Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore #พร้อมพิมพ์ ศาสตร์พระราชา

#พร้อมพิมพ์ ศาสตร์พระราชา

Published by บุษยมาศ นาเจริญ, 2022-05-30 03:37:41

Description: #พร้อมพิมพ์ ศาสตร์พระราชา

Search

Read the Text Version

- การใชช้ วี ิตอยา่ งพอเพียงเพอื่ การมสี ขุ ภาพท่ีดี หมายถงึ การใช้ชีวิตความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย ไม่ประมาทอยู่แบบพอมี พอกิน ค�ำนงึ ถึงความปลอดภยั และดแู ลรักษาสขุ ภาพโดยการการ ปลูกพืชผักสวนครัวไว้รับประทาน การเตรียมอาหารให้เพียงพอ รับประทานไม่มากหรือน้อยไป รับประทานอาหารท่ีหลากหลาย และรับประทานอาหารให้หมด ไม่เหลือท้ิง ไม่ซ้ือของแพงและ เป็นของทไ่ี มเ่ ปน็ ประโยชนม์ ารบั ประทานหรอื ใช้ภายในบา้ น การมีสุขภาพดีพอเพียง เป็นการน�ำแนวคิด และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ โดยความหมายของการมสี ขุ ภาพดพี อเพยี ง คอื แนวทาง ปฏบิ ัติใหอ้ ยู่ในทางสายกลาง ใช้ชวี ิตอยา่ งไม่ประมาท มีระเบียบวินัยในการใช้ชีวิตหม่ันดูแลตนเองให้มี สุขภาพดีทั้งกายและจิตใจ ประเมินความสามารถ ในการดูแลตนเองและเลือกวิธีให้เหมาะสมกับภาวะ สุขภาพ ใชช้ วี ิตความเปน็ อยูอ่ ยา่ งเรียบง่าย ไม่ฟงุ้ เฟอ้ นอกจากปอ้ งกนั ตนเองจากโรคภัยตา่ ง ๆ แลว้ ยงั สรา้ ง ภูมิคุ้มกันให้กับตนเองด้วยการหลีกเล่ียงกิจกรรมหรือ ส่งิ ทเ่ี ปน็ อันตรายต่อสุขภาพ ปลูกพืชผักปลอดสาร พิษไว้กนิ เองเท่าที่พอท�ำได้ (ณรัชช์อร ศรที อง.๒๕๕๖) ๕๐

จากการวิเคราะห์ผู้เรียบเรยี ง พจิ ารณาเหน็ วา่ กรอบแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีประกอบด้วย ๓ หว่ ง ไดแ้ ก่ ความมีเหตุผล ความพอ ประมาณ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี และ ๒ เงื่อนไข ได้แก่ ความรู้ และ คุณธรรม โดย ใน ๓ ห่วงนั้น หากบุคคล ได้ปฏิบัติตนโดยการดูแลสุขภาพอย่างมีเหตุมีผล มี ความพอประมาณ และมีภูมิคุ้มกัน อยู่ภายใต้พ้ืนฐาน ๒ เง่ือนไข คอื ตอ้ งมีความรอบรู้ รอบคอบ มสี ตปิ ญั ญา ใช้ความรอบรู้ความรอบคอบในการดูแลสุขภาพของ ตนเอง ด้วยความมีวินัยขยัน อดทน สามารถน�ำไป สกู่ ารมสี ขุ ภาพทดี่ ีได้ ๕๑

๒.วิธกี ารทำ� ให้สขุ ภาพดพี อเพยี ง การเปลยี่ นแปลงในหลาย ๆ ด้าน ทัง้ ดา้ นการเมอื ง สงั คม และเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและวัฒนธรรมรวมทั้ง ภาวะสุขภาพของคนไทย การน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยกุ ตใ์ ชห้ รอื ใชเ้ ปน็ แนวทางปฏบิ ตั เิ พอ่ื ชว่ ยสรา้ งเสรมิ พฤตกิ รรม การดูแลสุขภาพที่ดี น�ำไปสู่วิถีทางการด�ำเนินชีวิตส่วนตัวและ ชวี ติ การทำ� งานอยา่ งมคี ณุ ภาพมคี วามสขุ และคงสภาพความสมบรู ณ์ แขง็ แรงของร่างกายและจติ ใจ ก่อใหเ้ กดิ ความสมดุล มัน่ คง และ ยงั่ ยนื อนั นำ� ไปสกู่ ารใชช้ วี ติ อยา่ งมคี ณุ ภาพ สำ� หรบั วธิ ที ำ� ใหส้ ขุ ภาพดี พอเพียงมแี นวทางปฏบิ ัติ ดงั นี้ - การูแลสขุ ภาพดีพอเพียงตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการออกกำ� ลงั กาย เปน็ การผอ่ นคลายสายกลาง ไดแ้ ก่ กจิ กรรมการออกกำ� ลงั กายเปน็ หมคู่ ณะทช่ี ว่ ยผอ่ นคลายความเครยี ด ค�ำนึงถึงความพอประมาณในเรื่องความเหมาะสมของช่วงเวลา สถานท่ี ความพอดีของเวลาที่ออกก�ำลังกาย การพอประมาณ เร่ืองของอุปกรณ์ที่ใช้ออกก�ำลังกายต้องให้เหมาะสมกับวัย และสภาพรา่ งกาย - การดแู ลสขุ ภาพดพี อเพยี งตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านอาหาร ได้แก่ การดูแลตัวเองด้านอาหารที่มีคุณค่า ตามหลกั โภชนาการ อาหารหลัก ๕ หมู่ การรู้จักใช้จ่ายซือ้ อาหาร อย่างประหยัด การรู้จักใชท้ รัพยากรอย่างรคู้ ุณคา่ ๕๒

- การดแู ลสขุ ภาพดพี อเพยี งตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการพกั ผอ่ นทพี่ อเพยี งตามความสามารถทพ่ี งึ ปฏบิ ตั ไิ ด้ และสง่ ผลตอ่ สขุ ภาพจติ มคี วามหลากหลาย ตอบสนองความตอ้ งการ หรอื ความสนใจของตนเอง ใหค้ วามสำ� คญั กบั หลกั ความพอประมาณ กบั เวลาวา่ งทมี่ อี ยรู่ วมถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ จากกจิ กรรมการพกั ผอ่ น ตอ้ งศึกษาผลดีผลเสียของกจิ กรรมการพกั ผอ่ นสอดคลอ้ งกับหลัก ความค้มุ คา่ แนวทางปฏบิ ัติหรอื วิธที �ำให้มีสุขภาพดีพอเพียง ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซ่ึงประกอบด้วย ความมีเหตุผล ความพอประมาณ ความมีภูมิคุ้มกนั และเชือ่ มโยงกบั 2 เงอื่ นไข ไดแ้ ก่ ความรู้ ในเรอื่ งสขุ ภาพรวมถงึ ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง และคณุ ธรรม ซ่ึงเป็นเรื่องของการมีวินัยในตนเองท่ีจะผดุงรักษาสุขภาพให้มี สุขภาพกายใจสังคมและจิตวิญญาณดี พระราชด�ำริปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง จึงเป็นการนำ� เสนอทางออกให้กับสังคม ท่ีชว่ ย ส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพท่ีดีน�ำไปสู่วิถีทางการด�ำเนิน ชีวิตส่วนตัวและการท�ำงานอย่างมีคุณภาพ และคงสภาพความ แขง็ แรงของรา่ งกายและจติ ใจ ก่อให้เกิดความสมดลุ ม่นั คง อันจะ น�ำไปสู่ความม่ันคงแข็งแรงของเศรษฐกิจและสังคมส่วนรวมต่อไป ดงั พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวิทยาลัย มหิดล เมือ่ เดือน ตุลาคม ๒๕๒๒ ซ่ึงผูเ้ รยี บเรียงจะขออัญเชญิ มา แสดงไว้ ณ ท่นี ้ี ความวา่ ๕๓

“ การรกั ษาความสมบรู ณแ์ ขง็ แรงของรา่ งกาย เปน็ ปจั จยั ของเศรษฐกจิ ทดี่ แี ละสงั คมทม่ี น่ั คง เพราะรา่ งกายทแ่ี ขง็ แรงนน้ั โดยปกตจิ ะอำ� นวยผล ใหส้ ขุ ภาพจติ ใจสมบรู ณ์ และเมอื่ มสี ขุ ภาพสมบรู ณด์ ี พรอ้ มทง้ั รา่ งกายและจติ ใจแลว้ ยอ่ มมกี ำ� ลงั ทำ� ประโยชนส์ รา้ งสรรคเ์ ศรษฐกจิ และสงั คมของบา้ นเมอื งไดเ้ ตม็ ที่ ทงั้ ไมเ่ ปน็ ภาระแกส่ งั คมดว้ ย คอื เปน็ ผแู้ ตง่ สรา้ ง มใิ ชผ่ ถู้ ว่ งความเจรญิ ...” ๑.๓.๒ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กยี่ วกบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง การน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดำ� รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร มาประยุกตใ์ ชก้ ับการบรหิ ารในทกุ ๆ ด้าน รวมทง้ั การน�ำไปปรับใช้กับการด�ำเนินชีวิตก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงข้ึน มากมาย โดยเฉพาะดา้ นการบรหิ าร ซ่งึ การเปล่ยี นแปลงที่เก่ียวกับ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มปี ระเด็นท่เี กีย่ วขอ้ ง ดังนี้ ๕๔

๑) กฎไตรลักษณ์ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากกฎไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะทางธรรมชาติ ๓ ประการ ได้แก่ อนิจจัง (คือทุกสิ่งทุก อย่างไม่เที่ยงเป็นกฎของธรรมชาติ ไม่ว่าอะไรก็ไม่ยืนยงคงอยู่) ทุกข์ขัง (หมายถึงว่าทุกส่ิงเป็นทุกข์) อนัตตา (หมายถึงไม่มีตัวตน ซ่ึงมิได้หมายความว่าไม่มีตัวไม่มีตนทางกายภาพ ) ซึ่งทุกส่ิงทุก อย่างล้วนมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ๒) การเปลีย่ นแปลงเกดิ จากเหตุ – ปจั จยั การเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ จากเหต-ุ ปจั จยั มที ง้ั เหตปุ จั จยั ภายใน และเหตุปจั จัยภายนอก ซึง่ เป็นเหตปุ ัจจยั ที่สามารถควบคุมได้และ ไม่สามารถควบคุมได้ และการเปล่ียนแปลงจากเหตุปัจจัยเหล่านี้ หากนำ� ไปใชก้ บั องคก์ รระดบั ใด (ระดบั บคุ คล ระดบั ครอบครวั ระดบั บรษิ ทั ระดบั องคก์ ร ระดบั ชมุ ชน และระดบั ประเทศ) หากสามารถ เปลี่ยนแปลงปัจจัยท่ีควบคุมไม่ได้ ให้เป็นเหตุปัจจัยท่ีควบคุมได้ ก็จะสามารถควบคุมสถานการณ์ความเปล่ียนแปลงนั้นได้มาก ๕๕

๓) การเปล่ยี นแปลงมลี ักษณะเป็นวงจร การเปล่ียนแปลงท่ีมลี กั ษณะเป็นวงจร เกดิ ข้นึ ไดท้ ัง้ ขาข้ึน และขาลงหมายถึงความเปล่ียนแปลงท่ีส่งผลดีและก่อให้เกิดผล กระทบ หากเป็นความเปลี่ยนแปลงท่ีอยใู่ นขาขนึ้ ต้องเตรยี มพรอ้ ม และไม่ประมาท ส่วนความเปลย่ี นแปลงที่เป็นขาลงหรอื ก่อใหเ้ กิด ผลกระทบท่ีไม่ดีต้องรีบยับย้ังเพ่ือให้เกิดผลกระทบหรือมีความ เสียหายน้อยท่ีสุดการเปล่ียนแปลงที่เกิดจากการน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ทง้ั ๓ ประเดน็ คอื เปล่ยี นแปลง ตามกฎไตรลักษณ์ การเปลยี่ นแปลงเกิดจากเหตุ – ปัจจัย และการ เปล่ียนแปลงท่ีมีลักษณะเป็นวงจร สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับครอบครัว ระดับบริษัท ระดับองค์กร ระดับชุมชน และระดับประเทศ เมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้น แล้วผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง มี ๔ ด้าน ได้แก่ด้านวัตถุ ดา้ นสังคม ด้านส่ิงแวดลอ้ ม และดา้ นวัฒนธรรม ดังนน้ั หากทกุ คน สามารถควบคุมตัวเองจากการเปลี่ยนแปลงท้ัง ๓ ประเด็นโดย อาศัยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นตัวควบคุมพฤติกรรมของ ตนเอง ก็จะท�ำให้เกิดผลดีท้ังต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร และ สงั คมส่วนรวม ๕๖

บทสรปุ หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งกค็ อื แนวทางการดำ� รงอยแู่ ละปฏบิ ตั ติ น ของประชาชนในทุกระดับต้ัง แต่ระดับบุคคล ระดับครอบครัว ระดับบริษัทระดับองค์กรระดบั ชมุ ชนและระดบั ประเทศโดยเนน้ แนวทางสายกลาง ยึดหลกั ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ มีภูมิคุ้มกันที่ดี ภายใต้เง่ือนไขความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง และเงือ่ นไขคณุ ธรรม ความซือ่ สตั ยส์ ุจริตความเพยี ร ขยนั อดทน และการแบ่งปัน ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงถือปฏิบัติดว้ ยพระองค์เอง อยา่ ง ตอ่ เนอื่ งยาวนาน และไดพ้ ระราชทานพระราชดำ� รใิ หค้ นไทยนำ� ไป ปฏบิ ตั ิต้งั แตป่ ี ๒๕๑๗ ดังพระบรมราโชวาท ในพธิ พี ระราชทาน ปริญญาบตั ร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมอ่ื วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๗ ความตอนหน่งึ วา่ ๕๗

...การพฒั นาประเทศจำ� เปน็ ตอ้ งทำ� ตามลำ� ดบั ขนั้ ตอ้ งสรา้ งพน้ื ฐาน คอื ความพอมี พอกนิ พอใช้ ของประชาชนสว่ นใหญเ่ ปน็ เบอื้ งตน้ กอ่ น โดยวธิ กี ารและการใชอ้ ปุ กรณท์ ปี่ ระหยดั แตถ่ กู ตามหลกั วชิ า เมอ่ื ไดพ้ น้ื ฐานมน่ั คงพรอ้ มพอควรและปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้าง คอ่ ยเสรมิ ความเจรญิ และฐานะเศรษฐกจิ ใหร้ วดเรว็ แตป่ ระการเดยี ว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและ ของประชาชนโดยสอดคล้องด้วยก็จะเกิดความไม่สมดุลในเร่ือง ต่าง ๆขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด ดังเห็นได้ท่ีอารยประเทศหลายประเทศก�ำลังประสบปัญหาทาง เศรษฐกจิ อย่างรุนแรงในเวลานี้ ...” ๕๘

๒บทที่ พระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรสั เกย่ี วกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง

๒.๑ ความน�ำ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน็ ปรชั ญาทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระ มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระ ราชด�ำริชี้แนะแนวทางการด�ำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดย ตลอดกว่า ๒๕ ปี ต้ังแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ทรง เน้นย�้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถด�ำรงอยู่ได้ อยา่ งมน่ั คงและยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั นแ์ ละความเปลยี่ นแปลง ตา่ ง ๆ โดยพระองคไ์ ดพ้ ระราชทานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แก่ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๒ ซึ่งมีสาระส�ำคัญว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เปน็ ปรชั ญาทชี่ ถ้ี งึ แนวทางการดำ� รงอยแู่ ละปฏบิ ตั ติ ติ นของคนไทย ในทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั ครอบครวั ระดบั ชมุ ชน และในการรบรหิ าร ประเทศของรัฐบาลให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ พัฒนาเศรษฐกิจจะเห็นได้จากการท่ีหน่วยงานและองค์กรภาครัฐ ได้มีการรณรงค์ส่งเสริมให้ชุมชน โดยเฉพาะชุมชนในชนบทท่ีได้ มีการบริหารจัดการชุมชนในลักษณะตามแนวทางปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ก�ำหนดให้ชุมชนตัวอย่างเป็นสถานท่ีศึกษา ดูงานส�ำหรับประชาชน ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือน�ำไป เป็นแนวทางในการบริหารจัดการความเป็นอยู่ของตนเอง ของ ครอบครัวและของชุมชน ๖๐

ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพติ ร ทรงถอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยพระองคเ์ องเพอื่ เปน็ แบบอยา่ งแกพ่ สกนกิ ร อย่างต่อเนื่องยาวนาน และได้พระราชทานพระบรมราโชวาท และพระราชด�ำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงให้คนไทยได้เห็น ความส�ำคัญแล้วน�ำไปปฏิบัติติอยู่เนือง ๆ ต้ังแต่ปี ๒๕๑๗ ดัง พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ ความตอนหนึ่งว่า “...การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขั้น ต้องสร้าง พ้ืนฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่ เป็นเบ้ืองต้นก่อนโดยใช้วิธีการและการใช้อุปกรณ์ท่ีประหยัด แต่ถูกตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานที่ม่ันคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะ เศรษฐกิจขั้นที่สูงข้ึนโดยล�ำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้าง ความเจริญยกฐานะเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศของ ประชาชนโดยสอดคล้องด้วยก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่อง ต่าง ๆ ข้ึน ซ่ึงอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด ดังเห็นได้ที่อารยประเทศหลายประเทศก�ำลังประสบปัญหาทาง เศรษฐกจิ อยา่ งรนุ แรงในเวลานี้ ...” ๖๑

๒.๒ แคลวะาพมรสะำ�รคาชัญดข�ำรอสั งพเกรี่ยะวบกรบัมรเศารโชษวฐาทกิจพอเพียง พระบรมราโชวาทและพระราชดำ� รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เกี่ยวกับ เศรษฐกจิ พอเพยี งไดพ้ ระราชทานใหก้ บั องคก์ รภาครฐั และคนไทย ได้เห็นความส�ำคัญมาโดยตลอด โดยทุกพระบรมราโชวาทและ พระราชดำ� รสั ของพระองคท์ า่ นมงุ่ สอน และแนะนำ� แตใ่ นสง่ิ ดงี าม เปรียบดัง “ค�ำพ่อ สอน” ซ่ึงเป็นประโยชน์อย่างย่ิงต่อปวงชน ชาวไทยท่ีจะได้น้อมน�ำมาเป็นแนวทางปฏิบัติในการด�ำเนินชีวิต แม้จะต้องพบเจอเหตุการณ์ส�ำคัญใดหรือวิกฤตการณ์ใด ๆก็จะ ไมร่ ูส้ ึกยอ่ ทอ้ สามารถนำ� มาประยุกตใ์ ช้ได้ ๖๒

กับทุกสถานการณ์ เพราะพระองค์มีพระราชด�ำรัสที่เข้ากับ สถานการณ์ทุกยุคทุกสมัย เมื่อรู้จักน้อมน�ำพระราชด�ำรัสหรือ พระบรมราโชวาทของพระองค์มาใช้ในชีวิตย่อมรอดพ้นท�ำให้ ชีวิตมีความสุขและประสบความส�ำเร็จได้ ดังพระบรมราโชวาท พระราชทานแกน่ กั เรยี น นักศึกษา ครู อาจารย์ ในโอกาสเขา้ เฝ้าฯ วันที่ ๒๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๖ ความว่า “การสรา้ งสรรคต์ นเองการสรา้ งบา้ นเมอื งกต็ ามมใิ ชว่ า่ สร้างในวนั เดยี ว ตอ้ งใช้เวลา ตอ้ งใช้ความเพยี ร ตอ้ งใช้ความ อดทนเสยี สละแตส่ ำ� คญั ทสี่ ดุ คอื ความอดทนคอื ไมย่ อ่ ทอ้ ไมย่ อ่ ทอ้ ในสงิ่ ทด่ี งี ามสงิ่ ทด่ี งี ามนน้ั ทำ� มนั นา่ เบอ่ื บางทเี หมอื นวา่ ไมไ่ ดผ้ ล ไม่ดัง คือดูมันควรท�ำดีน่ี แต่รับรองว่าการท�ำให้ดีควรต้องมี ความอดทน เวลาข้างหน้าจะเห็นผลแน่นอนในความอดทน ของตนเอง” ๒.๓ พระบรมราโชวาทและพระราชดำ� รัส เกยี่ วกับเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านความประหยัด หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นระบบเศรษฐกจิ ที่ ยึดถอื หลักการ“ตนเป็นท่ีพ่งึ แห่งตน”คดิ กอ่ นใช้และไมฟ่ ่มุ เฟอื ย หลักส�ำคัญของความประหยัดก็คือ ลดการใช้จ่ายท่ีไม่จ�ำเป็นและ รู้จักเก็บออมการประหยัดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่การ ประหยดั เงนิ เพยี งอย่างเดียว แตย่ งั รวมไปถงึ การประหยัดพลงั งาน และประหยัดทรัพยากรธรรมชาตอิ กี ด้วย ๖๓

“การใชจ้ า่ ยโดยประหยดั น้ัน จะเปน็ หลกั ประกนั ความสมบูรณ์พูนสุขของผู้ประหยัดเองและครอบครัว ช่วยป้องกันความขาดแคลนในวันข้างหนา้ การประหยดั ดงั กลา่ วนจ้ี ะมผี ลดไี มเ่ ฉพาะแกผ่ ปู้ ระหยดั เทา่ นน้ั ยงั จะเปน็ ประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาตดิ ว้ ย” พระราชดำ� รัสพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช เน่อื งในวนั ขน้ึ ปใี หม่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๐๒ ๖๔

๒.๔ เพศรระษบฐรกมจิราพโชอวเพาทยี แงลดะพ้านรคะรวาาชมดค�ำุณรสั ธเกรย่ีรมวกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื ศาสตร์ของพระราชา ท่ตี งั้ อยู่บนพื้นฐานของความเมตตา ความเอ้อื อาทรส่กู ารพัฒนา ความเป็นธรรมในสังคมท�ำให้พสกนิกรอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามารถดำ� เนนิ ชวี ิตอยู่ไดด้ ว้ ยการพง่ึ พาตนเอง ไมเ่ บียดเบยี นซงึ่ กันและกันเป็นสังคมท่ีมีคุณภาพและสร้างความเป็นธรรมให้กับ สังคมสว่ นรวม “...ความสขุ ความเจรญิ อันแท้จรงิ หมายถึง ความสขุ ความเจริญทบี่ คุ คลแสวงหาได้ด้วยความเป็นธรรม ท้ังในเจตนาและการกระทำ� ไม่ไช่ไดม้ าดว้ ยความบังเอิญ หรอื ด้วยความแกง่ แย่งเบียดบังมาจากผ้อู ่นื ...” พระราชด�ำรัส ในพระราชพิธกี าญจนาภเิ ษก ทรงครองราชย์ครบ ๕๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ๖๕

๒.๕ เพศรระษบฐรกมจิราพโชอวเพาทียแงลดะพ้านรคะรวาาชมดร�ำู้ รสั เกีย่ วกับ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงชีใ้ หเ้ หน็ ว่าผู้ทม่ี คี วามเจรญิ ในหน้าที่การงานต้องเป็นผู้มีความรู้ และใฝ่หาความรู้ไม่หยุดนิ่ง ทจ่ี ะหาหนทางใหห้ ลดุ พน้ จาความทกุ ขย์ ากโดยตอ้ งขวนขวายใฝห่ า ความรู้ให้เกิดรายได้เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงตามท่ีแต่ละ บุคคลต้องการเปน็ เปา้ หมายสำ� คญั “...คนเราต้องเตรียมตัวเพ่ือที่จะเผชิญปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตแต่การเตรียมตัวน้ันก็ต้องมี ความรู้ประกอบด้วย มีการฝึกฝนนิสัยใจคอของตนให้สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ ด้วยสิง่ ทส่ี ำ� คญั ในการฟนั ฝา่ อุปสรรคในชีวติ คอื ตอ้ งรู้จักตวั เอง รู้ว่าตัวก�ำลังท�ำอะไร รู้ว่าตัวต้องการอะไร...” พะบรมราโชวาท พระราชทานแก่นกั ศึกษาวิทยาลยั เกษตรกรรมแมโ่ จ้ จังหวัดเชียงใหม่ ๓ มกราคม ๒๕๑๖ ๖๖

๒.๖ เพศรระษบฐรกมจิราพโชอวเพาทียแงลดะพ้านรคะรวาาชมดเปำ� รน็ ัสอเกย่ียแู่ บวบกพับอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระมหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชด�ำรัส แนะแนวทางการด�ำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย นอกจากจะ พระราชทานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งแลว้ ยงั ทรงปฏบิ ตั ิ พระองคเ์ ปน็ แบบอยา่ งใหเ้ หน็ ในเรอื่ งของความพอเพยี ง พอประมาณ และความมีเหตุผล ๖๗

“...ข้าพเจ้าอยากให้ทุกคนค�ำนึงถึงกฎแห่งเหตุและผล ว่าผลทเี่ กดิ ข้ึนเพราะเหตุ คือ การกระทำ� และผลนั้นจะเป็นผลดี และผลเสียก็เพราะกระทำ� ใหด้ ีหรือใหเ้ สยี ดงั นั้นการทที่ ำ� งานใด ให้บรรลุผลท่ีพึงประสงค์ จะต้องพิจารณาถึงวิธีการที่เหมาะสม ก่อนเป็นเบื้องต้น แล้วลงมือกระท�ำตามหลักเหตุผลด้วยความ ตั้งใจจริงและด้วยความสุจริต งานของแต่ละคนจึงจะเป็นผลดี และเช่ือได้ว่าผลงานของแต่ละคนจะประมวลกันเป็นความ เจรญิ มั่นคงของบา้ นเมอื งได้ ดังปรารถนา...” พระราชดำ� รสั ในพิธพี ระราชทานปริญญาบตั รของจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย เม่อื วันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๓ “...เราไม่เป็นประเทศร่�ำรวย เรามีพอสมควรพออยู่ได้ แตไ่ มเ่ ปน็ ประเทศทกี่ า้ วหนา้ อยา่ งมาก เราไมอ่ ยากจะเปน็ ประเทศ ก้าวหน้าอย่างมากเพราะถ้าเราเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมาก กจ็ ะมแี ต่ถอยกลับ ประเทศเหลา่ น้ันทเ่ี ป็นประเทศอุตสาหกรรม กา้ วหน้าจะมแี ต่ถอยหลงั และถอยหลังอย่างน่ากลัว แต่ถ้าเรามี การบรหิ ารแบบเรยี กวา่ แบบคนจนแบบทไ่ี มต่ ดิ กบั ตำ� รามากเกนิ ไป ทำ� อยา่ งมีสามัคคีน่แี หละคอื เมตตากนั จะอย่ไู ด้ตลอดไป...” พระราชด�ำรัส เน่ืองในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ ๖๘

๒.๗เศพรรษะบฐรกมจิ รพาโอชเวพาียทงแลดะ้าพนรคะรวาาชมดคำ�มุ้ รคสั า่ เกยี่ วกบั หลักความคุ้มค่า ก็คือการน�ำทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ อยา่ งคมุ้ คา่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ทงั้ ตอ่ ตนเองและชมุ ชนสว่ นรวม ไมไ่ ด้คมุ้ ค่าในเร่ืองของเงนิ ทองด้านเศรษฐศาสตร์เป็นหลัก ดังเช่น การท�ำงานของหน่วยงานราชการ ความคุ้มค่าในความหมายของ พระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร หมายถงึ เมอื่ ใชเ้ งนิ งบประมาณทำ� โครงการตา่ ง ๆไปแลว้ สามารถ ทจ่ี ะเปลย่ี นวถิ ชี วี ติ ของราษฎรจากยากจนใหอ้ ยดู่ มี สี ขุ ได้ จากยากจน ข้นแคน้ ยกระดับมาพอมีพอกนิ พ่งึ พาตวั เองได้ “ขาดทนุ เปน็ การไดก้ �ำไรของเรา” พระราชดำ� รสั เน่อื งในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั พระต�ำหนกั จติ รลดารโหฐาน เม่ือวันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔ ๖๙

๒.๘ เพศรระษบฐรกมิจราพโชอวเพาทยี แงลหะพลกัระทราางชสดาำ�ยรกสั ลเกางี่ยวกับ หลักทางสายกลาง ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณที่ด�ำเนินชีวิตอยู่ในความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไป และไมม่ ากเกนิ ไป ไมเ่ บียดเบยี นตนเองและผอู้ ่นื การตดั สนิ ใจเกีย่ ว กับระดับความพอเพียงเป็นไปอย่างมีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันท่ีดี ด้วยการเตรียมตัวให้พรอ้ มรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้าน ตา่ ง ๆ ทจ่ี ะเกิดขนึ้ ไดเ้ สมอ “...การอยู่พอมีพอกิน ไม่ได้หมายความว่า ไม่มีความ กา้ วหนา้ มันจะมคี วามก้าวหน้าแคพ่ อประมาณ ถ้ากา้ วหนา้ เร็ว เกนิ ไปวง่ิ ขน้ึ เขายงั ไมท่ นั ถงึ ยอดเขาหวั ใจวายแลว้ กห็ ลน่ จากเขา ถา้ บุคคลหลน่ จากเขาก็ไม่เป็นไรชา่ งหวั เขา แต่วา่ ถ้าคนคนเดียว ขนึ้ ไปว่ิงบนเขาแล้วหลน่ ลงมาบางทีทบั คนอ่นื ท�ำใหค้ นอ่นื ต้อง หล่นไปด้วย อันนเ้ี ดอื ดร้อน..” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ คณะเอกอคั รราชทตู และกงศุลใหญ่ ทีป่ ระจำ� การ ในตา่ งประเทศ ณ ศาลาเรงิ วงั ไกลกงั วล หวั หิน จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ วนั พุธที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๔ ๗๐

๒.๙ พระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรสั เกี่ยวกบั เศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นความซือ่ สตั ย์ สจุ รติ ความซ่ือสัตย์ สจุ ริต หมายถึง การดำ� เนนิ ชีวิตโดยปฏบิ ตั ิ ตนในแนวทางที่ดีไม่กระท�ำการที่เป็นอันตรายต่อเพ่ือนมนุษย์ ซอื่ ตรงตอ่ เพอ่ื นมนษุ ยม์ คี วามซอื่ สตั ยต์ อ่ ตนเองและผอู้ น่ื มคี วามสจุ รติ ทง้ั ทางกายทางวาจาและทางใจความซื่อสัตย์สุจริตถือเป็นรากฐาน ในการด�ำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพราะการจะน�ำมา ซึ่งความซื่อสัตย์ได้นั้น ย่อมอยู่ท่ีการใช้จ่ายอย่างพอเพียงเป็น พ้ืนฐานสำ� คญั “ การทจี่ ะประกอบกจิ การใด ๆ ใหเ้ จริญเป็นผลดีน้ัน ยอ่ มตอ้ งอาศยั ความอตุ สาหะพากเพยี รและความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ เป็นรากฐานสำ� คญั ประกอบกับจะตอ้ งเปน็ ผมู้ จี ติ เมตตากรณุ า ไม่เบียดเบยี นผอู้ ื่นและพรอ้ มทีจ่ ะบำ� เพ็ญประโยชนใ์ ห้เกดิ แก่ สว่ นรวมตามโอกาสอกี ดว้ ย” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นิสติ ที่ส�ำเรจ็ การศกึ ษาจากจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เม่อื วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๔๙๙ ๗๑

๒.๑๐ เพศรรษะบฐรกมจิ รพาโอชเวพาียทงแลดะ้าพนรคะรวาาชมดม�ำีเหรัสตเุผกลย่ี วกบั ความมีเหตุผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถงึ การตดั สนิ ใจที่เกีย่ วกับระดับของความพอเพียงทจ่ี ะต้อง เปน็ ไปอยา่ งมเี หตผุ ลโดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ตลอดจน คำ� นงึ ถงึ ผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทำ� นน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ “ ...ถ้าทา่ นทง้ั หลายชว่ ยกนั คิดชว่ ยกันท�ำ แม้จะมกี าร เถียงกันบา้ งแตเ่ ถยี งดว้ ยรากฐานของเหตผุ ล และเมตตา ซึ่งกนั และกันและส่งิ ทส่ี ูงสดุ ท่ีสุด ก็คอื ประโยชนร์ ่วมกันคือ ความพอมีพอกนิ พออยู่ ปลอดภัยของประเทศชาต.ิ ..” พระราชด�ำรัส เนอ่ื งในวันเฉลมิ พระชนมพรรษา วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๑๗ ๗๒

บทสรุป พระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัสของพระบาท สมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงท่ีปวงชนชาวไทยได้ยินมาตลอด ชีวิตน้ันมีอยู่มากมาย ซ่ึงพระองค์ท่านสอนให้เราพิจารณา รจู้ กั พนื้ ฐานการดำ� รงชวี ติ อยา่ งสมดลุ เรยี บงา่ ย ยดึ มนั่ ทางสายกลาง มีความพอประมาณในการใช้ชีวิต เช่น ใช้จ่ายอย่างเหมาะสม รู้จักเก็บออม สร้างวินัยแก่ตนเอง จัดแบ่งเวลาในการทำ� ทุก บทบาทหน้าท่ีอย่างสมดลุ ฉลาดใช้ชวี ิตไมต่ อ้ งใชช้ ีวิตใหค้ ุ้มค่า แตเ่ ลือกใช้ชีวิตให้มีคุณค่า โดยก่อนจะท�ำส่ิงใดควรมองปัจจยั ตา่ ง ๆใหร้ อบดา้ น เม่อื เกิดความเปลยี่ นแปลงทั้งในดา้ นดแี ละ ดา้ นลบต้องคิดทบทวนด้วยเหตุผล จากน้ันน�ำประสบการณ์ มาเป็นบทเรียนในการพัฒนาตนเองหรือหลีกเลี่ยงปัญหา ซึ่ง ถือเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับตนเอง โดยก่อนที่จะ ทำ� สง่ิ ใดต้องมีความร้เู ก่ยี วกบั ส่ิงนั้นให้รอบด้าน เพราะความรู้ จะชว่ ยใหต้ ดั สินใจได้ถูกต้อง การใชช้ ีวิตตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งใหส้ ามารถใชช้ วี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ยังต้องมีความเมตตา กรุณา มีความเสียสละ ทุ่มเท และ สดุ ทา้ ยทส่ี ำ� คัญท่สี ดุ ก็คือ การแบง่ ปนั และชว่ ยเหลือผอู้ นื่ ๗๓

