษท่ี 19 นกั ฟิสกิ ส์หลายคน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ลดุ วกิ เอดู อาล โบลต์ซมานน์

ทฤษฎีจลน์โมเลกลุ ของแก๊สมีเนือ้ หาสรุปบนสมมติฐานตา่ งๆ ได้ดงั นี ้ 6 -แก๊สประกอบด้วยอนภุ าคท่ีเลก็ มาก อนภุ าคคอื โมเลกลุ แต่ละโมเลกลุ ของ แก๊สอยไู่ กลกนั มากเมื่อเทียบกบั ขนาดของโมเลกลุ จนถือวา่ โมเลกลุ เป็นจดุ ทรงกลม แขง็ เลก็ ๆ - โมเลกลุ ของแก๊สมีการเคลื่อนท่ตี ลอดเวลา การเคล่ือนทีข่ องโมเลกลุ เป็น แบบสมุ่ และเกิดการชนกนั ระหวา่ งโมเลกลุ แก๊สบอ่ ยครัง้ มากตวั อยา่ ง สมมตฐิ าน ในข้อนีแ้ สดงในรูปด้านลา่ งซงึ่ เป็นรูปที่แสดง ภาชนะสีเ่ หล่ยี ม บรรจุ แก๊ส 2 ชนิด คอื แก๊สชนิดสีนา้ เงินหลายโมเลกลุ กบั แก๊สชนิดสีแดงหนงึ่ โมเลกลุ แก๊สทกุ โมเลกลุ มีการเคล่อื นที่ตลอดเวลา

พลังงานจลน์โมเลกลุ แก๊ส 7 - ไมม่ ีแรงกระทาระหวา่ งโมเลกลุ ยกเว้นเม่ือเกิดการกระทบกนั และเม่ือ โมเลกลุ เข้าชนกนั จะชนแบบยืดหยนุ่ (elastic collision) การชนแบบ ยืดหยนุ่ คือ ผลรวมของพลงั งานจลน์ก่อนการชนจะมีค่าเทา่ กบั ผลรวมของพลงั งานจลน์ หลงั การชน นนั่ คือมีการอนรุ ักษ์พลงั งานจลน์ไว้ ตวั อยา่ งการชนแบบยืดหยนุ่ แสดงในรูปด้านลา่ ง แม้จะมีการถ่ายเทพลงั งานให้กนั แตส่ ดุ ท้ายเม่ือคดิ พลงั งานจลน์รวมของโมเลกลุ ทงั้ สองแล้วพลงั งานจลน์รวมก่อนการชนและ หลงั การชน จะไมเ่ ปลย่ี นแปลงหมายความวา่ ถ้าโมเลกลุ หนงึ่ ให้พลงั งาน อีกโมเลกลุ หนงึ่ ก็ต้องรับพลงั งานด้วยปริมาณที่ให้และรับเทา่ ๆ กนั หรือถ้ามีหลายๆ โมเลกลุ เมื่อโมเลกลุ เกิดการชนกนั พลงั งานจะถ่ายเทไปมาระหวา่ งโมเลกลุ ผลรวม ของพลงั งานจลน์ทงั้ หมดจะเท่าเดิมตลอดเม่ือเวลาผา่ นไป - พลงั งานอย่างเดยี วท่ีแก๊สมีคอื พลงั งานของการเคลอื่ นที่ไปมาของแก๊สนน่ั คอื พลงั งานจลน์ ในความเป็นจริงแล้วแบบจาลองทก่ี ลา่ วมาทงั้ 4 ข้อ ดงั กลา่ ว ไม่ถกู ต้องนกั เพราะ โมเลกลุ ไมเ่ ป็นรูปร่างทรงกลมแขง็ โมเลกลุ ยงั มีพลงั งานนอกเหนือจาก พลงั งานจลน์อีก นน่ั คอื โมเลกลุ แก๊สมีพลงั งานภายในอยดู่ ้วย ซง่ึ ต้องใช้วชิ า กลศาสตร์

พลังงานภายในระบบ 8 พลงั งานภายในของระบบ ทฤษฎีพลงั งานความร้อน(MS word ) ระบบ ประกอบด้วยสง่ิ ตา่ งๆ ที่อยใู่ นขอบเขตท่ีต้องการศกึ ษา เชน่ ระบบโมเลกลุ ของแก๊สจะ ประกอบด้วยโมเลกลุ ของแก๊สทกุ ตวั ในภาชนะ พลงั งานภายในของระบบคือ พลงั งานทงั้ หมดของโมเลกลุ ของแก๊สในระบบ สาหรับแก๊สอดุ มคตไิ ม่มีแรง ใดๆ กระทาตอ่ โมเลกลุ ของแก๊ส ดงั นนั้ พลงั งานทงั้ หมดของ โมเลกลุ จึงเป็นพลงั งานจลน์แต่ เพียงอย่างเดียว ด้วยเหตนุ ีผ้ ลรวมของพลงั งานจลน์ทงั้ หมดของโมเลกลุ ก็ คือ พลงั งานภายในของแก๊ส ดงั นนั้ เทอร์โมไดนามิกส์หรืออณุ หพลศาสตร์ (Thermo Dynamics) คือการศกึ ษาที่เก่ียวกบั การถ่ายโอนพลงั งานความร้อนและ งานท่ีระบบกระทาหรือถกู กระทาโดย สง่ิ แวดล้อม กฎข้อท่ีศนู ย์ของเทอร์โมไดนามิกส์ ถ้าวตั ถุ A และวตั ถุ B อยใู่ นสมดลุ ทาง ความร้อน และวตั ถุ A กบั วตั ถุ C อยใู่ นสมดลุ ทาง ความร้อนแล้ว วตั ถุ B กบั วตั ถุ C ก็จะอยใู่ นสภาวะสมดลุ ทางความร้อนด้วย กลา่ วคือ มีอณุ หภมู ิเท่ากนั กฎข้อที่หนง่ึ ของเทอร์โม ไดนามิกส์ (กฎอนรุ ักษ์พลงั งาน) ความร้อนที่ระบบได้รับเทา่ กบั พลงั งาน ภายในของระบบที่เพิ่มขนึ ้ บวกกบั งานท่ี ระบบได้รับจาก สงิ่ แวดล้อม เทอร์โมไดนามิกส์หรืออณุ หพลศาสตร์ (Thermo Dynamics )

ตวั อย่าง 9

10

11

12

แบบทดสอบหลังเรียน 13 1.จงพจิ ารณาข้อความตอ่ ไปนี ้ 1) ขณะความร้อนทาให้สารเปลี่ยนอณุ หภมู ิ จะไมเ่ กิดการเปลี่ยนสถานะ 2) การเปล่ยี นสถานะของสารจากของเหลวกลายเป็นไอ ขณะที่ยงั ไมถ่ ึงจดุ เดอื ดเรียกวา่ การระเหย 3) การเปล่ยี นสถานะของสารจากของแข็งกลายเป็นไอ ขณะท่ียงั ไมถ่ ึงจดุ เดือดเรียกว่า การระเหิด ข้อความใดถกู ต้อง ก. ข้อ 1 , 2 และ 3 ข. ข้อ 1 และ 3 ค. ข้อ 1 แล2 ง. ข้อ 2 และ 3 2.จงพิจารณาข้อความตอ่ ไปนี ้ 1) C คือ ความจคุ วามร้อนของสาร 2) c คอื ความจคุ วามร้อนของสาร 3) ความจคุ วามร้อนของสาร มีหน่วยเป็น จลู ตอ่ เคลวนิ (J/K) ข้อความใดถกู ต้อง ก. ข้อ 1 , 2 และ 3 ข. ข้อ 1 และ 3 ค. ข้อ 1 และ 2 ง. ข้อ 2 และ 3

3.จากความสมั พนั ธ์ระหว่างอณุ หภมู ิต่างๆ ดงั นี ้ C/100 = F- 14 32/180 = R/80 = K- 273/100 เมื่อ C คอื เซลเซยี ส ,F คอื ฟาเรนไฮต์ ,R คือ โรเมอร์ และ K คือ เคลวิน ถ้า นา้ อณุ หภมู ิ 290 เคลวนิ จะเป็นก่ีองศาฟาเรนไฮต์ ก. 37.0 ข. 49.0 ค. 52.4 ง. 62.6 4.ในการสบู อากาศปริมาณหนงึ่ เข้ายางรถยนต์ ทาให้อากาศภายในมีความ ดนั 1.5×105 N/m2 ท่ีอณุ หภมู ิ 27 °C เม่ือรถเคลื่อนทด่ี ้วยความเร็วสงู อณุ หภมู ิร้อนขนึ ้ อณุ หภมู ิของอากาศในยางรถยนต์เพิ่มขนึ ้ เป็น 127 °C ถ้า ปริมาตรอากาศในยางรถยนต์เปลย่ี นแปลงน้อยมากจนถือได้วา่ คงตวั ความ ดนั ของอากาศในยางรถยนต์จะมีค่าเพ่ิมขนึ ้ เป็นเทา่ ใด ก. 1.125×105 N/m2 ข. 2×105 N/m2 ค. 4.5×105 N/m2 ง. 6.00×105 N/m2 5.มีอากาศในกระบอกสบู หนงึ่ มีปริมาตรเทา่ กบั V ความดนั 2.7×105 N/m2 เม่ือดงึ กระบอกสบู ทาให้อากาศในกระบอกสบู มีปริมาตร เป็น 1 ของปริมาตรเดมิ อยากทราบขณะนนั้ ความดนั อากาศในกระบอกสบู จะเป็นเท่าใด เมื่ออณุ หภมู ิของอากาศในกระบอกสบู คงท่ี ก. 1.35×105 N/m2 ข.1.75×105 N/m2 ค. 2.25×105 N/m2 ง. 2.55×105 N/m2

6.กระบอกสบู อนั หนงึ่ มีพืน้ ที่หน้าตดั 100 cm2 บรรจอุ ากาศไว้ภายในที่ 15 ความดนั บรรยากาศ Pa และมีปริมาตร V ถ้าเรานามวล 300 kg มากด ลกู สบู ไว้ ปริมาตรภายในกระบอกสบู จะลดลงจากเดมิ เท่าใด (ให้ g = 10 m/s2 และ Pa = 1×105 N/m2 ) ก. 0.25 V ข. 0.45 V ค. 0.75 V ง. 0.95 V 7.ถงั แก๊สชนิดหนง่ึ ถกู ทามาเป็นพิเศษสามารถควบคมุ ความดนั ของถงั ให้ คงที่ โดยการขยายตวั ของถงั เม่ืออณุ หภมู ิเปลย่ี นไป ถ้าอณุ หภมู ิของแก๊สใน ถงั ถกู ทาให้เพิ่มขนึ ้ จาก 27 °C เป็น 77 °C ปริมาตรของแก๊สในถงั จะ เปลย่ี นไปจนเป็นอตั ราสว่ นเท่าใดของปริมาตรเดมิ ก.6/5 ข.7/6 ค.8/7 ง. 9/7 8. ฟองอากาศมีปริมาตร 7×10-6 m3 อย่ใู ต้สระนา้ ลกึ 20 m ได้ลอยขนึ ้ มา ณ ผิวนา้ ถ้าอณุ หภมู ิใต้สระเป็น 7 °C และบริเวณผิวนา้ เป็น 27 °C ความ ดนั อากาศเหนือผิวนา้ เป็น 105 N/m2 ปริมาตรของฟองอากาศก่อนจะโผล่ พ้นนา้ มีค่าประมาณกี่ลกู บาศก์เมตร (กาหนดให้ ความหนาแน่นของนา้ เท่ากบั 103 kg/m3) ก. 3.21×10-6 m3 ข. 2.25×10-6 m3 ค. 3.21×10-5 m3 ง. 2.25×10-5 m3

9.แก๊สออกซเิ จนหนกั 72 g บรรจอุ ย่ใู นกระบอกซงึ่ มีลกู สบู อย่ขู ้างใน ทา 16 ให้เกิดความดนั 3×105 N/m2 และอณุ หภมู ิ 87 °C ปริมาตรของแก๊ส ออกซิเจนในขณะนีจ้ ะมีค่าประมาณก่ีลกู บาศก์ (กาหนดให้ R = 8.3 J/mol K) ก.0.019 ข.0.020 ค.0.021 ง.0.022 10.อากาศในห้องหนงึ่ มีอณุ หภมู ิ 27 °C มีความดนั 8×105 N/m2 จา คานวณหาจานวนโมเลกลุ ของอากาศในปริมาตร 1 cm3 (กาหนดให้ kB = 1.38×10-23 J/K) ก. 2×1020 โมเลกลุ ข. 3×1020 โมเลกลุ ค. 4×1020 โมเลกลุ ง. 5×1020 โมเลกลุ เฉลย 1. ก. 5. ค. 9. ง. 2. ง. 6. ค. 10. ก. 3. ง. 7. ข. 4. ข. 8. ง.

ท่มี า : https://sites.google.com/site/thanichaseesai/thvst i-cln-khxng-kaes ถงึ งานจะไม่สวย แต่ทาด้วยความตัง้ ใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook