Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานนวัตกรรมการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องพันธุกรรม ด้วยห้องเรียนออนไลน์ classstart.org

รายงานนวัตกรรมการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องพันธุกรรม ด้วยห้องเรียนออนไลน์ classstart.org

Published by dnavaroj15, 2021-02-28 06:31:03

Description: บทความห้องเรียนออนไลน์classstart.com-63-พันธุกรรม-16-2-64

Search

Read the Text Version

1

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ด้วยห้องเรียนออนไลน์(Classstart.org) โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวรในพระสังฆราชูป ถัมภ์ เดชมณี เนาวโรจน์1* 1โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสงั วร ในพระสังฆราชปู ถัมภ์ อาเภอคาเขื่อนแก้ว จงั หวัดยโสธร *E-mail : [email protected] บทคัดย่อ งานวิจยั นมี้ ีวัตถปุ ระสงค์ (1) เพือ่ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง พันธุศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ดว้ ยหอ้ งเรยี นออนไลน์(Classstart.org) โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ปีการศึกษา 2563 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 (2) และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อสื่อการสอนออนไลน์ Classtart.org โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 จานวน 76 คน จาก การศึกษาวิจัย พบว่า นักเรียนท่ีเรียนด้วยห้องเรียนออนไลน์(Classstart.org) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 มีประสิทธิภาพ 75.02/75.13 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ และนักเรียนมี ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อส่ือการสอนออนไลน์ Classtart.org เร่ือง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 โดยรวมอยู่ในระดับ มาก ( X = 4.00 , S.D = 0.10) ดังน้ัน การจัดการเรียนการสอนด้วยห้องเรียนออนไลน์ Classstart.org เรื่อง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 สามารถนาไปใช้และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนใน รายวิชาดังกล่าวได้ นอกจากน้ียังส่งผลให้นักเรียนเกิดทักษะคนไทย 4.0 หรือทักษะแห่งอนาคตในศตวรรษที่ 21 อย่างแน่นอน คาสาคญั : ห้องเรยี นออนไลน์ ,Classstart.org ,ทักษะศตวรรษที่ 21 Development of academic achievement On genetics of Science5 subject Secondary School Year3. Academic Year 2020 with online Classroom for classstart.org of Somdej Phrayanasangvara School Under the Royal Patronge. Dechmanee Naowarot1* 1 Somdej Phrayanasangvara School Under the Royal Patronge. Kham Khuean Kaeo Dostrict. Yasothon Province *E-mail : [email protected] Abstract This research has the Objective 1. To develop academic achievement On genetics. Secondary School Year3. With online classroom of classstart.org for Somdej phrayanasangvara School Under the Royal Patronge. Academic Year 2020. Effective By criteria 75/75 (2). To study student satisfaction with Online teaching meterials Classstart.org. The target group is Mathayom suksa3. Students for academic year 2020. Of the 76 peple. The research found that students who study with Online classroom of classstart.org have academic achievement. On genetics 2

Science5 Subject, Efficient 75.02/75.13 which is higher than the set criteria and satisfaction of students with teaching materials Classstart.org On genetics of Science5 Subject, Overall is at a high leval. ( X = 4.00 , S.D = 0.10). Therefore, the management of teaching and learning with Online Classroom, On genetic, Science5 Subject, Able to apply anddevelop the learning achievement in the aforementioned Courses, It also resulted in students becoming Thai 4.0 skills. Or the skills of future in the 21st Century for sure. keywords : online classrooms ,Classstart.org , the 21st Century บทนา การศึกษาไทย 4.0 เป็นการศึกษาเพื่อการสร้างนวัตกรรม เป็นการศึกษาเพื่อปวงชน เป็นการศึกษา เพ่ือสังคม ที่คนท่ีได้รับการศึกษาน้ันต้องหันมาช่วยเหลือสังคมอย่างจริงจัง และกว้างขวาง โดยท่ีไม่ใช่การศึกษา เพ่ือวัตถุประสงค์ใด วัตถุประสงค์หนึ่งดังเช่นท่ีผ่านมา และการจัดการศึกษาต้องบูรณาการท้ังศาสตร์ ศิลป์ ชีวิต และเทคโนโลยีเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน เพ่ือสร้างคนท่ีสังคมต้องการได้ในทุกมิติ และมีรูปแบบการจัดการศึกษา ที่หลากหลาย สอดคล้องและตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน โดยครูอาจจะไม่มีความจาเป็นอีกต่อไป หรือ ถ้าจาเป็นต้องมตี อ้ งเปล่ยี นแปลงบทบาทไปอย่างมาก (ครูกฤติน , 2560) ครูไทย 4.0 จึงเน้นที่การสร้างชุมชนแห่ง ความสงสัย กระตือรือร้น อยากเรียนอยากรู้ และอยากได้คาตอบข้ึนในชั้นเรียน ทาให้บรรยากาศในห้องเรียน ทุกห้องเปน็ หอ้ งเรยี นแห่งความสงสยั อยากเรยี นอยากรู้ อยากหาคาตอบ หรือที่เรียกว่า Community of Inquiry และนักเรียนได้ลงมือค้นหาคาตอบท่ีตนสงสัยและอยากรู้เป็นกลุ่ม ค้นหาคาตอบผ่านกระบวนการเรียนการสอน ท่ีเรียกว่าการเรียนรู้โดยยึดปัญหาเป็นฐาน (ดิเรก พรสมี า , 2559) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นคุณลักษณะเก่ียวกับความรู้ความสามารถของบุคคลท่ีเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ด้านต่างๆ จากการได้รับมวลประสบการณ์ซ่ึงเป็นผลจากการเรียนการสอน กล่าวมีผู้กล่าวถึงผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ไว้ดังนี้ ทบวงมหาวิทยาลัย (2525: 1 – 5) กล่าวถึงผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิทยาศาสตร์ว่า หมายถึงผลสัมฤทธ์ิ ด้านเนอื้ หาความรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละกระบวนแสวงหาความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงหลักสูตร รายวิชาวิทยาศาสตร์ ใหเ้ ออื้ ตอ่ การพฒั นาความสามารถของนักเรยี น โดยยึดตามจดุ ประสงค์(กรมวิชาการ. 2546) 1. เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจในหลักการและทฤษฎีขัน้ พนื้ ฐานของวิทยาศาสตร์ ๒. เพอ่ื ให้เกดิ ความเขา้ ใจในลกั ษณะขอบเขต และวงจากัดของวทิ ยาศาสตร์ ๓. เพ่อื ใหเ้ กิดทกั ษะในการศกึ ษาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔. เพื่อใหม้ เี จตคติทางวทิ ยาศาสตร์ ๕. เพือ่ ใหเ้ กิดความเข้าใจในความสัมพันธร์ ะหวา่ งวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และอทิ ธพิ ลของวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยตี ่อมวลมนษุ ยแ์ ละสิง่ แวดล้อม ๖. เพอ่ื สามารถนาความรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื งวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีไปใชป้ ระโยชน์ต่อสังคมและพฒั นา คณุ ภาพชีวติ จากการศึกษาเอกสารท่ีกล่าวมา สรปุ ไดว้ า่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึงคุณลักษณะด้าน ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการนามวลประสบการณ์ที่ได้รับจากการเรียนการสอนและการทากิจกรรม ต่างๆในวิชาวิทยาศาสตร์ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้างแบบทดสอบวัด 3

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ครอบคลุมท้ังในส่วนของเนื้อหาความรู้ กระบวนการแสวงหาความรู้ มวลประสบการณ์ ของบุคคลที่ได้รับจากการเรียนการสอน การฝึกอบรม หรือการทากิจกรรมต่างๆ เป็นปรนัยแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ผู้วิจัยจึงสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ให้ครอบคลุมทั้ง ในส่วนของเน้ือหาความรู้และ กระบวนการแสวงหาความรู้เร่ืองการไทเทรตกรด-เบส ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานเรียนรู้และผลการเรียนรู้ ท่ีคาดหวังของกลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ จติ วทิ ยาศาสตรห์ รือเจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งสังเกตเห็นได้ยาก จึงมีผู้สนใจท่ีจะ วัดจติ วทิ ยาศาสตร์ของบุคคลซึง่ ก็สามารถวดั ไดเ้ ช่นเดยี วกับการวัดเจตคติทว่ั ๆ ไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546 :14) ได้กล่าวถึงเป้าหมายของการวัดผล ประเมนิ ผลการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ด้านเจตคติไว้ดังน้ี เจตคติเป็นจิตสานึกของบุคคล ท่ีก่อให้เกิดลักษณะนิสัยหรือ ความรู้สึกทางจิตใจการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนควรได้รับการประเมินเจตคติ 2 ส่วน คือ เจตคติ ทางวทิ ยาศาสตร์และเจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ ด้วยการสังเกตพฤติกรรมหรอื มีการประเมินอย่างสม่าเสมอ โดยทั่วไป พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนดา้ นเจตคติมีการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน การรับรู้ คือสนใจและรับรู้ข้อสนเทศ หรอื ส่งิ เรา้ ดว้ ยความตงั้ ใจ การตอบสนองต่อข้อสนเทศหรือสิ่งเร้าอย่างกระตือรือร้น เห็นคุณค่าคือแสดงความรู้สึก ช่ืนชอบและมีความเชือ่ เกี่ยวกบั คุณค่าของเรอื่ งที่เรียน การจัดระบบคือจัดระบบ จัดลาดับ เปรียบเทียบและบูรณา การเจตคตกิ ับคณุ ค่า เพื่อนาไปใชห้ รอื ปฏบิ ตั ิ การสร้างคุณลักษณะคือเลือกปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติในสิ่งต่างๆได้อย่าง เหมาะสม ทวทิ ชัย สุดชาฎา (2549: 48) ไดเ้ สนอวธิ กี ารทีจ่ ะสามารถวดั เจตคติ สรปุ ได้ 3 รปู แบบ ดังตอ่ ไปน้ี ๑. การสมั ภาษณ์หรือการซกั ถามโดยตรง เป็นวิธีท่ีผู้ถามจะสามารถทราบความรู้สึกหรือความคิดเห็นของผู้ตอบได้ ตรงท่ีสุด ถ้าผู้ตอบตอบอย่างจริงจังและเปิดเผย ซึ่งเป็นไปได้ยาก ดังนั้นการที่จะได้คาตอบท่ีแสดงออกถึงลักษณะ นสิ ยั จริงๆ ของบคุ คลเป็นเรอ่ื งทท่ี าไดย้ าก ๒. การสังเกตพฤติกรรมท่ีแสดงออก เนื่องจากผู้สอนไม่สามารถบอกเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนได้ แต่ สามารถสังเกตเห็นได้จากพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออกมาขณะที่เรียนซึ่งเป็นพฤติกรรมท่ีบ่งบอกว่าผู้เรียนมี คุณลักษณะของผู้มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์มากหรือน้อย แม้ว่าการวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกต พฤตกิ รรมที่แสดงออกจะได้ผลค่อนข้างตรงพอสมควรแต่ก็ไม่สะดวกเน่ืองจากต้องใช้เวลามากและอาจมีอคติของผู้ สังเกตเขา้ มาเกยี่ วข้องอันอาจทาให้ไดผ้ ลทค่ี ลาดเคลอื่ น ๓. โดยการวัดในรูปข้อเขียน การวัดเจตคติในรูปแบบนี้ ทาโดยการสร้างข้อความขึ้นมาแล้วให้ผู้ตอบพิจารณาว่า เห็นดว้ ยหรือไม่ ระดับใด เคร่อื งมอื วดั เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์แบบข้อเขียนท่ีนิยมสร้างกัน มักเป็นแบบของ Likert และแบบของ Thurstone การวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์โดยวัดในรูปข้อเขียนน้ี เป็นท่ีนิยมมากท่ีสุดเพราะวัดได้ สะดวกและประหยัดเวลา แต่มีจุดอ่อนตรงที่ผู้ตอบสามารถบิดเบือนไม่ตอบตรงความเป็นจริงได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่า การท่ีจะวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ ยังมีจุดอ่อนและข้อบกพร่อง ที่จะทาให้ผลคลาดเคล่ือนไป จากความเป็นจรงิ จากการศึกษาเรื่องการวัดจิตวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษา เห็น สอดคล้องกันว่าสามารถวัดได้หลายรูปแบบท้ัง โดยการสัมภาษณ์ การสังเกตพฤติกรรมและการใช้ข้อเขียน แต่ใน ทุกรปู แบบก็ยงั มจี ดุ อ่อนและข้อบกพร่องอยู่บ้างท่ีอาจวดั ไมไ่ ดต้ รงตามความเปน็ จริง ดงั น้ันเจตคตติ ่อการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกของผู้เรียนท่ีมีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ในด้านเรียน การสอน เน้ือหา และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนหลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ (๔ MAT) โดยผวู้ ิจัยไดพ้ จิ ารณาเจตคตติ อ่ การเรยี นวิทยาศาสตร์ดา้ นความรู้ ความรสู้ ึก และด้านแนวโน้มเชิงพฤติกรรม โดยใชแ้ บบประเมินเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ท่ีสร้างข้ึนตามวิธีการของลิเคิร์ท (Likert Scale) เป็นมาตรวัด 4

ความรู้สกึ 5 ระดับ คอื ๕, ๔, ๓ ,๒ และ ๑ หมายถึง เห็นด้วยมากท่ีสุด เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง เห็นด้วย น้อย และเห็นดว้ ยนอ้ ยที่สุด ตามลาดับ การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 เป็นการออกแบบวัฒนธรรมการเรยี นการสอนที่ให้อานาจแก่ผู้เรียนเน้นผู้เรียน เป็นศูนยก์ ลางผ่านปรชั ญาของการ “สอนน้อย แต่เรียนรู้ให้มาก” กล่าวคือ การที่ครูเป็นโค้ชหรือเป็นผู้อานวยการ เรยี นรู้ใหแ้ กผ่ เู้ รียนอันทาให้ผู้ เรยี นเกิดทักษะของการใฝ่รู้และสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง การนาเอาเทคโนโลยีท่ี ทันสมัยมาใช้เปน็ สือ่ การเรยี นการสอน เป็นการแก้ปัญหาทางด้านการศึกษาให้สาเร็จลุล่วงไปได้ และสื่อที่นามาแก้ สภาพปัญหาดังกล่าว คือบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จากโปรแกรม Classatart คือระบบการจัดการช้ันเรียน ออนไลน์ บรกิ ารฟรี เพอ่ื ใชใ้ นการเรยี นการสอนแทนผู้สอน เป็นสือ่ การเรยี นการสอนทีถ่ า่ ยทดอดเนื้อหาบทเรียนใน ลกั ษณะทใี่ กลเ้ คยี งกับการสอนจริง มกี ารผสมผสานสอ่ื หลายๆ สอ่ื เขา้ ด้วยกัน ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เปน็ การถา่ ยทอดเนอ้ื หาบทเรียนหรือองคค์ วามรู้ในลกั ษณะทใ่ี กลเ้ คียงกับการสอนจริงในห้องเรียน ทาให้ผู้เรียนเกิด ความเข้าใจในการเรยี น เพ่มิ ความนา่ สนใจในการเรยี น และทาให้นกั เรียนเรยี นร้หู รือทบทวนบทเรียนได้ด้วยตนเอง ผู้วิจัยจงึ เห็นว่าบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สามารถลดปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นได้ รวมทั้งช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการจดั การเรยี นร้ขู องนักเรียนใหส้ ูงขึน้ อย่างไรก็ตามจุดผลิกผันทางการศึกษาในคร้ังน้ีของประเทศ ไทยจะเกิดขึ้นไม่ได้หากขาดเทคโนโลยี สารสนเทศทางการเรียนรู้ที่ทรง ประสิทธิภาพและใช้งานได้ง่ายและสะดวก “ClassStart” (http://ClassStart.org) เปรียบเสมือน “นาวาปัญญา” หรือเรือข้ามฟากที่จะนาพาเยาวชนไทยจานวนกว่า 4 ล้านคน ค่อยๆ ก้าวข้ามผ่านระบบการศึกษาในศตวรรษที่ 20 ไปยังศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย ClassStart เป็นระบบชั้นเรียนออนไลน์ (Learning Management System) ท่ีพัฒนาข้ึนเพ่ือรองรับรูปแบบ จัดการการศึกษาของไทยและมุ่งส่งเสริมกระบวน การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้สอนสามารถออกแบบการ เรยี นการสอนท่ีมคี วามยดื หยนุ่ และ ใช้สอื่ เทคโนโลยขี อง ClassStart เพอื่ ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนได้ อย่างสะดวก เนื่องจากสามารถใช้งานได้ง่าย เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาเพียงแค่มีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต อีกท้ัง ผู้ใช้ไม่ต้องติดตั้งและดูแลเว็บไซต์และเครื่องแม่ข่ายเอง ClassStart ได้รับการพัฒนาข้ึนโดย ผศ.ดร.ธวัชชัย และ ดร.จนั ทวรรณ ปิยะวัฒน์ ซึ่งเป็นผู้พัฒนาชุมชนออนไลน์เพื่อคนทางานแลกเปล่ียนเรียนรู้ GotoKnow.org มากว่า 8 ปี โดย ClassStart เปิดให้บริการฟรีแก่ผู้เรียนผู้สอนทั่วประเทศมาต้ังแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 ปัจจุบันมี สมาชิกกว่า 45,000 คน และชน้ั เรยี นกวา่ 3,500 ชั้นเรยี นจากกว่า 200 สถานศึกษาท่ัวไทย ความสามารถปัจจุบัน ของ ClassStart ประกอบดว้ ย ระบบสมาชิก ระบบการจัดการช้ันเรียน ระบบข่าวประกาศสาหรับช้ันเรียน ระบบ เอกสารการสอนสาหรับช้ันเรียน ระบบเว็บบอร์ดสาหรับช้ันเรียน ระบบกลุ่มผู้เรียนในช้ันเรียน ระบบจัดการ แบบฝึกหัด ระบบบันทึกการเรียนรู้ ระบบบันทึกคะแนนเก็บ และ ระบบประมวลผลคะแนน เพ่ือ อนาคตการ เรียนรู้ของเยาวชนไทยคงถงึ เวลาแล้วท่ีคนไทยทุกภาคส่วนต้องร่วมมือ กันพลิกผันระบบการศึกษาแบบเดิมให้ก้าว สู่การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 คา ตอบย่อมไม่ใช่การยัดเยียดเทคโนโลยีสู่การศึกษา ไม่ใช่การปิดก้ันเทคโนโลยี สาหรับการศึกษา แต่เป็นการออกแบบวัฒนธรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางด้วยศักยภาพของ ClassStart ในปจั จบุ นั สามารถช่วยให้ผู้สอนจดั การเรียนการสอนในรูปแบบเก่าได้อย่างสะดวก และสามารถนามา ประยุกต์ใช้เพื่อรองรับรูปแบบการเรยี นการสอนทถ่ี ูกคน้ ควา้ ออก แบบใหม่เพื่อการศึกษาของไทย และ ClassStart จะเป็น “นาวาปญั ญา” ทพี่ ร้อมจะนาพาการศกึ ษาไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ กนกวรรณ เรืองแสน และลาวัณย์ ดุลบชาติ (2559) ได้พัฒนาการเรียนรู้แบบ MIAP ด้วยโปรแกรม Classstart เรื่อง การออกแบบ Template Powerpoint ด้วยโปรแกรม Photoshop CS5 พบว่า บทเรียน ออนไลน์บน Classstart เรื่อง การออกแบบ Template Powerpoint ด้วยโปรแกรม Photoshop CS5 โดยรวม 5

มีคุณภาพระดับ มาก ดัชนีประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์บน Classstart มีค่าเท่ากับ 88.89/82.17 และ ผูเ้ รยี นมีความพึงพอใจต่อการเรียนดว้ ยบทเรียนออนไลนบ์ น Classstart โดยรวมอยใู่ นระดบั มากท่สี ุด อรุณ ขาวทุ่ง (2557) ศึกษา เรื่อง บทเรียนบนเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง นิวแมติกส์ พบว่า บทเรียน บนเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง นิวแมติกส์ มีประสิทธิภาพ 83.67 :81.17 มีประสิทธิภาพด้านเนื้อหาอยู่ระดับดี มาก (4.56) คณุ ภาพด้านการผลิดสื่ออย่ใู นระดบั ดี(4.33) จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความประสงค์ที่จะพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนใน เรื่อง พันธุกรรม วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ด้วยห้องเรียนออนไลน์ Classstart.org ซึ่งสามารถเป็นสื่อที่ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เพราะมีการนาเสนอท่ีน่าสนใจ มีเนื้อหาความรู้ ภาพเคล่ือนไหว แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และแบบทดสอบหลังเรียน เพ่ือให้การศึกษาเป็นกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นการ นาสอ่ื เทคโนโลยมี ารปรับใชก้ ับการเรยี นการสอน อนั เป็นผลใหก้ ารเรยี นการสอนมปี ระสิทธิภาพสงู สดุ วิธีการวิจัย 1) ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการศกึ ษาครง้ั น้ี คือ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสงั วรในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ จานวน 76. คน 2) แบบแผนการวิจัย การศึกษานี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองช้ันต้น (Pre-experiment) ท่ีมีกลุ่มการทดลองกลุ่มเดียววัดผล หลงั การทดลอง (One-shot case study) 3) เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัย 3.1 หอ้ งเรียนออนไลน์ เรือ่ ง พนั ธศุ าสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 5 ทีพ่ ัฒนาดว้ ย Classstart.org 3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 จานวน 30 ขอ้ 3.2 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อห้องเรียนออนไลน์ Classstart.org ท่ีครูจัดทาขึ้น โดย ใช้ตามมาตรวัดของลเิ คิร์ท (Likert Scale) 4) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และการวเิ คราะห์ข้อมูล การศึกษาครง้ั น้ีมกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการวเิ คราะห์ข้อมลู ตามข้นั ตอน ดังน้ี 4.1 จัดทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 จานวน 50 ข้อ นาไปหาค่า IOC โดยผู้เช่ียวชาญ และปรับปรุงข้อสอบ เสร็จแล้วนาแบบทดสอบไปทดสอบกับนักเรียนท่ีผ่าน การเรียนรู้เร่ืองดังกล่าว 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเล็ก กลุ่มกลาง กลุ่มใหญ่ เพื่อหาค่าความยากง่ายของข้อสอบ และ อานาจจาแนก ปรับปรุงและเลือกแบบทดสอบ จานวน 30 ข้อมาใช้เป็นข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่าน หอ้ งเรยี นออนไลน์ Classstart.org 4.2 ห้องเรียนออนไลน์ เร่ือง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ที่พัฒนาด้วย Classsstart.org มีการ พัฒนาโดยให้ผู้เช่ียวชาญท่ีมีความรู้ในเร่ืองการสร้างห้องเรียนออนไลน์ ประเมินและตรวจสอบ หลังจากน้ัน ปรบั ปรุงห้องเรยี นออนไลนต์ ามท่ผี ้เู ชีย่ ญชาญแนะนา ก่อนนาไปใหน้ กั เรียน 3 กลมุ่ ทดลองใช้งาน 4.3 แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการใชห้ ้องเรียนออนไลน์ เร่ือง พนั ธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ครู ทาแบบประเมนิ ห้องเรียนออนไลน์ ทีพ่ ัฒนาจากกนกวรรณ เรืองแสงและคณะ(2559) โดยให้ผู้เช่ียวชาญที่มีความรู้ ในเรื่องการสร้างห้องเรียนออนไลน์ ตรวจสอบ เสร็จแล้วปรับปรุงแกไ้ ข เพ่อื นาไปใช้ในทดลองต่อไป 4.4 นาขอ้ มลู ในข้อ 4.1 – 4.3 ไปใช้กับนกั เรยี นกลมุ่ ทดลอง ปีการศึกษา 2563 6

4.5 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สมการ 4.5.1. สถิติท่ใี ช้ในการหาคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (1) สถิติท่ีใช้ในการหาความเท่ียงตรงของแบบทดสอบ โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง จากสูตรการหาคา่ IOC (Index of Item Objective Congruence) ดังน้ี (สมนกึ ภัททิยธนี. 2546 : 220) IOC =  R N เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างขอ้ สอบกบั จุดประสงค์ R แทน ผลรวมคะแนนความคดิ เห็นของผู้เชีย่ วชาญดา้ นเนอ้ื หาวิชา ทั้งหมด N แทน จานวนผเู้ ชีย่ วชาญ (2) การหาคา่ ความยากง่าย(Difficulty : P) โดยใชส้ ตู ร ดงั นี้ (สมนึก ภทั ทิยธนี. 2546 : 212) P= R N เม่อื P แทน คา่ ความยากของข้อสอบ R แทน จานวนคนตอบถูก N แทน จานวนคนทัง้ หมด (3) การหาคา่ อานาจจาแนก (Discrimination) โดยวิธีของ เบรนแนน (Brennan) เลือกข้อสอบทีม่ คี ่าอานาจจาแนกต้ังแต่ .20 -1.00 ดงั นี้ (บุญชม ศรสี ะอาด. 2543 : 87-89) B = UL n1 n2 B แทน คา่ อานาจจาแนก U แทน จานวนผูร้ อบรูห้ รอื สอบผา่ นเกณฑ์ทต่ี อบถูก L แทน จานวนผไู้ มร่ อบรูห้ รือสอบไม่ผา่ นเกณฑ์ท่ีตอบถกู n1 แทน จานวนผรู้ อบรู้หรอื สอบผา่ นเกณฑ์ n2 แทน จานวนผู้ไมร่ อบรหู้ รือสอบไมผ่ า่ นเกณฑ์ (4) การหาค่าความเชอ่ื ม่นั (Reliability) ของแบบทดสอบ โดยใชส้ ูตรของโลเวท (Lovett) ดังน้ี (บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2543 : 93) rcc 1 k x   xi2 k 1  xi  c2 เม่ือ rcc แทน ความเช่อื มนั่ ของแบบทดสอบ 7

k แทน จานวนขอ้ สอบ Xi แทน คะแนนของแต่ละคน C แทน คะแนนเกณฑห์ รือจุดตดั ของแบบทดสอบ 4.5.2. การหาคุณภาพของส่ือห้องเรียนออนไลน์Classtart.org เรื่อง พันธุศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ 5 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 (1) การหาประสทิ ธิภาพของชดุ ส่ือประสม ใชส้ ูตร ดงั นี้ (เผชิญ กจิ ระการ. 2544 : 49-50) X E1 = N 100 A E1 แทน ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ  X แทน คะแนนรวมของแบบฝึกหดั หรอื ของแบบทดสอบย่อยทุกชุดของ ผ้เู รยี นท้ังหมด A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกหดั ทุกชดุ รวมกนั N แทน จานวนนกั เรยี นท้งั หมด X E2 = N 100 B E2 แทน ประสทิ ธิภาพของผลลพั ธ์  X แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียนของผเู้ รยี นท้ังหมด B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน N แทน จานวนนกั เรยี นท้ังหมด 4.5.3 วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แบบประเมินความพึงพอใจของ นกั เรยี นท่ีมีตอ่ หอ้ งเรยี นออนไลน์ โดยใชส้ มการ (1) คา่ เฉลย่ี (Arithmetic Mean : X ) โดยใช้สตู ร ดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาด. 2543 : 102) X = x N เมือ่ X แทน คะแนนเฉลย่ี  x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จานวนคนในกลุ่มตวั อย่าง (2) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สูตร ดังน้ี (สมนึก ภัททยิ ธนี. 2546 : 250) S.D = N X 2   X 2 N  N 1 8

เมอ่ื S แทน ค่าความเบยี่ งเบนมาตรฐานของกลมุ่ ตัวอยา่ ง  X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด  X 2 แทน ผลรวมของคะแนนยกกาลงั สอง N แทน จานวนคนทง้ั หมดในกลุ่มตัวอย่าง ผลการวจิ ัย 1.1 หาประสิทธิภาพของสอ่ื ห้องเรยี นออนไลน์Classtart.org เรอื่ ง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ตามเกณฑ์ 75/ 75 ผ้ศู ึกษาค้นคว้าได้ทาการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างที่เรียนด้วยสื่อส่ือห้องเรียนออนไลน์Classtart.org เร่ือง พันธศุ าสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยให้ทาแบบทดสอบระหว่างเรียน และหลังเรียน เพื่อ หาคา่ เฉลย่ี ร้อยละ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ได้ผลปรากฏดงั ตาราง 1 – 4 ตาราง 1 ค่าเฉล่ียส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและประสิทธิภาพของกระบวนการ ( E1) ของห้องเรียน ออนไลน์ เร่อื ง พันธศุ าสตร์ วิชาวทิ ยาศาสตร์ 5 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ แบบฝึกหัด ทดสอบย่อย คะแนนรวม X S.D. ร้อยละของคา่ เฉลย่ี 1 10 581 7.64 0.20 76.45 2 3 15 825 10.86 0.28 72.37 4 5 11 654 8.61 0.22 78.23 โดยรวม 13 704 9.26 0.30 71.26 11 642 8.45 0.24 76.79 60 3406 44.82 0.25 75.02 ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (E1 ) เท่ากับ 75.02 จากตาราง 1 พบว่าคะแนนจากการทาแบบทดสอบย่อย มีค่าเฉลยี่ เท่ากบั …44.82….. จากคะแนน เตม็ 60 คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 75.02 แสดงวา่ ประสิทธภิ าพของกระบวนการ(E1) เทา่ กบั 75.02 ตาราง 2 คา่ เฉลี่ยสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานและประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ (E2 ) ของสอ่ื ห้องเรยี น ออนไลน์ Classstart.org เรอื่ ง พันธุศาสตร์ วชิ าวิทยาศาสตร์ 5 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 คะแนนทดสอบหลงั เรยี น จานวนนกั เรียน คะแนนรวม 12 1 12 16 2 32 18 2 36 19 5 95 20 10 200 21 10 210 9

22 3 66 23 10 230 24 11 264 25 14 350 26 3 78 27 1 27 28 3 84 29 1 29 รวม 76 1713 X 22.54 3.10 S.D. 75.13 ร้อยละของคา่ เฉลี่ย ประสทิ ธภิ าพของผลลพั ธ์(E2 ) 75.13 ตาราง 2 พบว่า คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 22.54 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 75.13 แสดงว่า ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2 ) เทา่ กบั 75.13 ตาราง 3 ประสิทธิภาพของส่ือสื่อห้องเรียนออนไลน์ Classstart.org เรื่อง แรงและการเคล่ือนท่ี วิชาวทิ ยาศาสตร์ 5 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 คะแนน คะแนนเต็ม X S.D. ร้อยละ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) 60 44.82 0.25 75.02 ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์ (E2) 30 22.54 3.10 75.13 ประสิทธภิ าพของบทเรียนบนเครือข่าย เทา่ กับ ……75.02……. / ……75.13……… จากตาราง 3 พบว่า คะแนนนักเรียนกลุ่มทดลองแสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วย ส่ือห้องเรียนออนไลน์Classtart.org เร่ือง 75.13 วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้คะแนนจากการ ทดสอบย่อยระหว่างเรียนรวมเฉล่ีย 44.82 จากคะแนนเต็ม 60 คิดเป็น ร้อยละ 75.02 คะแนน จากการ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน ได้คะแนนรวมเฉล่ีย 22.54 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 75.13 ดังนั้น ประสิทธิภาพของชุดส่ือประสม (E1/E2) ได้เท่ากับ 75.02 / 75.13 ซ่ึงเป็นไปตาม เกณฑ์ที่กาหนดไว้ 10

ตาราง 4 ผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อห้องเรียนออนไลน์ classstart.org เรื่อง พันธุศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 รายการ Mean SD แปลผล 1. บทเรยี นมคี วามนา่ สนใจ และดึงดดู ใจ 4.092105 0.088214 มาก 2. การแบ่งหวั ขอ้ ของเน้ือหาชัดเจนไมส่ บั สน 4.065789 0.080209 มาก 3. การนาเสนอเน้ือหาง่าายต่อการทาความเขา้ ใจ 3.881579 0.095453 มาก 4. ปริมาณเนื้อหากาลงั ดไี ม่มากไม่นอ้ ยเกินไป 4.078947 0.10557 มาก 5. ส่วนนาเขา้ บทเรียนมคี วามนา่ สนใจ 3.973684 0.105919 มาก 6. สีสนั ของบทเรียน และความสวยงามบนหน้าจอ 3.947368 0.110652 มาก 7. ตวั อักษรชดั เจนอา่ นไดง้ า่ ย 3.921053 0.113575 มาก 8. ภาพประกอบมคี วามสวยงามคมชดั 3.934211 0.108151 มาก 9. ปมุ่ ต่าง ๆ มกี ารวางเหมาะสม ใชง้ านไดง้ ่าย 3.960526 0.103349 มาก 10. ได้ทบทวนความรทู้ าใหเ้ ขา้ ใจเน้ือหามากขนึ้ 4.078947 0.091312 มาก 11. เสียงเพลงประกอบเหมาะสม 3.789474 0.106484 มาก 12. แบบทดสอบใช้งานง่าย 3.973684 0.10425 มาก 13. ระยะเวลาในการศกึ ษาบทเรียน 4.157895 0.091867 มาก 14. ท่านได้ความรู้เพ่ิมข้ึนหลังจากการศึกษาด้วยบทเรียนออนไลน์ มาก (classstart.org) ในรายวชิ าน้ี 4.144737 0.107122 รวม 4.00 0.10 มาก จากตาราง 4 พบว่า มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงพอใจต่อมีต่อห้องเรียนออนไลน์ เร่ือง พันธุศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย ( X =4.00) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความพึง พอใจอยู่ในระดับ มากท่ีสุด เรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ดังนี้ ช่วยให้นักเรียนใช้ เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์มากขึ้น ( X = 4.32) รองลงมาคือ ความพึงพอใจในการแสดงผลการสอบให้นักเรียน ทราบทนั ที ( X = 4.26) และเข้าถึงขอ้ สอบออนไลน์ไดง้ า่ ย สะดวกรวดเรว็ ( X = 4.23) อภปิ รายและสรุปผลการวิจัย ผลจากการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ด้วยห้องเรียนออนไลน์(Classstart.org) โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ใน พระสังฆราชูปถัมภ์ วัตถุประสงค์ (1) เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง พันธุศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยห้องเรียนออนไลน์(Classstart.org) โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ปีการศึกษา 2563 ท่ีมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 (2) และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อส่ือการสอนออนไลน์ Classtart.org โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 จานวน 76 คน จาก การศึกษาวิจัย พบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยห้องเรียนออนไลน์(Classstart.org) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 มีประสิทธิภาพ 75.02 / 75.13 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ดังตาราง 3 และ นักเรียนมีความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อสื่อการสอนออนไลน์ Classtart.org เรื่อง พันธุศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 5 โดยรวมอยใู่ นระดับ มาก มคี า่ เฉล่ีย ( X = 4.00 , S.D = 0.10) ดังตาราง 4 และจากการวิจัย 11

พบว่าความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากท่ีสุด เรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ดังน้ี ช่วยให้ นักเรียนใชเ้ ทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์มากข้ึน ( X = 4.32) รองลงมาคือ ความพึงพอใจในการแสดงผลการสอบ ให้นักเรยี นทราบทันที ( X = 4.26) และเขา้ ถึงขอ้ สอบออนไลนไ์ ด้ง่าย สะดวกรวดเรว็ ( X = 4.23) สรุปได้ว่าการนาห้องเรียนออนไลน์ Classstart.org เร่ือง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สามารถนามาใช้เป็นส่ือในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเรื่องดังกล่าวได้เป็นอย่างดี และนามาปรบั ใชใ้ นการทากจิ กรรมการเรียนการสอนในรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เรื่องอื่นๆ และในรายวิชาอื่นจนส่งผล ให้นักเรียนเกิดทักษะคนไทย 4.0 หรอื ทักษะแหง่ อนาคตในศตวรรษท่ี 21 อย่างแน่นอน กติ ตกิ รรมประกาศ การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง พันธุศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 ด้วยห้องเรียนออนไลน์(Classstart.org) โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ สาเรจ็ ลุลว่ งได้ตอ้ งขอบคุณนายเชษฐา ค้าคล่อง ผูอ้ านวยการโรงเรียน ที่สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยคร้ังน้ีประสบ ผลสาเร็จ และทส่ี าคญั ขอบใจนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 ทุกคนท่ีทุ่มเท แรงกายแรงใจและ ตั้งใจในการกจิ กรรมการเรยี นการสอนของครูจนสาเร็จตามวัตถปุ ระสงคท์ ุกประการ เอกสารอา้ งองิ ครูไอที (2562). การสรา้ งแบบทดสอบออนไลน์ด้วย Google Form.สบื คน้ เม่ือ วันที่ 30 สิงหาคม 2562. จาก ช่ือเวบไซต์ : http://www.krui3.com คมั ภีร์ สุดแท้. (2553). การพฒั นารปู แบบการบริหารงานวชิ าการสาหรับโรงเรยี นขนาดเลก็ . วิทยานพิ นธ์ กศ.ด. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม.ครูกฤติน (2560). การศกึ ษาไทย 4.0 หรือ Thailand Education 4.0 ? สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 1 สงิ หาคม 2559.จากชอื่ เว็บไซต์ : http://www.krukittin.info/?p=744 นติ ยา นาแกว้ . (2555). “การพฒั นาระบบจดั การคลงั ข้อสอบและการสอบผ่านอินเทอร์เน็ต,” วารสารวชิ าการ และวิจยั มทร. พระนคร ฉบบั พิเศษ. การประชุมวชิ าการมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครงั้ ที่ 5. บญุ ชม ศรสี ะอาด.(2540). การวิจัยทางการวดั และประเมินผล. กรงุ เทพฯ : สุวรี ิยาสาสน์. ดเิ รก พรสมี า (2559). คนไทย 4.0. ? สืบค้นเมื่อวันที่ 1 สงิ หาคม 2559. จากชอ่ื เวบ็ ไซต์ : http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=46603&Key=news_research สพป.ระยองเขต 1. (2554). คลังขอ้ สอบออนไลน์. (Retrieved 2556, ตุลาคม 2). ส านักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา ประถมศึกษา ระยองเขต 1. Available from:http://thaischoolict.com/rayong1/mod/forum. ธานิล ม่วงพล. (2549). “การพฒั นาโปรแกรมคลงั ข้อสอบและระบบวเิ คราะห์ข้อสอบอัตโนมตั บิ นระบบเคืรอ ข่ายคอมพวิ เตอร์ของโรงเรยี นทหารสอ่ื สาร”. วิทยานพิ นธป์ ริญญามหาบัณฑติ แผนกวชิ าครุศาสตร์ อุตสาหกรรม บณั ฑติ วิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . สุภาณี เส็งศรี . (2547). เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารการศกึ ษา (Information and Communication Technologies for Education). (Retrieved 2556, พ ฤ ศ จิ ก า ย 2) . มหาวทิ ยาลัยนเรศวร คณะศกึ ษาศาสตร์ ภาควชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร.Available from: http://www.edu.nu.ac.th/supanees/lesson. 12