ดังนั้น ทุกค�ำสอนของพระองค์เปรียบดัง “ค�ำพ่อสอน” ทลี่ ว้ นมปี ระโยชน์ ทันสมยั ตอ่ เหตุการณ์และความเปน็ ไปของโลก แนวพระราชด�ำริและพระบรมราโชวาทจึงนอกจากจะสามารถ นำ� มาประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ� เนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งสมดลุ แลว้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านท่ีประกอบ ดว้ ยหลกั ๓ หว่ ง ๒ เงอื่ นไข ไดแ้ ก่ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ภายใต้เงื่อนไขความรู้ และเง่ือนไขคุณธรรม จึงเป็นปรัชญาท่ีน้อมน�ำมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ต่อองค์กรและประเทศชาติ เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนา ประเทศให้เจริญเติบโตและประสบความส�ำเร็จอย่างม่ันคงและ ยง่ั ยนื ตลอดไป “…ความสขุ ความสวสั ดขี องขา้ พเจา้ จะเกดิ มขี นึ้ ไดก้ ด็ ว้ ย บ้านเมืองของเรามีความเจริญม่ันคงเป็นปกติสุข …จึงขอให้ ท่านทั้งหลาย …ท�ำความเข้าใจในหน้าที่ของตนให้กระจ่าง แล้วตั้งจิตตั้งใจให้เที่ยงตรงหนักแน่นท่ีจะปฏิบัติหน้าท่ีของตน ใหด้ ีท่สี ดุ ...” พระราชด�ำรัส ในการเสดจ็ ออกมหาสมาคม ในงานพระราชพธิ เี ฉลมิ พระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๕๒ ณ พระทนี่ ั่งอมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ๗๔

๓บทท่ี โครงการพระราชดำ�ริ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช

๓.๑ ความนำ� พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร พระองค์คือ พระมหากษัตริย์ท่ีท�ำหน้าที่ได้มากว่า กษัตรยิ อ์ งคใ์ ดในโลกน้ี พระราชกรณยี กจิ ท่ีพระองค์ทำ� เพ่อื บำ� บดั ทุกข์บ�ำรุงสุขให้กับประชาชนคนไทยอย่างไม่มีวันหยุดพักตลอด ระยะเวลา ๗๐ ปี นอกจาก หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทท่ี รงมพี ระราชดำ� รสั ชแ้ี นะแนวทางเพอื่ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนทกุ ระดบั มีความเข้าใจตลอดจนน้อมน�ำไปใช้เป็นพ้ืนฐานการด�ำรงอยู่และ ปฏบิ ตั ติ นของประชาชน ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชมุ ชน จนถึง ระดบั รฐั ท้ังในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศให้ดำ� เนิน ไปในทาง สายกลาง มคี วามพอเพยี ง พรอ้ มรับตอ่ การเปลี่ยนแปลงในทกุ ดา้ น ทง้ั ด้านชวี ิต เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม สง่ิ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยี อนั จะนำ� ไปสู่ ความอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ รว่ มกนั ในสงั คมไทยแลว้ ยงั มโี ครงการพระราชดำ� ริ รวมกว่า ๔,๐๐๐ โครงการท่ีเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ และแหล่งน�้ำในระบบการชลประทาน การจัดการน�้ำ การฟื้นฟู สภาพป่า การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมป่าชายเลน การสร้างฝายทดน้�ำ การสรา้ งเขือ่ น การระบายน้�ำ และการสร้างอาชีพ เพ่ือการกินดี อยู่ดีของประชาชน นับเป็นพระอัจฉริยภาพของพระองค์ท่ีไม่มี พระมหากษัตริยใ์ ดในโลกนี้เทยี บเคียงได้ ๗๖

คนไทยกว่า ๖๗ ล้านคน โชคดีท่ีได้เกิดมาภายใต้ร่มพระบารมี รัชสมยั ของพระองค์ พระองค์ทรงเมตตาต่อเหล่าพสกนกิ รโดยไม่ เลือกที่รักมักท่ีชัง พระองค์คือศูนย์รวมจิตใจชาวไทยท้ังชาติ ดัง เร่ืองเล่าท่ีถูกบันทึกอยู่ในความทรงจ�ำของทุกคน เมื่อครั้งท่ี พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนินไปศึกษาต่อท่ีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ ได้มีประชาชนไปเฝ้าส่งเสด็จจ�ำนวนมาก พรอ้ มตะโกนว่า พ \"ระเจ้าอยู่หัว อย่าท้ิงประชาชน \"พระเจ้าอยู่หัว อย่าทิ้งประชาชน ๗๗

๓.๒ โครงการพระราชดำ� รเิ กี่ยวกบั ป่า น้�ำ และดนิ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร ทรงเล่าถึงแรงบันดาลใจในความสนพระราชหฤทัย เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่าง ป่า น�้ำ และดิน ซึ่งเช่ือมโยง ผลกระทบ ถงึ กันต้งั แตค่ ร้งั ทรงพระเยาว์ เมือ่ วันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๑๒ ความตอนหนึง่ วา่ ๗๘

“ อาจมบี างคนเขา้ ใจวา่ ทำ� ไมถงึ สนใจเรอ่ื งชลประทาน หรือเรอ่ื งป่าไม้ จำ� ไดเ้ ม่ืออายุ ๑๐ ขวบ ท่ีโรงเรยี นมคี รูคนหน่งึ ซง่ึ เดย๋ี วนต้ี ายไปแลว้ สอนเรอ่ื งวทิ ยาศาสตร์ เรอื่ งการอนรุ กั ษด์ นิ แล้วให้เขียนว่าภูเขาต้องมีป่าอย่างนั้นเม็ดฝนลงมาแล้วจะชะ ดินลงมาเรว็ ทำ� ใหไ้ หลตามนำ�้ ไป ไปทำ� ความเสียหาย ดินหมด จากภูเขาเพราะไหลตามสายน�้ำไป ก็เป็นหลักของป่าไม้ เรื่อง การอนรุ กั ษด์ นิ และเปน็ หลักของชลประทานท่วี ่าถา้ เราไมร่ กั ษา ปา่ ไมข้ า้ งบน จะทำ� ใหเ้ ดอื ดรอ้ นตลอด ตง้ั แตด่ นิ ภเู ขาจะหมดไป กระทัง่ การทจี่ ะมีตะกอนลงมาในเขอ่ื น มีตะกอนลงมาในแม่นำ้� ท�ำใหน้ ้�ำทว่ มน่ีนะ เรยี นมาต้ังแต่อายุ ๑๐ ขวบ ” ๓.๒.๑ ความเป็นมาโครงการพระราชดำ� ริ เกยี่ วกบั ปา่ นำ�้ และดนิ โครงการพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รนิ นั้ มอี ยมู่ ากมาย หลากหลายประเภทแตกต่างกันไปตามลักษณะและวัตถุประสงค์ ของโครงการนนั้ ๆ ซ่ึงสว่ นมากจะเปน็ การแกไ้ ขปัญหาและพฒั นา ด้านการท�ำกินของประชาชนเป็นส�ำคัญ งานพัฒนาที่ส�ำคัญ ย่ิงโครงการหนึ่ง ก็คืองานที่เกี่ยวข้องกับน�้ำและป่าไม้ ไม่ว่าจะ เปน็ การพฒั นาและจดั หาแหลง่ นำ�้ การเกบ็ กกั การระบาย การควบคมุ การท�ำน้�ำเสียให้เปน็ น�้ำดี ตลอดจนการแกไ้ ขปัญหาน�้ำท่วมและ ศาสตร์ท้ังปวงที่เกี่ยวกับน�้ำพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าพระอัจฉริยภาพ และพระปรชี าสามารถของพระองคน์ น้ั หาผเู้ สมอเหมอื นไดย้ ากยงิ่ ๗๙

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับเร่ืองน้�ำของพระบาทสมเด็จ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร นน้ั มอี ยมู่ ากมาย นับตง้ั แตแ่ นวคิดในเร่อื งการเก็บกักนำ�้ ขนาดใหญ่ของประเทศ เช่น โครงการพัฒนาลุ่มแม่น�้ำป่าสัก อันเกิดจากน�้ำพระราชหฤทัยที่ ทรงห่วงใยถึงปัญหาวิกฤตการณ์น้�ำที่เกิดข้ึนกับประเทศไทยใน อนาคต คือ ปัญหาน้�ำท่วมและปัญหาน�้ำแล้ง ซึ่งเกิดขึ้นสลับกัน อยู่ตลอดสร้างความสูญเสียอันยิ่งใหญ่แก่เกษตรกรและประชาชน โดยท่ัวไป ดังพระราชด�ำรัสพระราชทานเม่ือวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ ๒๕๓๙ ณ พระราชต�ำหนกั จิตรลดารโหฐาน ความวา่ \" หลกั สำ� คัญว่า ต้องมนี ้ำ� น้ำ� บริโภคและน�ำ้ ใช้ น้�ำเพ่อื การเพาะปลกู เพราะชวี ติ อยทู่ นี่ ัน่ ถา้ มนี ำ้� คนอยไู่ ด้ ถา้ ไมม่ นี ำ้� คนอยไู่ มไ่ ด้ ไมม่ ไี ฟฟา้ คนอยูไ่ ด้ แตถ่ ้ามไี ฟฟา้ ไมม่ นี �้ำคนอย่ไู มไ่ ด.้ ..\" ๘๐

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพติ ร พระราชทานแนวพระราชดำ� รใิ นการพัฒนาแหล่งน�้ำ ผิวดนิ ใหแ้ กห่ น่วยงานต่าง ๆ เช่น กรมชลประทานให้ด�ำเนินการ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน�้ำโดยพัฒนาเป็นงานหลายประเภท อาทิเช่น การจัดการแหล่งน้�ำผิวดินการจัดการทรัพยากรน้�ำ ในบรรยากาศ การแก้ไขปัญหาน�้ำท่วม และวิธีการวางแผนการ จดั การทรพั ยากรน้�ำ สรุปได้ดังนี้ ๑) การจัดการแหล่งน�ำ้ ผิวดิน การจัดการแหล่งน�้ำผิวดิน เป็นการจัดการและน�ำน�้ำ ที่มีอยู่จากแหล่งน้�ำผิวดินตามธรรมชาติมาจัดสรรจนก่อให้เกิด ประโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสมต่อสงั คมส่วนรวม จากอดตี ที่ผืนแผน่ ดิน ไทยยงั มคี วามอดุ มสมบรู ณข์ องทรพั ยากรปา่ ไม้ดนิ และนำ�้ เพยี งพอ ตอ่ ความตอ้ งการ สว่ นหนง่ึ เปน็ เพราะในอดตี ประชากรยงั ไมม่ ากนกั แตป่ ัจจุบนั มีจำ� นวนประชาเพม่ิ มากขึ้นประกอบกบั เกดิ ๘๑

ภาวะการทำ� ลายส่งิ แวดลอ้ มและทรัพยากรตา่ ง ๆ ทำ� ใหแ้ หล่งน�้ำ ตามธรรมชาติ คอื แมน่ ้�ำ ล�ำธาร ห้วย คลอง หนอง บงึ มปี ริมาณ น�้ำลดลงส่งผลให้ประชากรได้รับความเดือดร้อนจากภาวะขาด แคลนน้�ำ จึงท�ำให้เกิดโครงการพระราชด�ำริเกี่ยวกับการจัดการ แหลง่ น้ำ� ผิวดินอยู่ท่ัวทุกภมู ภิ าคของประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร มีพระราชด�ำรัสถึงพระราชกรณียกิจด้านการชลประทาน พระราชทานแก่เอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่ ณ พระต�ำหนัก จติ รลดารโหฐาน เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ ความว่า ๘๒

\"...โดยมากงานท่ีขนึ้ มาเปน็ เอกกค็ ือ งานชลประทาน เพราะว่าถือว่าถ้าหากว่าไม่มี ชลประทาน ประเทศก็จะแห้งแล้ง เมอ่ื แหง้ แล้งแลว้ เพาะปลกู กไ็ มไ่ ด้ พอเพาะปลกู ไมด่ กี ็ไมม่ ีการทำ� งาน ดา้ นการเกษตร ซึง่ เปน็ งานทีไ่ ด้ผลประโยชน์ แกร่ าษฎรโดยตรง การชลประทานนก้ี ็นึกถงึ เกษตร แต่ว่าความเปน็ อยขู่ องประชาชนธรรมดา นาบรโิ ภคกต็ อ้ งมี...\" \" ๘๓

๒) การจัดการทรพั ยากรนำ้� ในบรรยากาศ การจัดการทรัพยากรน้�ำในบรรยากาศ พระบาทสมเด็จ พระมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ยงั ไดท้ รงคดิ คน้ วิธีการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้�ำในรูปของการจัดการน�้ำ ในบรรยากาศ ซ่ึงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับสนอง พระราชดำ� รนิ ้ี โดยจดั ตง้ั \"โครงการคน้ ควา้ ทดลองการทำ� ฝนเทยี ม\" และได้ทดลองท�ำฝนเทียมเป็นครั้งแรกท่ีอ�ำเภอปากช่อง จังหวัด นครราชสีมา ระหว่างวันท่ี ๑๘ - ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ และได้ด�ำเนินการทดลองอีกหลายครั้งท่ีบริเวณอ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ จนสามารถสรุปผลได้ว่าสามารถรวมกลุ่ม กอ้ นเมฆใหเ้ กดิ เปน็ ฝนไดแ้ นน่ อน นบั ตงั้ แตน่ น้ั มาพระองคท์ รงทมุ่ เท พระวรกายในการคดิ คน้ วจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยกี ารทำ� ฝนหลวง จนประสบความสำ� เรจ็ และชว่ ยใหป้ ระเทศชาตริ อดพน้ วกิ ฤตภยั แลง้ มาไดจ้ นถึงปัจจุบันน้ี ดงั นนั้ เพอื่ เปน็ การแสดงความรำ� ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ทม่ี ตี อ่ ปวงชนชาวไทย วนั ที่ ๒๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ คณะรฐั มนตรี จึงมีมติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ให้ทรงเป็น “พระบิดาแห่งฝนหลวง” พร้อมกันนี้ได้ก�ำหนดให้วันที่ ๑๔ พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวัน พระบดิ าแห่งฝนหลวง ๘๔

๓) การแกไ้ ขปัญหาน�้ำท่วม พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร ทรงตระหนกั ถึงปญั หานำ้� ทว่ มทเ่ี กดิ เป็นประจ�ำเกือบทุกปี และยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ เศรษฐกจิ ของชาติ จงึ ไดพ้ ระราชทาน แนวทางให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องร่วมกันด�ำเนินการแก้ไขป้องกัน หรือช่วยบรรเทาปัญหาจากการที่น้�ำไหลบ่าเข้าไปท่วมพื้นที่ เกษตรกรรมไวไ้ ดอ้ ยา่ งเปีย่ มประสทิ ธิผล ซึ่งการแกไ้ ขปญั หาน้�ำทว่ ม ท่ีหน่วยงานต่าง ๆ ด�ำเนินการสนองพระราชต�ำริมีหลายรปู แบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมทางภูมิศาสตร์ งบประมาณ และความ สามารถในการปอ้ งกันหรือแก้ไขปญั หา สรุปไดด้ งั น้ี ๑.การก่อสร้างคนั ก้นั น้�ำ การกอ่ สรา้ งคนั กนั้ นำ�้ เปน็ การกอ่ สรา้ งเพอ่ื ปอ้ งกนั นำ้� ทว่ ม โดยการกอ่ สรา้ งคนั ดินกน้ั น�้ำ ขนาดที่เหมาะสมขนานไปตามลำ� น�้ำ ห่างจากขอบตลิ่งพอสมควรเพื่อป้องกันมิให้น�้ำล้นตลิ่งไปท่วมใน ๘๕

พ้ืนที่ตา่ ง ๆ ส่วนใหญ่สร้างด้วยดินถมบดอัดแน่น สูงพ้นระดับนำ�้ ทเ่ี คยท่วมสงู สดุ เพ่ือความม่นั คงแข็งแรงและสามารถใชง้ านได้นาน จดุ ที่คันกั้นน�้ำผา่ นร่องน�้ำหรือทางน้�ำจะต้องมีการก่อสร้าง ประตู ระบายนำ�้ หรอื ทอ่ ระบายนำ้� เพอื่ ระบายนำ�้ ออกจากพนื้ ทแี่ ละปอ้ งกนั น้�ำจากภายนอกไหลเข้าไปท่วมภายใน และโครงอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำ� รทิ ก่ี รมชลประทานได้ก่อสร้างเพื่อสนองพระราชด�ำริ ได้แก่ คันกั้นน�้ำโครงการมูโนะและโครงการปิเหล็ง จ.นราธิวาส เป็นต้น ๒.การกอ่ สร้างทางผันน�ำ้ การกอ่ สรา้ งทางผันน�ำ้ เปน็ การขดุ คลองสายใหมเ่ ชอื่ มต่อ กบั ลำ� นำ�้ ทมี่ ปี ญั หานำ้� ทว่ ม เพอ่ื ผนั นำ�้ ทง้ั หมดหรอื บางสว่ นทล่ี น้ ตลง่ิ ให้ไหลไปตามทางผันน้�ำท่ีขุดขึ้นมาใหม่ ไปลงล�ำน้�ำสายอื่น หรือ ระบายออกส่ทู ะเล แลว้ แต่กรณี ๓. การปรับปรงุ สภาพลำ� นำ�้ การปรบั ปรุงสภาพลำ� น้�ำ เป็นวิธีการปรบั ปรุงและตกแตง่ ลำ� นำ�้ เพอื่ เพมิ่ ความสามารถของลำ� นำ้� ในฤดนู ำ้� หลากใหไ้ หลสะดวกขนึ้ อนั เปน็ การลดความเสยี หายจากนำ้� ทว่ ม อาจทำ� ไดโ้ ดยขดุ ลอกลำ� นำ้� ทตี่ ่ืนเขนิ ให้นำ�้ สามารถไหลผ่านไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ตกแต่งดิน ตามลาดตลงิ่ ใหเ้ รยี บ กำ� จดั วชั พชื ผกั ตบชวา และรอื้ ทำ� ลายสงิ่ กดี ขวาง ทางนำ้� ไหล หากล�ำนำ้� คดโคง้ มากให้หาแนวทางขุดคลองใหมเ่ ป็น ล�ำน้ำ� สายตรง ๘๖

๔. การก่อสรา้ งเข่ือนกักเก็บนำ้� การกอ่ สรา้ งเขอ่ื นกกั เกบ็ นำ�้ เปน็ การกอ่ สรา้ งเขอื่ นเกบ็ กกั นำ้� ปิดก้ันล�ำน้�ำธรรมชาติระหว่างหุบเขาหรือเนินสูงที่บริเวณต้นน้�ำ ของล�ำน้ำ� สายใหญ่ เพือ่ กกั เกบ็ น�ำ้ ไวเ้ หนือเขื่อนทำ� ใหเ้ กดิ แหล่งน�้ำ ขนาดต่าง ๆ เรียกวา่ “อา่ งเก็บนำ้� ” เขื่อนดงั กลา่ วมหี ลายขนาดและ สรา้ งดว้ ยวตั ถปุ ระสงคท์ ีแ่ ตกตา่ งกนั เชน่ เพ่อื การผลิตกระแสไฟฟา้ เพอ่ื การชลประทาน ซงึ่ มกั ไดป้ ระโยชนอ์ น่ื ๆ ตามมา เชน่ การประมง การบรรเทาปัญหานำ้� ทว่ ม การอปุ โภคบรโิ ภค ๕. การระบายน�้ำออกจากพื้นท่ีลุม่ การระบายน�้ำออกจากพ้ืนท่ีลุ่ม เป็นการระบายน้�ำออก จากพ้ืนท่ีลุ่มต่�ำซ่ึงเป็นพ้ืนที่ที่ในแต่ละปีจะมีน�้ำท่วมขังเป็นเวลา นานหลายเดอื น การระบายนำ้� ออกจากพน้ื ทล่ี มุ่ นจ้ี ะชว่ ยแกป้ ญั หา น�้ำท่วมขังและสามารถใช้พ้ืนที่นั้นให้เกิดประโยชน์ในการเพาะ ปลกู ได้ โดยใชว้ ธิ ขี ดุ คลองเพอ่ื ระบายนำ้� ออกไปทง้ิ ในลำ� นำ้� หรอื ทะเล ๘๗

๔) วิธีการวางแผนการจดั การทรัพยากรน�ำ้ พระราชกรณยี กจิ ในการแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนนำ�้ ใน ภมู ิภาคตา่ ง ๆ พระบาทสมเด็จ พระมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษาข้อมลู ทางภมู ศิ าสตรจ์ ากแผนท่ี ภมู ปิ ระเทศ ในการเสดจ็ ฯ เย่ยี มราษฎรจงึ ทรงบันทึกข้อมูลลงใน แผนท่ีอยเู่ สมอทกุ ครง้ั ในบางกรณยี งั ทรงใชภ้ าพถา่ ยทางอากาศ ประกอบการพจิ ารณาดว้ ย ส่วนการศกึ ษาปญั หาน้ำ� ทว่ มจาก พายฝุ น ทรงใช้ภาพถา่ ยดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยาประกอบ ซึ่งเปน็ ขอ้ มูลทท่ี ันสมยั และเป็นประโยชน์อยา่ งย่ิงในการศกึ ษาทรัพยากร น้ำ� โดยแนวพระราชด�ำรเิ กยี่ วกับการจัดการทรัพยากรน้ำ� ของ พระบาทสมเด็จพระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร แสดงไว้อยา่ งชดั เจนในกระแสพระราชด�ำรัสทีพ่ ระราชทานเน่ือง ในพธิ ีเปดิ การประชุมวชิ าการนานาชาติ \"The Third Princess Chulabhorn Science Congress\" ณ โรงแรม แชงกร-ี ลา เมอ่ื วันท่ี ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ความว่า ๘๘

...การพฒั นาแหลง่ นำ้� นนั้ ในหลกั ใหญก่ ค็ อื การควบคมุ นำ�้ ใหไ้ ดด้ งั ประสงค์ ทง้ั ปรมิ าณและคณุ ภาพ กลา่ วคอื เมอื่ มปี รมิ าณนำ้� มากเกนิ ไป ก็ต้องหาทางระบายออกใหท้ นั การณ์ ไมป่ ล่อยใหเ้ กดิ ความเดือดร้อนเสียหายได้ และในขณะที่เกิด ภาวะขาดแคลน ก็จะต้องมีน�้ำกักเก็บไว้ใช้อย่างเพียงพอ ทั้งมีคุณภาพเหมาะสม แก่การเกษตร การอตุ สาหกรรมและการอุปโภคบรโิ ภค ปัญหา อยู่ท่ีว่าการพัฒนาแหล่งน้�ำนั้นอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อ ส่ิงแวดล้อมบ้าง แต่ถ้าไม่มีการควบคุมน�้ำที่ดีพอแล้วเมื่อเกิด ภัยธรรมชาติข้ึน ก็จะก่อให้เกิดความเดือดร้อนสูญเสีย ทั้งใน ด้านเศรษฐกิจและในชีวิตความเป็นอยู่ ของประชาชน ทั้งส่ง ผลกระทบเสยี หายแก่สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งร้ายแรง…\" ๘๙

๙๐

๙๑

ทฤษฎีปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกตามหลักการฟื้นฟูสภาพป่า ดว้ ยวฏั ธรรมชาติ พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงพยายามคน้ หาวธิ นี านาประการทจี่ ะเพมิ่ ปรมิ าณ ป่าไม้ในประเทศไทยให้เพ่ิมมากข้ึนอย่างมั่นคงและถาวร โดยใช้ วิธีการที่เรียบง่ายมาก�ำหนดเป็นกลยุทธ์ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก แต่เป็นไปตามหลักการกฎธรรมชาติอาศัยระบบวงจรป่าและการ ทดแทนตามธรรมชาติ ดงั นี้ ๑) วิธปี ลกู ป่าโดยไม่ตอ้ งปลกู ท�ำได้ ๓ แนวทาง คือ ๑. เลือกพื้นที่ที่เหมาะสมแล้วปล่อยพืน้ ทนี่ นั้ ไว้โดยไมต่ ้อง ทำ� อะไร แตค่ วามสมบรู ณข์ องดนิ จะทำ� ใหป้ า่ เจรญิ เตบิ โตขน้ึ มาเปน็ ผืนปา่ ท่อี ุดมสมบูรณ์ โดยทไ่ี มต่ ้องปลูกเลยสักต้นเดยี ว ๒. ไม่รังแกป่า คือไม่ไปตอแยหรอื คอยรบกวนต้นไม้ เพยี งคอยคมุ้ ครองดแู ลปา่ ให้ ตน้ ไมส้ ามารถขนึ้ เองไดโ้ ดยปราศจาก สง่ิ รบกวน ๓. ในสภาพปา่ เตง็ รัง ปา่ เสือ่ มโทรม ไม่ต้องท�ำอะไร เพราะตอไมก้ จ็ ะสามารถแตกกง่ิ ก้านออกมาเปน็ ต้นไมใ้ หญ่ได้ ๒) การปลกู ปา่ ในที่สงู ทรงแนะน�ำวิธกี าร ดงั น้ี “ใช้ไมจ้ ำ� พวกที่มีเมล็ดท้ังหลายปลูกบนยอดที่สูง เม่ือโต แล้วออกฝักออกเมล็ดก็จะลอยตกลงมาแล้วงอกเองในที่ต�่ำต่อไป เป็นการขยายพันธุ์โดยธรรมชาติ การปลูกป่าทดแทนจะต้องรีบ ปลูกต้นไม้คลุมแนวร่องน�้ำเสียก่อนเพื่อให้ความชุ่มช้ืนแผ่ขยาย ออกไป.\" ๙๒

๓) การปลกู ต้นนำ้� ล�ำธารหรอื การปลกู ป่าธรรมชาติ ทรงแนะแนวทางปฏบิ ัติ ดังน้ี ๑. ปลกู ต้นไม้ที่ข้ึนอยู่เดิม คอื \"ศึกษาดกุ ่อนว่าพชื พันธุไ์ ม้ ดงั้ เดมิ มอี ะไรบา้ งแลว้ ปลกู แซมตามรายการชนดิ ตน้ ไมท้ ศ่ี กึ ษามาได้ \" ๒. งดปลกู ไมผ้ ดิ แผกจากถนิ่ เดมิ คอื \"ไมค่ วรนำ� ไมแ้ ปลกปลอม ตา่ งพันธุ์ต่างถิ่นเขา้ มาปลกู โดยยังไมไ่ ดศ้ กึ ษาอย่างแนช่ ดั เสียก่อน \" ๙๓

๔) การปลูกทดแทน การปลูกทดแทนเป็นแนวทฤษฎีการพัฒนาป่าไม้อันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริที่ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานคำ� แนะนำ� ใหม้ กี ารปลูกป่า ทดแทนตามสภาพภมู ศิ าสตรแ์ ละสภาวะแวดลอ้ มของพนื้ ทที่ เ่ี หมาะสม กลา่ วคอื ๑. ปลูกป่าทดแทนในพ้ืนท่ีป่าไม้ถูกบุกรุกแผ้วถาง และ พื้นท่ีป่าเส่ือมโทรม มีพระราชดำ� รสั ดังน้ี “...การปลูกป่าทดแทนในพื้นที่เสื่อมโทรมหรือพ้ืนท่ี ต้นน�้ำล�ำธารท่ีถูกบุกรุกแผ้วถางจนเป็นภูเขาหัวโล้น แล้ว จ�ำต้องปลูกป่าทดแทนเร่งด่วนน้ันควรจะทดลองปลูกต้นไม้ ชนิดโตเร็วคลุมแนวร่องน้�ำเสียก่อน เพื่อท�ำให้ความชุ่มชื้น คอ่ ยๆทวีข้ึนแผข่ ยายออกไปทัง้ สองร่องน�้ำซงึ่ จะท�ำให้ต้นไม้ งอกงามและมีส่วนช่วยป้องกันไฟป่า เพราะไฟจะเกิดง่าย หากป่าขาดความชุ่มชื้น ในปีต่อไปก็ให้ปลูกต้นไม้ในพื้นที่ ถัดขึ้นไป ความชุ่มช้ืนก็จะแผ่ขยายกว้างต่อไปอีกต้นไม้จะ งอกงามดีตลอดทง้ั ปี ...” ๒. การปลูกป่าทดแทนตามไหล่เขา จะต้องปลูกต้นไม้ หลาย ๆ ชนดิ เพ่ือใหไ้ ดป้ ระโยชน์อเนกประสงค์ คอื มที ้ังไม้ผล ไม้ ส�ำหรับก่อสร้างและไม้ส�ำหรับท�ำฟืน ซ่ึงเกษตรกรจ�ำเป็นต้องใช้ เป็นประจำ� เมื่อตัดไมใ้ ชแ้ ล้วกป็ ลกู ทดแทนหมุนเวียนทนั ที ๙๔

๓. การปลกู ปา่ ทดแทนบรเิ วณตน้ นำ�้ บนยอดเขาและเนนิ สงู ต้องมีการปลูกป่าโดยปลูกไม้ยืนต้นและปลูกไม้ฟืนซ่ึงไม้ฟืนนั้น ราษฎรสามารถตัดไปใช้ได้ แต่ต้องมีการปลูกทดแทนเป็นระยะ ส่วนไม้ยืนต้นจะช่วยให้อากาศมีความชุ่มชื้นซ่ึงเป็นข้ันตอนหน่ึง ของระบบการให้ฝนแบบธรรมชาติท้ังยังช่วยยึดดินบนเขาไม่ให้ พงั ทลายเม่ือเกดิ ฝนตกอกี ดว้ ย ๔. ให้มีการปลูกป่าที่ยอดเขาเนื่องจากสภาพป่าบนท่ีเขา สงู ทรดุ โทรม ซง่ึ จะมผี ลกระทบตอ่ ลมุ่ นำ�้ ตอนลา่ งและคดั เลอื กพนั ธไ์ุ ม้ ที่มีเมล็ดเป็นฝักเพื่อให้เป็นกระบวนการธรรมชาติปลูกต่อไป จนถงึ ตนี เขา ๕. ปลูกป่าบริเวณอ่างเก็บน�้ำหรือเหนืออ่างเก็บน้�ำท่ีไม่มี ความชมุ่ ชนื้ ยาวนานพอ ๖. ปลกู ป่าเพ่อื พฒั นาล่มุ น�้ำและแหล่งนำ�้ ใหม้ ีนำ�้ สะอาด บรโิ ภค ๗. ปลกู ปา่ ใหร้ าษฎรมรี ายไดเ้ พมิ่ ขนึ้ โดยใหร้ าษฎรในทอ้ งที่ นั้น ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ให้เจริญ เติบโต นอกจากน้ียังเป็นการปลูกฝังจิตสำ� นึกให้ราษฎรเหน็ ความ สำ� คัญของการปลูกป่า ๙๕

๘. ปลูกปา่ เสริมธรรมชาติ เพ่อื เป็นการเพ่ิมทอ่ี ยอู่ าศยั แก่ สตั ว์ปา่ บทสรปุ การปลกู ปา่ โดยไมต่ อ้ งปลกู นน้ั เปน็ วธิ ที างธรรมชาติ งา่ ยๆ ที่ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร ทรงแนะน�ำให้ด�ำเนินการเสมอมาสภาพพื้นที่บางแห่ง ไมต่ ้องปลูกตน้ ไมก้ ็ข้ึนเองพระองค์ขอเพียง“อยา่ รงั แกและรบกวน ผนื ปา่ ” เทา่ นน้ั เปน็ พอ ดงั พระราชดำ� รสั ในการเสดจ็ ออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา เม่ือวันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๒๑ ความตอนหนึ่งว่า ...ทุกวันน้ี ประเทศไทยยังมีทรัพยากรพร้อมมูล ท้ัง ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรบุคคล ซึ่งเราสามารถน�ำมา ใช้เสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ และเสถียรภาพอันถาวรของ บ้านเมืองได้เป็นอย่างดี ข้อส�ำคัญเราต้องรู้จักใช้ทรัพยากรนั้น อย่างฉลาด คอื ไม่น�ำมาท่มุ เทใชใ้ ห้สน้ิ เปลอื งไปโดยไร้ประโยชน์ หรอื ไดป้ ระโยชนไ์ มค่ มุ้ คา่ หากแตร่ ะมดั ระวงั ใชด้ ว้ ยความประหยดั รอบคอบ ประกอบดว้ ยความคิดพิจารณาตามหลกั วชิ า เหตผุ ล และความถูกต้องเหมาะสม โดยมุ่งถึงประโยชน์แท้จรงิ ทจ่ี ะ เกิดแก่ประเทศชาติ ท้งั ในปัจจุบนั และอนาคตอนั ยืนยาว...” ๙๖

๓.๓ โครงการทางด้านวิศวกรรม พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร ทรงโปรดงานทางช่างมา ตั้งแต่คร้ังยังทรงพระเยาว์ ขณะที่ประทับอยู่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์นั้นทรงมีห้องปฏิบัติ การทางชา่ งในพระตำ� หนกั วลิ ลาวฒั นา นครโลซานน์ และทรงแสดง ฝีพระหัตถ์ในงานช่างเป็นท่ีประจักษ์หลายคร้ังและนับต้ังแต่เสด็จ ขึ้นครองราชย์เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๙ เป็นต้นมา พระราชกรณียกิจ ทท่ี รงประกอบเปน็ ประจำ� กค็ อื การเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เยย่ี มราษฎร ในภูมิภาคต่าง ๆ ท�ำให้ทรงทราบถึงความเป็นอยู่ของราษฎร สภาพภมู ปิ ระเทศ รวมทงั้ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆพระองคไ์ ดท้ รงนำ� ประสบการณ์ และข้อมูลเหล่าน้ีมาประกอบพระราชด�ำริและพระราชวินิจฉัยใน การพระราชทานพระบรมราชานเุ คราะหแ์ กเ่ หลา่ ราษฎร เป็นผล ให้เกิดโครงการพัฒนาและกิจกรรมเป็นจ�ำนวนมากซ่ึงต้องอาศัย ความรู้ทางวิศวกรรมและเทคโนโลยสี าขาต่าง ๆ ๙๗

๓.๓.๑ กังหนั นำ้� ชัยพัฒนา กังหันชัยพัฒนาเป็นเคร่ืองกลเติมอากาศท่ีผิวน�้ำหมุนช้า แบบทุ่นลอย โดยสามารถลอยข้ึนและลงได้เองตามระดับน�้ำ ใช้หลักการวิดน้�ำข้ึนไปสาดกระจายให้เป็นฝอยในอากาศ ท�ำให้ น้�ำสัมผัสกับอากาศได้อย่างทั่วถึง ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจน ในอากาศสามารถละลายผสมผสานเข้าไปในน�้ำได้อย่างรวดเร็ว ทุกคร้ังท่ีน�้ำถูกตักข้ึนมาออกซิเจนในอากาศจะละลายในน้�ำได้ดี ขึ้นเพราะพ้ืนท่ีในการท�ำปฏิกิริยามีมากกว่าเดิมท�ำให้น�้ำเสียซึ่ง เป็นปัญหาของแหลง่ น้ำ� ในหลายพืน้ ท่ีมีคุณภาพที่ดีขนึ้ ๙๘

กงั หนั นำ้� ชยั พฒั นา ไดร้ บั สทิ ธบิ ตั รจากกรมทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา เมื่อวันท่ี ๒ ก.พ. ๒๕๓๖ หลังจากเลขาธิการ มูลนิธิชัยพัฒนาซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักท่ีสนองพระราชด�ำริ ในการพฒั นากงั หนั นำ�้ ไดร้ บั พระราชทานพระบรมราชานญุ าต ให้ย่ืนขอรับสิทธิบัตรเมื่อวันที่ ๒ มิ.ย. ๒๕๓๕ จึงนับว่า เป็นสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย ของพระมหากษัตริย์ พระองคแ์ รกของไทยและครัง้ แรกของโลก ๙๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook