Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore #พร้อมพิมพ์ ศาสตร์พระราชา

#พร้อมพิมพ์ ศาสตร์พระราชา

Published by บุษยมาศ นาเจริญ, 2022-05-30 03:37:41

Description: #พร้อมพิมพ์ ศาสตร์พระราชา

Search

Read the Text Version

คำ� น�ำ นกั เขยี น หนังสือ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการ พฒั นาทยี่ งั่ ยนื (Philosophy of Sufficiency Economy For sustainabledevelopment)เลม่ น้ีผเู้ รยี บเรยี งมงุ่ เนน้ การสรา้ ง ความเข้าใจและให้ความรู้แก่นักศึกษาในรายวิชาเศรษฐกิจ พอเพียงเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน รวมทั้ง เพื่อเป็นประโยชน์ ต่อผูท้ ่ีสนใจทั่วไป ให้สามารถนำ� ความรไู้ ปปฏิบัตติ ามจนบรรลุ ผลสำ� เร็จได้อย่างสมดุลและยั่งยนื ซง่ึ เศรษฐกิจพอเพียง เป็น ปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงมีพระราชดำ� รสั ชีแ้ นะแนวทางการดำ� เนิน ชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยโดยตลอด กว่า ๔๐ ปี ต้ังแต่ก่อน เกิดวิกฤตการณท์ างเศรษฐกิจ จนกระทั่งเมอื่ เกดิ ภัยธรรมชาติ ท่ีสร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน โดยพระองค์ทรง เน้นย้�ำแนวทางการแกไ้ ขเพือ่ ให้รอดพน้ และสามารถดำ� รงอยู่ ได้อยา่ งมัน่ คง



สารบญั บทท่ี ๑ หลักเศรษฐกิจพอเพียง หน้า ๑๑ ๑.๑ ความนำ� ๑๓ ๑.๒ ความหมาย ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑.๒.๑ ๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข : องค์ประกอบปรชั ญา ๑๕ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑.๒.๒ การน�ำองค์ประกอบปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง : ๒๖ ๓ หว่ ง ๒ เง่ือนไข ไปประยุกตใ์ ช้ ๑.๓ ความสำ� คัญของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓๐ ๑.๓.๑ การประยุกต์ใชห้ ลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓๑ ๑.๓.๒ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี ก่ยี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๕๔ บทสรปุ เบกทีย่ ทวี่ก๒บั เพศรระษบฐรกมจิ รพาอโชเพวาียทงและพระราชด�ำรสั ๒.๑ ความนำ� ๖๐ ๒.๒ ความสำ� คัญของพระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัสเก่ียวกับ ๖๒ ๖๓ เศรษฐกจิ พอเพียง ๒.๓ พระบรมราโชวาทและพระราชดำ� รสั เกย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา้ นความประหยดั

๒.๔ พระบรมราโชวาทและพระราชดำ� รัสเก่ยี วกบั เศรษฐกิจ ๖๕ พอเพียง ด้านคุณธรรม ๖๖ ๒.๕ พระบรมราโชวาทและพระราชดำ� รสั เกย่ี วกับเศรษฐกจิ พอเพียง ดา้ นความรู้ ๒.๖ พระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรสั เกย่ี วกับเศรษฐกจิ ๖๗ พอเพียง ดา้ นความเป็นอยู่แบบพอเพียง ๖๙ ๒.๗ พระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรสั เกย่ี วกับเศรษฐกิจ พอเพียง ด้านความคมุ้ คา่ ๒.๘ พระบรมราโชวาทและพระราชดำ� รสั เกี่ยวกบั เศรษฐกิจ ๗๐ พอเพยี ง หลักทางสายกลาง ๒.๙ พระบรมราโชวาทและพระราชดำ� รัสเกย่ี วกบั เศรษฐกจิ ๗๑ พอเพยี ง ด้านความซือ่ สัตย์ สุจรติ ๒.๑๐ พระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจ ๗๒ พอเพยี ง ดา้ นความมเี หตุผล บทสรปุ ๗๓

บทที่ ๓ โครงการพระราชด�ำริ ในพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ๓.๑ ความนำ� ๗๖ ๓.๒ โครงการพระราชดำ� รเิ กี่ยวกบั ปา่ น�้ำ และดิน ๗๘ ๓.๒.๑ ความเปน็ มาโครงการพระราชด�ำริเกีย่ วกบั ป่า ๗๘ น้ำ� และดนิ ๙๐ ๓.๒.๒ ทฤษฎีปลูกปา่ โดยไม่ตอ้ งปลูก ๓.๓ โครงการทางดา้ นวิศวกรรม ๙๗ ๓.๓.๑ กงั หนั น้�ำชัยพฒั นา ๙๘ ๓.๓.๒ พระราชกรณียกจิ ด้านวิศวกรรมการสอ่ื สาร ๑๐๑ ๓.๓.๓ พระราชกรณยี กิจดา้ นการพลังงาน ๑๐๒ ๓.๓.๔ พระราชกรณยี กิจดา้ นวิศวกรรมการต่อเรอื ๑๐๔ ๓.๓.๕ พระราชกรณยี กิจด้านการคมนาคมและการขนสง่ ๑๐๕ ๓.๔ ตัวอย่างโครงการพระราชดำ� ริ ในพระบาทสมเด็จ ๑๐๗ พระปรมินทร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกาลที่ ๙ ๑๐๘ ๓.๔.๑ โครงการแก้มลิง โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำรพิ ระบาทสมเดจ็ พระ เจ้าอยู่หัว ภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี ๙ ๓.๔.๒ โครงการศึกษาวิธีการฟน้ื ฟูท่ีดนิ เสอ่ื มโทรม ๑๑๐ เขาชะงุม้ อันเน่อื งมาจาก พระราชด�ำริพระบาท สมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ภูมพิ ลอดุลยเดช รัชการที่ ๙

๓.๔.๓ เขือ่ นขุนด่านปราการชล ๑๑๒ ๓.๔.๔ โครงการบรหิ ารจดั การน�้ำคลองลัดโพธ์ิ ๑๑๓ ๓.๔.๕ โครงการแกลง้ ดนิ และหญ้าแฝก ๑๑๔ บทสรปุ ๑๑๖ บทที่ ๔ โครงการท่ี ชาวบ้าน/ชุมชน นำ� มาใชแ้ ล้วเห็นผล เปน็ ประโยชนต์ อ่ ชุมชน/ผลส�ำเร็จของชีวิต มคี วามสุข ย่ังยนื ๑๑๙ ๔.๑ ความนำ� ๑๒๐ ๔.๒ คำ� ท่พี อ่ สอน พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี ๙ ๑๒๑ ๑๒๒ ๔.๒.๑ ความเพียร ๑๒๒ ๔.๒.๒ ความพอดี ๑๒๓ ๔.๒.๓ ความรู้ตน ๑๒๓ ๔.๒.๔ คนเราจะต้องรบั และจะต้องให้ ๑๒๔ ๔.๒.๕ อ่อนโยนแตไ่ ม่ออ่ นแอ ๑๒๔ ๔.๒.๖ หนังสอื เปน็ ออมสิน ๑๒๕ ๔.๒.๗ พดู จรงิ ท�ำจรงิ ๑๒๕ ๔.๒.๘ ความซ่ือสัตย์ ๑๒๖ ๒.๒.๙ การเอาชนะใจตน

๔.๓. นอ้ มนำ� คำ� พอ่ สอน สกู่ ารปฏิบตั ิ ๑๒๕ ๔.๓.๑ ตัวอย่างความส�ำเร็จ “๙ ตามรอยเทา้ พ่อ ๑๒๙ สานตอ่ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” บทสรุป ๑๔๘ บทท่ี ๕ บทสรปุ /บทวิเคราะห์ ๑๕๐ ๕.๑ ความน�ำ ๑๕๑ ๕.๒ เศรษฐกจิ พอเพียงพน้ื ฐานความสขุ ส่วนบคุ คล ๑๔๒ ๕.๓ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกบั การพฒั นาประเทศ ๑๕๙ บทสรุป ๑๖๑ บรรณานกุ รม ๑๖๖

๑บทท่ี หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy)

๑.๑ ความน�ำ คนไทยกว่า ๖๘ ล้านคน (พ.ศ. ๒๕๖๑) นับว่าโชคดที ี่ได้ เกิดมาภายใต้ร่มพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร แหง่ บรมราชจกั รวี งศ์ พระองค์ ทรงมพี ระอจั ฉรยิ ภาพอนั มากลน้ เหลอื คณานบั เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ ที่มีสายพระเนตรยาวไกลและมีน้�ำพระทัยเมตตา ตั้งแต่ได้รับการ สถาปนาเป็นพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยพระองคท์ ่ี ๙ ในปี พ.ศ.๒๔๘๙ พระองค์ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจท้ังในหน้าท่ีและนอกเหนือ จากหน้าท่ีของพระองค์ เพ่ือบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขดูแลราษฎรของ พระองค์ให้อยู่ดีกินดี “ทฤษฎีการด�ำเนินชีวิต” เป็นทฤษฎีการ ด�ำเนินชีวิตที่ต้ังอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทาง การพฒั นาทอ่ี ยบู่ นพน้ื ฐานของทางสายกลาง และความไมป่ ระมาท ซึ่งเป็นแนวพระราชด�ำริท่ีพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย ผา่ นพระบรมราโชวาทและพระราชดำ� รสั ในโอกาสตา่ ง ๆ มาโดยตลอด ๑๑

“...เศรษฐกิจพอเพยี ง แปลวา่ Sufficiency Economy คำ� ว่า Sufficiency Economy นี้ ไม่มีในต�ำราเศรษฐศาสตร์ จะมี ได้อยา่ งไร เพราะว่าเปน็ ทฤษฎใี หม่ Sufficiency Economy นัน้ ไมม่ ีในต�ำรา เพราะหมายความวา่ เรามีความคิดใหม่ และ โดยท่ีท่านผู้เชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความว่า เราก็สามารถ ท่ีจะไปปรับปรุงหรือไปใช้หลักการเพื่อท่ีจะให้เศรษฐกิจของ ประเทศและของโลกพฒั นาดีขึน้ ...” พระราชดำ� รัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒ ๑๒

๑.๒ ความหมาย ของเศรษฐกจิ พอเพียง พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถ บพติ ร ไดพ้ ระราชทานคำ� จำ� กดั ความของคำ� วา่ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ว่าหมายถึง การด�ำเนินชีวิต การมีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน สามารถเล้ียงดูอุ้มชูตนเองโดยให้มีความเหมาะสมเพียงพอกับ ความต้องการของตนเอง ท้ังน้ีไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัว จะต้องปลูกพืชผักทำ� การเกษตรเพือ่ ผลิตอาหาร หรอื ถักทอเส้ือผ้า เคร่ืองแต่งกายด้วยตนเอง แต่หมายถึงในหมู่บ้านจะต้องมีความ พอเพยี งในระดับหนง่ึ (ขวญั กมล ดอนขวา,๒๕๕๗ : ๖) เศรษฐกิจพอเพียงหรอื Sufficiency Economy ตาม แนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร เป็นหลักปฏิบัติท่ีไม่มีอยู่ในต�ำราและ เป็นทฤษฎใี หมข่ องโลกที่มุ่งเน้นการพึ่งพาตนเอง ซึ่งเป็นพ้ืนฐาน ในการพัฒนาคนให้มีความเข้มแข็งในทุก ๆด้าน ท้ังร่างกาย จิตใจ สตปิ ญั ญา และคณุ ธรรม มอี สิ ระในการกำ� หนดชะตาชวี ติ ของตนเอง สามารถดำ� เนนิ ชีวิตไปไดอ้ ยา่ งมศี กั ดิศ์ รี รวมทัง้ มคี วามสามารถใน การจดั การปัญหาต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง ๑๓

ในทัศนะของผู้เรียบเรียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระองค์ท่านเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้อยู่ดี มีสุขในทกุ ระดบั ต้งั แต่ ระดบั ครอบครัว ระดับชุมชน จนถงึ ระดับ ประเทศโดยยดึ ทางสายกลางเป็นหลกั ปฏิบตั ิ ดังพระบรมราโชวาท ตอนหน่ึงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั \"ขอนแก่น ให้ไว้เม่อื วนั ที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๐ ที่ผู้เรยี บเรียงจะขอ อญั เชิญมาแสดงไว้ ณ ทนี่ ้ี ความว่า ในการสรา้ งฐานะนน้ั จะตอ้ งถอื หลกั ค่อยเป็นค่อยไปด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังและความพอเหมาะพอดี ไม่ท�ำ เกนิ ฐานะและกำ� ลงั หรอื ทำ� ดว้ ยความเรง่ รบี เมื่อมีพื้นฐานแน่นหนารองรับพร้อมแล้ว จงึ คอ่ ยสรา้ งคอ่ ยเสรมิ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ในระดับสูงขึ้นตามต่อกันไปเป็นล�ำดับ \"ผลที่เกิดขึ้นจึงจะแน่นอน มีหลักเกณฑ์ เปน็ ประโยชนแ์ ทแ้ ละยง่ั ยืน” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ใหไ้ วเ้ มอื่ วนั ที่ ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๔๐ ๑๔

๑.๒.๑ ๓ ห่วง ๒ เงอื่ นไข : องค์ประกอบของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง คปวราะมมพาณอ ความ การมีภูมิคมุ้ กนั มเี หตผุ ล ที่ดใี นตัว เงื่อนไข ความรอบรู้ เงอื่ นไขคุณธรรม (รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ) (ซือ่ สตั ย์ สจุ ริต ขยัน อดทน สติปญั ญา แบ่งปนั นำ� สู่ เศรษฐกจิ /สงั คม/สิง่ แวดล้อม/วฒั นธรรม /ความก้าวหนา้ อย่างสมดลุ /มั่นคง/ย่ังยนื ท่ีมา: http://เศรษฐกิจพอเพยี ง.net ปรัชญาของ “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นหลักปฏิบัติท่ีชี้ ให้เห็นถึงแนวทางการด�ำรงอยู่ของประชาชนในทุกระดับ จนถึง ระดับรัฐ ทง้ั ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศให้ด�ำเนินไปในทาง สายกลาง ที่จะตอ้ งประกอบดว้ ย ๓ หว่ งและ ๒ เงอื่ นไข กลา่ วคือ ๓ ห่วงประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการ มีภูมิคมุ้ กนั ท่ดี ใี นตวั โดยท้ังหมดอย่ภู ายใต้ ๒ เง่อื นไข คอื การมี ความรู้และคุณธรรม สามารถด�ำเนินกิจกรรมด้านต่าง ๆอย่าง สมดลุ (บษุ ยา มัน่ ฤกษ.์ ๒๕๕๖) ดังน้ี ๑๕

หว่ งท่ี ๑ ความพอประมาณ (Moderation) ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดี ทไี่ มน่ อ้ ยเกนิ ไปและไมม่ ากเกนิ ไป ขณะเดยี วกนั ความพอดีน้ันจะต้องเป็นไปในลักษณะที่ ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ (ณรชั ชอ์ ร ศรที อง.๒๕๕๖) ๑๖

“การรจู้ กั ประมาณตนไดแ้ กก่ ารรจู้ กั และยอมรบั วา่ ตนเอง มีภูมิปัญญาและความสามารถด้านไหนเพียงใด และควรจะ ท�ำงานดา้ นไหน อยา่ งไร การรจู้ ักประมาณตนนี้ จะท�ำใหค้ นเรา รู้จักใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ได้ถูกต้องเหมาะสมกับงาน และได้ประโยชน์สูงสุดเต็มตามประสิทธิภาพ ทั้งยังท�ำให้รู้จัก ขวนขวายศึกษาหาความรู้และเพ่ิมพูนประสบการณ์อยู่เสมอ เพื่อปรบั ปรงุ สง่ เสรมิ ศกั ยภาพท่ีมอี ย่ใู นตนเองให้ยิง่ สูงข้นึ ” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๑ ๑๗

หว่ งที่ ๒ ความมีเหตุผล (Reasonableness) ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจ เกยี่ วกบั ระดบั ความพอเพยี งนนั้ จะตอ้ งเปน็ ไป อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงถึงผลที่คาดว่า จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทำ� นน้ั ๆอยา่ งรอบคอบ (ณรัชชอ์ ร ศรที อง.๒๕๕๖) ๑๘

“...เศรษฐกิจพอเพียงน้ีขอย�้ำว่าเป็นท้ังเศรษฐกิจหรือ ความประพฤตทิ ีท่ ำ� อะไรเพอ่ื ให้เกิดผลโดยมีเหตุและผล คือเกิด ผลมันมาจากเหตุถา้ ทำ� เหตทุ ี่ดีถ้าคดิ ใหด้ ีให้ผลที่ออกมาคอื ส่งิ ท่ิ ตามเหตุการกระทำ� กจ็ ะเปน็ การกระทำ� ทดี่ แี ละผลของการกระทำ� น้ันก็จะเป็นการกระท�ำท่ีดี ดีแปลว่ามีประสิทธิผล ดีแปลว่า มีประโยชน์ ดีแปลว่าท�ำใหม้ ีความสขุ ...” พระราชดำ� รสั เน่อื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๓ ๑๙

ห่วงท่ี ๓ การมีภมู คิ มุ้ กันทด่ี ใี นตวั (Self–immunity) การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบแ ล ะ การเปลย่ี นแปลงดา้ นต่าง ๆ ที่จะเกดิ ขึน้ โดย คำ� นงึ ถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณต์ า่ ง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมีเงื่อนไข ของการตัดสนิ ใจและด�ำเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ให้อยใู่ นระดบั พอเพยี ง (ณรัชช์อร ศรที อง.๒๕๕๖ ๒๐

“…คนเราถา้ พอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมือ่ มีความโลภนอ้ ย กเ็ บยี ดเบียนคนอนื่ นอ้ ย ถา้ ทุกประเทศ มีความคิด – อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ – มีความคิดว่าท�ำอะไร ต้องพอเพยี ง หมายความว่าพอประมาณ ไมส่ ุดโต่ง ไมโ่ ลภ อยา่ งมาก คนเรากอ็ ยูเ่ ป็นสุข พอเพยี งนี้อาจจะมมี าก อาจจะ มขี องหรหู ราก็ได้ แต่ว่าต้องไมเ่ บียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอ ประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ท�ำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัตติ นก็พอเพยี ง...” พระราชด�ำรสั พระราชทานแกค่ ณะบุคคลตา่ ง ๆ ทเี่ ข้าเฝา้ ฯ ถวายชยั มงคล เน่ืองในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ ๒๑

เงอื่ นไขที่ ๑ การมีความรู้ เง่ือนไขการมคี วามรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกีย่ ว กบั วิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องรอบดา้ น ความรอบคอบทจ่ี ะน�ำ ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพ่ือประกอบการ วางแผน และความระมดั ระวังในขัน้ ตอนปฏิบัติ เห็นได้ว่าเง่ือนไขการมีความรู้ หากบุคคลมีความรู้ เพยี งพอต่อเร่ืองนน้ั ๆ นอกจากจะช่วยใหก้ ารตดั สนิ ใจมคี วาม ถกู ตอ้ งมากยง่ิ ข้ึนแลว้ ยังเปน็ การเพมิ่ พนู ความรจู้ ากการศกึ ษา คน้ ควา้ เพมิ่ เตมิ และใชว้ จิ ารณญาณในการรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารทไี่ ด้ ศกึ ษาเพ่ือน�ำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการดำ� เนินชีวติ มคี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ในการใชส้ ตปิ ญั ญาเพอื่ การดำ� เนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ดังพระบรมราโชวาทตอนหน่ึงของพระบาทสมเด็จพระมหา ภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในพิธพี ระราชทาน ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยมหาหิดล ท่ีผู้เรียบเรียงจะขอ อัญเชญิ มาแสดงไว้ ณ ทีน่ ี้ ความวา่ ๒๒

“...ความรู้ทีจ่ ะศกึ ษามีอยู่สามส่วน คือ ความรู้วชิ าการ ความร้ปู ฏบิ ัติการ และความคิดอา่ นตามเหตผุ ลความเป็นจรงิ ซ่ึงแต่ละคนควรเรียนรู้ให้ครบ เพ่ือสามารถน�ำไปใช้ประกอบ กจิ การงานและแก้ปญั หาท้งั ปวงได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปรญิ ญาบัตรของมหาวทิ ยาลยั มหิดล ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ๒๓

เงอื่ นไขที่ ๒ คณุ ธรรม เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างให้มอี ย่ใู นตวั ของบุคคล ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ต้องใช้ สติปัญญาในการดำ� เนนิ ชีวติ ไมเ่ บยี ดเบียนตนเองและผอู้ น่ื ดำ� เนนิ ชวี ติ ใหอ้ ยใู่ นครรลองทเี่ หมาะสม จะเหน็ ไดว้ า่ เงอ่ื นไข คณุ ธรรมตามแนวพระราชดำ� รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระมหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นหลักธรรม ในพระพทุ ธศาสนา และเป็นส่ิงท่ีเราไดร้ ับการปลกู ฝังจาก สงั คมอยเู่ สมอ ๒๔

“...คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมน�ำมา ปฏบิ ตั มิ ีอยสู่ ปี่ ระการ ประการแรก คอื การรกั ษาความสัตย์ ความจรงิ ใจตอ่ ตนเอง ทจ่ี ะประพฤตปิ ฏิบตั ิแต่ส่งิ ท่ีเป็นประโยชน์และเป็นธรรม ประการที่สอง คือ การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัจความดีน้ัน ประการที่สาม คือ การอดทน อดกลัน้ และอดออม ทจี่ ะไม่ ประพฤติลว่ งความสจั สจุ รติ ไม่ว่าจะด้วยเหตุการณ์ใด ประการที่ส่ี คือ การรจู้ กั ละวางความชวั่ ความทุจริต และ รู้จักสละประโยชน์สว่ นน้อยของตนเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นใหญ่ ของบา้ นเมอื ง คุณธรรมสี่ประการนี้ ถ้าแต่ละคนพยายามปลูกฝัง และบ�ำรุงให้เจริญงอกงามขึ้นโดยท่ัวกันแล้วจะช่วยให้ ประเทศชาติบังเกิดความสขุ ความรม่ เยน็ และมโี อกาสที่จะ ปรบั ปรุงพัฒนาใหม้ ่นั คงก้าวหนา้ ตอ่ ไปไดด้ ่ังประสงค.์ ..” พระราชดำ� รสั ในพระราชพิธบี วงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษตั รยิ าธิราชเจ้า ๕ เมษายน ๒๕๒๕ ๒๕

๑.๒.๒ การน�ำองค์ประกอบปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง : ๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข ไปประยุกต์ใช้ หลัก ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ที่ประกอบด้วย หลักความพอ ประมาณ ความมเี หตผุ ล การมีภมู ิค้มุ กันที่ดใี นตวั เง่ือนไข การมี ความรู้ และ การมคี ุณธรรม ท้ังหมดคือ องคป์ ระกอบของปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ถอื เป็นบทสรปุ ของหลักความพอเพียงที่ท�ำให้ เข้าใจง่าย สามารถมองเห็นภาพ และน�ำไปประยุกต์ใช้ในการ ด�ำเนินชีวิตได้อย่างชัดเจน ซึ่งหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเร่ืองที่ สะท้อนความเป็นจรงิ ของชวี ิต สามารถนำ� ไปประยกุ ต์ใชไ้ ดก้ บั ทัง้ ตัวบุคคล ใช้กับองค์กร และประยุกต์ใช้ได้กับทฤษฎีทางวิชาการ ได้อย่างหลากหลาย การน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใตห้ ลกั 3 ห่วง 2 เง่ือนไข มาประยกุ ต์ใชก้ บั การดำ� เนินชวี ติ ๒๖

ปจั จยั หรอื องคป์ ระกอบเหลา่ นต้ี อ้ งมาควบคกู่ นั เสมอ จะขาดหว่ งใด หว่ งหนงึ่ หรอื ขาดเงอ่ื นไขอนั หนงึ่ อนั ใดไมไ่ ด้ ตวั อยา่ ง เชน่ ตวั บคุ คล ชุมชน หรือองค์กรใดที่มีคุณธรรมย่อมมีภูมิคุ้มกันท่ีแข็งแกร่ง หลักคุณธรรมเร่ิมได้จากตัวบุคคล และน�ำไปสู่การเติบโตท่ียั่งยืน และม่นั คง “...หลกั ของคณุ ธรรม คือการคิดดว้ ยจติ ใจทเ่ี ปน็ กลาง กอ่ นจะพูดจะท�ำส่ิงไร จ�ำเป็นต้องหยุดคิดเสียกอ่ นเพ่ือรวบรวม สติให้ตั้งมั่น และให้จิตสว่างแจ่มใส ซึ่งเม่ือฝึกหัดจนคุ้นเคย ช�ำนาญแล้ว จะกระท�ำได้คล่องแคล่วช่วยให้สามารถแสดง ความรู้ ความคิด ในเร่ืองต่าง ๆ ให้ผู้ฟังเข้าใจได้ง่าย ได้ชัด ไม่ผิดท้ังหลักวิชาท้ังหลักคุณธรรม...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปรญิ ญาบตั รของจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ๒๗

แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งจำ� แนกเปน็ ๓ระดบั ได้แก่ ระดบั พื้นฐาน ระดับกา้ วหน้าแบบกลุม่ และระดับกา้ วหน้า แบบเครอื ขา่ ย ซ่ึงแต่ละระดบั มีรายละเอยี ด ดังน้ี ๑) ระดับพ้นื ฐาน ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั พน้ื ฐาน เป็นแนวคิดเก่ียวกับหลักความพอเพียงในระดับ บุคคลและครอบครัว หมายถึง การท่ีบุคคลหรือ สมาชิกในครอบครัวมีความเป็นอยู่ในลักษณะที่ สามารถพ่ึงพาตนเองได้ สามารถตอบสนองความ ต้องการพื้นฐานของคนเองและบุคคลในครอบครัว ได้โดยไม่เบียดเบียนหรือสร้างความเดือดร้อนให้ แก่ตนเองและผู้อื่น ให้การช่วยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกัน และกัน มีความสามัคคี กลมเกลียว ซ่ึงทั้งหมดนี้ เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้นจนสามารถ ด�ำเนินชีวิตด้วยความประหยัดและพอเพียง และ สามารถดำ� รงชีวติ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ๒) ระดบั กา้ วหน้าแบบกลมุ่ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั กา้ วหนา้ แบบกล่มุ เปน็ แนวคิดเกี่ยวกบั หลกั ความพอเพียง ในระดับกลุ่มองค์กร โดยการรวมกลุ่มหรือรวม พลังกันในรูปสหกรณ์ หรือกลุ่ม เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลมุ่ สตรี กลมุ่ เกษตรอนิ ทรยี ์ และอนื่ ๆ เพอ่ื รว่ มกนั ๒๘

ด�ำเนินงานในด้านต่าง ๆ ให้ส�ำเร็จลุล่วง สมาชิก ของกลุ่มให้ความร่วมมือกันเสียสละเพ่ือประโยชน์ ของกลุ่มในการอยู่ร่วมกันอย่างพอเพียงไม่อยู่บน ความประมาทและสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั รว่ มกนั บนพน้ื ฐาน ของการไมเ่ บยี ดเบยี นมกี ารแบง่ ปนั และชว่ ยเหลอื กนั มีการสืบทอดภูมิปัญญา แลกเปล่ียนความรู้ เพื่อท�ำให้องค์กรและชุมชนโดยรวมมีการสืบทอด ภมู ิปัญญา แลกเปลีย่ นความรูซ้ ่งึ กนั และกนั จนเกิด เป็นความพอเพยี งในวิถีปฏิบตั อิ ยา่ งแทจ้ รงิ ๓) ระดบั กา้ วหน้าแบบเครอื ข่าย ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั กา้ วหนา้ แบบเครือข่าย คือความพอเพียงในระดับที่สาม เมื่อตัวบุคคล กลุ่ม หรือองค์กร มีความพอเพียงใน ระดบั ทีห่ นึง่ และสองแล้ว กจ็ ะรว่ มมอื กับหนว่ ยงาน ภายนอกเพ่ือการสร้างเครือข่าย เช่น มีการติดต่อ รว่ มมอื กบั องคก์ รตา่ ง ๆทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กบั สถาบนั การเงนิ ธนาคารทั้งในการด้านลงทุน การผลิต และด้าน การตลาดเพ่อื ขยายกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ตลอดจน การพัฒนาคุณภาพชีวิตในทุก ๆด้าน เพื่อให้เกิด ประโยชนต์ ่อสังคมส่วนรวม ๒๙

๑.๓ ความส�ำคญั ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาท่ีชี้ให้เห็นถึงแนวทาง การด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของคนไทยทุกระดับ และเศรษฐกิจ พอเพยี งยงั ท�ำให้เกิดความพอเพียงตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว หมบู่ า้ น ตำ� บลอำ� เภอจังหวดั และระดับประเทศซงึ่ ความพอเพียง ที่เกดิ ขึน้ กับทุกองค์กร และทกุ ภาคส่วนน้ที ำ� ใหเ้ กดิ ความเขม้ แข็ง และมภี ูมคิ มุ้ กันท่ดี ี ทง้ั ในดา้ นวัตถนุ ยิ ม บริโภคนยิ ม เม่ือตวั บคุ คล มีความเข้มแข็งก็จะเป็นจุดเริ่มต้นท�ำให้สังคมเข้มแข็งและเป็น รากฐานอนั แขง็ แรงของประเทศชาติต่อไป ดังพระราชด�ำรัสของ พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ ความวา่ ๓๐

“ถา้ ไมม่ ี เศรษฐกจิ พอเพยี ง เวลาไฟดบั ...จะพงั หมด จะทำ� อยา่ งไร ทท่ี ตี่ อ้ งใชฟ้ ฟา้ กต็ อ้ งแยไ่ ป...หากมี เศรษฐกจิ พอเพยี ง แบบไมเ่ ตม็ ท่ี ถา้ เรามเี ครอื่ งปน่ั ไฟ กใ็ หป้ น่ั ไฟ หรอื ถา้ ขน้ั โบราณกวา่ มดื กจ็ ดุ เทยี น คอื มที างทจี่ ะแกป้ ญั หาเสมอ... ฉะนนั้ เศรษฐกจิ พอเพยี งน้ี กม็ เี ปน็ ขน้ั ๆแตจ่ ะบอกวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี งนี้ ใหพ้ อเพยี งเฉพาะตวั เองรอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ตน์ เี่ ปน็ สงิ่ ทท่ี ำ� ไมไ่ ด้ จะตอ้ งมกี ารแลกเปลยี่ น ตอ้ งมกี ารชว่ ยกนั ...พอเพยี ง ในทฤษฎหี ลวงน้ี คอื ใหส้ ามารถทจ่ี ะดำ� เนนิ งานได”้ ๑.๓.๑ การประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหนึ่งในแนวทางที่ พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงมีพระราชด�ำรัสชี้แนะแนวทางการด�ำรงชีวิตและปฏิบัติตน ของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึง ระดับประเทศ ท้ังในการพัฒนาและบริหารให้สามารถ ด�ำเนินการให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ รวมถึงความจ�ำเป็น ท่จี ะตอ้ งมรี ะบบภมู ิคุ้มกันในตวั ทดี่ ีพอสมควรต่อการกระทบใด ๆ อนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงทงั้ ภายในภายนอก ทง้ั นต้ี อ้ งอาศยั ความ รอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวังอยา่ งยิง่ การประยุกต์ ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นการเตรียมตัว ๓๑

ในการใชช้ ีวิตอย่างมสี ติ สมาธิ ปัญญา เดินทางสายกลาง ด�ำรงตน อย่างไม่ฟุ่มเฟือย ใช้ส่ิงของให้คุ้มค่าไม่เบียดเบียนและพึงพอใจ ในชีวติ ท่ีพอเพียง (ภสู ิทธ์ ขันตกิ ลุ .(๒๕๕๕) “...คนเราตอ้ งเตรียมตวั เพอื่ ที่จะเผชญิ ปญั หาต่าง ๆ ในชีวิต แตก่ ารเตรยี มตวั น้ันกต็ อ้ งมีความรปู้ ระกอบดว้ ย มกี ารฝึกนสิ ัยใจคอของตนใหส้ ามารถฟนั ฝา่ อุปสรรคได้ด้วย สง่ิ ท่สี �ำคญั ในการฟันฝา่ อปุ สรรคในชวี ิต คอื ต้องรจู้ กั ตัวเอง รวู้ า่ ตัวเองกำ� ลังท�ำอะไร รู้ว่าตัวเองตอ้ งการอะไร...” พระบรมราโชวาท พระราชทานแกน่ กั ศกึ ษาวทิ ยาลยั เกษตรแมโ่ จ้ จงั หวัดเชียงใหม่ ๓ เมษายน ๒๕๑๖ ความพอเพียงในนิยามของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้อยู่ดีมีสุข ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศ มิได้ หมายความเพียงการพ่ึงพาตนเองเท่าน้ัน แต่หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมีความเป็นพลวัตสามารถพัฒนาให้เหมาะ กับสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไป หรือสามารถน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการด�ำรงชีวติ ได้ ดังนี้ ๓๒

๑) การนำ� หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ต์ ใชก้ บั การด�ำเนนิ ชวี ติ ประจำ� วัน “...การท�ำงานใด ๆไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ควรอย่างยิ่งท่ีจะตั้งเป้าหมาย ขอบเขต และหลักการไว้ให้แน่นอน เพราะจะช่วยให้สามารถปฏิบัติ มุ่งเข้าสู่ผลส�ำเร็จได้โดยตรง และถูกต้องเหมาะพอดี เป็นการป้องกันและขจัดความล่าช้า ความส้ินเปลือง ความเสียเปล่า ทุกอย่างได้อย่างส้ินเชิง...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๐ การนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ กบั การดำ� เนินชีวิตประจำ� วนั โดยคณุ ลกั ษณะตามหลักเศรษฐกิจ พอเพยี ง สามารถนำ� มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏบิ ตั ติ นไดใ้ นทกุ ระดบั โดยเน้นการการพัฒนาท่ีตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง กรอบแนวคิดในการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยกุ ต์ใช้ม่งุ เนน้ ๒ เร่ือง คือ ๓๓

๓ ห่วง ๒ เงือ่ นไข ประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันท่ีดี ส่วน ๒ เงื่อนไข คอื เงอื่ นไขความรู้ และเงอื่ นไขคณุ ธรรม (พรนิภา จันทร์น้อย.(๒๕๕๒) ดังนี้ ๓๓ ๓ ห่วง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑. ความพอประมาณ หมายถึง การดำ� เนนิ ชีวติ ประจำ� วนั ใหต้ ้งั ม่ันอยใู่ นความพอดีท่ีไม่ น้อยเกินไปและไมม่ ากเกินไป เชน่ ด�ำเนินชีวิตด้วยการพึ่งพาตนเองให้มากท่ีสุด จัดการทรัพยากร ทมี่ อี ยขู่ องตนเองให้สมดุลและย่ังยืน ใช้ชีวิตอย่างมีระเบียบวินัย คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ มีจิตใจท่ีเข็มแข็ง จิตส�ำนึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอมนึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก มวี ินัยในการใช้จา่ ย รจู้ ักวเิ คราะห์รายรบั รายจ่ายของตนเองดว้ ย การจัดท�ำบญั ชคี รวั เรือน เลอื กประกอบอาชีพตามทรัพยากรทม่ี ี อยู่ด้วยความพอประมาณ เพื่อให้เกิดความพอเพียงในลักษณะ พออยุพ่ อกนิ โดยไม่เบยี ดเบยี นตนเองและผู้อืน่ ๓๔

๒. ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สนิ ใจเกี่ยวกับระดบั ของ ความพอเพียงนั้นจะตอ้ ง เปน็ ไปอยา่ งมีเหตผุ ล โดยพิจารณาจาก เหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข้องตลอดจนค�ำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดข้ึนจาก การกระท�ำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ เช่น มีที่ดินส�ำหรับท�ำการเกษตร ควรบริหารจัดการปลูกพืชผลและพืชผักเพื่อให้มีรายได้หมุนเวียน ตลอดทงั้ ปีทง้ั ในระยะสน้ั และระยะยาว ใช้วิชาความรทู้ ่ีมอี ยูใ่ ห้เกิด ประโยชน์ สามารถท�ำตนใหเ้ ป็นที่พงึ่ ของตนเองและเปน็ ทพ่ี ึง่ ของ ผู้อื่นได้ ๓. การมีภูมิค้มุ กนั ทด่ี ี หมายถงึ การเตรยี มตวั ให้พร้อมรบั ผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้นึ โดยคำ� นึง ถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนใน อนาคตท้ังใกล้และไกล โดยระบบภูมิคุ้มกันในตัวอาจเกิดขน้ึ เอง ตามธรรมชาติหรือเกิดจากความไม่ประมาท เช่น การเตรียมตัว ให้พร้อมรับกับความเปล่ียนแปลงของสภาพลม ฟ้า อากาศท่ีไม่ เออ้ื อำ� นวยตอ่ การทำ� เกษตร การถกู เลกิ จา้ งงานเนอื่ งจากผลกระทบ จากภาวะเศรษฐกิจท้ังในและต่างประเทศท่ีมีผลต่อการลงทุน การมีภูมิคุ้มกันที่ดีจึงจ�ำเป็นต้องเรียนรู้ที่จะด�ำรงอยู่ได้ด้วยการ พ่ึงพาตนเอ มกี ารเตรยี มแผนส�ำรองดว้ ยการมรี ายไดห้ ลายทางเพอื่ ลดความเสยี่ ง ไม่ผลิตและบรโิ ภคหรอื ใช้จา่ ยเกนิ กำ� ลงั ยดึ เสน้ ทาง สายกลางของความพอดี แสวงหาความพอเหมาะพอดไี ดด้ ลุ ยภาพ การผลิตหรือการด�ำเนินธุรกิจมุ่งเน้นให้ความส�ำคัญกับการดูแล และบริหารอยา่ งทว่ั ถึง เพอื่ ใหเ้ ป็นไปตามก�ำลังความสามารถและ เงนิ ทุนท่มี อี ยู่ โดยค�ำนึงถงึ ความม่ันคงและย่ังยืนเป็นสำ� คญั ๓๕

๒ เงื่อนไขตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑. เงือ่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับ วชิ าการตา่ ง ทเ่ี กยี่ วขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น ความรอบคอบทจี่ ะนำ� ความรู้ เหลา่ น้นั มาพิจารณาให้เชือ่ มโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและ ความระมัดระวงั ในข้นั ปฏบิ ัติ เชน่ การนำ� เงอ่ื นไขความร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวนั ด้านการประกอบอาชีพ คือผู้ท่ีจะท�ำงานอย่างใดจ�ำต้องมีความรู้ ในเร่ืองนน้ั เปน็ เบ้อื งต้น นอกจากความรู้จากการศึกษาในโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยท่ีน�ำมาใช้ในการประกอบอาชีพหรือท�ำงาน การศึกษาหาความรู้เพมิ่ เตมิ ยงั ชว่ ยเพิม่ พูนความรซู้ ่ึงสามารถนำ� ไป เช่อื มโยงกบั ความรู้ท่ีมอี ยู่ เพอื่ น�ำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล โดยการตัดสินใจและการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งซงึ่ ตอ้ งอาศยั ทง้ั ความรแู้ ละคณุ ธรรมเปน็ พนื้ ฐาน ๒. เง่ือนไขคุณธรรม คือมีความตระหนักในคุณธรรม มีความชอ่ื สัตย์สุจริต มีความ พากเพียร อดทน และใช้สติปัญญา ในการด�ำเนินชีวติ เช่น ด�ำเนนิ ชวี ิตดว้ ยการประพฤติปฏิบัติตนอยู่ ในความสจุ ริต ในกฎกติกาของสงั คม มีการกระท�ำท่มี ุ่งดี มเี มตตา และการมุ่งช่วยเหลือเก้ือกูลต่อเพ่ือนร่วมงาน ย่อมท�ำให้ผู้ท่ีมี ปฏสิ มั พนั ธต์ อ่ กันนำ� มาซ่งึ ความไว้วางใจจากเพอื่ นร่วมงาน ทำ� ให้ งานแตล่ ะอย่างสำ� เรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี ๓๖

แนวคิดในการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง กบั การด�ำเนินชวี ติ ประจ�ำวัน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมายอยู่ที่ “คน” คือช่วยให้คนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ระดบั หนึง่ และ อยรู่ ่วมกับผ้อู น่ื ในสงั คมได้อย่างสนั ติสุข ซึ่งจะสง่ ผลใหอ้ ยู่ร่วม กับธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน การประยุกต์ใช้ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การดำ� เนนิ ชวี ติ ประจำ� วนั ต้องเริม่ จากระดบั ตัวบคุ คล ครอบครวั องค์กร ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ นอกจากน้ีการน�ำไปใช้ต้องเข้าใจอย่าง ถ่องแท้วา่ หลักปรชั ญามอี ยู่ ๓ หว่ ง (ความพอประมาณ ความ มเี หตผุ ล และการมภี มู คิ มุ้ กนั ทดี่ ใี นตน) ๒ เงอื่ นไข (ความรู้ และ คุณธรรม) ล�ำดับขั้นตอนการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ต้องสอดคล้องกับวัฒนธรรมไทยตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ท่เี รยี กว่า“ทางสายกลาง” โดยต้องค�ำนึงถึง 4 มิติ (ภูสิทธ์ ขันติกุล,๒๕๕๕) ดังนี้ ๓๗

๑. มติ ดิ า้ นเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ การดำ� เนนิ ชวี ติ ประจำ� วนั โดยยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว้ ย ความถกู ตอ้ งสจุ รติ ปฏบิ ตั ติ น ในแนวทางท่ีดี ยึดความประหยัด ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ มีวินัยในการใช้จ่าย รู้จักวิเคราะห์รายรับรายจ่ายของตนเอง ด้วยการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน ใช้ชีวิตอย่างพอควร คิดและ วางแผนอย่างรอบคอบ ไม่เส่ียงเกินไป มีการเผื่อทางเลือก สำ� รองไวเ้ สมอเพอื่ ใหม้ ภี มู คิ มุ้ กนั โดยอาศยั ความรคู้ วามสามารถ ท่ีมีอยู่ในการคิดวางแผนอย่างเป็นระบบเพื่อพึ่งพาตนเองให้ มากที่สุด ซ่ึงสอดคล้องกับหลัก ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มิตดิ า้ นสงั คม ได้แก่ การช่วยเหลอื เก้ือกูลกนั รูร้ ัก สามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ ครอบครัวและชุมชน เช่น ยดึ ความเป็นอย่แู บบพอเพียง มีอิสระในการคิด การท�ำ และ รว่ มมอื กบั ผอู้ นื่ ยอมรบั ความคดิ เหน็ ผอู้ นื่ ทำ� สงิ่ ทเี่ กดิ ประโยชน์ ตอ่ สว่ นรวมโดยไมห่ วงั สง่ิ ตอบแทน ทำ� ใหม้ คี วามสขุ ความสงบ ตามอัตภาพ นำ� ทรพั ยากรในทอ้ งถิน่ มาใช้อย่างคมุ้ คา่ และเกิด ประโยชน์สูงสุดท้ังต่อตนเองและชุมชนส่วนรวม รวมท้ัง เปน็ การตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาเพอื่ ใหเ้ กดิ รายไดแ้ กช่ มุ ชน ซงึ่ นอกจาก สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ยังส่งผลให้สังคม มีความเข้มแข็งและอย่รู ่วมกันอยา่ งมีความสุข ๓๘

๓. มติ ดิ ้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ รู้จักใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง ฉลาดและรอบคอบ เลือกใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างรู้ค่าและ เกิดประโยชน์สูงสุด รวมท้ังมีการฟื้นฟูทรัพยากรเพ่ือให้เกิด ความย่ังยืนสูงสุด เช่น น�ำทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้าง รายไดใ้ หเ้ กดิ ขนึ้ ทงั้ ตอ่ ตนเองและชมุ ชนสว่ นรวม เชน่ ในทอ้ งถน่ิ มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและมีการน�ำทรัพยากรและ ส่ิงแวดล้อมเหล่านั้นมาพัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ท�ำให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติท่ีเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะถนิ่ ๔. มิตดิ ้านวัฒนธรรม ได้แก่ รักและเห็นคณุ คา่ ใน ความเป็นไทย เอกลักษณ์ไทย เห็นประโยชน์และคุ้มคา่ ของ ภมู ิปญั ญาไทย ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ รู้จกั แยกแยะและเลอื กรบั วัฒนธรรมอ่ืน ๆ เช่น มีการน�ำความคิดใหม่ ๆ มาประยกุ ต์ ใช้เพ่ือต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ที่เป็นความคิดสร้างสรรค์ต่อยอดมาจากขนบธรรมเนียม ประเพณีและภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ทมี่ อี ยูเ่ ดมิ มงุ่ เน้นการสบื ทอด เพ่อื สรา้ งอัตลักษณ์ด้านวฒั นธรรมใหก้ ับชุมชนทอ้ งถ่ิน ๓๙

จากทกี่ ลา่ วมา การประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและแนวคิดในการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงกับการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ในทัศนะ ของผู้เรียบเรียงนอกจากเป็นการน้อมน�ำหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาเปน็ แนวทางปฏบิ ตั ใิ หอ้ ยดู่ มี สี ขุ มภี มู คิ มุ้ กนั ทีด่ ีในตัว หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยังเป็นค�ำสอน, ที่ทรงคุณค่า เป็นศาสตร์ของราชาซึ่งพระองค์ท่านทรงสอน ให้เราพิจารณา ให้รู้จักรักษาพ้ืนฐานการด�ำรงชีวิตอยู่แบบ ความพออยู่พอกินและใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ดังพระบรม ราโชวาทตอนหน่ึงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลย เดช บรมราถบพิตร เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ให้ไว้ ณ ศาลาดุสิดาลัย เม่ือวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ ท่ี ผู้เรยี บเรยี งขออญั เชญิ มาแสดงไว้ ณ ทนี่ ้ี ความวา่ ๔๐

“...คนอนื่ จะว่าอย่างไรกช็ ่างเขา จะว่าเมืองไทย ล้าสมัยว่าเมืองไทยเชยว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งสมัยใหม่แต่ เราอยพู่ อมพี อกนิ และขอใหท้ กุ คนมคี วามปรารถนาทจ่ี ะ ใหเ้ มอื งไทยพออยูพ่ อกนิ มีความสงบ และท�ำงานต้ังจิต อธิษฐานต้ังปณิธาน ในทางน้ีที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบ พออยู่พอกนิ ไมใ่ ช่วา่ จะรุ่งเรืองอยา่ งยอด แตว่ า่ มคี วาม พออยพู่ อกิน มคี วามสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอน่ื ๆ ถา้ เรารกั ษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดย่ิงยอด ได.้ ..” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมราถบพิตร เน่ืองในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ให้ไว้ ณ ศาลาดุสดิ าลยั เมือ่ วันที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ ๔๑

๒) การประยกุ ต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในงานอาชพี “...การงานทกุ อยา่ งทกุ อาชพี ยอ่ มจะมจี รรยาบรรณ ของตนเอง จรรยาบรรณนนั้ จะบญั ญตั เิ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร หรอื ไมก่ ต็ าม แตเ่ ปน็ สง่ิ ทย่ี ดึ ถอื วา่ เปน็ ความดงี ามทคี่ นอาชพี นน้ั พงึ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ หากผใู้ ดลว่ งละเมดิ กอ็ าจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย ทงั้ แกบ่ คุ คล หมคู่ ณะ และสว่ นรวมได.้ ..” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวทิ ยาลัยมหิดล ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ๔๒

การน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอาชพี สามารถนำ� ไปใชไ้ ดใ้ นหลายระดบั หลายรูปแบบและหลายมิติ ไม่มีสูตรส�ำเร็จแม้จะเป็น กรอบแนวคดิ เดยี วกนั จดุ มงุ่ หมายเพอ่ื การพฒั นาทสี่ มบรู ณ์ และยงั่ ยนื ประกอบกอบดว้ ย 3 หว่ ง ไดแ้ ก่ ความมเี หตผุ ล ความพอประมาณ การมภี มู คิ ้มุ กัน และ 2 เงอื่ นไข ได้แก่ ความรู้ และ คณุ ธรรม และเพอื่ ใหม้ ลี กั ษณะของปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียงท่ีสมบูรณ์ การน�ำไปประยุกต์ใช้ต้อง ครบทุกองคป์ ระกอบ ซ่งึ หากขาดองค์ประกอบใด ก็จะไม่ เปน็ เศรษฐกิจพอเพียงที่สมบรู ณอ์ ย่างแท้จรงิ ตวั อยา่ งเชน่ การน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ กบั การดำ� เนนิ ธรุ กจิ หากใชห้ ลกั ความพอประมาณ เปน็ การ ลงทุนในธรุ กจิ เอสเอม็ อีขนาดเล็กหรอื ขนาดกลาง ท่ีใชเ้ งนิ ทนุ หรืองบประมาณไม่มาก คาดหวังวา่ จะสามารถบริหาร จัดการได้ ด้วยแรงงานของคนในครอบครัวหรือแรงงาน จากคนในชุมชน แต่หากขาดความรู้และความรอบคอบ ในการวางแผนงาน ยอ่ มเกิดผลกระทบดา้ นลบ หรือท�ำให้ ๔๓

การบรหิ ารธรุ กิจเกดิ ความล้มเหลวได้ หรอื มคี วามรแู้ ละ ใช้ความรอบรู้ในการวางแผนระยะยาว แต่ขาดความ พอประมาณ ขาดภูมคิ ้มุ กันความเสย่ี ง ไมม่ ีการวางแผน รองรับความเปล่ียนแปลงท่ีอาจเกดิ ขน้ึ จากสถานการณ์ ตา่ ง ๆ กอ็ าจไดร้ บั ผลกระทบและกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย แก่องคก์ รธุรกิจและสว่ นรวมได้ (กรรณกิ าร์ ภิรมยร์ ตั น์, ๒๕๕๓) ๑. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ปรชั ญาขจัดความ ยากจนและการลดความเสย่ี งของเศรษฐกจิ การนำ� มาประยกุ ต์ใช้ ในงานอาชีพจงึ ไม่เนน้ การพฒั นาขนาดใหญท่ ี่ใชง้ บประมาณมาก หรือต้องขอกู้เงินจากสถาบันการเงินต่าง ๆ มาเพ่ือใช้ในการ พัฒนาองค์กรธุรกจิ แตม่ งุ่ เนน้ การบริหารให้องค์กรสามารถพึ่งพา ตนเองและมสี ภาพคลอ่ งทางการเงนิ สามารถบรหิ ารใหธ้ รุ กจิ เติบโต ไดโ้ ดยไมม่ ีภาระหนี้สิน ๒. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพ้ืนฐานของการ สร้างพลัง อ�ำนาจให้องค์กรธุรกิจเข้มแข็ง ไม่ว่าจะเป็นองค์กร ธุรกิจขนาดเล็กหรือเป็นกิจการเจ้าของคนเดียว การน�ำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ท�ำให้มีภูมิคุ้มเมื่อ ประสบปญั หาในการบรหิ าร กส็ ามารถนำ� พาธรุ กจิ ใหผ้ า่ นพน้ วกิ ฤต และสามารถพัฒนาหรือบริหารท�ำให้ธรุ กจิ ประสบความส�ำเร็จได้ อย่างยงั่ ยืน ๔๔

๓. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงช่วยยกระดับความ รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม เมอื่ นำ� มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอาชพี ดว้ ยการสรา้ ง ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการบรหิ ารธรุ กจิ เพอ่ื ใหม้ ผี ลกำ� ไรในระยะยาว จากบรบิ ท ที่มีการแข่งขันด้านการตลาด ด้วยการสร้างความพึงพอใจให้แก่ ลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสีย มากกว่ามุ่งเน้นท่ีจะเอาชนะคู่แข่งทาง การตลาดด้วยกลวธิ ีอน่ื ๆที่นอกจากจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ แลว้ ยงั เปน็ การเบยี ดเบยี นหรอื ทำ� รา้ ยตนเองทางออ้ ม เชน่ การตดั ราคา สนิ คา้ หรอื ลดคณุ ภาพของสนิ คา้ ลงและทำ� ใหไ้ ดป้ รมิ าณเพม่ิ มากขน้ึ เพอ่ื ใหม้ ีผลตอ่ การแขง่ ขนั ด้านการตลาด เปน็ ตน้ ๔. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความส�ำคัญอย่างย่ิง ตอ่ การนำ� มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบรหิ ารองคก์ รธรุ กจิ เชน่ สรา้ งมาตรฐาน ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ไม่มุ่งเน้นหวังผลก�ำไรจนกลายเป็น เอาเปรียบผบู้ รโิ ภค ๕. การนำ� ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกตใ์ ช้ใน การบรหิ ารธุรกิจ ตามหลักความพอประมาณ โดยประเมินความ สามารถขององค์กรธุรกิจว่ามีความสามารถในด้านใด ส�ำรวจ ทุนทรัพย์ ทุนวัตถุดิบ และทุนบุคลากร เพ่ือวางแผนบริหาร จัดการความเสีย่ งอย่างรัดกมุ ๔๕

จากที่ผู้เรียบเรียงได้กล่าวมาข้างต้นเห็นได้ว่าหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพลังในการพัฒนาอาชีพอย่างยั่งยืน เพราะเรม่ิ จากการพฒั นาทตี่ วั บคุ คลใหม้ คี วามพอเพยี งพอประมาณ มีเป้าหมายในการใช้ชีวิต มีความยืดหยุ่นปรับเปล่ียนได้ตาม สถานการณ์ มีความรู้รวมท้งั มกี ารน�ำความรแู้ ละนวตั กรรมใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งในการท�ำงานและ การด�ำเนนิ ชีวติ ิส่วนตวั การนำ� หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวิต จึงเป็นการพัฒนาคนท้ังในส่วน นามธรรมและรปู ธรรม และยังมีเร่อื งของคุณธรรมเข้ามาเก่ียวข้อง ซ่ึงสอดคลอ้ งกับหลกั ๓ ห่วง (ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการมภี มู คิ ้มุ กนั ท่ดี ีในตน) ๒ เงอ่ื นไข (ความรู้ และคณุ ธรรม) เม่ือตวั บุคคล มีโอกาสปรับปรุงและพฒั นาศักยภาพใหม้ ชี วี ิตอย่าง มีคุณภาพ ย่อมส่งผลต่อการพัฒนาในด้านอ่ืน ๆรวมท้ังพัฒนา องค์กรธุรกิจหรือพัฒนาอาชีพให้เห็นเด่นชัดมากย่ิงขึ้น ส่งผล ให้การด�ำเนินชีวิตและการประกอบสัมมาอาชีพในชีวิตประจ�ำวัน มีความแขง็ แกรง่ และเจรญิ กา้ วหนา้ อย่างยัง่ ยืน ๔๖

๓) การประยกุ ตใใ์ นชห้กาลรกั ดปแู รลชั สญขุ าภขาอพงเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพติ ร แห่งบรมราชจกั รวี งศ์ พระองคท์ รงมพี ระอัจฉรยิ ภาพ อันมากล้นเหลือคณานับ ทรงมีพระราชด�ำรัสเร่ืองปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงแก่ประชาชนชาวไทยมานาน นับต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็นต้นมา ท้ังน้ีเพื่อให้ประชาชนได้ใช้เป็นแนวทางใน การปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันและสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้ท่ามกลาง ความเปลย่ี นแปลงของส่ิงแวดลอ้ ม โดยแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง มงุ่ เนน้ ทคี่ น การพฒั นาคนเปน็ สงิ่ สำ� คญั ปจั จบุ นั ไดม้ กี ารนำ� แนวคดิ มาบูรณาการด้านต่าง ๆรวมท้ังด้านสุขภาพ ต้ังแต่แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี ๙-๑๒ ได้น้อมน�ำปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งมาเป็นแนวทางการพฒั นาสขุ ภาพอย่างต่อเน่อื ง ๔๗

สำ� หรบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ไดใ้ ช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาเปน็ แนวคดิ ในการพฒั นาประเทศ และทำ� ใหค้ นไทยเปน็ คนทม่ี สี ขุ ภาวะ และสุขภาพท่ีดี โดยกลา่ วว่า สุขภาพดีของประชาชนมาจากการ มีสงั คมอยเู่ ย็นเป็นสุข และการท่ปี ระชาชนจะมสี ุขภาพดกี ็ต้องได้ รบั โอกาสให้เขา้ ร่วมในการดูแลสขุ ภาพตนเอง ซ่งึ เปน็ การลดคา่ ใช้ จา่ ยในการรักษาพยาบาลได้อีกทางหน่ึง การที่ประชาชนทุกคนมี สุขภาพดีก็สามารถดูแลคนในครอบครัวและชุมชนให้มีสุขภาพดี ตามมาดว้ ย จากปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งซง่ึ ประกอบด้วย 3 ห่วง ได้แก่ ความมีเหตุผล ความพอประมาณ การมีภูมิคมุ้ กัน และ 2 เงอื่ นไข ได้แก่ ความรู้ และ คณุ ธรรม จะเห็นไดว้ ่าแนวคิดปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับการดูแล สุขภาพได้ ซ่ึงผู้เรียบเรียงได้สะท้อนการประยุกต์ใช้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงกับการมีสุขภาพดีออกเป็น ๒ ด้าน ได้แก่ ลักษณะสขุ ภาพดพี อเพยี ง และวิธกี ารท�ำใหส้ ขุ ภาพดพี อเพยี ง ๔๘

๑. สุขภาพดีพอเพียง สขุ ภาพพอเพยี ง หมายถึง การมสี ุขภาพดแี ละไมเ่ จ็บปว่ ย การตรวจสขุ ภาพอยา่ งสม�่ำเสมอ การดแู ลสขุ ภาพตนเอง การอยู่ อยา่ งพอเพยี ง และการหลกี เล่ียงความเส่ยี ง โดยมแี นวทางปฏบิ ตั ิ ดังน้ี - การมีสขุ ภาพดีและไม่เจ็บปว่ ย เป็นภาวะของสขุ ภาพท่ี มีความสมดลุ โดยดแู ลสขุ ภาพรา่ งกายของกาย จิตใจ จิตวญิ ญาณ ความสมั พนั ธท์ างสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มภายนอกถา้ มกี ารเปลย่ี นแปลง ของสิ่งแวดล้อมภายนอก ก็สามารถปรับตัวเพ่ือรักษาสุขภาพให้ สมดลุ ได้ - การตรวจสขุ ภาพอยา่ งสมำ่� เสมอ เป็นแนวทางปฏบิ ตั ทิ ่ี เปรยี บเสมือนการมีภูมิค้มุ กนั ทด่ี ี คอื การเฝา้ สงั เกตสุขภาพตนเอง เป็นประจ�ำ ซง่ึ สามารถทำ� ไดด้ ว้ ยตนเอง - การดูแลสุขภาพตนเอง เป็นการปฏิบัติตัวของบุคคล แต่ละคนในการดูแลตนเองเพื่อการด�ำรงไว้ซ่ึงการมีสุขภาพที่ดี โดยที่บุคคลควรประเมินตนเองก่อนในเร่ืองความสามารถในการ ดูแลตนเอง และเลือกวิธีการดูแลตนเองให้เหมาะสมกับภาวะ สุขภาพของตนเอง ๔๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook