Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป พพปญ. 57-62

สรุป พพปญ. 57-62

Published by dnavaroj15, 2020-03-04 03:14:10

Description: สรุป พพปญ. 57-62

Search

Read the Text Version

หน่งึ โรงเรยี น หน่งึ นวตั กรรม ระดับสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ หนา้ ๑

-๒- แบบ นร. ๑ การนาเสนอผลงาน “หนง่ึ โรงเรียน หนึง่ นวัตกรรม” ประจาปี ๒๕๖๓ ๑. หนา้ ปก ประกอบด้วย ๑) ชอ่ื ผลงานหนงึ่ โรงเรยี น หนึ่งนวตั กรรม ........โรงเรยี นตน้ แบบภายใตโ้ ครงการพันธ์ุปญั ญา................. ๒) การสง่ ผลงานหนึ่งโรงเรยี น หนงึ่ นวตั กรรม ( กรณุ าระบุ √ ลงใน ที่ตรงกบั ผลงาน ) เป็นผลงานทีไ่ ม่เคยสง่ เข้ารับการคดั สรรกบั ครุ ุสภา เป็นผลงานที่เคยส่งเข้ารับการคดั สรรกบั คุรุสภา ปี ....... เรือ่ ง ........แต่ไมไ่ ดร้ บั รางวัลของครุ สุ ภา เปน็ ผลงานท่ีเคยได้รบั รางวัลของคุรุสภาและมีการนามาพฒั นาเพ่ิมเติม หรือตอ่ ยอดนวัตกรรม (ตอ้ งกรอกแบบ นร. ๒) ๓) ประเภทผลงานหน่งึ โรงเรยี น หนงึ่ นวัตกรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ทีต่ รงกับผลงาน) (เลอื กไดเ้ พียง ๑ ด้านเทา่ นน้ั ) การจดั การเรยี นรู้ (A) สอื่ และเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรู้ (B) การบรหิ ารและการจดั การสถานศึกษา (C) การส่งเสริมและพฒั นาผู้เรยี นให้เต็มศักยภาพ (D) การวัดและประเมนิ ผล (E) อ่นื ๆ โปรดระบุ (I) ..................................................................... ๔) ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ช่อื ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา (นาย/นาง/นางสาว/อืน่ ๆ)...........เชษฐา............. นามสกลุ .......ค้าคล่อง.... เลขบัตรประชาชน ............................ ตาแหน่ง....ผูอ้ านวยการ...วทิ ยะฐานะ...ผู้อานวยการชานาญการพเิ ศษ.. โทรศพั ท์เคลอื่ นที่........0895057783.....E-mail : ………[email protected]…….………………… ๖) คณะผู้รว่ มพัฒนาผลงานนวัตกรรม ( ครู /นักเรียน/ผู้ทม่ี ีสว่ นเกีย่ วขอ้ ง จานวนตามจรงิ )  (นาย/นาง/นางสาว/อ่นื ๆ).......นายเดชมณี .......... นามสกุล ...............เนาวโรจน์.................... เลขบตั รประชาชน ..3350100505530... ตาแหนง่ .........คร.ู ......วิทยะฐานะ...ครชู านาญการพิเศษ..... โทรศัพท์เคลื่อนท่.ี ....062 1979 256........E-mail : ………[email protected]………….…………  (นาย/นาง/นางสาว/อื่นๆ)....กติ ตมิ า. นามสกลุ .......สาระรักษ์.............................................. เลขบัตรประชาชน ............................ ตาแหนง่ ..............คร.ู ................วทิ ยะฐานะ...ครชู านาญการพเิ ศษ. โทรศพั ท์เคลอ่ื นท.่ี ................E-mail : ………………………………………………………………………  (นาย/นาง/นางสาว/อนื่ ๆ).......โสภา.... นามสกุล ..............เนาวโรจน์.............................................. เลขบัตรประชาชน ............................ ตาแหน่ง.......คร.ู .........วทิ ยะฐานะ........ครูชานาญการพิเศษ.......... โทรศพั ทเ์ คลอื่ นท.่ี .........0878775648...E-mail : ……………[email protected]…..………………… ๗) ข้อมลู สถานศกึ ษา ชื่อสถานศึกษา.....โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆณาชูปถัมภ์.......เลขท่ี…151....ถนน...... แจง้ สนิท. ตาบล/แขวง........ดงแคนใหญ่.........อาเภอ/เขต .....คาเขือ่ นแกว้ .....จงั หวัด...ยโสธร รหัสไปรษณยี .์ .………35180.……….…..โทรศัพท์ .....................โทรสาร.......................................... ๘) สังกัด ๑. สพป. ............เขต........... ๒. สพม. เขต ....๒๘.....จังหวัด.......ยโสธร......... ๓. สอศ. ๔. สช. ๕. กทม. ๖. อปท. ............. ๗. กศน. ๘. การศึกษาพิเศษ ๙. อื่น ๆ (โปรดระบ)ุ ............................................ โรงเรียนสมเดจ็ พระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๒๘

-๓- หมายเหตุ : กรุณาบันทึกข้อมูลลงใน https://school.ksp.or.th (KSP-School) และ ส่งเอกสารท้ังหมด ภายในวนั ท่ี ๖ มนี าคม ๒๕๖๓ ๒. บทสรุป การจัดการเรียนรโู้ ครงการเพาะพันธป์ุ ัญญาใชก้ ารจดั การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน RBL (Research Base Learnning) ใช้แนวคดิ ถามคือสอน สะท้อนคิดคือเรียน เขยี นคือคดิ แทรกกจิ กรรมจิตปัญญาศกึ ษาระหว่างเรยี น ใชแ้ หล่งเรยี นรขู้ องชุมชนเปน็ ฐาน จดั กิจกรรม 1 ปีการศึกษา 1 หอ้ งเรยี น มีครหู ลายคนเป็นท่ปี รึกษา เลือก ประเด็นหลัก แล้วแยกเป็นโครงงาน RBL จานวน 10 เร่ืองจากประเดน็ หลักตามความสนใจ มคี รู 1 คนเป็นท่ี ปรึกษา ดงั รปู แบบข้างลา่ งน้ี ทมี่ า : หนว่ ยจัดการกลางโครงการเพาะพนั ธป์ุ ญั ญา จุดเด่นของนวัตกรรม เป็นการออกแบบโครงการโดยได้ส่งเสริมกระบวนการ Research-based Learning เรียนรนู้ อกหอ้ งเรียน เน้นประเด็นหลักเดียวกันแล้วแตกเป็น ๑๐ โครงการ ในการบูรณาการศาสตร์ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังน้ี วิทยาศาสตร์-สังคมศาสตร์/ มนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์/ สังคมศาสตร์-เศรษฐศาสตร์ ชว่ ยหนุนเสริมความรู้ ความคดิ (system thinking, critical thinking, วิเคราะห์, สงั เคราะห,์ มีเหตุผล)และการ ปฏบิ ัติ (จิตตปัญญาศึกษา โครงงานบนฐานวิจัย การบูรณาการวิชาและบริบท) สนับสนุนการพัฒนาครูให้รู้การ คดิ แบบตา่ งๆ และความรู้ความสามารถในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ (proposal) ซึง่ ไดอ้ อกแบบกระบวนการ ทางานและกาหนดปฏิทินกิจกรรมต่างๆ ไว้ล่วงหน้าตลอดปีการศึกษา การออกแบบโครงการอยู่บนฐานความ เชื่อว่า Research-based Learning (RBL) เป็นกระบวนการทางปัญญา (ไม่ใช่เป็นเพียงเคร่ืองมือสร้างความรู้ เท่าน้ัน) เรียนรู้แบบอิงบริบทจริง การพัฒนาจะไม่ติดยึดเครื่องมือวิจัยสาเร็จรูป จะส่งเสริมให้ครูคิดเอง เน้น บรู ณาการวิชา ใชห้ ลกั เหตผุ ลแบบ Deductive มากกวา่ Inductive โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรในพระสังฆราชูปถัมภ์ ได้รับคัดเลือกจากศูนย์พี่เล้ียงมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ให้เป็นโรงเรียนต้นแบบภายใต้โครงการเพาะพนั ธุ์ปญั ญา โครงการไดด้ าเนินการมาตั้งแต่ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๖๒ โดยโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ได้เข้าร่วมโครงการต้ังแต่ ปี ๒๕๕๘ เป็น เวลากว่า ๕ ปีท่ีโครงการนี้ได้พัฒนาครูในโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ และนักเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ ๕ รุ่น จานวนกว่า ๒๐๐ คน ปัจจุบันโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ได้นารูปแบบและวิธีการ หลกั การของโคงการเพาะพนั ธป์ุ ัญญา ลงสู่ห้องเรียนโดยจัดทาหลักสูตรสถานของโรงเรียนในรายวิชาเพาะพันธ์ุ ปัญญา ๑ และวิชาเพาะพันธ์ุปัญญา ๒ ตลอดจนนาหลักการและวิธี กระบวนการของโครงการบูรณษการใน รายวชิ านวตั กรรมผลจากการนานวตั กรรมและวิธีการดงั กลา่ ว โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูป ถมั ภ์สามารถพัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รยี น และครใู ห้เกดิ ความความยัง่ ยืนและเต็มศกั ยภาพยงิ่ ๆขึ้นไป โรงเรียนสมเด็จพระญาณสงั วรในพระสังฆราชูปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๒๘

-๔- ๓. ความเปน็ มาและความสาคญั การศึกษาไทย 4.0 เป็นการศึกษาเพ่ือการสร้างนวัตกรรม เป็นการศึกษาเพื่อปวงชน เป็นการศึกษา เพ่อื สังคม ท่ีคนท่ีได้รับการศกึ ษานั้นตอ้ งหนั มาช่วยเหลอื สังคมอย่างจริงจงั และกว้างขวาง โดยท่ีไม่ใช่การศึกษา เพ่ือวัตถุประสงคใ์ ด วตั ถุประสงคห์ นงึ่ ดงั เชน่ ทผี่ า่ นมา และการจดั การศึกษาต้องบูรณาการท้ังศาสตร์ ศิลป์ ชีวิต และเทคโนโลยีเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน เพ่ือสร้างคนท่ีสังคมต้องการได้ในทุกมิติ และมีรูปแบบการจัด การศึกษาท่ีหลากหลาย สอดคล้องและตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน โดยครูอาจจะไม่มีความจาเป็น อีกต่อไป หรือถ้าจาเป็นต้องมีต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทไปอย่างมาก (ครูกฤติน , 2560) การเรียนรู้ท่ีจะเกิด ขึ้นกบั ผู้เรียนสาหรบั ศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะ ประกอบด้วยกลุม่ ทักษะต่าง ๆ 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ทักษะด้านการ เรียนรู้และนวัตกรรม 2) ทักษะด้านข้อมูลสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 3) ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ( วิจารณ์ พานิช , 2554) สาหรับทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning andInnovation Skills) จะ เป็ น ตั วกาห น ดคว ามพร้ อมของนั กเรี ย น เ พื่อเ ข้าสู่ โ ล กขอ งการทางาน ท่ีมีความซับ ซ้อน มากข้ึน ในปั จ จุ บั น ประกอบด้วยความสามารถในการปฏิบัติ 4 ทักษะ หรือ 4Cs หรืออาจเรียกว่า 4 การ ได้แก่ 1) การคิดแบบมี วิจารณญาณ (Critical Thinking) 2) การส่ือสาร (Communication) 3) การทางานร่วมกัน (Collaboration) 4) การสร้างสรรค์ (Creativity) (วิจารณ์ พานิช, 2554) การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะดังกล่าว สามารถใช้วิธกี ารเรียนโดยใชก้ ารวิจยั เปน็ ฐาน (Research-based-learning หรือ RBL) (สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ , 2555) นอกจากนี้ ลักษณะของงานในอนาคตของประเทศที่พัฒนาแล้วโดยเฉพาะประเทศทางตะวันตก จะ ต้องการคนทม่ี คี วามคดิ รเิ ริ่มทาการวจิ ัยค้นควา้ และออกแบบสนิ ค้า(ผลิตภัณฑ์ต่างๆ) เพื่อที่จะสามารถส่งขายได้ ทั่วโลกซึ่งเราจะเห็นได้ชัดเจนจากการกาหนดลักษณะขององค์ประกอบของงานที่ครอบคลุม การออกแบบการ วิจัยค้นคว้าการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อส่งขายจึงมีมากและหลากหลายข้ึน (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2556) และแขก มูลเดช (2555) รายงานว่า ความม่ันคงของชาติไทยขึ้นอยู่กับความสามารถของคนไทยในการดารงตนอย่างมี วิจารณญาณในทุกโอกาสเม่ือมีภาระงาน ปัญหา อุปสรรคผ่านเข้ามาในชีวิต คนไทยต้องสามารถคิดวิเคราะห์ ประพฤติ สรา้ ง พฒั นา ประเมิน ตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหาได้อยา่ งเป็นระบบ ช่วงเวลาที่ดที ี่สุดต่อการพัฒนาทักษะ ต่างๆนี้ก็คือวัยเด็ก เม่ือนักเรียนได้รับการพัฒนาที่เอ้ือต่อการคิด วิเคราะห์ ฯลฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว คุณลักษณะเหล่าน้ีจะติดตัวผู้เรียนไปตลอด ดังน้ันเมื่อผู้เรียนเข้าสู่ตลาดงานก็จะเปล่ียนสภาพเป็นคนไทยท่ี สามารถดารงตนไดอ้ ยา่ งมวี ิจารณญาณ เสรมิ ความม่ันคงของชาติ แต่ท่ีผ่านมาประเทศไทยยังผลิตคนซึ่งถือเป็น ทรัพยากรบุคคลท่ีจะพัฒนาประเทศยังไม่เท่าเทียมหรือศักยภาพเต็มที่เหมือนประเทศที่พัฒนาแล้ว จะเห็นได้ จากกระทรวงศึกษาธิการได้มีความพยายามปรับปรุงและพัฒนาการศึกษามาหลายครั้ง ในรอบหลายปีมีการ แก้ไขพัฒนาหลักสูตรการศึกษา จากหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เป็นหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามลาดับ และมีความพยายามในการยกระดับมาตรฐานทาง การศึกษาของเดก็ และเยาวชนเพอ่ื ใหไ้ ด้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ เนื่องจากในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ เด็กไทยในแต่ละปีผลทอี่ อกมามักอยู่ในเกณฑท์ ่ีต่ากว่ามาตรฐาน (สุมนตฑ์ า บญุ ท้วม, 2558) ผลการทดสอบระดับชาติ(O-NET) ของนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนต่า เม่ือเทียบกับระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาและระดับประเทศ ทั้งน้ี แสดงให้เห็นวา่ นกั เรยี นยงั ขาดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ แต่โรงเรียนเองไม่ได้น่ิงนอนใจและได้ โรงเรียนสมเดจ็ พระญาณสงั วรในพระสังฆราชูปถมั ภ์ สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘

-๕- พยายามท่ีจะพัฒนานักเรียนมาโดยตลอด หน่ึงในแนวทางแก้ปัญหาคือสมัครเข้าร่วมโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา กับศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เพ่ือต้องการพัฒนานักเรียนให้มีทักษะหลายๆด้านควบคู่กับทางด้าน วิชาการ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวติ ทางโรงเรียนจงึ นารูปแบบของโครงการเพาะพนั ธ์ปุ ัญญามาใชก้ บั นักเรยี น และครูมีทาการวิจัยควบคู่ กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน เป็นเวลา ๕ ปีการศึกษาจนสามารถต่อยอดเป็นหลักสูตรของ โรงเรียนจนถงึ ปจั จุบนั จากการนาหลักสูตรเพาะพันธุ์ปัญญา และกิจกรรมของเพาะพันธ์ุปัญญาลงสู่นักเรียน พบว่า ปี การศึกษา ๒๕๖๐ – ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ นกั เรยี นมีผลการทดสอบระดบั ชาติ (O-net) สงู ข้นึ เป็นลาดับ ถึงจะไม่ ส่เู ท่ากับคา่ เฉลย่ี ระดบั ชาติ แต่กถ็ อื ว่านกั เรยี นเกดิ การพัฒนาไปในทศิ ทางทดี่ ขี น้ึ นอกเหนือจากทางวิชาการแล้ว สิ่งที่นกั เรียนได้อยา่ งเต็มศกั ยภาพคือทกั ษะชีวิต และทกั ษะอาชีพ เปน็ ตน้ ๔. วตั ถุประสงค์ ๔.๑ เพ่อื สง่ เสริมให้ครแู ละนักเรียนมที กั ษะการแก้ปญั หาโดยใช้กระบวนการโครงงานฐานวิจยั ๔.๒ เพื่อบูรณาการโครงการเพาะพนั ธป์ุ ญั ญากบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา ๔.๓ เพอื่ ส่งเสริมใหโ้ ครงการเพาะพันธป์ุ ัญหากับชุมชนเกดิ ความย่ังยืน ๔.๔ เพือ่ ให้นกั เรยี นเกิดทักษะวิชาการ ทกั ษะอาชพี และทักษะชวี ติ ๕. กระบวนการพฒั นาผลงานหนึง่ โรงเรยี น หน่งึ นวตั กรรม ๑) สภาพปญั หาก่อนการพฒั นา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสงั วร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เปน็ สถานศกึ ษาท้องถิ่นระดบั ตาบลท่ี นักเรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นต่าและมีเจตคติทางลบในการเรียนรู้ (งานประกันโรงเรียนสมเดจ็ พระญาณ สงั วร , 2556) ผลการทดสอบวดั ความรรู้ ะดบั ชาต(ิ O-net) มีค่าเฉลีย่ ต่ากว่าระดับเขตพื้นท่ี ระดบั ภาคและ ระดบั ชาติ นอกจากน้นี ักเรยี นของเรายังไม่มีความด้อยในเรื่องการเรยี นรู้ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ กับผู้เรียนสาหรบั ศตวรรษ ท่ี 21 ดา้ นทักษะ ประกอบด้วยกลุม่ ทกั ษะตา่ ง ๆ 3 กล่มุ ได้แก่ 1) ทกั ษะด้านการเรียนรู้และนวตั กรรม 2) ทักษะด้านข้อมลู สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 3) ทักษะดา้ นชวี ติ และอาชพี ( วจิ ารณ์ พานชิ , 2554) สาหรบั ทักษะดา้ นการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม (Learning andInnovation Skills) จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของ นักเรียนเพ่ือเขา้ สโู่ ลกของการทางานท่มี ีความซบั ซ้อนมากขึ้นในปัจจบุ นั ประกอบด้วยความสามารถในการ ปฏิบัติ 4 ทกั ษะ หรือ 4Cs หรอื อาจเรยี กว่า 4 การ ไดแ้ ก่ 1) การคดิ แบบมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) 2) การสื่อสาร (Communication) 3) การทางานร่วมกนั (Collaboration) 4) การสร้างสรรค์ (Creativity) (วจิ ารณ์ พานิช, 2554) การพัฒนาผูเ้ รยี นให้มีความรู้และทักษะดังกล่าวสามารถใชว้ ธิ กี ารเรยี นโดยใชก้ ารวิจยั เปน็ ฐาน (Research-based-learning หรือ RBL) (สธุ รี ะ ประเสรฐิ สรรพ,์ 2555) ดังนี้ โรงเรยี นสมเดจ็ พระ ญาณสงั วร ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ์ จึงต้องการพัฒนาผู้เรียนในเร่อื งของการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น พัฒนาผู้เรียนใหม้ เี จตคติท่ดี ใี นการเรียนรู้ และพฒั นาผเู้ รียนให้มีทกั ษะสาหรบั ผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ ไปพร้อม กันในคราวเดียวกัน ๒) การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพฒั นา การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้โครงงาน RBL (Research Base Learnning) ใช้แนวคดิ ถามคือสอน สะท้อนคิดคือเรยี น เขยี นคือคดิ แทรกกจิ กรรมจิตปัญญาศึกษาระหวา่ งเรียน ใชแ้ หล่งเรยี นรู้ของชุมชนเปน็ ฐาน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรในพระสังฆราชูปถมั ภ์ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘

-๖- จดั กจิ กรรม 1 ปกี ารศึกษา 1 หอ้ งเรยี น มีครูหลายคนเปน็ ที่ปรกึ ษา เลือกประเด็นหลัก แลว้ แยกเปน็ โครงงาน RBL จานวน 10 เรือ่ งจากประเด็นหลักตามความสนใจ มคี รู 1 คนเป็นท่ีปรึกษา ดังรูปแบบข้างลา่ งน้ี ทม่ี า : หน่วยจัดการกลางโครงการเพาะพันธุป์ ัญญา ใช้กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสื่อห้องเรียนออนไลน์ Classstart.org และสื่อ Facebook ในการติดต่อส่ือ การกันตลอด 24 ชั่วโมง จัดบรรยากาศในห้องเรียนที่อบอุ่น เป็นกันเอง ครูและนักเรียนเรียนรู้ไปด้วยกัน ครูไม่ ตัดสินใจคาตอบถูกผิดของนักเรียน แต่จะสนับสนุนส่งเสริม และเป็นที่ปรึกษาในการทากิจกรรมจนนักเรียน ประสบผลสาเร็จด้วยตนเอง ๓) ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานพฒั นา ในการจัดการเรียนรนู้ วัตกรรมในเร่ืองของโรงเรยี นตน้ แบบภายใต้โครงการเพาะพันธ์ุปัญญา โรงเรียนได้ ดาเนินการ โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ นักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองโครงการเพาะพันธ์ุปัญญา และนักเรียนท่ีเรียน ตามรปู แบบเพะพนั ธุ์ปญั ญา นกั เรียนท่ีเป็นกลมุ่ ทดลองโครงการเพาะพันธ์ุปญั ญา ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ จานวน ๓๒ คน ครทู ่ปี รกึ ษาโครงงานจานวน ๙ คน ใช้ประเดินหลักในเรอ่ื ง ขา่ มโี ครงงาน RBL จานวน ๑๐ เรือ่ ง ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ /๑ จานวน ๔ คน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ /๒ จานวน ๓๗ คน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ /๑ จานวน ๑๙ คน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ /๒ จานวน ๑ คน ครูท่ีปรึกษาโครงงาน จานวน ๙ คน ใช้ประเดนิ หลกั (Theme)ในเรือ่ ง บวั มโี ครงงาน RBL จานวน ๑๐ เรื่อง ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๕ /๒ จานวน ๓๕ คน ครูท่ีปรึกษาโครงงานจานวน ๙ คน ใช้ประเดนิ หลกั (Theme)ในเรอ่ื ง ไกย่ า่ งบา้ นแคน มีโครงงาน RBL จานวน ๑๐ เรอื่ ง ปีการศึกษา ๒๕๖๐ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ /๑ จานวน ๓๕ คน ครูท่ีปรึกษาโครงงานจานวน ๑๐ คน ใชป้ ระเดนิ หลกั (Theme)ในเรอื่ ง การแกป้ ัญหาสุขภาพในโรงเรียน มโี ครงงาน RBL จานวน 10 เรอ่ื ง ปีการศึกษา ๒๕๖๑ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ /๑ จานวน ๓๙ คน ครูที่ปรึกษาโครงงานจานวน ๑๐ คน ใชป้ ระเดินหลัก(Theme)ในเรื่อง จ้ิงหรดี มโี ครงงาน RBL จานวน ๑๐ เรื่อง นกั เรยี นท่ีผา่ นการจดั การเรียนร้สู ่หู อ้ งเรยี นเพะพันธุ์ปญั ญาตามหลักสตู รของโรงเรียน นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ จานวน ๙๑ คน ใช้ประเดินหลัก(Theme) เร่ือง ข้าว เตย อญั ชัน มีโครงงาน RBL จานวน ๓๐ เร่อื ง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ จานวน ๗๔ คน ใช้ประเดินหลัก(Theme) เร่ือง จิง้ หรีด และขนมจนี มีโครงงาน RBL จานวน ๒๐ เรือ่ ง โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๒๘

-๗- ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานของโครงการเพาะพันธ์ุปัญญา แบง่ เป็น ๒ กจิ กรรม ๑. ขัน้ ตอนการดาเนินงานภาพรวมนอกหอ้ งเรียน 1. โรงเรียนรับหลกั การและทา MOU การดาเนนิ โครงการเพาะพันธ์ุกับศนู ย์พี่เล้ียงมหาวิทยาลัย อบุ ลราชธานี 2. โรงเรียนนานักเรียนศึกษาแหล่งเรยี นรู้ภายในชุมชนแลว้ มาถอดบทเรยี น ครใู ช้กระบวนการถามคือสอน สะท้อนคดิ คือเรยี น เขยี นคอื คิด 3. นักเรียนรว่ มกนั เลือกประเด็นหลัก โดยมคี รู เป็นโค้ช โดยใชร้ ะบบประชาธปิ ไตย 4. นกั เรยี นศกึ ษาคน้ ควา้ งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้องกบั ประเด็นหลัก 5. แบ่งกลมุ่ นักเรยี น กลุ่มละ ๓-๔ คน ทาโครงงานตามประเด็นหลักท่ีสนใจ ลกั ษณะโครงงานการวจิ ัย เปน็ ฐาน(Research-based-learning หรือ RBL) ใน ๓ ศาสตร์ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และ เศรษฐศาสตร์ และนักเรียนเลือกครูท่ีปรึกษาโครงงานตามความสนใจและความถนดั 6. นกั เรยี นเขยี นเค้าโครง ตามรูปแบบท่ีกาหนดให้ (เอกสารอ้างองิ ภาคผนวก หน้า ) 7. จดั เวทนี าเสนอเคา้ โครงการวิจยั ของนักเรยี นร่วมกับโรงเรยี นกจู่ านวทิ ยาคม โรงเรียนค้อวังวทิ ยาคม และโรงเรียนสมเดจ็ พระญาณสงั วรในพระสังฆราชูปถัมภ์ โดยมีคณะศนู ย์พี่เลี้ยงมหาวทิ ยาลัย อบุ ลราชธานี และคณะครูทร่ี ่วมโครงการ เป็นคณะกรรมการ ตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะ 8. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ แก้ไข ปรบั ปรงุ เค้าโครง ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ 9. นกั เรยี นแต่ละกลุ่ม ศึกษา เรยี นร้นู อกห้องเรยี น ทาการทดลอง เกบ็ รวบรวมข้อมูล 10. จัดเวทนี าเสนอความกา้ วหน้า ในการดาเนนิ การทดลอง เก็บข้อมูล ตามโครงงาน RBL 11. ใหค้ วามรใู้ นการเขยี นผงั เหตุ-ผลจากการทาโครงงาน RBL และให้นกั เรียนเขียนผังเหตุ-ผล โครงงาน ของกลมุ่ ตนเอง 12. นักเรยี นเขียนรายงานผลการทาโครงงานการวิจัยเป็นฐาน(RBL) ให้เสรจ็ สิ้นสมบูรณ์ โดยผ่านการ ตรวจสอบจากครูท่ีปรึกษาโครงงาน 13. เวทนี าเสนอผลการผลการดาเนนิ โครงการเพาะพันธ์ปุ ัญญาของโรงเรียนในระดบั ภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื 14. หัวหน้าโครงการสรุปและรวบรวมขอ้ มูลนาส่งศนู ยพ์ ี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี กิจกรรมของนักเรยี นในห้องเรยี นเพาะพนั ธ์ุปัญญาเพือ่ ให้นกั เรยี นเกดิ ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑  ทากิจกรรมจติ ปัญญา  เขียนไดอาร่ี  สืบคน้ ขอ้ มลู โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘

-๘-  นาเสนอผลงานในรูปของโปสเตอร์ และ MS_Power Point  ทดลอง(เพ่ิมเติม)โดยใช้ประเด็นของหน่วยจัดการกลาง เรื่อง การปลูกดาวเรือง จากประเด็น ปญั หา สิ่งมีชีวิตมาจากอะไร  ทาคลิปวดี ีโอ / หนงั สัน้ นาเสนอผลงานของโรงเรียน  ทาเวบไซตเ์ พาะพนั ธปุ์ ัญญาของโรงเรยี น / ทา Photobook ของแต่ละกลุม่ กจิ กรรมของครู  ครูเข้ารับการอบรมกับศูนย์พี่เล้ียงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และหน่วยจัดการกลางเพาะพันธ์ุ ปัญญา เรื่อง การเขียนผังเหตุ-ผล การทาโครงงานแบบ SEEEM กิจกรรมจิตปัญญา การเขียน บทความวจิ ยั เป็นต้น  ครูนาเสนอบทความวิจัย ม.อบ.วิจัย  ครูนาทกั ษะกระบวนการจากการรูท้ ไี่ ด้รับกบั ศนู ย์พ่เี ลย้ี งและหน่วยจดั การกลางลงสูผ่ ้เู รียน  หัวหน้าโครงการรายงานความก้าวหน้าการดาเนินโครงการต่อศูนย์พ่ีเล้ียงมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี แผนภาพกิจกรรมการดาเนนิ งานโรงเรียนต้นแบบภายใต้โครงการเพาะพนั ธป์ุ ญั ญา เรม่ิ ตน้ ศกึ ษาแหล่งเรียนรู้เปน็ ฐาน เลือก Theme เขียนเคา้ โครงRBL 10 RBL นาเสนอเค้าโครงRBL 10 RBL ทกุ ข้ันตอนผ่านกระบวนการ ถามคือสอน ทดลอง เกบ็ ขอ้ มูล สรุป เขียนรายงาน สะทอ้ นคดิ คือเรยี น นาเสนอผลงานผลการดาเนินการ เขียนคือคิด ระดับภาคอีสาน/ระดบั ชาติ โรงเรยี นสมเดจ็ พระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๘

-๙- สรุปผล รายงานผล การดาเนินการ ตอ่ ศูนย์พี่เลยี้ งมหาวทิ ยาลัยอุบลฯ ส้ินสดุ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสงั วรในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘

- ๑๐ - ข้นั ตอนการดาเนินงานโครงงานฐานวจิ ยั (RBL) โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๒๘

- ๑๑ - โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘

- ๑๒ - โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘

- ๑๓ - ๒. ขัน้ ตอนการดาเนินการรปู จแาบกบโคกรางรกจาัดรกเาพราเระยีพนันรธู้โุ์ปครญั งญงาานสฐู่หาอ้นงวเจิ รยั ยี (นRเBพLา)ะพนั ธ์ุปัญญา การเรยี นการเรียนรผู้ ่านโครงการเพาะพันธ์ุปัญญาในห้องเรียนปกติหรือวิชาเรียน มีการดาเนินการดังนี้ ท่ี กิจกรรม วธิ ีดาเนินกิจกรรม ระยะเวลา การประเมินผล เพาะพนั ธ์ปญั ญา ๑ ๑ หน่วยที่ ๑ ไขข๑อ้ . ๑. ศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้ ตลุ าคม -ประเมินผลงานนกั เรียนตาม สงสยั ๒. การเขียนไดอารี่ สภาพจรงิ ๓. จิตตปญั ญา (ละลายพฤติกรรม -สังเกตพฤตกิ รรมทกั ษะการ เตรยี มใจเตรียมฐานใจ) นาเสนอ ๔. ประเด็นทต่ี ้องการจะศึกษา (ยดึ -กาตอบถาม และการเขยี น หลกั ความพอเพียง) ไดอาร่ี ตลอดจนการสะท้อน ๕. ชวนคดิ หาประเดน็ แยกออกเปน็ คดิ ของนกั เรียน โครงงาน RBLย่อย ๖. การเขียนผงั กระบวนการ (ตวั อยา่ งการต้มมาม่า) ๗. เรียนรผู้ า่ นกระบวนการ SEEEM หนว่ ยท่ี ๒ ความ ๑. สืบค้นงานวจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง พฤศจิกายน -ประเมนิ ผลงานนกั เรียนตาม หลากหลายจาก ๒. วเิ คราะห์ สังเคราะห์ สงิ่ ทไ่ี ดจ้ าก สภาพจริง งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วข้องการ (การเขียน -สงั เกตพฤตกิ รรมทกั ษะการ ผงั เหตุผล) นาเสนอ -กาตอบถาม และการเขยี น ๓. การเขียนเอกสารอา้ งองิ ไดอาร่ี ตลอดจนการสะท้อน คดิ ของนักเรียน หน่วยที่ ๓ เปิด ๑. เขยี นเคา้ โครงโครงงาน (วิจัย) ธันวาคม -ประเมนิ ผลงานนกั เรยี นตาม ประตูสโู่ ลกความรู้ - การเขียนเหตผุ ลในการทา สภาพจริง โครงงาน (ทีม่ าและ -สงั เกตพฤตกิ รรมทกั ษะการ ความสาคญั ) นาเสนอ - การเขียนวตั ถุประสงค์ -กาตอบถาม และการเขยี น โครงงาน ไดอารี่ ตลอดจนการสะท้อน - การเขยี นตวั แปรและ คิดของนักเรยี น สมมตฐิ านของโครงงาน ๒. การเขยี นแผนการดาเนินงาน โครงงาน โรงเรยี นสมเดจ็ พระญาณสังวรในพระสังฆราชูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘

- ๑๔ - ท่ี กิจกรรม วิธีดาเนินกจิ กรรม ระยะเวลา การประเมินผล เพาะพันธ์ปญั ญา ๑ ๑. การออกแบบเคร่ืองมือวิจัย มกราคม – -ประเมินผลงานนกั เรียนตาม หนว่ ยที่ ๔ - เคร่อื งมือในการวจิ ยั กมุ ภาพันธ์ สภาพจริง ประมวลทกุ สิ่งที่ คน้ พบ ๒. เครื่องมือสาหรับเก็บรวบรวม -สงั เกตพฤติกรรมทักษะการ ขอ้ มลู นาเสนอ เพาะพนั ธป์ ญั ญา๒ ๓. นาเสนอเคา้ โครง โครงงาน RBL -กาตอบถาม และการเขยี น ๑ หนว่ ยท่ี ๕ เก็บ ไดอารี่ ตลอดจนการสะท้อนคิด ของนักเรยี น รวบรวมข้อมูล  จติ ปัญญา พฤษภาคม -ประเมนิ ผลงานนกั เรียนตาม หนว่ ยที่ ๖ สรา้ งผลงาน  ทบทวนแผนการทางาน และ สภาพจริง เขียน รายงานความก้าวหน้า -สงั เกตพฤติกรรมทกั ษะการ นาเสนอ หน่วยท่ี ๗  ถอดบทเรียน SEEEM จาก -กาตอบถาม และการเขยี น เพยี รนาเสนอ โครงงาน ไดอารี่ ตลอดจนการสะท้อนคิด ของนักเรยี น  เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามโครงร่างท่ี ปรับปรงุ แล้ว (ทดลอง/ลงพน้ื ท)่ี ร่วมกับครูทีป่ รึกษาโครงงาน  เทคนคิ การนาเสนอ มถิ ุนายน -ประเมินผลงานนักเรียนตาม /MS_poweroint /เขียนด้วยมอื กรกฎาคม สภาพจรงิ -สงั เกตพฤตกิ รรมทกั ษะการ  เขยี นรายงานเชิงวชิ าการตาม นาเสนอ รปู แบบ RBL -กาตอบถาม และการเขียน ไดอารี่ ตลอดจนการสะท้อนคิด ๔. เขียนเรอ่ื งเลา่ สะท้อนคิดจากการ ของนักเรยี น ทา RBL -ประเมินผลงานนักเรยี นตาม ๕. ออกแบบนาเสนอโดยโปสเตอร์ / สภาพจริง Photoshop / -สงั เกตพฤติกรรมทกั ษะการ นาเสนอ ๖. โฟชาร์ท -กาตอบถาม และการเขียน ไดอาร่ี ตลอดจนการสะท้อนคิด ของนักเรยี น โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสังวรในพระสังฆราชูปถมั ภ์ สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๒๘

- ๑๕ - ที่ กิจกรรม วธิ ีดาเนนิ กิจกรรม ระยะเวลา การประเมนิ ผล เพาะพนั ธ์ปญั ญา ๒ ๑. นาเสนอผลงาน ๑๘ สงิ หาคม -ประเมินผลงาน หน่วยท่ี ๘ ๒. เผยแพร่ผลงาน กันยายน นกั เรยี นตามสภาพจรงิ Show Share -สังเกตพฤติกรรม ทกั ษะการนาเสนอ สง่ สรปุ รูปเลม่ รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ของครูและนักเรยี น -กาตอบถาม และการ เขียนไดอารี่ ตลอดจน การสะท้อนคิดของ นกั เรียน -ประเมินผลงาน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสงั วรในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๒๘

- ๑๖ - ภาพขน้ั ตอนการนากระบวนการจดั การเรียนรู้เพาะพนั ธป์ุ ัญญาลงสู่ห้องเรียน ๔) ผลงานทเ่ี กิดขน้ึ จากการดาเนินงาน ผลงานท่ีเกิดจากการจัดการเรียนรู้ตามโครงการเพาะพันธ์ุปัญญา ปีการศึกษา ๒๕๕๗ – ๒๕๖๒ ได้ นวตั กรรมและผลงานเชงิ ประจักษ์ ดังนี้ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ จานวน ๓๒ คน ครูท่ีปรึกษาโครงงานจานวน ๙ คน ใชป้ ระเดินหลกั ในเรื่อง ขา่ มโี ครงงาน RBL จานวน ๑๐ เรื่อง ดงั นี้ 1. กระดาษจากขา่ (Galangal Paper) โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 2. ข่าผง(Galangal Powder) โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 3. การปลกู ขา่ (Galangal Planting) โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 4. น้าสมุนไพรขา่ รกั ษ์วิถีชุมชน(Herbal Galangal Guard the way of Community) โครงงาน RBL : เศรษฐศาสตร์ 5. ขา่ กับการไล่แมลงวนั ( Galangal with Puching Flies) โครงงาน RBL :วทิ ยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง โรงเรียนสมเด็จพระญาณสงั วรในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๒๘

- ๑๗ - 6. สบู่สมุนไพรข่าสรา้ งรายได้(Galangal Herb Soap to make Money)โครงงาน RBL : เศรษฐศาสตร์ 7. น้าพรกิ สมนุ ไพรข่าสรา้ งรายได้(Galangal Herb Sauce to Make Money) โครงงาน RBL : เศรษฐศาสตร์ 8. การสกดั นา้ มันหอมระเหยจากขา่ ต่างชนดิ กัน(The Extraction of Essential Oils from different Galangal) โครงงาน RBL :วทิ ยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 9. การยับย้งั เชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า( Inhibition fungus with Galangal Extraction) โครงงาน RBL :วทิ ยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 10. ศกึ ษาปัจจัยท่มี ีผลต่อการแตกหน่อของข่า( Factor Affecting the Sprouting of the Galangal) โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง สรุปผลการทาโครงงาน ทงั้ 10 โครงงาน พบว่า โครงงานสามารถสรปุ ผลไดต้ ามสมมติฐานที่ต้ังไว้ แต่ การทาโครงงานบางโครงงาน ยงั มีการทดลองเพียงรอบเดียว เพราะระยะเวลาการทาโครงงานมีระยะเวลานาน ได้แนะนาให้นักเรียน ศึกษาและทาโครงงานต่อไปอีก แต่ซึ่งที่ทางนักเรียน ได้รับจากการเข้ารวมโครงการ เพาะพันธ์ุปัญญาในครั้งน้ี ทาให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงตนเอง เกิดการเรียนรู้อย่างมากมายมีท้ังทุกข์ สุข ในกระบวนการทางาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนมากท่ีสุดของนักเรียนโครงการเพาะพันธ์ุปัญญา โรงเรียน สมเด็จพระญาณสังวร ในพรสังฆราชูปถัมภ์ เรียงจากมากไปหาน้อย 1. ความสามารถแก้ปัญหา 2. ความกล้า แสดงออก 3. ทนุษย์สัมพันธ์ ทักษะทางสังคม และ 4. การรับฟังผู้อ่ืน ทาให้ทั้งครูและนักเรียนเกิดการ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ อย่างมากมาย ทั้งด้านจิตใจ และพฤติกรรมการเรียนรู้ครูและนักเรียนมีความสัมพันธ์กัน อยา่ งใกล้ชดิ ดงั บทเพลงท่ขี อเสนอตอ่ ไปน้ี “ สิบนวิ้ วนั ทาคณุ ตาคุณยาย คณุ ครทู งั้ หลายผูมีเกียรตทิ ุกคน บฯุ คงนาพาบันดาลดลให้ทุกคนมาพบกัน จะขอบรรยายเป็นบทกลอนอย่าพ่ึงจากจรไปแห่งไหน โปรดฟังสักนิดก่อนคิดจากไกลฟังความเป็นไปของ โครงการ เพาะพันธ์ุปัญญาหรือเพาะพันธุ์ปัญหามันมีที่มาน่าสนใจทั้งศกทั้งเศ้าขัดแย้งภายใน ไม่เข้าใจการ ทางานจนมฉี ายาขุนดันขุนเดชมนี างเอกเหญิงเจ้านา้ ตา อยู่ร่วมโครงการเพาะพนั ธุ์ปัญญา สร้างศรัทธาคิดเองทา เป็น ทาส่ิงใหม่ ๆ ไฉไบกวา่ เกา่ จงึ เลือกเอามาศกึ ษาสมนุ ไพรไทยกอ้ งไกลกาจงึ นา ข่า มาศึกษากันมาศึกมาษาหา ส่งิ ใหม่ๆ มีประโยชน์อย่างไรร่วมกันทาโดยครูเดชเป็นผลักดันที่ปรึกษาโครงงานการคอยชี้ทาง ยามโศกศัลย์ไม่ หา่ งกาย จนมีฉายาตั้งคุณครปู ระกาศให้รู้โดยทวั่ กัน ว่าครคู นนนั้ นาวา่ ขนุ ดนั ดันได้ ดันดี ดันจนมีวันน้ีเพาะพันธ์ุ ปญั ญา จบการบรรยายไว้แค่นก้ี อ่ นอย่าเพิ่งใจรอ้ นโมหาโกรธาพวกเรา ม.4 เพาะพนั ธ์ปัญญาเลอื ดชมพูฟ้ารวมใจ สามัคคี จะทาดใี หไ้ ดม้ ุ่งไฝ่ศกึ ษาเพาะพนั ธ์ุปัญญาพัฒนาเด็กไทย ลูก ญสส. สักกลางทรวงในของกาลังใจจากทุก ๆ คน ” ผลจากการทากิจกรรมทม่ี งุ่ ม่ันและท่มุ เท ทาใหเ้ พาะพนั ธปุ์ ัญญา โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสงั วร ใน พระสงั ฆราชปู ถมั ภ์ ไดร้ บั รางวลั จากศนู ย์พเี่ ลี้ยงมหาวิทยาลยั อบุ ล ดงั นี้ 1. นายเดชมณี เนาวโรจน์ ได้รับรางวลั ครเู พราะพนั ธุ์ปัญญาแหง่ ปี 2. รางวัลเวบไซต์เพาะพันธุ์ปญั ญายอดเยี่ยม 3. รองชนะเลิศ อนั ดนั 1 การนาเสนอนิทรรศการโครงการของโรงเรียน 4. นางสาวศศวิ มิ ล พงษ์เฉลยี ว ได้รบั รางวลั นกั เรียนเพาะพนั ธุป์ ญั ญาแห่งปี 5. นางสาวศศวิ ิมล พงษ์เฉลยี ว ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศ การเขียนสะทอ้ นไดอารี และไดน้ า บทความลงตีพิมพส์ รปุ เพาะพันธป์ุ ญั ญา ปี 2557 โรงเรียนสมเดจ็ พระญาณสังวรในพระสังฆราชูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๒๘

- ๑๘ - 6. นางสาวศศิวมิ ล พงษ์เฉียว นางสาวสริ ิธร วงเวียน นางสาวปัฐทชิ า พูลทวี ได้รบั คัดเลือก เปน็ ตัวแทนเสวนาในกิจกรรมปิดโครงการของศูนยฯ์ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ /๑ จานวน ๔ คน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ /๒ จานวน ๓๗ คน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ /๑ จานวน ๑๙ คน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ /๒ จานวน ๑ คน ครูท่ีปรึกษาโครงงาน จานวน ๙ คน ใชป้ ระเดนิ หลกั (Theme)ในเร่อื ง บัว มโี ครงงาน RBL จานวน ๑๐ เรือ่ ง ดังน้ี 1. การทดลองรักษาความสดของดอกบัวในแจกัน โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 2. การปลกู และขยายพันธ์ุบัว โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 3. การศึกษาความเหนยี วของเส้นใยบัว โครงงาน RBL :วทิ ยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 4. ชาดอกบัว โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 5. ใบบวั กับการไล่ยุง โครงงาน RBL :วทิ ยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 6. การทาเทียนหอมจากกล่นิ บวั โครงงาน RBL : เศรษฐศาสตร์ 7. เวลาการตากแดดมีผลต่อการย้อมติดสีของใบบัวหลวง โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 8. ศกึ ษาการแยกเส้นใยจากใบบัวหลวง โครงงาน RBL :วทิ ยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 9. ขนมสายบวั โครงงาน RBL : เศรษฐศาสตร์ 10. การอนรุ กั ษ์สายพันธุ์บัวพืน้ บ้าน โครงงาน RBL : สังคมศาสตร์ ผลจากการทากิจกรรมท่ีมุ่งม่ันและทุ่มเท ทาให้เพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ์ ได้รบั รางวัลจากศูนยพ์ ่เี ล้ยี งมหาวิทยาลัยอุบล ดังนี้ 1. โรงเรียนสมเด็จพระญาณสงั วร ในพระสังฆราชูปถมั ภ์ ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศการจัดนิทรรศการ 2. นางสาวศศธิ ร ปะสาวะโถ ได้รบั รางวัล นกั เรียนเพาะพันธปุ์ ัญญาแหง่ ปี 3. นางสาวโสภิดา บุญจรัส ได้รบั รางวลั การเขียนเรยี งความดเี ดน่ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ นกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕ /๒ จานวน ๓๕ คน ครูทป่ี รึกษาโครงงานจานวน ๙ คน ใช้ประเดนิ หลกั (Theme)ในเร่อื ง ไกย่ า่ งบา้ นแคน มีโครงงาน RBL จานวน ๑๐ เร่ือง ดังนี้ 1. วิธีการย่างไก่ โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 2. การศึกษาต้นทุนผลตอบแทนเปรียบเทียบกับรายจ่ายในครอบครัวของผู้ประกอบอาชีพขายไก่ ยา่ งบ้านแคน โครงงาน RBL : สงั คมศาสตร์ 3. เตาเผาถา่ น โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 4. สปาเกตตผ้ี ดั กระเพราไก่ยา่ ง โครงงาน RBL : เศรษฐศาสตร์ 5. พฤติกรรมการซื้อและบริโภคไก่ย่างบ้านแคน ตาบลดงแคนใหญ่ อาเภอคาเข่ือนแก้ว จังหวัด ยโสธร โครงงาน RBL : สงั คมศาสตร์ โรงเรียนสมเดจ็ พระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๒๘

- ๑๙ - 6. roating chicken Inter โครงงาน RBL : เศรษฐศาสตร์ 7. แจ่วไก่ยา่ ง โครงงาน RBL : เศรษฐศาสตร์ 8. อาชพี ขายไก่ยา่ งของคนในชมุ ชนบ้านดงแคนใหญ่ โครงงาน RBL : สงั คมศาสตร์ 9. การเลยี้ งไก่ โครงงาน RBL :วทิ ยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง 10. เตาเผาถา่ น โครงงาน RBL :วิทยาศาสตร์ ประเภท ทดลอง ผลจากการทากิจกรรมท่ีมุ่งมั่นและทุ่มเท ทาให้เพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชปู ถมั ภ์ ไดร้ ับรางวลั จากศูนย์พเี่ ลยี้ งมหาวทิ ยาลยั อบุ ล ดงั นี้ 1. โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชปู ถมั ภ์ ไดร้ บั รางวลั ชมเชย คลิปวิดีโอแห่งการ เรียนรู้ 2. นายธราธร กลมเกลียว ไดร้ ับรางวลั นักเรยี นเพาะพันธปุ์ ัญญาแหง่ ปี 3. นางสาวกติ ตมิ า สาระรักษ์ ได้รับรางวลั ครูเพาะพนั ธ์ุปัญญาแห่งปี ปีการศึกษา ๒๕๖๐ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ /๑ จานวน ๓๕ คน ครูที่ปรึกษาโครงงานจานวน ๑๐ คน ใช้ประเดินหลัก(Theme)ในเร่ือง การแก้ปัญหาสุขภาพในโรงเรียน มีโครงงาน RBL จานวน 10 เร่ือง ดงั นี้ 1. เครอ่ื งบดใบไมแ้ หง้ 2. เคร่อื งออกกาลังกายแบบพอเพยี ง 3. ปุ๋ยโกบาฉิ 4. การรณรงคส์ ร้างจติ สานกึ ในการสรา้ งและทิ้งขยะ 5. นา้ ยาลา้ งจานสมุนไพร 6. สมนุ ไพรดบั กลิน่ หอ้ งนา้ 7. นา้ หมักชวี ภาพจากเศษอาหาร 8. สรา้ งความเชอื่ ในการอา่ นฉลาก 9. เจลล้างมือ 10. ผงแซบ ให้ท้ังครูและนักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ อย่างมากมาย ทั้งด้านจิตใจ และพฤติกรรมการ เรียนรู้ครูและนักเรียนมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด โดยนากระบนการ RBL มาใช้ในกระบวนการเรียนรู้ของ นกั เรียนจนทาให้นกั เรียนมคี วามเข้าใจและสามารถนาไปปรบั ใชก้ ับชวี ิตประจาวัน ผลจากการทากิจกรรมท่ีมุ่งม่ันและทุ่มเท ทาให้เพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสงั ฆราชปู ถมั ภ์ ได้รับรางวัลจากศนู ยพ์ ี่เล้ยี งมหาวิทยาลัยอุบล ดงั น้ี 1. โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชปู ถัมภ์ ได้รับรางวลั หนังส้ันยอดเยยี่ ม 2. นางสาวชนภิ รณ์ มุง่ งาม ได้รบั รางวลั นักเรียนเพาะพนั ธุป์ ัญญาแหง่ ปี 3. นางนชุ นาฎ โชตสิ วุ รรณ ได้รับรางวัล ครเู พาะพันธป์ุ ญั ญาแห่งปี ปีการศึกษา ๒๕๖๑ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ /๑ จานวน ๓๙ คน ครูท่ีปรึกษาโครงงานจานวน ๑๐ คน ใช้ประเดนิ หลัก(Theme)ในเรอ่ื ง จ้งิ หรดี มโี ครงงาน RBL จานวน ๑๐ เร่ือง ดังน้ี 1. การศึกษาวงจรชีวติ ของจงิ้ หรีดแตล่ ะสายพันธใ์ุ นพ้นื ทช่ี ุมชนตาบลดงแคนใหญ่ 2. การตรวจจบั คลน่ื เสียงของจิ้งหรดี 3. การแปรรูปแจ่วจ้งิ หรีด 4. การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการเจรญิ เติบโตของจิ้งหรีดโดยใชอ้ าหารสาเรจ็ รูปของจ้ิงหรีด ปลาและไก่ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรในพระสังฆราชูปถัมภ์ สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘

- ๒๐ - 5. การศึกษาเปรยี บเทยี บปริมาณโปรตีนในจงิ้ หรีดแต่ละสายพนั ธ์ุทม่ี ใี นท้องถ่นิ 6. การศกึ ษาสขี องหลอดไฟมผี ลตอ่ การล่อแมลง 7. การศึกษาพฤตกิ รรมการบริโภคจง้ิ หรดี ในตลาดบา้ นดงแคนใหญ่ 8. การสารวจความพงึ พอใจของผู้บริโภคขา้ วเกรียบจิ้งหรดี 9. การศึกษาทดลองอัตราส่วนของอาหารมีผลต่อการเจรญิ เติบโตของจ้ิงหรดี 10. การศึกษาชนดิ ของอาหารมผี ลตอ่ การเจริญเติบโตจ้ิงหรดี ผลงานนกั เรยี นที่เกดิ จากการจดั การเรียนรู้วิชาเพาะพนั ธป์ุ ญั ญา(จากโครงการสหู่ ้องเรียน) นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ จานวน ๙๑ คน ใช้ประเดินหลัก(Theme) เรื่อง ข้าว เตย อัญชนั มีโครงงาน RBL จานวน ๓๐ เรื่อง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ จานวน ๗๔ คน ใช้ประเดินหลัก(Theme) เรื่อง จิ้งหรีด และขนมจนี มโี ครงงาน RBL จานวน ๒๐ เรอ่ื ง ผลงานครู ครูเกิดการเรียนรู้และมีเทคนคิ การสอนใหม่ๆเข้าใจนักเรียนมากข้ึน โดยมีผลการวิจัยรองรับใน การทางานของครู สามารถนาไปอา้ งอิง และจดั ทาเปน็ ผลงานได้ ดังน้ี ๑. ครูนชุ นาฎ โชตสิ วุ รรณ : จดั ทาวิจัยและนาเสนอ ม.อบ.วจิ ัย เร่ือง ผลของการจัดการเรียนรู้ตาม แนวทางโครงการเพาะพันธป์ุ ัญญา ตอ่ เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์และความตระหนักตอ่ การอนรุ ักษ์พชื ใน ท้องถิ่นของนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๒. การเปลี่ยนแปลงทักษะกระบวนการคดิ ของนักเรียนในโครงการเพาะพนั ธุ์ปญั ญา โรงเรียนสมเดจ็ พระ ญาณสังวร ในพระสังฆราชปู ถัมภ์ ๓. การเปล่ยี นแปลงทักษะด้านการเรยี นรูแ้ ละนวตั กรรม ในศตวรรษท่ี 21 ของนกั เรียนในโครงการ เพาะพนั ธ์ุปัญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถมั ภ์ ๔. การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรยี นในโครงการเพาะพันธ์ุปัญญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ใน พระสังฆราชูปถมั ภ์ส่คู นไทย 4.0 ๕. ผลของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมครูของโรงเรยี นตน้ แบบภายใต้โครงการเพาะพนั ธปุ์ ญั ญา โรงเรียน สมเด็จพระญาณสงั วร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ปีการศึกษา 2560 ๖. การเปลีย่ นแปลงทักษะด้านการเรยี นรู้และนวัตกรรม ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนในโครงการ เพาะพนั ธุ์ปัญญา ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนสมเดจ็ พระญาณสังวร ในพระสังฆราชปู ถัมภ์ ๕) สรปุ ส่ิงท่เี รยี นรแู้ ละการปรับปรงุ ใหด้ ีขึน้ นกั เรียนเกิดการเปล่ียนแปลงตนเอง เกิดการเรียนรู้อย่างมากมายมีท้ังทุกข์ สุข ในกระบวนการทางาน การเปลี่ยนแปลงทเี่ กดิ ข้นึ มากทสี่ ุดของนักเรียนโครงการเพาะพันธปุ์ ญั ญา โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพร สังฆราชูปถัมภ์ เรียงจากมากไปหาน้อย 1. ความสามารถแก้ปัญหา 2. ความกล้าแสดงออก 3. มนุษย์สัมพันธ์ ทกั ษะทางสังคม และ 4. การรับฟังผอู้ ่นื ๖) การขยายผลและเผยแพรผ่ ลการพฒั นา การเผยแพร่ผลงานนักเรียนโดยการจัดแสดงนิทรรศการท้ังในระดับโรงเรียน ระดับจังหวัด ระดับภาค และระดบั ประเทศในการนาเสนอผลงาน โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๘

- ๒๑ - จัดนิทรรศการเรอ่ื งขา่ นกั เรียน ญสส.นาเสนอบนเวทีเสวนา นักเรยี นโครงการเพาะพันธ์ปุ ัญญาจดั นทิ รรศการและนาเสนอผลงานระดับภาค นักเรยี นที่ผา่ นการจดั การเรยี นรู้เพาะพันธ์ปญั ญานาเสนอผลงานในวันวิทยาศาสตร์แหง่ ชาติของโรงเรียน ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง และผู้ปกครอง ๑. มรี ปู แบบการดาเนนิ กิจกรรมท่ชี ดั เจน สามารถตรวจสอบร่องรอยการทางานได้ ๒. ควรจะมีงบประมาณสนับสนุนในการทากิจกรรม เพ่ือช่วยแบ่งเบาค่าใช้จ่ายของนักเรียน ๓. จัดทาแหลง่ เรยี นรขู้ องชุมชน ภูมปิ ัญญา และมกี ารบันทึกเปน็ หลกั ฐานผ่านออนไลน์ ๗. จุดเด่น หรือลักษณะพเิ ศษของผลงานนวตั กรรม ๑. นักเรยี นได้ลงมอื คน้ ควา้ และปฏิบตั ิจริงดว้ ยตนเอง ๒. มผี ลงานเป็นรูปธรรม เชงิ ประจักษ์ที่ชัดเจน ๓ นักเรียนการเรียนรู้ทกั ษะวิชาการ ทกั ษะชวี ติ และทักษะอาชพี ในการทากจิ กรรม โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสังวรในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๒๘

- ๒๒ - ๔. การจดั การเรียนรู้เหน็ ผลการเปล่ียนแปลงภายใน ๑ ปีการศึกษา ๘. บรรณานุกรม ครูกฤติน (2560). การศึกษาไทย 4.0 หรือ Thailand Education 4.0 ? สืบคน้ เมื่อวันท่ี 1 สงิ หาคม 2559. จากชอื่ เว็บไซต์ : http://www.krukittin.info/?p=744 งานวัดผล (2560). รายงานผลผลการทดสอบระดับชาติ (onet) ปกี ารศกึ ษา 2560 . โรงเรียนสมเด็จสมเด็จ พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถมั ภ์ อาเภอคาเขื่อนแกว้ จังหวัดยโสธร. วจิ ารณ์ พานชิ . (2555). วิธกี ารสร้างการเรยี นรู้เพอ่ื ศษิ ย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มลู นิธสิ ดศรี-สฤษด์ิ วงศ.์ ศนู ยพ์ ีเ่ ลย้ี งมหาวิทยาลยั อุบลราชธาน.ี (ม.ป.ป.) เกยี่ วกบั โครงการ รูจ้ ักเพาะพนั ธป์ุ ัญญา. สบื คน้ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2558. จากชอื่ เวบไซต์ : http://www.pohpanpunya-ubu.com/ver2/about.php#. สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. (2555). โครงงานฐานวิจัย: กระบวนการเรียนรู้ใหม่ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : สานกั งาน กองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ัย. เดชมณี เนาวโรจน์ (2558). การเปลี่ยนแปลงทักษะกระบวนการคิดของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ ปัญญา โรงเรียนสมเดจ็ พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถมั ภ์. บทคัดย่อการประชมุ ทาง วชิ าการ ระดบั ชาติ มอบ.วจิ ัย ครง้ั ท่ี 9 การพฒั นาทอ้ งถน่ิ สู่ภูมภิ าคอาเซียน : งานวจิ ัยกับอนาคตสงั คมไทย. มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี จงั หวัดอุบลราชธาน.ี เดชมณี เนาวโรจน์ (2559). การเปลย่ี นแปลงทักษะดา้ นการเรียนร้แู ละนวัตกรรม ในทกั ษะศตวรรษที่ 21 ของ นักเรยี นในโครงการเพาะพันธปุ์ ัญญา โรงเรียนสมเดจ็ พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถมั ภ์. บทคัดย่อ การประชมุ ทาง วชิ าการระดบั ชาติ มอบ.วิจยั ครัง้ ที่ 10 การพัฒนาทอ้ งถ่ินสูภ่ ูมิภาอาเซยี น : งานวิจยั กบั อนาคตสงั คมไทย. มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี จังหวดั อบุ ลราชธานี. เดชมณี เนาวโรจน์ (2560). รายงานผลการเปล่ียนแปลงทกั ษะคนไทย 4.0 ของนักเรยี นในโครงการ เพาะพันธ์ุปัญญา โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชปู ถัมภ์. บทคัดย่อการประชมุ ทาง วิชาการระดับชาติ มอบ.วิจยั ครัง้ ท่ี 11 การพัฒนาท้องถนิ่ สู่ภูมิภาอาเซยี น : งานวจิ ัยกับอนาคต สังคมไทย. มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี จงั หวดั อุบลราชธาน.ี โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรในพระสังฆราชูปถัมภ์ สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๒๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook