Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Published by Ambew Channel, 2021-02-09 06:33:29

Description: สื่อการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี สำรสนเทศ ส่ือการเรี ยน จัดทำโดย นางสาวกนกกิติกลุ นุตะดี 1

คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ำรสนเทศ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในบทน้ีจะกล่าวถึง ความหมายของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ประโยชน์ที่มนุษยน์ ามาใชด้ า้ นต่างๆ 1.1 ควำมหมำยของของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหน่ึงที่ทางานดว้ ยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ สามารถจาขอ้ มูลและคาส่ังได้ ทาให้ สามารถทางานไปไดโ้ ดยอตั โนมตั ิดว้ ยอตั ราความเร็วที่สูงมาก ใชป้ ระโยชน์ในการคานวณหรือการทางานต่างๆได้ เกือบทุกชนิด คอมพิวเตอร์เป็ นเคร่ืองมือที่ช่วยในการคานวณและประมวลผลขอ้ มูล ซ่ึงประกอบดว้ ย คุณสมบตั ิ 3 ประการ คือ ควำมเร็ว (Speed) เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานดว้ ยความเร็วสูงมาก หน่วยความเร็วของการทางานของคอมพิวเตอร์วดั เป็ น - มิลลิเซกนั (Millisacond) ซ่ึงเทียบความเร็วเท่ากบั 1/1,000 วินาที - ไมโครเซกนั (Microsecond) ซ่ึงเทียบความเร็วเท่ากบั 1/1,000,000 วินาที - นาโนเซกนั (Nanosacond) ซ่ึงเทียบความเร็วเท่ากบั 1/1,000,000,000 วินาที หน่วยควำมจำ )Memory) เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปดว้ ยหน่วยความจา สามารถใชบ้ นั ทึกและเก็บขอ้ มูลไดค้ ราวละมากๆ สามารถเก็บ คาส่ังต่อๆ กนั ท่ีเราเรียกว่า โปรแกรม และนามาประมวลในคราวเดียวกนั ซ่ึงเป็ นปัจจยั ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถ ทางานเก็บขอ้ มูลไดค้ ราวละมากๆ และสามารถประมวลผลไดเ้ ร็วและถูกตอ้ ง 2

1.2ควำมสำมำรถในกำรเปรียบเทียบ)Logical) เคร่ืองคอมพิวเตอร์ประกอบดว้ ยหน่วยคานวณและตรรกะ นอกจากจะมีความสามารถในการคานวณแลว้ ยงั มี ความสามารถในการเปรียบเทียบ ความสามารถน้ีเองท่ีทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างกบั เครื่องคิดเลข และคุณสมบตั ิ น้ีที่ทาให้นกั คอมพิวเตอร์สร้างโปรแกรมอตั โนมตั ิข้ึนใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง คอมพิวเตอร์ยงั มีความแม่นยาในการ คานวณ มีความเท่ียงตรงแมจ้ ะทางานเหมือนเดิมซ้ากนั หลายรอบ และสามารถติดต่อส่ือสารกบั คอมพิวเตอร์เคร่ือง อื่นๆ อีกดว้ ย 1.3 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ การใชป้ ระโยชน์จากคอมพิวเตอร์กระจายไปอยใู่ นทุกวงการ - ดา้ นธุรกิจ ไดแ้ ก่การนาคอมพิวเตอร์มาประมวลงานดา้ นธุรกิจ - ดา้ นการธนาคาร ปัจจุบนั ทุกธนาคารจะนาระบบคอมพิวเตอร์มาใชง้ านในองคก์ รของตนเพื่อให้บริการลูกคา้ - ดา้ นตลาดหลกั ทรัพย์ ตลาดหลกั ทรัพยเ์ ป็ นศูนยก์ ลางการซ้ือขายหลกั ทรัพย์ จะมีขอ้ มูลจานวนมากและ ตอ้ งการความรวดเร็วในการปฏิบตั ิงาน - ธุรกิจโรงแรม ระบบคอมพิวเตอร์สามารถใชใ้ นการบริหารโรงแรม การจองห้องพกั การติดต้งั ระบบ Online ตามแผนกต่างๆ - การแพทย์ มีการนาระบบคอมพิวเตอร์มาใชอ้ ย่างกวา้ งขวาง เช่น ทะเบียนประวตั ิคนไข,้ ระบบขอ้ มูลการให้ ภูมิคุม้ กนั โรค,สถิติดา้ นการแพทย,์ ดา้ นการบญั ชี - วงการศึกษา การนาคอมพิวเตอร์มาใชก้ บั สถาบนั การศึกษาจะมี ระบบงานท่ีเก่ียวกบั การเรียนการสอน การ วิจยั การบริหาร ดา้ นอุตสาหกรรมทว่ั ไป - ดา้ นธุรกิจสายการบิน สายการบินต่างๆทวั่ โลกไดน้ าเอาคอมพิวเตอร์มาใชง้ านอยา่ งแพร่หลายโดยเรพาะงาน - การสารองท่ีนง่ั และเทีีี ่ยวบิน ดา้ นการบนั เทิง เช่น วงการภาพยนตร์ การดนตรี เตน้ รา - 3

1.4 ควำมหมำยและควำมสำคัญของเทคโนโลยีสำรสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ มาจากคาภาษาองั กฤษวา่ Information Technology และมีผนู้ ิยมเรียกทบั ศพั ทย์ อ่ วา่ IT สุชาดา กีระนนั ท์ (2541) ใหค้ วามหมายวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยที ุกดา้ นท่ีเขา้ ร่วมกนั ใน กระบวนการจดั เกบ็ สร้าง และสื่อสารสนเทศ ครรชิต มาลยั วงศ์ (2539) กล่าววา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ประกอบดว้ ย เทคโนโลยที ่ีสาคญั สองสาขาคือ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยสี ่ือสารโทรคมนาคม โดยทวั่ ไปแลว้ เทคโนโลยสี ารสนเทศจะครอบคลุมถึงเทคโนโลยตี ่างๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การบนั ทึก จดั เกบ็ ประมวลผลสืบคน้ ส่งและรับ ขอ้ มูลในรูปของสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ซ่ึงรวมถึงเคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์จดั เกบ็ บนั ทึกและ คน้ คืน เครือขา่ ยส่ือสาร ขอ้ มูล อุปกรณ์สื่อสารและโทรคมนาคม รวมท้งั ระบบที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์เหล่าน้ี ครรชิต มำลยั วงศ์ (2541) กล่ำวว่ำ เทคโนโลยสี ำรสนเทศมีควำมสำคญั ดงั นี้ 1. สามารถจดั เกบ็ ขอ้ มูลจากจุดเกิดไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 2. สามารถบนั ทึกขอ้ มูลจานวนมากๆไวใ้ ชง้ านหรือไวอ้ า้ งอิงการดาเนินงานหรือการตดั สินใจใดๆ 3. สามารถคานวณผลลพั ธ์ต่างๆไดร้ วดเร็ว 4. สามารถสร้างผลลพั ธไ์ ดห้ ลากหลายรูปแบบ 5. สามารถส่งสารสนเทศ ขอ้ มูล หรือผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ากที่หน่ึงไปยงั อีกท่ีหน่ึงไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 1.5 ชนิดของคอมพวิ เตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั สามารถแบ่งเป็ นประเภทต่างๆ โดยใชค้ วามแตกต่างจากขนาดของเคร่ือง ความเร็วใน การประมวลผล รวมท้งั ราคาเป็ นหลกั ซ่ึงแบ่งไดเ้ ป็ นดงั น้ี คือ 1.5.1 ซูเปอร์คอมพวิ เตอร์ Super Computer เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในปัจจุบนั สามารถแบ่งเป็นประเภทตา่ งๆ โดยใชค้ วามแตกต่างจากขนาดของเคร่ือง ความเร็วในการประมวลผล รวมท้งั ราคาเป็นหลกั ซ่ึงแบ่งไดเ้ ป็นดงั น้ี คอื การพยากรณ์อากาศล่วงหนา้ เป็ นเวลาหลาย วนั งานควบคุมขีปนาวุธ งานควบคุมทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งานดา้ นวิทยาศาสตร์เคมี งาน ทาแบบจาลองโมเลกุลของสารเคมี งานดา้ นวิศวกรรมการออกแบบ งานวิเคราะห์โครงสร้างอาคารที่ซบั ซอ้ น 4

1.5.2 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ Mainframe Computer หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ีมีสมรรถะสูง แต่ยงั ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ มีความเร็วสูงมาก มี หน่วยความจาขนาดมหึมา เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผูใ้ ชจ้ านวนหลายร้อยคน ท่ีใชโ้ ปรแกรมที่ แตกต่างกนั นบั ร้อยพร้อมๆ กนั ได้ เหมาะกบั การใชง้ านท้งั ในดา้ นวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเรพาะงาน ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ขอ้ มูลจานวนมากๆ เคร่ืองเมนเฟรมไดร้ บั การพฒั นาใหม้ ีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยพรอ้ มๆ กนั เช่นเดียวกบั ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ แต่จะมีจานวนหน่วยประมวลท่ีนอ้ ยกว่า และเคร่ืองเมนเฟรมจะวดั ความเรว็ อย่ใู นหน่วยของเม กะฟลอป (Megaflop) หรือการคานวณหน่ึงลา้ นครงั้ ในหน่ึงวินาที ขอ้ เด่นของการใชเ้ มนเฟรมจึงอยู่ท่ีงานที่ตอ้ งการ ให้มีระบบศูนยก์ ลาง และกระจายการใชง้ านไปเป็ นจานวนมากเช่น ระบบเอทีเอ็มซ่ึงเชื่อมต่อกบั ฐาน 1.5.3 มินิคอมพวิ เตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง มีสมรรถนะต่ากว่าเครื่องเมนเฟรม แต่สูงกว่าเวิร์คสเตชนั จุดเด่นที่สาคญั คือ ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม และการใชง้ านใชบ้ ุคลากรไม่มากนกั มินิคอมพิวเตอร์เร่ิมพฒั นาข้ึนใน ค.ศ. 1960 ต่อมาบริษทั Digital Equipment Corporation หรือ DEC ได้ ประกาศตวั มินิ คอมพิวเตอร์ DEC PDP-8 (Programmed Data Processor) ในปี ค.ศ.1965 การทางานบนเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์ ผใู้ ชจ้ ะสามารถควบคุมการรับขอ้ มูลและดูการแสดงผลบน จอภาพไดเ้ ท่าน้นั ไม่สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบขา้ งอ่ืนๆ ได้ แต่การใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ ชนิดที่มีผใู้ ชค้ นเดียวน้นั ผูใ้ ชส้ ามารถควบคุมอุปกรณ์รอบขา้ งต่างๆ ไดท้ ้งั หมด ไม่ว่าจะเป็ นหน่วยรับขอ้ มูลหน่วยประมวลผล หน่วย แสดงผล ตลอดจนหน่วยเก็บขอ้ มูลสารอง สามารถเลือกใชโ้ ปรแกรมได้ โดยไม่ตอ้ งกงั วลว่าจะตอ้ งไปแยง่ เวลาการ เรียกใชข้ อ้ มูลกบั ผใู้ ชอ้ ื่น 1.5.4 เวิร์คสเตชน่ั และไมโครคอมพิวเตอร์ เวิร์คสเตชัน หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ ที่ถูกออกแบบมาให้เป็ นคอมพิวเตอร์แบบต้งั โต๊ะ สามารถทางานพร้อม กนั ไดห้ ลายงาน และประมวลผลเร็วมาก มีความสามารถในการคานวณดา้ นวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอ่ืนๆ ท่ีเนน้ การแสดงผลดา้ นกราฟิ ก เช่น นามาช่วยในโรงงานอุตสาหกรรมเพ่ือออกแบบชิ้นส่วน เป็ นตน้ 5

ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ และใชง้ านคนเดียว เรียกอีกช่ือหน่ึงว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer( จดั ว่าเป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ ท้งั ระบบใชง้ านคร้ังละคนเดียว หรือใชง้ านในลกั ษณะ เครือข่าย แบ่งไดห้ ลายลกั ษณะตามขนาด เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบต้งั โต๊ะ (Personal Computer( หรือ แบบพกพา (Portable Computer( 1.6 กำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนเพ่ือช่วยให้ทางานไดเ้ ร็ว สะดวก และแม่นยามากข้ึน การใชค้ อมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานอยา่ งไดม้ ีประสิทธิภาพ จึงตอ้ งเรียนรู้ และเขา้ ใจ ส่วนประกอบ วิธีการทางานของ คอมพิวเตอร์ มีข้นั ตอนสาคญั คือ ข้ันตอนที่ 1 การรับขอ้ มูลและคาสั่ง คอมพิวเตอร์รับขอ้ มูลและคาส่ังผ่านอุปกรณ์นาเขา้ ขอ้ มูล คือ เมาส์ คียบ์ อร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ ข้ันตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคานวณ ขอ้ มูลที่คอมพิวเตอร์รับเขา้ มา จะถูกประมวลผลโดยการทางานของ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) ตามคาสั่งของโปรแกรม หรือซอฟตแ์ วร์ การประมวลผล ขอ้ มูล เช่น นาขอ้ มูลมาบวก ลบ คูณ หาร ทาการเรียงลาดบั ขอ้ มูล นาขอ้ มูลมาจดั กลุ่ม นาขอ้ มูลมาหาผลรวม เป็ นตน้ ข้ันตอนที่ 3 การแสดงผลลพั ธ์ คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลพั ธ์ของขอ้ มูลท่ีป้อน หรือแสดงผลจากการประมวลผล ทางจอภาพ (Monitor) เครื่องพิมพ์ (Printer) หรือลาโพง ข้ันตอนที่ 4 การเก็บขอ้ มูล คอมพิวเตอร์จะทาการเก็บผลลพั ธ์จากการประมวลผลไวใ้ นหน่วยเก็บขอ้ มูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบนั ทึกขอ้ มูล (Floppy disk) ซีดีรอม เพ่ือให้สามารถนามาใชใ้ หม่ไดใ้ นอนาคต 1.6.1 จอภำพ )Monitor) 6

อาจเรียกทบั ศพั ทว์ า่ มอนิเตอร์ (Monitor), สกรีน (Screen), ดิสเพลย์ (Display) เป็นอุปกรณ์ที่ใชแ้ สดงผลท้งั ขอ้ ความ ภาพน่ิง และภาพเคล่ือนไหว จอภาพในปัจจุบนั ส่วนมากใชจ้ อแบบหลอดภาพ (CRT หรือ Cathode Ray Tube) เหมือน จอภาพของเคร่ืองรับโทรทศั น์ และจอแบบผลึกเหลว (LCD หรือ Liquid Crystal Display) มีลกั ษณะเป็นจอแบน 1.6.2 ตัวเคร่ือง )Computer Case) เป็นส่วนท่ีเกบ็ อุปกรณ์หลกั ของคอมพวิ เตอร์ เช่น CPU, Disk Drive, Hard Disk ฯลฯ 1.6.3. คยี ์บอร์ด )Keyboard) หรือแป้นพมิ พ์ เป็นอุปกรณ์ท่ีใชพ้ มิ พค์ าสง่ั หรือป้อนขอ้ มูลเขา้ สู่คอมพวิ เตอร์ คียบ์ อร์ดมีลกั ษณะคลา้ ยแป้นพิมพด์ ีด แต่ จะมีป่ ุมพมิ พม์ ากกวา่ 7

1.6.4 เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการช้ีตาแหน่งต่างๆบนจอภาพ ซ่ึงจะเป็นการสงั่ ใหค้ อมพิวเตอร์ทางาน เช่นเดียวกบั การป้อนคาสงั่ ทางคียบ์ อร์ด เมื่อเล่ือนเมาส์ไปมาจะทาใหเ้ ครื่องหมายช้ีตาแหน่งบนจอภาพ (Cusor) เล่ือนไปในทิศทางเดียวกนั กบั ที่ เล่ือนเมาส์น้นั 1.6.5 เครื่องพมิ พ์ )Printer) เป็นอุปกรณ์ท่ีใชแ้ สดงผลขอ้ มูลออกมาทางกระดาษ เคร่ืองพมิ พม์ ีหลายแบบ เช่น เครื่องพมิ พจ์ ุด (Dot Matrix Printer) เครื่องพมิ พเ์ ลเซอร์ (Laser Printer) และเคร่ืองพมิ พแ์ บบพน่ หมึก (Inkjet Printer) เป็นตน้ 1.6.6 สแกนเนอร์ )Scanner) เป็นอุปกรณ์นาเขา้ ขอ้ มูล โดยเอารูปภาพหรือขอ้ ความมาสแกน แลว้ จดั เกบ็ ไวเ้ ป็นไฟลภ์ าพ เพื่อนาไปใชง้ านตอ่ ไป เครื่องสแกนมีท้งั ชนิด อ่านไดเ้ รพาะภาพขาวดา และชนิดอ่านภาพสีได้ นอกจากน้ียงั มีชนิดมือถือ 8

1.6.7 โมเดม็ )Modem) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหนา้ ที่แปลงสญั ญาณคอมพิวเตอร์ใหส้ ามารถส่งไปตามสายโทรศพั ทไ์ ด้ และแปลงขอ้ มูลจาก สายโทรศพั ทใ์ หเ้ ป็นสัญญาณที่คอมพวิ เตอร์สามารถรับรู้ได้ 2.ฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ ประกอบดว้ ยอุปกรณ์ท่ีสาคญั ส่วน 2 2.1 Hardware เป็ นส่วนท่ีประกอบของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่สามารถมองเห็นและสมั ผสั ได้ เช่น ไมโครโปรเซสเซอร์ หน่วยความจา อุปกรณ์เกบ็ ข้อมลู 9

อุปกรณ์ รั บข้อมลู อุปกรณ์ แสดงผลข้อมลู 1.7 Software ชุดคาสงั่ ท่ีเขียนข้ึนโดยโปรแกรมเมอร์ เพอื่ สงั่ ใหเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟตแ์ วร์จะถูกอ่านจากหน่วยบนั ทึก ขอ้ มูล ส่งต่อไปยงั ซีพียู เพอ่ื ควบคุมการประมวลผล และคานวณ ซอฟต์แวร์ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคือ (1) ซอฟต์แวร์ระบบปฏบิ ตั กิ ำร )Operating System Software) เป็นซอฟตแ์ วร์ที่ควบคุมการทางานท้งั หมดของฮาร์ดแวร์ ซ่ึงคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะตอ้ งมีระบบปฏิบตั ิการอยา่ งใด อยา่ งหน่ึงเสมอ ระบบปฏิบตั ิการยอดนิยมในปัจจุบนั น้ี คือ Window Me, Windows XP, OS/2, Unix และ Linux ระบบปฏิบตั ิจะมีการพฒั นา และปรับปรุงใหม้ ีรุ่นใหม่อยเู่ รื่อยๆ ตัวอย่ำงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัตกิ ำร )Operating System Software) 10

(2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ )Application Software) ชุดคาสงั่ ที่เขียนข้ึนเพ่ือสงั่ ใหเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ทางานเรพาะดา้ นต่างๆ ตามท่ีผใู้ ชต้ อ้ งการ ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ตจ์ าแนก ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน )Special Purpose Software) จะมีความเหมาะสมกบั งานเรพาะดา้ น เช่น โปรแกรมสาหรับการซ้ือขาย มีประโยชนก์ บั ร้านคา้ หรือโปรแกรมสาหรับฝากถอนเงิน กจ็ ะมีประโยชนก์ บั องคก์ รเก่ียวกบั การเงิน เช่น ธนาคาร ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป )General purpose Software) เป็นซอฟตแ์ วร์ท่ีสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั งาน ส่วนตวั ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย ทาใหไ้ ดร้ ับความนิยมสูงสุดในปัจจุบนั เช่น Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft PowerPoint, Photoshop และ Oracle เป็นตน้ ตัวอย่ำงซอฟต์แวร์ประยุกต์ )Application Software) สาหรับงานทวั่ ไป ... 2. เทคโนโลยีสำรสนเทศกับสังคม ในบทน้ีจะเป็ นเน้ือหาเกี่ยวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลก ผลกระทบ 2.1 กำรเปลี่ยนแปลงของโลก เม่ือเทคโนโลยีพฒั นาไปสู่สังคมข่าวสาร ผลกระทบยอ่ มเกิดข้ึนท้งั ทางบวกและทางลบ เราจะเตรียมพร้อมรับ การเผชิญหน้ากบั การเปล่ียนแปลงเหล่าน้นั ไดอ้ ยา่ งไร 11

2.1.1 ควำมหมำยของสังคมสำรสนเทศ สังคมสารสนเทศหรือสังคมข่าวสาร (The information society) เป็ นสังคมท่ีมีการใชส้ าร สนเทศรูปแบบต่างๆ เพื่อประกอบการตดั สินใจท้งั เพื่อประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ใน สังคมสารสนเทศจะทาให้เราไดร้ ับสารสนเทศที่มีคุณภาพ ตรงกบั ความตอ้ งการและทนั เวลา ในสังคมสารสนเทศ เราสามารถแบ่งกลุ่มเทคโนโลยีต่างๆที่จดั อยู่ในประเภทเทคโนโลยีสารสนเทศไดด้ งั น้ี คือ 1) เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และ 2) เทคโนโลยีโทรคมนาคมหรือการส่ือสารขอ้ มูล 2.1.2 คุณลักษณะของสังคมสำรสนเทศ สังคมสารสนเทศมีลกั ษณะที่สาคญั ดงั น้ี 1. เป็ นสังคมที่มีการใชส้ ารสนเทศที่บนั ทึกอยบู่ นส่ือที่เป็ นเอกสาร สิ่งพิมพ์ และไม่ตีพิมพ์ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เสียงภาพ 2. เป็ นสังคมที่มีการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศหรือ IT เพ่ือการไดม้ า จดั เก็บ ประมวลผล สืบคน้ และ เผยแพร่สารสนเทศให้ตรงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชอ้ ยา่ งรวดเร็วถูกตอ้ งและทนั เวลา 3. เป็ นสังคมท่ีมีการใชผ้ ลิตภณั ฑห์ รืออุปกรณ์ที่มีไมโครโพรเซสเซอร์เป็ นตวั ควบคุมการทางาน เคร่ือง อานวยความสะดวกในบา้ นและในสานกั งาน ตวั อยา่ งเช่น หมอ้ หุงขา้ วไฟฟ้า เตาไมโครเวฟ เครื่องซกั ผา้ เคร่ืองปรับอากาศ อุปกรณ์กนั ขโมย ระบบควบคุมไฟฟ้า เป็ นตน้ 4. เป็ นสังคมที่ผูใ้ ชส้ ามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศไดด้ ว้ ยตนเองท้งั โดยทางตรงและทางออ้ มอนั นามาซ่ึง การเพิ่มผลผลิตและการเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบการดา้ นต่างๆ 2.1.3 ผลกระทบของเทคโนโลยีสำรสนเทศ ผลกระทบทำงบวก 1. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์ 2. ช่วยทาให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีข้ึน 3. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการคน้ ควา้ วิจยั ส่ิงใหม่ 4. ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็ นอยใู่ ห้ดีข้ึน 5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์ 6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง 7. ช่วยให้เกิดความเขา้ ใจอนั ดีระหว่างกนั 12

8. ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย ผลกระทบทำงลบ 1. ทาให้เกิดอาชญากรรม 2. ทาให้ความสัมพนั ธ์ของมนุษยเ์ ส่ือมถอย 3. ทาให้เกิดความวิตกกงั วล 4. ทาให้เกิดความเสี่ยงภยั ทางดา้ นธุรกิจ 5. ทาให้การพฒั นาอาวุธมีอานาจทาลายสูงมากข้ึน 6. ทาให้เกิดการแพร่วฒั นธรรมและกระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสมอย่างรวดเร็ว 2.2 ควำมปลอดภัยและควำมเป็ นส่วนตัว อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เกิดข้ึนไดห้ ลายรูปแบบ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศก่อใหเ้ กิดปัญหา ใหม่ๆข้ึน ตวั อยา่ งปัญหาอาชญากรรมบนเครือขา่ ย เช่น การขโมยขอ้ มูลหรือสารสนเทศในขณะที่ส่งผา่ นไปบนระบบ เครือขา่ ย การแอบใชร้ หสั ผา่ นของผมู้ ีอานาจเพือ่ เขา้ ถึงและเรียกใชข้ อ้ มูลที่เป็นความลบั การใหบ้ ริการสารสนเทศที่มี การหลอกลวง รวมถึงการบ่อนทาลายขอ้ มูลท่ีมีอยใู่ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ต่างๆในระบบเครือขา่ ย เช่น ไวรัสเครือข่ายการ แพร่ขอ้ มูลท่ีเป็นเทจ็ ก่อใหเ้ กิดการหลอกลวง และมีผลเสียติดตามมาลกั ษณะของอาชญากรรมท่ีเกิดข้ึนจากฝีมือมนุษยท์ ี่ รู้จกั กนั ดี ไดแ้ ก่ แฮกเกอร์ (Hacker) และแครกเกอร์ (Cracker) แฮกเกอร์ คือ ผทู้ ี่มีความรู้ความชานาญดา้ นเทคโนโลยี- คอมพวิ เตอร์ และเครือข่าย สามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลของหน่วยงานสาคญั ๆ โดยเจาะผา่ นระบบรักษาความปลอดภยั แต่ไม่ ทาลายขอ้ มูล หรือหาประโยชน์จากการบุกรุกคอมพิวเตอร์ของผอู้ ื่น แต่กถ็ ือไดว้ า่ เป็นอาชญากรรมประเภทหน่ึงที่ไม่พึง ประสงค์ ส่วนแครกเกอร์ คือ ผซู้ ่ึงกระทาการถอดรหสั ผา่ นขอ้ มูลต่างๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถนาเอาโปรแกรม หรือขอ้ มูลต่างๆ มาใชใ้ หมไ่ ด้ เป็นการกระทาละเมิดลิขสิทธ์ิ เป็นการลกั ลอกหรือเป็นอาชญากรรมประเภทหน่ึง การละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล ความเป็ นส่วนตวั ของขอ้ มูลและสารสนเทศ เป็ นสิทธิที่เจา้ ของสามารถที่จะ ควบคุมขอ้ มูลของตนในการเปิ ดเผยให้กบั ผูอ้ ่ืน การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งไม่มีขีดจากดั ยอ่ มส่งผลต่อการ ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล การนาเอาขอ้ มูลบางอยา่ งที่เกี่ยวกบั บุคคลออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน ซ่ึงขอ้ มูลบางอย่างอาจ ไม่เป็ นจริงหรือยงั ไม่ไดพ้ ิสูจน์ความถูกตอ้ งออกสู่สาธารณชน ก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลโดยไม่สามารถ ป้องกนั ตนเองได้ การละเมิดสิทธิส่วนบุคคลเช่นน้ีตอ้ งมีกฎหมายออกมาให้ความคุม้ ครองเพื่อ ให้นาขอ้ มูลต่างๆ มาใชใ้ นทางที่ถูกตอ้ ง และเพ่ือเป็ นการป้องกนั การละเมิดสิทธิความเป็ นส่วนบุคคลของขอ้ มูลและ สารสนเทศ จึงควรจะตอ้ งระวงั การให้ขอ้ มูลโดยเรพาะการใชอ้ ินเทอร์เน็ต และผทู้ ี่เก่ียวขอ้ งจะตอ้ งตระหนกั ถึง บทบาทและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพของตนท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ขอ้ มูลส่วนบุคคลของผูอ้ ื่น 13

2.3 ทรัพย์สินทำงปัญญำ ทรัพยส์ ินทางปัญญา เป็ นผลผลิตที่เกิดจากความคิดของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ซ่ึงทรัพยส์ ินเหล่าน้ีจะไดร้ ับการ คุม้ ครองสิทธิตามกฎหมายความลบั ทางการคา้ (Trade Secret) กฎหมายลิขสิทธ์ิ (Copyright) และสิทธิบตั ร (Patent) ตวั อย่างปัญหาเก่ียวกบั ทรัพยส์ ินทางปัญญา เช่น การละเมิดลิขสิทธ์ิโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือ ซอฟตแ์ วร์ เพราะเป็ นเร่ืองที่กระทาไดง้ ่ายมาก ซ่ึงในสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ จะพบว่าบริษทั ผผู้ ลิตซอฟตแ์ วร์หลายบริษทั ไดส้ ูญเสียเงินในแต่ละปี เป็ นจานวนมาก เนื่องจากการละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟตแ์ วร์ เป็ นตน้ 14

15


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook