Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปบทเรียนขับเคลื่อนการอ่านออกเขียนได้

สรุปบทเรียนขับเคลื่อนการอ่านออกเขียนได้

Published by Chalermkiat Deesom, 2020-05-01 06:10:26

Description: สรุปบทเรียนขับเคลื่อนการอ่านออกเขียนได้

Search

Read the Text Version

เพื่อสง่ สเสกรรราปุ ะมิรดบอคบัทา่วปเนรารอยีมะอนรถกอขมบับเศขเรยีึกคูด้ นษลา้ ไาอื่ ดนนส้ ขุ ภาพ

สรปุ บทเรยี นขับเคล่อื น การอ่านออกเขียนได้ เพอื่ สง่ เสรมิ ความรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพ ระดบั ประถมศกึ ษา บรรณาธกิ ารอำ� นวยการ นางสาวดวงพร เฮงบุณยพันธ์ บรรณาธิการวชิ าการ ผศ.ดร.พีรพงษ์ บญุ สวสั ด์ิกลุ ชยั รศ.ดร.ขนษิ ฐา นันทบตุ ร กองบรรณาธกิ าร นางสาวรตั น์ดาวรรณ คลงั กลาง นายจริ ะชยั วงศว์ ัฒนบตุ ร นายศภุ ศริ ิ สริ โิ ยธิน นางสาวปยิ ะเนตร ทองชุมนมุ นายพิเชษฐ เรืองสุขสดุ นางสาวนชิ าต์ มลู คำ� นางสาววโรชา ศรีเจริญ นางสาวอนชุ ดิ า นชุ ประหาร ข้อมูลและเนือ้ หา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำ� ปาง อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั ล�ำปาง โรงเรยี นบา้ นเวยี ง ตำ� บลลอ้ มแรด อำ� เภอเถิน จังหวดั ล�ำปาง โรงเรียนบ้านดง ต�ำบลทุง่ หวั ชา้ ง อ�ำเภอทุง่ หวั ชา้ ง จังหวดั ล�ำพนู โรงเรียนบา้ นแฮะ ตำ� บลงมิ อำ� เภอปง จังหวัดพะเยา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดอตุ รดิตถ์ โรงเรียนบ้านปา่ แตว้ ต�ำบลคอรมุ อ�ำเภอพชิ ัย จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ โรงเรยี นบา้ นนาไค้ ตำ� บลบัวใหญ่ อ�ำเภอนานอ้ ย จังหวดั น่าน โรงเรียนบ้านปงสนุก ต�ำบลเจดียช์ ยั อำ� เภอปวั จงั หวดั นา่ น โรงเรียนบา้ นนาวงศ์ ต�ำบลเจดยี ช์ ัย อำ� เภอปวั จังหวดั น่าน โรงเรยี นบ้านแม่ยางตาล (กิตติประชานสุ รณ์) ต�ำบลแมย่ างตาล อำ� เภอรอ้ งกวาง จงั หวัดแพร่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพิบูลสงคราม อ�ำเภอเมือง จงั หวัดพิษณุโลก โรงเรยี นวดั หัวดงใต้ ตำ� บลหวั ดง อำ� เภอเก้าเลย้ี ว จังหวัดนครสวรรค์ โรงเรยี นกัลยาณวิ ัฒนา ๑ ตำ� บลนาบัว อ�ำเภอนครไทย จังหวดั พิษณุโลก โรงเรยี นบา้ นน้�ำดกุ เหนือ ตำ� บลปากชอ่ ง อำ� เภอหลม่ สกั จงั หวดั เพชรบูรณ์ โรงเรยี นบา้ นจนั ทมิ า ต�ำบลจันทิมา อำ� เภอลานกระบอื จังหวดั กำ� แพงเพชร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร โรงเรียนบ้านลาดพร้าว (สาคร-สนุ่ พานชิ เฮง) แขวงจนั ทรเกษม เขตจตุจักร กรงุ เทพมหานคร

โรงเรียนวัดโสภณาราม ตำ� บลบงึ คอไห อ�ำเภอล�ำลกู กา จงั หวดั ปทมุ ธานี โรงเรียนบา้ นคลองบัว (เอยี่ มแสงโรจน)์ แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี อำ� เภอเมอื ง จังหวดั เพชรบุรี โรงเรียนบา้ นในดง ต�ำบลบา้ นในดง อำ� เภอท่ายาง จงั หวดั เพชรบรุ ี โรงเรยี นบา้ นไร่ใหม่พฒั นา ต�ำบลไรใ่ หม่พัฒนา อ�ำเภอชะอำ� จงั หวดั เพชรบุรี โรงเรียนบา้ นห้วยไทรงาม ตำ� บลหนองพลบั อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ โรงเรยี นอนบุ าลหวั หนิ (บา้ นหนองขอน) ตำ� บลหนิ เหลก็ ไฟ อำ� เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ โรงเรยี นบ้านชะม่วง ตำ� บลพงศ์ประศาสน์ อำ� เภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ โรงเรียนดา่ นสงิ ขร ตำ� บลคลองวาฬ อำ� เภอเมือง จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี โรงเรียนบ้านสวนสมบรู ณ์ ต�ำบลสวนแตง อำ� เภอละแม จังหวดั ชมุ พร โรงเรยี นบา้ นบางหยี ต�ำบลบางนำ้� จืด อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร โรงเรยี นบา้ นเขาตากนุ ตำ� บลสวนแตง อ�ำเภอละแม จังหวดั ชุมพร โรงเรยี นวัดปากคู ตำ� บลช้างซา้ ย อ�ำเภอกาญจนดษิ ฐ์ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี โรงเรยี นบา้ นไสขาม ต�ำบลชา้ งซ้าย อำ� เภอกาญจนดิษฐ์ จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดยะลา โรงเรียนบ้านดอแฮะ ตำ� บลริโก๋ อำ� เภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธวิ าส โรงเรยี นบ้านบลกู าสนอ ตำ� บลตะปอเยอะ อ�ำเภอยีง่ อ จงั หวดั นราธิวาส โรงเรียนบา้ นบาโงย ต�ำบลบาโงย อำ� เภอรามนั จังหวดั ยะลา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อำ� เภอเมือง จังหวดั มหาสารคาม โรงเรยี นบา้ นศรสี ุข ต�ำบลหวั ขวาง อ�ำเภอโกสุมพสิ ัย จงั หวัดมหาสารคาม โรงเรียนบ้านโปง่ ประชาพัฒน์ ตำ� บลบงุ่ เลศิ อำ� เภอเมยวดี จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด โรงเรียนบ้านแกหัวแฮดสม้ โฮง ต�ำบลธัญญา อำ� เภอกมลาไสย จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ โรงเรียนประชาพัฒนาบา้ นแฮด ตำ� บลบ้านแฮด อำ� เภอบ้านแฮด จงั หวัดขอนแก่น โรงเรียนบ้านหนองขอนแก่น ต�ำบลหนองอบี ตุ ร จงั หวัดกาฬสินธุ์ โรงเรยี นบา้ นผกั หนาม ต�ำบลหนองกงุ ใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จงั หวดั ขอนแก่น สนับสนนุ โดย สำ� นกั งานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) ส�ำนกั สนับสนุนสขุ ภาวะชมุ ชน (สน.๓) อาคารศนู ยเ์ รียนรู้สุขภาวะ เลขที่ ๙๙/๘ ซอยงามดพู ลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรงุ เทพฯ ๑๐๑๒๐ ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาระบบสุขภาพชมุ ชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ตำ� บลในเมือง อำ� เภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ๔๐๐๐๒ โทรศัพท/์ แฟกซ์ ๐๔๓ ๒๐๒๑๔๒

คำ�น�ำ การประชมุ เวทสี านพลัง สร้างปัญญา พัฒนาเดก็ ปฐมวยั และประถมศกึ ษา ซึง่ จัดขน้ึ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๒ – ๒๔ เมษายน ๒๕๖๒ ณ ศนู ยแ์ สดงสนิ ค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองธานี จังหวัดนนทบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นพ้ืนที่เรียนรู้นวัตกรรมหรืองานเด่นที่ ขับเคล่ือนการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้และความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับ มหาวทิ ยาลยั และโรงเรยี นในชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ทเี่ ปน็ เครอื ขา่ ยไดแ้ ลกเปลย่ี นเรยี นรู้ พรอ้ มทง้ั ได้ วิเคราะห์เทียบเคียงการด�ำเนินงานกับพื้นท่ีตนเอง เพ่ือสะท้อนให้เห็นรูปแบบการด�ำเนิน งาน ตลอดจนการสรา้ งการเรยี นรแู้ ละนำ� ใชข้ อ้ มลู รว่ มกนั ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั และโรงเรยี น ในชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ทสี่ นบั สนนุ ใหเ้ กดิ การพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละความรอบรดู้ า้ น สุขภาพ ตลอดจนการน�ำใช้เคร่ืองมือและกลไกการจัดการท่ีมีความแตกต่างกันและน�ำสู่ จนิ ตนาการในการตอ่ ยอดเพอื่ พฒั นาการเรยี นรขู้ องเดก็ ประถมศกึ ษาใหเ้ กดิ การเรยี นรตู้ ลอด ชวี ติ ในการดแู ลสขุ ภาวะนำ� ไปสกู่ ารพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ และยงั่ ยนื ตอ่ ไป หนังสือ สรุปบทเรียนขับเคล่ือนการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ เพ่ือส่งเสริม ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพระดับประถมศึกษา ประกอบดว้ ย เนื้อหา ๓ ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี ๑ บทนำ� ภาพรวมทแ่ี สดงนวตั กรรมหรอื งานเดน่ สว่ นท่ี ๒ แผนภาพแสดงภาพรวมนวตั กรรม หรืองานเด่นของมหาวิทยาลัยและโรงเรียนในชุมชนท้องถ่ินที่ขับเคล่ือนงานในแต่ละพื้นที่

จำ� นวน ๔๓ ภาพ และสว่ นที่ ๓ Factsheet สรปุ บทเรยี นทแี่ สดงเนอ้ื หาในแผนภาพ จำ� นวน ๔๓ เร่อื ง จากมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ (มรภ.) ๘ แหง่ ประกอบดว้ ย มหาวิทยาลัยราชภัฏ ล�ำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี และมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา และโรงเรยี น ๓๕ แหง่ ท่ีเข้าร่วมโครงการและร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ คณะผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่ม นจี้ ะเป็นประโยชนต์ ่อผู้เขา้ รว่ มแลกเปลย่ี นเรียนรู้ นกั วิชาการและผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง จะสามารถ น�ำใช้เป็นเอกสารประกอบการเรียนรู้ ส�ำหรับเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ห้องย่อยการพัฒนา ทักษะการอ่านออกเขยี นไดแ้ ละความรอบรู้ด้านสขุ ภาวะ ในการประชุมเวทีสานพลัง สร้าง ปัญญา พัฒนาเด็กปฐมวยั และประถมศกึ ษาในคร้งั นี้ และนำ� ไปต่อยอดและพฒั นางานการ ดูแลเด็กประถมศึกษาให้อา่ นออกเขียนได้และมีสขุ ภาพดใี นอนาคตต่อไปได้ ขนษิ ฐา นันทบุตร และคณะ เมษายน ๒๕๖๒

สารบญั บ ทน�ำ ๑๓ การพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมความรอบรู้สุขภาวะ ๒๑ ผ่านการพัฒนาทกั ษะการอา่ นออกเขียนได้ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ล�ำปาง อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดล�ำปาง โรงเรยี นบา้ นเวียง ตำ� บลล้อมแรด อำ� เภอเถิน จงั หวดั ลำ� ปาง ๓๕ โรงเรยี นบา้ นดง ตำ� บลทงุ่ หัวช้าง อำ� เภอทงุ่ หวั ช้าง จังหวดั ล�ำพนู ๓๙ โรงเรียนบา้ นแฮะ ตำ� บลงมิ อ�ำเภอปง จังหวดั พะเยา ๔๓ การวเิ คราะห์และสงั เคราะห์เรือ่ งเด่นการด�ำเนินงาน ๔๙ พัฒนาทักษะการอ่านออกเขยี นได้ เพื่อสง่ เสริมความรอบรู้ ทางด้านสขุ ภาพ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์ โรงเรยี นบา้ นป่าแต้ว ตำ� บลคอรุม อ�ำเภอพิชยั จังหวัดอุตรดติ ถ์ ๕๙ โรงเรียนบ้านนาได้ ต�ำบลบัวใหญ่ อ�ำเภอนานอ้ ย จังหวัดน่าน ๖๓ โรงเรียนบา้ นปงสนุก ตำ� บลเจดยี ์ชัย อ�ำเภอปวั จงั หวัดนา่ น ๖๗ โรงเรียนบา้ นนาวงค์ ต�ำบลเจดยี ช์ ยั อำ� เภอปวั จงั หวัดน่าน ๗๑ โรงเรียนแม่ยางตาล (กิตติประชานุสรณ์) ต�ำบลแม่ยางตา ๗๖ อำ� เภอรอ้ งกวาง จังหวัดแพร่ ๘๓ ๙๖ การด�ำเนนิ งานพัฒนาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ ๑๐๑ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรอบรูด้ า้ นสขุ ภาวะ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม อ�ำเภอเมือง จงั หวัดพษิ ณโุ ลก มนษุ ย์ทุกคนสามารถเรยี นรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ โรงเรยี นวัดหวั ดงใต้ (บางทองประชาสรรค)์ ต�ำบลบา้ นใหม่ไชยมงคล อำ� เภอทงุ่ เสลยี่ ม จังหวดั สโุ ขทัย เรียนดี ประพฤติดี มีวินัย ใจรักงาน ยดื ม่ันคุณธรรม โรงเรียนกลั ยาณวิ ฒั นา ๑ ต�ำบลวังหลมุ อ�ำเภอพรานกระต่าย จังหวดั พิจิตร

คุณธรรมน�ำชวี ิต คิดอยา่ งมเี หตผุ ล ท�ำตนอย่างพอเพยี ง ๑๐๖ หลีกเล่ียงอบายมขุ มีความสขุ ในการทำ� งาน ประสานชุมชน ๑๑๑ โรงเรียนบา้ นน�้ำดกุ เหนอื ตำ� บลปากช่อง อำ� เภอหล่มสัก จงั หวดั เพชรบรู ณ ์ เรยี นดี กีฬาเด่น เนน้ คณุ ธรรม น�ำพัฒนา โรงเรียนบา้ นจันทมิ า ต�ำบลจันทิมา อำ� เภอลานกระบือ จงั หวดั กำ� แพงเพชร การพฒั นาความสามารถด้านภาษาสู่ความรอบรูด้ ้านสขุ ภาวะ ๑๑๗ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร การพัฒนาส่ือบรู ณาการด้านภาษาสู่ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาวะ ๑๓๐ โรงเรียนบ้านลาดพรา้ ว (สาคร-สนุ่ พานชิ เฮง) แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กทม. โรงเรียนตน้ แบบดา้ นการบูรณาการภาษาสู่สขุ ภาวะ ๑๓๖ โรงเรยี นวดั โสภณาราม ตำ� บลบงึ คอไห อำ� เภอลำ� ลกู กา จงั หวดั ปทมุ ธาน ี โรงเรยี นต้นแบบด้านแหล่งเรยี นร้บู ูรณาการภาษาสู่สขุ ภาวะ ๑๔๒ โรงเรียนบา้ นคลองบัว (เอีย่ มแสงโรจน)์ ต�ำบลท่าแร้ง เขตบางเขน กทม. การด�ำเนนิ งานพัฒนาทกั ษะการอ่านออกเขยี นได ้ ๑๔๙ เพื่อสง่ เสรมิ ความรอบรู้ทางดา้ นสขุ ภาพ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดเพชรบุรี โรงเรยี นดี ชุมชนเด่น เนน้ การมสี ่วนรว่ ม ๑๖๒ โรงเรยี นบ้านในดง ตำ� บลบา้ นในดง อำ� เภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุร ี ครพู เ่ี ลีย้ งสร้างส่ือมืออาชพี ๑๖๖ โรงเรยี นไรใ่ หมพ่ ัฒนา ตำ� บลไรใ่ หมพ่ ัฒนา อ�ำเภอชะอำ� จังหวดั เพชรบุรี สานพลัง สร้างทีม สรา้ งสอ่ื ๑๗๑ โรงเรยี นบา้ นหว้ ยไทรงาม ตำ� บลหนองพลบั อำ� เภอหวั หิน จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ สื่อสรา้ งสรรค์รอบรสู้ ขุ ภาวะกบั การสรา้ งความสมั พนั ธ์ ๑๗๖ และกระบวนการมีสว่ นรว่ มระหว่างโรงเรียนอนุบาลหวั หิน (บา้ นหนองขอน) กบั ชมุ ชนต�ำบลหินเหลก็ ไฟ อ�ำเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบคีรีขันธ ์

พื้นทส่ี รา้ งสรรคภ์ ายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๘๑ “เรียนรู้ เลน่ ปฏบิ ตั ”ิ ด้วยส่อื สุขภาวะ โรงเรียนบ้านชะมว่ ง ต�ำบลพงศ์ประศาสน์ อ�ำเภอบางสะพาน จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ ์ สอ่ื นวัตกรรมสรา้ งสรรคจ์ ากสวนสมนุ ไพร ๑๘๕ สูก่ ารสอนภาษาไทยแนวสมดุลภาษา โรงเรียนดา่ นสงิ ขร ตำ� บลคลองวาฬ อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ การพัฒนานวตั กรรมการอา่ นออกเขียนได้ ๑๙๑ เพื่อส่งเสริมความรอบรสู้ ขุ ภาวะจากภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี อ�ำเภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี โรงเรยี นบา้ นสวนสมบูรณ์ ต�ำบลสวนแตง อำ� เภอละแม จังหวดั ชุมพร ๒๐๐ โรงเรียนบา้ นบางหยี ต�ำบลบางน�ำ้ จืด อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชมุ พร ๒๐๔ โรงเรียนบ้านเขาตากนุ ตำ� บลสวนแตง อ�ำเภอละแม จงั หวัดชมุ พร ๒๐๗ โรงเรยี นวัดปากคู ตำ� บลชา้ งซา้ ย อำ� เภอกาญจนดิษฐ ์ ๒๑๐ จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี โรงเรียนบา้ นไสขาม ต�ำบลช้างซา้ ย อ�ำเภอกาญจนดษิ ฐ ์ ๒๑๓ จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี การบริหารจัดการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขยี นได้ ๒๑๗ เพ่ือสง่ เสรมิ ความรอบร้ดู ้านสุขภาพ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎยะลา อ�ำเภอเมือง จงั หวดั ยะลา โรงเรียนบ้านดอเฮะ ตำ� บลริโก๋ อ�ำเภอสุไหงปาดี จังหวดั นราธวิ าส ๒๓๓ โรงเรียนบ้านบลูกาสนอ ต�ำบลตะปอเยาะ อำ� เภอยีง่ อ จังหวดั นราธิวาส ๒๔๑ โรงเรียนบา้ นบาโงย ตำ� บลบาโงย อำ� เภอรามนั จงั หวัดยะลา ๒๔๙ บทสรปุ ผบู้ ริหารและรายงานการด�ำเนินงานตามแผนงาน ๒๕๙ มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม อ�ำเภอเมือง จังหวดั มหาสารคาม โรงเรยี นบ้านศรสี ขุ ต�ำบลหวั ขวาง อำ� เภอโกสมุ พสิ ัย จังหวดั มหาสารคาม ๒๖๕ โรงเรยี นบ้านโปง่ ประชาพัฒน์ ต�ำบลบุ่งเลศิ ๒๖๗ อ�ำเภอเมยวดี จงั หวัดรอ้ ยเอด็

โรงเรียนบา้ นแกหัวแฮดสม้ โฮง ต�ำบลธัญญา อ�ำเภอกมลาไสย ๒๗๒ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ๒๗๖ โรงเรยี นประชาพฒั นาบ้านแฮด ตำ� บลบ้านแฮด ๒๘๐ อ�ำเภอบา้ นแฮด จงั หวัดขอนแก่น ๒๘๔ โรงเรยี นบ้านหนองขอนแก่น ตำ� บลหนองอีบตุ ร อ�ำเภอห้วยผ้งึ จังหวดั กาฬสนิ ธ ์ุ โรงเรียนบ้านผกั หนาม ต�ำบลหนองกงุ ใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จงั หวัดขอนแก่น

สารบัญภาพ ภาพท่ี ๑ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏล�ำปาง อ�ำเภอเมือง จงั หวดั ล�ำปาง ๒๐ ภาพท่ี ๑.๑ โรงเรียนบา้ นเวียง ต�ำบลล้อมแรด อ�ำเภอเถนิ จังหวัดลำ� ปาง ๓๔ ภาพท่ี ๑.๒ โรงเรยี นบ้านดง ตำ� บลท่งุ หวั ชา้ ง อำ� เภอทุ่งหวั ช้าง จังหวัดลำ� พูน ๓๘ ภาพที่ ๑.๓ โรงเรียนบา้ นแฮะ ตำ� บลงมิ อำ� เภอปง จงั หวดั พะเยา ๔๒ ภาพที่ ๒ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดติ ถ์ อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดอุตรดิตถ์ ๔๘ ภาพที่ ๒.๑ โรงเรยี นบ้านปา่ แตว้ ตำ� บลคอรุม อ�ำเภอพิชยั จังหวัดอตุ รดิตถ ์ ๕๘ ภาพท่ี ๒.๒ โรงเรียนบ้านนาไค้ ต�ำบลบัวใหญ่ อำ� เภอนานอ้ ย จงั หวดั นา่ น ๖๒ ภาพที่ ๒.๓ โรงเรียนบา้ นปงสนุก ตำ� บลเจดยี ์ชัย อำ� เภอปัว จงั หวดั น่าน ๖๖ ภาพที่ ๒.๔ โรงเรยี นบา้ นนาวงศ์ ต�ำบลเจดีย์ชัย อำ� เภอปัว จังหวดั น่าน ๗๑ ภาพท่ี ๒.๕ โรงเรยี นบ้านแมย่ างตาล (กติ ตปิ ระชานสุ รณ์) ๗๕ ตำ� บลแมย่ างตาล อ�ำเภอรอ้ งกวาง จงั หวดั แพร่ ภาพที่ ๓ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ๘๒ ภาพที่ ๓.๑ โรงเรียนวัดหัวดงใต้ ต�ำบลหัวดง อ�ำเภอเก้าเลยี้ ว ๙๕ จังหวัดนครสวรรค ์ ภาพท่ี ๓.๒ โรงเรยี นกัลยาณวิ ัฒนา ๑ ต�ำบลนาบัว ๑๐๐ อ�ำเภอนครไทย จงั หวัดพษิ ณโุ ลก ภาพที่ ๓.๓ โรงเรยี นบา้ นน้�ำดกุ เหนอื ตำ� บลปากชอ่ ง ๑๐๕ อ�ำเภอหล่มสกั จังหวดั เพชรบูรณ ์ ภาพท่ี ๓.๔ โรงเรยี นบา้ นจันทมิ า ต�ำบลจนั ทมิ า ๑๑๐ อ�ำเภอลานกระบอื จังหวัดก�ำแพงเพชร ภาพท่ี ๔ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร ๑๑๖ ภาพท่ี ๔.๑ โรงเรียนบา้ นลาดพรา้ ว (สาคร-ส่นุ พานิชเฮง) ๑๒๙ แขวงจนั ทรเกษม เขตจตุจกั ร กรงุ เทพมหานคร ภาพท่ี ๔.๒ โรงเรียนวดั โสภณาราม ต�ำบลบงึ คอไห ๑๓๕ อำ� เภอลำ� ลูกกา จังหวัดปทุมธานี

ภาพที่ ๔.๓ โรงเรียนบ้านคลองบัว (เอ่ยี มแสงโรจน)์ แขวงท่าแร้ง ๑๔๑ เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร ๑๔๘ ภาพที่ ๕ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี อ�ำเภอเมือง จงั หวัดเพชรบุรี ๑๖๑ ภาพที่ ๕.๑ โรงเรียนบา้ นในดง ต�ำบลบา้ นในดง ๑๖๕ อำ� เภอท่ายาง จงั หวดั เพชรบรุ ี ๑๗๐ ภาพที่ ๕.๒ โรงเรียนบ้านไรใ่ หม่พัฒนา ตำ� บลไร่ใหมพ่ ฒั นา ๑๗๕ อ�ำเภอชะอ�ำ จงั หวดั เพชรบุรี ๑๘๐ ภาพท่ี ๕.๓ โรงเรยี นบา้ นห้วยไทรงาม ตำ� บลหนองพลบั ๑๘๔ อำ� เภอหวั หิน จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ๑๙๐ ภาพท่ี ๕.๔ โรงเรียนอนบุ าลหัวหิน (บ้านหนองขอน) ตำ� บลหินเหลก็ ไฟ อ�ำเภอหวั หนิ จังหวดั ประจวบคีรีขันธ ์ ๑๙๙ ภาพที่ ๕.๕ โรงเรียนบา้ นชะม่วง ต�ำบลพงศ์ประศาสน ์ ๒๐๓ อำ� เภอบางสะพาน จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ภาพที่ ๕.๖ โรงเรยี นด่านสงิ ขร ตำ� บลคลองวาฬ ๒๐๖ อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๒๐๙ ภาพท่ี ๖ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี อำ� เภอเมอื ง ๒๑๒ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ภาพท่ี ๖.๑ โรงเรยี นบ้านสวนสมบูรณ์ ตำ� บลสวนแตง อ�ำเภอละแม จงั หวดั ชุมพร ภาพท่ี ๖.๒ โรงเรียนบา้ นบางหยี ตำ� บลบางน�ำ้ จดื อ�ำเภอหลังสวน จงั หวดั ชมุ พร ภาพที่ ๖.๓ โรงเรียนบ้านเขาตากนุ ต�ำบลสวนแตง อ�ำเภอละแม จังหวดั ชมุ พร ภาพที่ ๖.๔ โรงเรยี นวดั ปากคู ต�ำบลชา้ งซ้าย อำ� เภอกาญจนดษิ ฐ์ จงั หวดั สรุ าษฎร์ธาน ี ภาพที่ ๖.๕ โรงเรยี นบ้านไสขาม ตำ� บลช้างซ้าย อ�ำเภอกาญจนดษิ ฐ์ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ าน ี

ภาพท่ี ๗ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา อำ� เภอเมอื ง จังหวัดยะลา ๒๑๖ ภาพท่ี ๗.๑ โรงเรยี นบา้ นดอแฮะ ตำ� บลริโก๋ ๒๓๒ อ�ำเภอสไุ หงปาดี จังหวัดนราธิวาส ภาพท่ี ๗.๒ โรงเรียนบ้านบลกู าสนอ ตำ� บลตะปอเยอะ ๒๔๐ อ�ำเภอยง่ี อ จังหวัดนราธวิ าส ภาพท่ี ๗.๓ โรงเรียนบา้ นบาโงย ต�ำบลบาโงย อำ� เภอรามนั จงั หวดั ยะลา ๒๔๘ ภาพที่ ๘ มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม อำ� เภอเมือง ๒๕๘ จงั หวัดมหาสารคาม ภาพที่ ๘.๑ โรงเรยี นบ้านศรีสขุ ตำ� บลหวั ขวาง อำ� เภอโกสุมพิสัย ๒๖๖ จงั หวดั มหาสารคาม ภาพท่ี ๘.๒ โรงเรียนบา้ นโปง่ ประชาพัฒน์ ต�ำบลบงุ่ เลิศ อ�ำเภอเมยวดี ๒๗๑ จงั หวัดรอ้ ยเอด็ ภาพที่ ๘.๓ โรงเรียนบ้านแกหวั แฮดสม้ โฮง ต�ำบลธญั ญา อ�ำเภอกมลาไสย ๒๗๕ จังหวัดกาฬสินธุ ์ ภาพที่ ๘.๔ โรงเรียนประชาพัฒนาบ้านแฮด ตำ� บลบ้านแฮด อำ� เภอบา้ นแฮด ๒๗๙ จงั หวัดขอนแก่น ภาพท่ี ๘.๕ โรงเรียนบ้านหนองขอนแก่น ตำ� บลหนองอีบตุ ร ๒๘๓ จังหวัดกาฬสินธ์ุ ภาพที่ ๘.๖ โรงเรียนบา้ นผกั หนาม ตำ� บลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน ๒๘๘ จงั หวัดขอนแก่น

บทนำ� เวทสี านพลงั สรา้ งปัญญา พัฒนาเดก็ ปฐมวัยและประถมศึกษา “อ่าน...สร้างความรอบรูท้ างสขุ ภาพ” วนั ท่ี ๒๒ – ๒๔ เมษายน ๒๕๖๒ ณ Hall ๗ - ๘ ศนู ย์แสดงสินคา้ และการประชุมอิมแพค็ เมอื งทองธานี ๑. ทม่ี า การพฒั นาเดก็ ประถมศกึ ษาใหม้ คี วามสามารถในการอา่ นออกเขยี นไดม้ คี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ทง้ั นเี้ นอ่ื งจากการอา่ นออกเขยี นไดเ้ ปน็ บนั ไดขน้ั แรกสกู่ ารเรยี นรตู้ า่ งๆ โดยเฉพาะ การเรียนรู้ท่ีจะมีสุขภาวะที่ดีและการท�ำให้เด็กไทยทุกคนท่ีอยู่ในระบบการศึกษาเกิดการ พัฒนาทักษะอ่านออกเขียนได้เป็นพื้นฐานและหัวใจส�ำคัญในการด�ำเนินชีวิต ส�ำนักงาน กองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) โดยสำ� นกั สนบั สนนุ สขุ ภาวะชมุ ชน(สำ� นกั ๓) ไดร้ ่วมกับมหาวิทยาลัยราชภฏั (มรภ.) ๙ แหง่ ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยราชภฏั ลำ� ปาง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏเพชรบรุ ี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี และมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา รว่ ม ดำ� เนนิ โครงการ “พลงั เครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี น ไดแ้ ละความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ” โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื ยกระดบั การอา่ นออกเขยี นไดใ้ น ๒๐๐ โรงเรียนระดับประถมศึกษา และพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

(Health literacy) ผ่านการเพ่ิมขีดความสามารถด้านการอ่านและเขียนภาษาที่ใช้ในชีวิต ประจำ� วนั ดว้ ยการจดั ทำ� ระบบกลไกและฐานขอ้ มลู เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นการพฒั นา จดั ทำ� หลกั สตู ร พัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ พัฒนาส่ือ กิจกรรมการเรียนรู้ และเครื่องมือ ประเมินผล การขับเคลื่อนการท�ำงานเป็นการพัฒนารูปแบบและแนวทางการท�ำงานร่วมของ มหาวิทยาลัยราชภัฎกับชุมชนท้องถ่ิน เพ่ือให้เกิดทักษะและเพิ่มศักยภาพของผู้ที่เก่ียวข้อง ภาคเี ครอื ขา่ ยชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ในการสง่ เสรมิ ความรอบรนู้ กั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา ผา่ นการ พฒั นาความสามารถดา้ นภาษาซง่ึ เปน็ ความเชยี่ วชาญของนกั วชิ าการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ท้ัง ๙ แหง่ ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ รวมถงึ บคุ ลากรในโรงเรยี นกบั บุคลากรของชมุ ชนท้องถ่ินท่ี ได้แก่ สถานศึกษาระดับประถมศึกษาในต�ำบลเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถ่ินน่าอยู่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จากเครอื ขา่ ยรว่ มสรา้ งชมุ ชนทอ้ งถนิ่ นา่ อยู่ ทอ้ งที่ กำ� นนั และ ผใู้ หญ่บ้าน องค์กรชุมชน เชน่ ศนู ย์พฒั นาครอบครัว โรงเรียนพอ่ แม่ แหลง่ เรียนรู้ มัสยดิ และวดั หน่วยงานรฐั ในพนื้ ท่ี เช่น โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำ� บล เครอื ขา่ ยครูตน้ แบบ และนวัตกรรมต้นแบบกลุ่มสาระภาษาไทย ซ่ึงสามารถสร้างการเรียนรู้และน�ำใช้ข้อมูล ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยและโรงเรียนในชุมชนท้องถ่ิน เพ่ือสนับสนุนให้เด็กสามารถ อ่านออกเขียนได้ และเกิดความรอบรู้เร่ืองสุขภาวะ และสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในการดูแลสขุ ภาวะ การดำ� เนนิ งานมกี ลไกหลกั ในการขบั เคลอื่ นงาน ประกอบดว้ ย ๔ กจิ กรรมหลกั ไดแ้ ก่ ๑) การพฒั นาระบบ กลไก การขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ งานของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ๒) การ

พฒั นาสอื่ กิจกรรมการเรียนรู้ และเครื่องมอื ประเมนิ เพอื่ ส่งเสริมความสามารถดา้ นภาษา ร่วมกับภาคีเครือข่าย (โรงเรียน-องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น-ชุมชน-กลุ่มทางสังคม) ๓) การสนับสนุนการด�ำเนินงานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านภาษาของผู้เรียน และ ๔) การพฒั นาฐานข้อมลู และการตดิ ตามผลตอ่ เดก็ ครู โรงเรยี น และชมุ ชนทอ้ งถน่ิ โดย มกี ลไกทส่ี นบั สนนุ การดำ� เนนิ โครงการ อาทิ สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั องคก์ ารบรหิ าร สว่ นจงั หวดั อทุ ยานการเรยี นรู้ เปน็ ตน้ สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) โดยส�ำนกั สนบั สนนุ สุขภาวะชมุ ชน (ส�ำนกั ๓) ซง่ึ ทำ� หนา้ ทก่ี �ำหนดทศิ ทางนโยบาย ในการขบั เคลอ่ื นงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ และ ใหก้ ารสนบั สนนุ งบประมาณในการดำ� เนนิ การ ซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลผลติ และผลลพั ธแ์ ละรปู ธรรม ที่ส่งผลกระทบต่อการดูแลเด็กประถมศึกษาทั้งทางตรงและทางอ้อมในการขับเคล่ือนงาน พฒั นาทักษะการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละความรอบรูด้ ้านสุขภาพ จากการด�ำเนินงานท่ีผ่านมา ได้มีการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างความรอบรู้ด้าน สุขภาพ ผ่านการเพมิ่ ขีดความสามารถดา้ นการอา่ น และเขยี นภาษาทใ่ี ช้ในชีวติ ประจำ� วนั เพ่ือจัดการกับประเด็นปัญหาและความต้องการของประชากรกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในการ พัฒนาระบบการดแู ลเดก็ ประถมศึกษา ซงึ่ ก่อให้เกิดความโดดเด่นของการด�ำเนนิ งาน จน สามารถน�ำไปใช้เป็นกรณีตัวอย่างที่ประสบผลส�ำเร็จ หรือมีความเป็นเลิศในการท�ำงาน หรือเป็นนวัตกรรมในรูปแบบต่างๆ เพ่ือให้เห็นถึงรายละเอียดในการพัฒนาศักยภาพและ ความโดดเด่นในด้านต่างๆ ของพื้นท่ีในการด�ำเนินงานพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพอย่างชัดเจน ซงึ่ จะเป็นประโยชนส์ �ำหรบั พ้นื ท่ที ี่ต้องการพัฒนา ในประเด็นท่ีมีความคล้ายคลึงกัน และสามารถน�ำไปปรับใช้และพัฒนาระบบการดูแล เด็กประถมศึกษาให้สามารถอ่านออกเขียนได้ สุขภาวะท่ีดีและสามารถเป็นพลเมืองที่ดี ในอนาคตได้

หนงั สอื สรปุ บทเรยี นการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดเ้ พอื่ สง่ เสรมิ ความรอบรดู้ า้ น สุขภาพระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย ๑) บทสรุปการด�ำเนินงานของมหาวิทยาลัย ราชภฏั (มรภ.) จ�ำนวน ๘ เรอื่ ง พร้อมแผนภาพ และ (๒) บทเรยี นเร่อื งเดน่ นวัตกรรม เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้และความรอบรู้ด้านสุขภาพของโรงเรียนที่เข้าร่วม โครงการในแต่ละพื้นท่ี จ�ำนวน ๓๕ เรื่อง พร้อมแผนภาพ ได้จัดท�ำข้ึนเพ่ือใช้เป็นคู่มือ ประกอบการแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นการประชมุ เวทสี านพลงั สรา้ งปญั ญา พฒั นาเดก็ ปฐมวยั และประถมศกึ ษา ใหก้ บั พน้ื ทท่ี เ่ี ขา้ รว่ มแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ไดร้ ว่ มเรยี นรู้ วเิ คราะหเ์ ทยี บเคยี ง การด�ำเนนิ งานกับพ้ืนท่ีตนเอง เพ่อื สะท้อนให้เหน็ รปู แบบการดำ� เนนิ งานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะ การอ่านออกเขยี นได้และความรอบรดู้ า้ นสุขภาพของเด็กประถมศึกษา ความแตกต่างของ กลไกการจดั การ น�ำสู่จนิ ตนาการการต่อยอดงานและพฒั นางานในพ้นื ทต่ี นเองในอนาคต ตอ่ ไปได้ ๒. กระบวนการการสรุปบทเรยี น กระบวนการถอดบทเรียนเรื่องเด่น นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ และโรงเรยี นประถมศกึ ษาจ�ำเปน็ ตอ้ งมี การทบทวนและสรุปข้อมูลท่ีแสดงหลักฐานยืนยันการด�ำเนินงานในด้านต่างๆ ซ่ึงช่วยให้ มหาวิทยาลัยราชภัฏ โรงเรียนประถมศึกษา และชุมชนท้องถ่ินได้การเรียนรู้สถานการณ์ การอา่ นออกเขียนได้ของเด็กประถมศกึ ษาในพื้นที่ และสามารถน�ำขอ้ มลู ไปใช้วางแผนและ ต่อยอดเพ่อื พัฒนาทักษะการอา่ นออกเขียนได้และความรอบรู้ด้านสุขภาพได้ โดยมีข้นั ตอน ของกระบวนการถอดบทเรียนมีดงั น้ี

๑) ทบทวนขอ้ มลู สถานการณข์ องโรงเรยี น สรปุ ขอ้ มลู บรบิ ทของโรงเรยี น สถานการณ์ ที่กล่าวถึงท่ีมาและปัจจัย สถานการณ์ท่ีเก่ียวกับปัญหาการอ่านการเขียนในปีการศึกษาท่ี ผ่านมาจนถึงปจั จุบัน สถานการณท์ ี่เก่ยี วกบั ปญั หาสุขภาวะของเด็กประถมศึกษาย้อนหลงั อย่างนอ้ ย ๓ ปี สถานการณท์ ี่เกยี่ วกบั ครูทัง้ ในภาพของจ�ำนวนครู การพัฒนาศักยภาพครู การจัดการเรยี นการรู้ การจดั ท�ำหลักสตู ร การติดตามประเมนิ ผล ๒) วเิ คราะหง์ านเดน่ นวตั กรรมเพอื่ พฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละความรอบรู้ ดา้ นสขุ ภาพมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั (มรภ.) และโรงเรยี นประถมศกึ ษา ทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ วธิ กี าร ดำ� เนนิ การ กระบวนการทำ� งานรว่ มกนั ของทกุ ภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ประกอบดว้ ย โรงเรยี น องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ท้องท่ี องค์กรชมุ ชน หนว่ ยงานราชการ ผลลพั ธ์ทเี่ กิดขึ้น ทง้ั ตอ่ ตวั เดก็ ครอบครวั มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั โรงเรยี นและชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ความเปลยี่ นแปลง ของบุคคล ชมุ ชนท้องถ่นิ และผมู้ สี ว่ นร่วม ๓) สรปุ บทเรยี นเรื่องเด่น นวัตกรรมของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั (มรภ.) และโรงเรียน ประถมศึกษาที่ต้องการนำ� เสนอในเวทเี วทสี านพลงั สร้างปญั ญา พฒั นาเดก็ ปฐมวยั และ ประถมศึกษาและแลกเปล่ียนเรียนรู้ ก�ำหนดให้มีข้อมูลและความรู้ท่ีควรถ่ายทอดได้อย่าง นอ้ ยใน ๗ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๑) แนวคิดการพฒั นางานเด่นหรอื นวัตกรรม ๒) กลุ่มประชากร เปา้ หมาย ๓) วธิ กี ารดำ� เนนิ การ ๔) กระบวนการทำ� งานรว่ มกนั ของทกุ ภาคสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๕) กจิ กรรมทเี่ นนิ การเพอ่ื พฒั นานวตั กรรมสง่ เสรมิ ความรอบรเู้ รอื่ งสขุ ภาวะผา่ นการพฒั นา ความสามารถดา้ นภาษา ๖) ผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขนึ้ ทงั้ ตอ่ ตวั เดก็ ครอบครวั มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั โรงเรียนและชุมชนท้องถน่ิ และ ๗) ความเปลยี่ นแปลงของบคุ คล ชุมชนท้องถิน่ และผมู้ ี ส่วนรว่ ม ดังรายละเอียด



มหาวิทยาลัย ราชภฏั ลำ�ปาง อำ�เภอเมือง จังหวดั ล�ำ ปาง โรงเรียนบ้านเวียง ตำ� บลล้อมแรด อำ� เภอเถิน จังหวดั ล�ำปาง โรงเรยี นบา้ นดง ต�ำบลท่งุ หวั ชา้ ง อำ� เภอทงุ่ หวั ช้าง จังหวดั ล�ำพนู โรงเรยี นบา้ นแฮะ ต�ำบลงมิ อำ� เภอปง จงั หวัดพะเยา

ภาพท่ี ๑ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำ� ปาง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ลำ� ปาง

การพัฒนานวัตกรรม สง่ เสรมิ ความรอบร้เู ร่อื งสขุ ภาวะ ผา่ นการพฒั นาทกั ษะอา่ นออกเขยี นได้ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏล�ำปาง อ�ำเภอเมือง จังหวดั ล�ำปาง ความเป็นมา ประเทศไทยเผชญิ กบั ปญั หาเดก็ ไมอ่ า่ นหนงั สอื หรอื อา่ นหนงั สอื นอ้ ย มกั เปน็ คำ� ถามทคี่ าใจผใู้ หญห่ ลายคน โดยเฉพาะผทู้ อี่ ยใู่ นแวดวงการศกึ ษา ค�ำตอบน้นั มมี ากมายหลายเหตผุ ล และแทบจะทุกเหตผุ ลไดผ้ ่านความคิด แสวงหาแนวทางแก้ไขพร้อมทั้งทดลองปฏิบัติมาแล้ว แต่กระน้ัน สถานการณก์ ารอา่ นของเดก็ และเยาวชนกย็ งั ไมด่ ขี น้ึ ปญั หาของการอา่ น ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ปัจจัยส�ำคัญคือ ฐานะความเป็นอยู่ โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ ครอบครวั ทม่ี รี ายไดน้ อ้ ย ผปู้ กครองมภี าระไมไ่ ดด้ แู ลเอาใจใสใ่ น เรอ่ื งการอา่ นอา่ น ปญั หาจากครผู สู้ อน ไมก่ ำ� หนดเรอื่ งใหอ้ า่ น ไมป่ ลกู ฝัง ใหร้ กั การอา่ น หนงั สอื มรี าคาแพง หอ้ งสมดุ ไมม่ ี หนงั สอื ทต่ี อ้ งการ ทำ� ให้ เด็กเกิดปญั หาด้านการอา่ น นอกจากนกี้ ย็ งั มปี ัญหาท่ีเกิดจากตัวเด็กเอง เชน่ ความรู้ อารมณ์ การเข้าสงั คม การจับประเด็นสำ� คัญจากการอา่ น ไมไ่ ดแ้ ละไมม่ เี วลาอา่ น เนอื่ งจากมภี ารกจิ สว่ นตวั มากตอ้ งหารายไดพ้ เิ ศษ ช่วยเหลอื ตนเอง และแบง่ เวลาไมเ่ ปน็ โรงเรียนจงึ พยายามทจ่ี ะชว่ ยเดก็ ๆ แก้ปัญหาเร่ืองการอ่าน ทั้งตัวเด็กเองและปัจจัยภายนอกจากปัญหา ดังกล่าวท�ำให้เด็กไทยไม่ใส่ใจกับการอ่าน ไม่มีนิสัยรักการอ่าน ส่งผล ให้นักเรียนไม่มีความรู้ ขาดทักษะในการอ่าน ขาดทักษะในการคิด ไม่สามารถคิดวิเคราะห์ และคิดอย่างสร้างสรรค์ได้ ข้อมูลจากงานวิจัย { 21 }

ของไทยก็ระบุว่า เด็กไทยมีปัญหาด้านการอ่าน อ่านหนังสือไม่ออกอ่านติดๆ ขัดๆ เด็ก ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ส่วนใหญข่ องประเทศไทยอ่านหนงั สือพมิ พไ์ มค่ ล่องการพัฒนาการ อา่ นของเดก็ ควรเรมิ่ ทำ� ตง้ั แตเ่ ดก็ อายนุ อ้ ยๆ เพราะการอา่ นและทำ� ความเขา้ ใจใหไ้ ดน้ นั้ เปน็ เรอ่ื งยาก ควรดแู ลเดก็ อยา่ งใกลช้ ดิ การสง่ เสรมิ ของครอบครวั การทำ� กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั การอา่ น การใชส้ อื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ม่ี ภี าพและเสยี งประกอบ และอปุ กรณช์ ว่ ยในการอา่ น ท�ำให้เกดิ ความพร้อมในการอา่ น และมที ัศนคตทิ ด่ี ีตอ่ การอา่ น นอกจากน้กี ารอ่านอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพนน้ั ขนึ้ อยกู่ บั ปจั จยั หลายๆ ดา้ นเชน่ กนั การอา่ นออกเสยี งทถ่ี กู ตอ้ ง จดจำ� ชอ่ื ส่งิ ตา่ งๆ ได้อย่างรวดเรว็ มีทกั ษะในการมองตัวอกั ษร การท�ำกจิ กรรมเป็นกลุ่ม รว่ มคดิ ร่วมอ่าน ท�ำให้เด็กมีการพัฒนาในหลายด้านการส่งเสริมการอ่านแบบกว้างขวาง เช่น การพัฒนาทักษะอ่าน การมีทัศนคติต่อการอ่านในทางบวก มีความกระตือรือร้นในการ อา่ น มแี รงจงู ใจในการอา่ น และไดร้ บั ความเพลดิ เพลนิ การอา่ นชว่ ยใหเ้ ดก็ มที กั ษะทางภาษา หลายอย่างดีข้ึน ชว่ ยพัฒนาทักษะการอา่ นให้สูงขึน้ และมผี ลตอ่ พฒั นาการทางความคดิ อกี ดว้ ย จากปัญหาข้างต้น มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปางเป็นหน่วยงานท่ีผลิตครูและพัฒนาครู ได้เห็นความส�ำคัญของการอ่านออกเขียนได้ซ่ึงเป็นปัญหาส�ำคัญระดับชาติ อีกทั้งมีความ ส�ำคัญและความจ�ำเปน็ อยา่ งยง่ิ ส�ำหรบั นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ ทเ่ี ป็นระดับช้นั ท่ี ต้องมีพืน้ ฐานการอา่ นและการเขียนทางภาษาไทยตามเป้าหมายของหลักสตู ร อนั จะส่งผล ให้การเรียนรู้ประสบผลส�ำเร็จในอนาคตจึงได้ร่วมมือกับส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สำ� นกั ๓) สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะ (สสส.) ดำ� เนนิ โครงการการ พฒั นานวตั กรรมสง่ เสรมิ ความรอบรเู้ รอ่ื งสขุ ภาวะผา่ นการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ เป้าหมาย พฒั นารปู แบบการเสริมสรา้ งความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ (Health literacy) ผ่านการเพิม่ ขคี วามสามารถด้านการอา่ น และเขียนภาษาที่ใชใ้ นชีวิตประจ�ำวัน { 22 }

วตั ถุประสงค์ ๑) เพอื่ พฒั นาเครอ่ื งมอื ประเมนิ ความสามารถดา้ นภาษาสำ� หรบั นกั เรยี นระดบั ประถม ศึกษา ๒) เพื่อพัฒนาสอื่ นวัตการจดั การเรยี นร้ทู ่สี ่งเสริมความรอบร้ดู า้ นสุขภาวะโดยผา่ น การพัฒนาความสามารถด้านภาษาส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ๓) เพ่ือให้เด็ก นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาให้อ่านออกเขียนได้ และนักเรียนทุกคนได้รับการ พฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนภาษาไทยสงู ข้นึ กลุม่ เปา้ หมายและพนื้ ท่ีด�ำเนนิ การ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ล�ำปางร่วมกับสสส. โดยสำ� นัก ๓ ได้กำ� หนดพื้นท่ดี ำ� เนนิ การให้ เปน็ โรงเรยี นในพน้ื ทใี่ นเขตรบั ผดิ ชอบขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในเครอื ขา่ ยรว่ มสรา้ ง ชุมชนทอ้ งถ่ิน จำ� นวน ๓๑ แหง่ ประกอบดว้ ย โรงเรียนในจงั หวดั ลำ� พูน จังหวัดล�ำปาง และจังหวัดพะเยา ดังนี้ ๑) โรงเรียนในต�ำบลวอแก้ว อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง ประกอบด้วย โรงเรียนวอแก้ววิทยา และโรงเรียนบ้านทุ่งหก–ทุ่งผา** ๒) โรงเรียนใน ตำ� บลลอ้ มแรด อ�ำเภอเถนิ จงั หวัดล�ำปาง ประกอบด้วย โรงเรยี นล้อมแรดวิทยา โรงเรียน บา้ นเวยี ง โรงเรยี นบา้ นเหลา่ โรงเรยี นอกั ษรศลิ ป*์ โรงเรยี นอนบุ าลเถนิ โรงเรยี นบา้ นดอน ไชยโรงเรยี นบา้ นอมุ ลองรกั ขติ านเุ คราะห์ และโรงเรยี นบา้ นหนองเตา ๓) โรงเรยี นในตำ� บล เวียงยอง อำ� เภอเมือง จังหวัดลำ� พูน ประกอบดว้ ย โรงเรยี นวัดปา่ แดดและโรงเรยี นบา้ น เวียงยอง** โรงเรยี นวดั ศรบี ุญช-ู วงั ไฮ** ๔) โรงเรยี นในตำ� บลท่งุ หวั ชา้ ง อ�ำเภอทุ่งหวั ชา้ ง จังหวัดลำ� พูน ประกอบดว้ ย โรงเรียนบ้านแมป่ นั เดง โรงเรียนเทศบาลทุ่งหัวชา้ ง โรงเรยี น บ้านทุ่งหัวช้าง โรงเรียนบ้านดง โรงเรียนสามัคคีศรีวิชัย และโรงเรียนบ้านโป่งแดง ๕) โรงเรียนในต�ำบลงมิ อำ� เภอปง จังหวดั พะเยา ประกอบด้วย โรงเรียนเทศบาลตำ� บลงิม (คอื เวยี งจ�่ำ) โรงเรียนบา้ นเสีย้ ว โรงเรยี นบา้ นแบง่ โรงเรยี นชมุ ชนบ้านดอนชัย โรงเรยี น บา้ นสนั กลางนาดอ โรงเรียนบ้านปัว โรงเรียนบา้ นควรเกา๊ เงา โรงเรยี นบ้านทุ่งแต และ โรงเรียนบ้านแฮะ โรงเรยี นปางผกั หม และโรงเรยี นบา้ นใหมน่ �ำ้ เงนิ (หมายเหตุ : ** โรงเรียนเรียนรวม * โรงเรียนเอกชน) { 23 }

การด�ำเนนิ งาน การด�ำเนนิ งานมี ๓ โครงการยอ่ ยดังน้ี ชดุ กจิ กรรมท่ี ๑ การสรา้ งทีมงานเตรียมการสรา้ งเครอื ข่าย ชุดกิจกรรมที่ ๒ การจดั ท�ำฐานขอ้ มูลเพอ่ื การน�ำใช้ โครงการยอ่ ยท่ี ๑ การพฒั นาระบบ กลไก การขบั เคลือ่ นการด�ำเนนิ โครงการ ชุดกิจกรรมที่ ๓ การเผยแพรส่ อ่ื เครอื่ งมือและนวัตกรรมการจัดการความรู้ ชุดกิจกรรมที่ ๑ การช้ีแจง สร้างความ ชดุ กิจกรรมที่ ๓ การพัฒนาค่มู ือ เขา้ ใจตอ่ การดำ� เนนิ งานระหวา่ งเครอื ขา่ ย เครือ่ งมือการจดั การเรยี นรู้ และ ประเมนิ ศกั ยภาพการอา่ นออก ชดุ กจิ กรรมที่ ๒ การพัฒนาศักยภาพ เขียนได้ท่ีเหมาะสมกับพื้นที่ เครอื ข่ายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โครงการยอ่ ยท่ี ๒ การพัฒนาสอื่ กจิ กรรมการเรียนรู้ และเครอ่ื งมอื ประเมิน เพอื่ สง่ เสริมการอ่านออกเขยี นไดร้ ว่ มกับภาคเี ครอื ข่าย ชุดกิจกรรมท่ี ๔ ชุดกิจกรรมท่ี ๕ ชดุ กิจกรรมท่ี ๖ การต่อยอดขยายผลสู่ การประเมนิ และตดิ ตาม เวทีถอดบทเรยี น โรงเรยี นเครอื ข่าย และประเมินทกั ษะการ ผลการจดั การเรียนรู้ อ่านออกเขยี นได้ตอ่ ยอดสู่โรงเรยี นเครือ เรื่องอ่านออกเขยี นได้ ข่าย และจัดต้งั ศูนยก์ ารเรยี นรพู้ ัฒนา ทักษะการอ่านออกเขียนได้ ชดุ กจิ กรรมท่ี ๑ การสนับสนนุ ทนุ การด�ำเนินงานให้กบั โรงเรยี น โครงการยอ่ ยที่ ๓ การสนบั สนนุ การด�ำเนนิ งาน เพอ่ื ส่งเสรมิ การอา่ นออกเขยี นไดข้ องโรงเรยี น ชดุ กิจกรรมท่ี ๒ โรงเรยี นดำ� เนนิ กิจกรรม ส่งเสริมการอ่านออกเขยี นได้ { 24 }

การด�ำเนนิ งานของสถานศกึ ษา การดำ�เนนิ โครงการฯ สรา้ งเครือ่ งมอื คู่มือ การใชส้ ือ่ นวัตกรรมความรอบรู้ ทบทวน สถานภาพ ศกั ยภาพของโรงเรยี น ประเมนิ การอา่ นออกเขยี นได้ ดา้ นสุขภาวะตามภมู ปิ ัญญา และพ้ืนทด่ี า้ นการอ่านออกเขียนได้ และความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาวะ ทอ้ งถิ่น กอ่ นทดลองบันทึกผล สรา้ งเครือ่ งมือ ค่มู ือ การใชส้ อื่ นวตั กรรมการเรยี นรู้ พัฒนาความรอบรู้ด้านสขุ ภาวะ เคร่ืองมอื ประเมนิ การอ่านออกเขยี นได้ ประเมินการอา่ นออกเขียนได้ ตามภมู ิปญั ญาท้องถิ่น และความรอบรดู้ า้ นสุขภาวะหลังทดลองบนั ทึกผล พฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขียนได้ เวทถี อดบทเรียน ประเมินการอา่ นออกเขียนได้ ประเมนิ การอ่านออกเขยี นได้ ระหว่างการทดลองบันทึกผล ภาคเรียนท่ี ก่อนทดลองบนั ทึกผล ๒/๒๕๖๒ Health ภาคเรียนท่ี เวทีถอดบทเรยี น ภาคเรียนที่ Literacy ๒/๒๕๖๐ ๑/๒๕๖๑ Wisdom Literacy Health Literacy เวทถี อดบทเรยี น ประเมินการอา่ นออกเขียนได้ พฒั นาความรอบรู้ ประเมนิ การอ่านออกเขียนได้ ระหวา่ งการทดลองบันทกึ ผล ด้านสุขภาวะ ระหว่างการทดลองบันทกึ ผล จัดตลาดนดั คัดสรร เวทปี ระกวดผลงานหนงั สือเลม่ เลก็ ตำ�นานชอื่ หม่บู า้ น { 25 } สื่อการเรียนรู้ ประเมินการอา่ นออกเขยี นได้ ตำ�บลและอำ�เภอ ภมู ปิ ญั ญาการดูแลสุขภาพและสุขภาวะ หลงั การทดลองบนั ทึกผล ในระบบออนไลน์ การนำ�ความรอบรภู้ มู ิปญั ญาสขุ ภาวะ มาจดั ทำ�เปน็ เพลงค่าว จอ้ ย ซอ

กระบวนการท�ำงาน กระบวนการท�ำงานโครงการการพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมความรอบรู้เร่ืองสุขภาวะ ผ่านการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีข้ันตอนการด�ำเนินงานดังนี้ ๑) วิเคราะห์สถานการณ์ด้านการอ่านออกเขียนได้และสุขภาวะของนักเรียนในโรงเรียน ๓ จังหวัด ได้แก่ จงั หวัดล�ำปาง จงั หวัดลำ� พูน และจังหวัดพะเยา ๒) วเิ คราะห์ศักยภาพ ด้านการวิจัยและบริการวิชาการเก่ียวกับการอ่านออกเขียนได้และสุขภาวะของคณะ ครุศาสตร์และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำ� ปาง ๓) มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปางร่วมกับ สสส. โดยสำ� นกั ๓ ไดก้ ำ� หนดพนื้ ทดี่ ำ� เนนิ การใหเ้ ปน็ โรงเรยี นในพนื้ ทใ่ี นเขตรบั ผดิ ชอบขององคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ในเครือข่ายรว่ มสรา้ งชมุ ชนท้องถิ่น จ�ำนวน ๓๑ แห่งใน ๕ ต�ำบล ๓ จงั หวดั ประกอบดว้ ย โรงเรยี นในตำ� บลวอแกว้ อำ� เภอหา้ งฉตั ร จงั หวดั ลำ� ปาง โรงเรยี น ในตำ� บลลอ้ มแรด อำ� เภอเถนิ จงั หวดั ลำ� ปาง โรงเรยี นในตำ� บลเวยี งยอง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ลำ� พนู โรงเรียนในต�ำบลทุง่ หัวชา้ ง อำ� เภอทงุ่ หัวชา้ ง จังหวัดล�ำพนู และโรงเรยี นในต�ำบล งิม อำ� เภอปง จังหวดั พะเยา (๑) วิเคราะหส์ ถานการณก์ ารอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละสุขภาวะ ของนกั เรยี นในโรงเรียน ในพื้นท่ีดำ� เนนิ การท้ัง ๕ ต�ำบล ๓ จังหวดั (๒) สร้างทมี งาน ขบั เคลอ่ื นโครงการพฒั นานวตั กรรมสง่ เสรมิ ความรอบรเู้ รอ่ื งสขุ ภาวะผา่ นการพฒั นาทกั ษะ การอา่ นออกเขยี น ประกอบด้วย มหาวิทยาลยั ราชภัฏลำ� ปาง โรงเรยี น องคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ และภาคเี ครอื ขา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง (๓) สรา้ งกรอบแนวคดิ ในการขบั เคลอ่ื นโครงการฯ แบบพันธกจิ สัมพันธย์ ึดหลักการ ๔ ประการ ดังนี้ ๑) ร่วมคิดและร่วมทำ� แบบพันธมิตร หนุ้ ส่วน (Partnership) และ ๒) เกดิ ประโยชน์รว่ มกนั แกผ่ ูท้ ี่เกีย่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย (Mutural Benefits) ๓) มีการให้ความรู้และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) และ ๔) เกิด ผลกระทบตอ่ สังคมทปี่ ระเมินได้ (Measurable Social impact) ท�ำความเข้าใจกบั ทุกฝา่ ย ทเี่ กย่ี วขอ้ ง แลว้ ลงนามในบนั ทกึ ขอ้ ตกลง (MOU) รว่ มกนั ออกแบบกจิ กรรมทเี่ หมาะสมโดย การมสี ว่ นรว่ ม เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพโรงเรยี น องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และภาคเี ครอื ขา่ ย ทเี่ กี่ยวขอ้ ง น�ำผลการพัฒนาไปใช้ประโยชน์ ในการพฒั นาทักษะการอา่ นออกเขียนได้และ ความรอบรู้สขุ ภาวะของนกั เรียนในโรงเรยี นเป้าหมาย โดยมขี นั้ ตอนการออกแบบกิจกรรม ดงั นี้ { 26 }

๑) วิเคราะห์สถานการณ์ สภาพปัญหาและความต้องการพัฒนาศักยภาพด้าน การอ่านออกเขียนได้และความรอบรู้ด้านสุขภาวะ โดยผู้บริหารและคณะครูโรงเรียน เป้าหมาย ท�ำให้ได้ข้อสรุปว่า การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยในทุกโรงเรียนใช้หนังสือ แบบเรยี นภาษาพาที และวรรณคดลี ำ� นำ� สว่ นการวดั และประเมนิ ผลการอา่ นและการเขยี น นั้นใช้ค�ำจากบัญชีค�ำศัพท์พื้นฐาน ซ่ึงคุณครูไม่ได้เน้นย้�ำ ดังนั้นทางโครงการจึงควรน�ำ ค�ำศัพท์พื้นฐานมาจัดท�ำเป็นส่ือที่น่าอ่านและเหมาะสมกับวัยของนักเรียน ทางโครงการ จึงไดจ้ ดั ท�ำสอื่ บัญชีคำ� ศัพท์ และส่อื ออนไลนท์ ใ่ี ช้ QR code สำ� หรับทกุ โรงเรยี น ๒) จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้และ การผลติ สอื่ สำ� หรบั พฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ ตลาดนดั สอื่ ครงั้ ท่ี ๑ และพธิ ลี งนาม ความรว่ มมอื (MOU) ระะหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำ� ปาง โรงเรยี น และองคก์ ารปกครอง ส่วนทอ้ งถ่นิ ๓) ครูน�ำส่ือและความรู้ท่ีได้รับไปขยายผลและจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน ออกเขยี นไดใ้ นโรงเรยี น ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ท�ำการวัดและประเมนิ ผล การอา่ นและการเขยี น โดยใชข้ อ้ สอบการวดั และประเมนิ ผลการอา่ นและการเขยี นของ สพฐ. ๔) ถอดบทเรยี นผลการด�ำเนินงานพัฒนาทักษะการอ่านออกเขยี นได้ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ จดั ตลาดนดั สื่อ ครั้งที่ ๒ โดยทกุ โรงเรียนคดั เลอื กสื่อ/นวัตกรรม เด่นมานำ� เสนอโรงเรียนละ ๑๐ ชนดิ และจดั ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพอ่ื พฒั นาศักยภาพครู ในการใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในการจัดการเรียนรู้ การการวัดและประเมินผล และการ ผลติ ส่ือออนไลนเ์ พ่ือพฒั นาทกั ษะการอ่านและการเขยี น ๕) ครูน�ำสื่อและความรู้ท่ีได้รับไปขยายผลและจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน ออกเขียนได้ และความรอบรู้สุขภาวะในโรงเรียน ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ท�ำการวัดและประเมินผลการอ่านและการเขียน โดยใช้ข้อสอบการวัดและประเมินผลการ อ่านและการเขียน ของ สพฐ. ๖) ลงพื้นที่จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาศักยภาพ ผู้ปกครอง ชุมชน ทอ้ งถน่ิ ในการใชส้ ่อื เพอื่ พฒั นาทักษะการอ่านออกเขยี นไดใ้ นโรงเรียน ท้ัง ๕ ต�ำบล { 27 }

๗) พัฒนาเครื่องมือและคู่มือวัดและประเมินทักษะการอ่านออกเขียนได้ ส�ำหรับ นักเรียนช้ัน ป.๑t–ป.๖ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวัดและประเมินทักษะการอ่านออก เขยี นได้ของนกั เรยี นทกุ โรงเรยี น ๘) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถอดบทเรียนผลการด�ำเนินงาน ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ จดั ตลาดนดั สอ่ื ครง้ั ท่ี ๓ และพฒั นาศกั ยภาพครูในการพัฒนาทกั ษะ การอา่ นออกเขยี นไดโ้ ดยใชค้ า่ ว จอ้ ยและซอ การใชเ้ ครอ่ื งมอื ตดิ ตามและประเมนิ ทกั ษะการ อา่ นออกเขียนได้ โดยใช้การประเมนิ ออนไลน์ ๙) ครูน�ำสื่อและความรู้ท่ีได้รับไปขยายผลและจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน ออกเขยี นได้และความรอบรู้สขุ ภาวะตามภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นในโรงเรียน ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ทำ� การวดั และประเมนิ ผลการอา่ นและการเขยี น โดยใชข้ อ้ สอบการวดั และประเมินผลการอ่านและการเขียนที่ทางโครงการพฒั นาขนึ้ ๑๐) จดั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ตดิ ตามและประเมนิ ทกั ษะการอา่ นออกเขยี น ไดแ้ ละสง่ เสรมิ การพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดโ้ ดยใชค้ า่ ว จอ้ ยและซอ ระดบั สถาน ศึกษาในโรงเรียนท้ัง ๕ ตำ� บล ๑๑) ลงพ้นื ท่ีตรวจเย่ียม และตดิ ตามประเมนิ ผลการดำ� เนินงานตามโครงการระดบั สถานศกึ ษาในโรงเรยี นทกุ โรงเรยี น ทงั้ ๕ ตำ� บล ๑๒) จัดเวทีประกวดการขับเพลงซอสขุ ภาวะ โดยโรงเรยี นในโครงการ ส่งนักเรยี น เขา้ ประกวดประเภททีมหรือบคุ คล ๑๓) จดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ถอดบทเรยี นผลการดำ� เนนิ งาน ภาคเรยี นที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๑ ๑๔) จัดงานมหกรรมนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านออก เขียนได้ และความรอบรู้เร่ืองสุขภาวะ โดยทุกโรงเรียนจัดนิทรรศการน�ำเสนอสื่อและ นวตั กรรมพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขียนได้ และความรอบรู้เร่ืองสขุ ภาวะ ๑๕) ลงพื้นที่สรุปบทเรียน ถอดบทเรียนระบบกลไกการพัฒนาความรอบรู้สุขภาวะ ผา่ นการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ ในระดบั โรงเรยี นและระดบั ตำ� บล ถอดบทเรยี น และสรุปบทเรียน { 28 }

ผลการด�ำเนนิ งาน ๑) ดา้ นการพฒั นาครู องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และภาคที เ่ี กย่ี วขอ้ งทางโครงการ มีการพัฒนาศักยภาพครู องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ และภาคีที่เก่ียวข้อง ดงั นี้ (๑) การ ลงนามความรว่ มมอื (MOU) ระหว่างมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กบั สำ� นักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏและส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) (๒) การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจแนวทางการดำ� เนนิ โครงการพฒั นานวตั กรรม สง่ เสรมิ ความรอบรเู้ รอื่ งสขุ ภาวะผา่ นการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ (๓) พธิ ลี งนาม ความรว่ มมอื ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำ� ปาง โรงเรยี น และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ทร่ี ว่ มโครงการ (๔) การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพครู ในการจดั การเรยี นรู้ และการผลติ สอ่ื สำ� หรบั พฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ (๕) การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพครู ในการใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ในการจดั การเรยี นรู้ และการผลติ สอ่ื พฒั นา ทกั ษะการอ่านและการเขยี น (๖) การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการเพ่ือพฒั นาศักยภาพผู้ปกครอง ชุมชนท้องถ่ินในการใช้สื่อเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ในโรงเรียนทั้ง ๕ ต�ำบล (๗) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือถอดบทเรียนผลการด�ำเนินงานและพัฒนาศักยภาพครู ในการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้โดยใช้ค่าว จ้อยและซอ การใช้เครื่องมือติดตาม และประเมินทักษะการอา่ นออกเขียนได้ โดยใช้การประเมนิ ออนไลน์ (๘) การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ตดิ ตามและประเมนิ ทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละสง่ เสรมิ การพฒั นาทกั ษะ การอ่านออกเขียนได้โดยใช้ค่าว จ้อยและซอระดับสถานศึกษาในโรงเรียนท้ัง ๕ ต�ำบล (๙) การจัดตลาดนัดสื่อ นวัตกรรมพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้และรอบรู้สุขภาวะ (๑๐) การตรวจเยยี่ ม และตดิ ตามประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานตามโครงการระดบั สถานศกึ ษา ในโรงเรยี นทุกโรงเรียนทั้ง ๕ ตำ� บล (๑๑) การประกวดขับเพลงซอ (๑๒) งานมหกรรม นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และความรอบรู้เร่ือง สขุ ภาวะ และ (๑๓) จดั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื สรปุ บทเรยี น ถอดบทเรยี นระบบกลไก การพฒั นาความรอบรสู้ ขุ ภาวะผา่ นการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ ในระดบั โรงเรยี น และระดับต�ำบล ๒) ด้านการพัฒนาส่ือ นวัตกรรมและแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออก เขียนได้และความรอบรู้สุขภาวะ ทางโครงการได้สนับสนุนงบประมาณแก่ทุกโรงเรียนท่ี เข้ารว่ มโครงการเพอ่ื นำ� ไปผลติ และพัฒนาส่อื นวตั กรรมและแหลง่ เรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาทักษะ { 29 }

การอ่านออกเขียนได้และความรอบรู้สุขภาวะส่วนใหญ่สื่อที่โรงเรียนผลิตจะเป็นสื่อท�ำมือท่ี นักเรียนสามารถจบั ต้องได้ แบบฝึกทักษะ และสือ่ ออนไลนท์ ี่ใช้ QR code ตัวอย่างสอ่ื ได้แก่ จานหัดอ่านระดับชนั้ ป.๑ ลูกเต๋าสะกดคำ� กระดานแม่เหล็ก ไอศกรมี คำ� คล้องจอง ต้นไมค้ ำ� ควบกล้ำ� ปอ๊ บอพั อกั ษร ๓ หม่หู นงั สอื มะเฟืองขั้นตอนการแปรงฟัน ๑๒ สว่ น ไม้หนีบจบั คลู่ ักษณะนาม ไมห้ นบี จับค่มู าตราตัวสะกด กระดานจับคูอ่ ะไรเอ่ยกินแลว้ ฟนั ผุ กระดานจบั คอู่ ะไรเอย่ กนิ แลว้ ฟนั สวยหนงั สอื ปอ๊ บอพั สามมติ ทิ รี่ กั เพอ่ื สง่ เสรมิ การอา่ น เรอื่ ง หนยู ม้ิ หนงั สอื ปอ๊ บอพั สามมติ ทิ รี่ กั เพอ่ื สง่ เสรมิ การอา่ น เรอ่ื ง ไปวดั กบั ยา่ หนงั สอื ปอ๊ บอพั สามมิติที่รักเพื่อส่งเสริมการอ่าน เรื่อง หมีกับลูกหว้า หนังสือป๊อบอัพสามมิติท่ีรักเพื่อ สง่ เสริมการอ่าน เรื่อง นกกกอารี หนงั สือป๊อบอพั สามมติ ทิ ่ีรกั เพอื่ สง่ เสรมิ การอา่ น เรื่อง เส่ือเบื่อเนื้อ มาตราปาเป้า นิทานสุขภาวะ เร่ือง หนูนิดไม่กินผักนิทานสุขภาวะ เร่ือง แปรงฟนั กนั เถอะกลอ่ งบตั รคำ� บญั ชคี ำ� พนื้ ฐาน ป.๑ – ป.๖ จบั คขู่ น้ั ตอนการลา้ งมอื หนงั สอื เล่มเลก็ เรอ่ื ง อารีเด็กดี หนงั สือเลม่ เล็ก เร่ือง ออมสนิ พอเพยี งลูกเตา๋ สุภาษิต คำ� พังเพย เมจิคบ็อคคำ� ศัพท์ กล่องของขวัญค�ำศัพท์ ป๊อบอัพ นิทานอีสปสอนใจกระเป๋าสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ เปน็ ต้น นวัตกรรมเดน่ ของโครงการ ได้แก่ หนงั สือเล่มเลก็ ตำ� นานหมบู่ า้ น ตำ� บล อำ� เภอและจงั หวดั บทเพลงซอสขุ ภาวะ นวตั กรรมการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี น ได้ ของโรงเรียนเครือขา่ ยท่ีใช้ QR code และถงั (ก๋วย) ขยะไมไ้ ผ่จกั รสานคดั แยกขยะ ๓) ด้านการพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินทักษะการอ่านออกเขียนได้ ทาง โครงการได้พัฒนาเคร่ืองมือและคู่มือวัดและประเมินทักษะการอ่านออกเขียนได้ส�ำหรับ นกั เรยี นชนั้ ป.๑ – ป.๖ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการวดั และประเมนิ ทกั ษะการอา่ นออกเขยี น ไดข้ องนกั เรียน ทุกโรงเรยี น ๔) ดา้ นการพฒั นานกั เรยี น ผลจากการดำ� เนนิ งานทกุ โรงเรยี นในโครงการมนี กั เรยี น ที่อ่านออกเขียนได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ โรงเรียนส่วนใหญ่นักเรียนที่อ่านออกเขียนได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ นกั เรยี น LD ในทกุ โรงเรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ และทุกโรงเรียนมี สขุ ภาวะทีด่ ีข้นึ ๕) ดา้ นการพฒั นาสถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี น ได้และความรอบรู้สุขภาวะ ทางโครงการได้ก�ำหนดเกณฑ์เพื่อประเมินสถานศึกษาที่ เข้าร่วมโครงการเป็น ๔ ประเภท โดยพิจารณาจากผลการด�ำเนินงานของสถานศึกษา ท่ีเป็นแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาทักษะ { 30 }

การอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละรอบรสู้ ขุ ภาวะ ดงั นี้ (๑) สถานศกึ ษาทวั่ ไป สถานศกึ ษาในโครงการ พัฒนานวัตกรรมส่งเสริมความรอบรู้เร่ืองสุขภาวะผ่านการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียน ได้ท่ีมีการจัดการสถานศึกษา ตั้งแต่การบริหารสถานศึกษา การสร้างวัฒนธรรมองค์กร การจดั สภาพแวดลอ้ ม และการจดั การเรยี นรู้ ผา่ นหลกั สตู รการเรยี นการสอนและกจิ กรรม พัฒนาผ้เู รียน (๒) สถานศกึ ษาขบั เคลอื่ นการพฒั นาทักษะการอ่านออกเขียนได้และรอบรู้ สุขภาวะ สถานศึกษาทั่วไปท่ีผ่านการประเมินสถานศึกษาขับเคล่ือนการพัฒนาทักษะ การอ่านออกเขียนได้และรอบรู้สุขภาวะซึ่งเป็นแบบอย่างในการจัดกระบวนการเรียน การสอน และการบริหารจัดการสถานศึกษามุง่ เนน้ การพัฒนาทักษะการอา่ นออกเขียนได้ และรอบรสู้ ขุ ภาวะตามเกณฑป์ ระเมนิ สถานศกึ ษาพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละรอบรู้ สขุ ภาวะ (๓) สถานศกึ ษาต้นแบบการพฒั นาทกั ษะการอ่านออกเขียนไดแ้ ละรอบรู้สขุ ภาวะ สถานศึกษาพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้และรอบรู้สุขภาวะท่ีเป็นแหล่งการเรียนรู้ท่ีมี คณุ ภาพ พรอ้ มเปน็ แหลง่ ศกึ ษาดงู านของสถานศกึ ษาอนื่ ๆ ในการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออก เขยี นไดแ้ ละรอบรสู้ ขุ ภาวะ และ (๔) ศนู ยก์ ารเรยี นรกู้ ารพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ และรอบรู้สุขภาวะ สถานศึกษาต้นแบบการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้และรอบรู้ สุขภาวะที่มีศักยภาพในการเป็นแหล่งเรียนรู้และพ่ีเลี้ยงให้แก่สถานศึกษาทั่วไปที่ต้องการ พัฒนาสู่ความเป็นสถานศึกษาขับเคล่ือนการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้และรอบรู้ สขุ ภาวะ เมอื่ ประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานแลว้ โรงเรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการมดี งั น้ี ๑) สถานศกึ ษา ที่เป็นศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้และรอบรู้สุขภาวะจ�ำนวน ๑๑ โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรียนบ้านเวียง โรงเรยี นอนบุ าลเถนิ (ทา่ นางอปุ ถัมภ์) โรงเรยี น บา้ นดอนไชย โรงเรยี นเทศบาลทงุ่ หวั ชา้ ง โรงเรยี นบา้ นทงุ่ หวั ชา้ ง โรงเรยี นบา้ นดง โรงเรยี น เทศบาลตำ� บลงิม (คือเวียงจ่�ำ) โรงเรยี นบา้ นเลี้ยว โรงเรียนบ้านทงุ่ แต โรงเรยี นบา้ นใหม่ น้�ำเงิน และโรงเรยี นบา้ นแฮะ ๒) สถานศกึ ษาทีเ่ ป็นสถานศึกษาตน้ แบบการพฒั นาทักษะ การอ่านออกเขยี นได้และรอบรู้สุขภาวะจ�ำนวน ๘ โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรยี นวอแกว้ วทิ ยา โรงเรยี นลอ้ มแรดวทิ ยา โรงเรยี นอกั ษรศลิ ป์ โรงเรยี นบา้ นอมุ ลองรกั ขติ านเุ คราะห์ โรงเรยี น วดั ปา่ แดด โรงเรยี นสามคั คศี รวี ชิ ยั โรงเรยี นบา้ นโปง่ แดง และโรงเรยี นชมุ ชนบา้ นดอนไชย และ ๓) สถานศึกษาที่เป็นสถานศึกษาขับเคล่ือนการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียน ได้และรอบรสู้ ุขภาวะจำ� นวน ๑๐ โรงเรยี นได้แก่ โรงเรยี นบา้ นทงุ่ หก – ทุ่งผา โรงเรยี น บา้ นหนองเตา โรงเรยี นบ้านเหลา่ โรงเรียนบ้านเวยี งยอง-วดั ศรบี ญุ ชู-วังไฮ โรงเรียนบา้ น { 31 }

แม่ปันเดง โรงเรียนบ้านแบ่ง โรงเรียนบ้านควรเก๊าเงา โรงเรียนบ้านสันกลางนาดอ โรงเรยี นบ้านปางผกั หม และโรงเรียนบ้านปวั ปัจจัยความส�ำเร็จ จากการด�ำเนินโครงการท่ีผ่านมาเป็นผนึกก�ำลังการท�ำงานร่วมกันของมหาวิทยาลัย ราชภัฏล�ำปาง โรงเรียน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และภาคีทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ในพ้นื ที่ โดยมี ปัจจยั ที่ท�ำให้เกิดความส�ำเร็จ ดงั นี้ ๑) ความมงุ่ ม่ันต้ังใจและมีความหวงั ทมี งานทุกคน ตระหนกั ในความสำ� คญั ของการอ่านออกเขยี นได้จึงมีความต้งั ใจในการทำ� งาน มสี ่วนรว่ ม ในการคดิ และลงมือทำ� คอยสงั เกต รว่ มกนั แก้ปญั หา เสนอแนวคดิ ใหมๆ่ การแลกเปลีย่ น เรียนรู้ รวมถงึ การเสาะหาข้อมลู เพิม่ เตมิ เช่น การศึกษาจากอนิ เตอร์เน็ต การสอบถาม ผรู้ ู้ การหารือรว่ มกบั ทีมวิจัย และอืน่ ๆ ซึ่งเปน็ การท�ำงานร่วมกนั อย่างมีความหวัง และ เอาใจใส่ พูดคุยหารอื กนั ในการทำ� งานเสมอ จงึ สง่ ผลใหก้ ารทำ� งานเป็นไปดว้ ยดี ผ่านพน้ อปุ สรรคปัญหาได้ ๒) การท�ำงานเปน็ ทีม ทกุ โรงเรยี นมกี ารท�ำงานเปน็ ทมี แบ่งบทบาท หน้าท่ีในการท�ำงานชัดเจนทุกคนในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการพัฒนาทักษะการอ่านออก เขียนได้และรอบรู้สุขภาวะของนักเรียน มีการน�ำเร่ืองการการอ่านออกเขียนได้และรอบรู้ สุขภาวะไปบูรณาการกับทุกงานในโรงเรียน ๓) งบประมาณสนับสนุนโครงการระดับ สถานศึกษา ส่วนใหญ่ใช้ในการผลิตสื่อ นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาความรอบรู้สุขภาวะ และ การพัฒนาทักษะอ่านออกเขียนได้ มีการเบิกจ่ายงบประมาณที่คล่องตัวไม่ต้องผ่านระบบ การจัดซ้ือจัดจ้าง ท�ำให้การจัดซื้อวัสดุมาผลิตสื่อคล่องตัวและท�ำให้ได้สื่อที่เหมาะสมกับ วยั ของนักเรียนและเป็นส่อื นวัตกรรมทนี่ กั เรยี นรว่ มผลิต รว่ มใช้ จับต้องได้เปน็ รปู ธรรม ซึ่งสอดคล้องตามทฤษฎีทางจิตวิทยาที่เด็กในวัยน้ีจะเกิดการเรียนรู้และรับรู้จากสิ่งท่ีเป็น รปู ธรรม ๔) การทำ� งานแบบพนั ธกจิ สมั พนั ธข์ องมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำ� ปาง การขบั เคลอ่ื น โครงการครั้งนี้ คณะทำ� งานของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ล�ำปาง ขบั เคลอ่ื นโครงการฯ แบบ พันธกิจสมั พนั ธ์ยึดหลกั การ ๔ ประการ คอื (๑) ร่วมคดิ และรว่ มทำ� แบบพนั ธมติ รหุ้นส่วน (Partnership) (๒) เกิดประโยชน์ร่วมกันแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย (Mutual Benefits) (๓) มีการให้ความรู้และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน (Scholarship) และ (๔) เกิดผลกระทบ ตอ่ สงั คมทป่ี ระเมนิ ได้ (Measurable Social impact) มกี ารรว่ มคดิ รว่ มทำ� รบั ฟงั ขอ้ เสนอ แนะจากทุกฝ่ายแล้วน�ำมาปรับปรุงกระบวนการท�ำงาน เรียนรู้ร่วมกันกับทางโรงเรียนมี การนำ� นักศกึ ษามารว่ มเรียนรู้ การจดั กิจกรรมต่างๆ เป็นกจิ กรรมตามความต้องการของ { 32 }

กลุ่มเป้าหมาย มีการติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังและเป็นพ่ีเล้ียงทางวิชาการ และ ๕) ผลงานทเ่ี กดิ ขน้ึ ทำ� ใหเ้ กดิ แรงจงู ใจ ผลจากการทำ� งานในโครงการ ทำ� ใหจ้ ำ� นวนนกั เรยี น อา่ นออกเขยี นไดใ้ นโรงเรยี นเพม่ิ ขน้ึ สง่ ผลใหค้ ะแนนการสอบ O-NET และ NT ของโรงเรยี น สูงข้ึนท�ำให้เห็นผลเป็นรูปธรรมและเชิงประจักษ์ นอกจากน้ัน สุขภาวะของนักเรียนดีข้ึน ท�ำให้การเจ็บป่วยลดลง ลดภาระของผู้ปกครองและโรงพยาบาล จึงเป็นแรงจูงใจท�ำให้ ทกุ ฝ่ายรว่ มกันทำ� งาน { 33 }

ภาพท่ี ๑.๑ โรงเรียนบา้ นเวียง ตำ� บลลอ้ มแรด อ�ำเภอเถิน จงั หวดั ลำ� ปาง 

ภร่วามคปีเครระเอื มขินา่ ตยรเดวน่จสรอว่ บมแคลิดะรรว่ ว่ มมรทับำ� ผลประโยชน์ โรงเรยี นบา้ นเวยี ง ต�ำบลล้อมแรด อ�ำเภอเถิน จังหวัดลำ� ปาง เรือ่ งเด่นของพน้ื ที่ โรงเรยี นบา้ นเวยี ง โรงเรยี นบา้ นเวยี ง สงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาล�ำปาง เขต ๒ ต้งั อยู่เลขที่ ๓๐๑/๒ หมู่ ๒ ถนนเถินบรุ ี อ�ำเภอ เถนิ จงั หวัดลำ� ปาง เปดิ ท�ำการสอนตั้งแต่ระดบั ชนั้ อนบุ าลถงึ ช้นั ประถมศึกษา ป่ีท่ี ๖ มคี รูทงั้ หมด ๑๒ คน มนี กั เรยี นทั้งหมด ๑๘๑ คน สดั ส่วน ๑๕.๐๘ ไดร้ บั การประเมนิ เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรกู้ ารพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละ ความรอบรสู้ ขุ ภาวะ จงึ เปน็ ตน้ แบบดา้ นการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ และรอบรู้สุขภาวะที่มีศักยภาพในการเป็นแหล่งเรียนรู้และพี่เล้ียงให้แก่สถาน ศกึ ษาทวั่ ไป โรงเรียนบา้ นเวยี งมีจุดเดน่ คือ ใหค้ วามส�ำคัญกบั การอ่านออก เขยี นไดข้ องนกั เรยี น ชมุ ชนใหค้ วามรว่ มมอื อยา่ งดแี ละมสี ว่ นรว่ มในทกุ กจิ กรรม จนส่งผลให้นักเรียนมีการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น มีการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของชุมชน ด้วยเหตุน้ี โรงเรยี นไดร้ บั การสนบั สนนุ เปน็ อยา่ งดจี าก ผปู้ กครองนกั เรยี น ชมุ ชน วดั และ ปราชญ์ชุมชน ตลอดจนเทศบาลเมืองล้อมแรด ซ่ึงได้ร่วมมือกัน ส่งเสริม สนบั สนนุ พฒั นา โรงเรยี นอยา่ งตอ่ เนอื่ งจนมคี ณุ ภาพเปน็ ทยี่ อมรบั นบั เปน็ ตน้ ทนุ ทท่ี ำ� ใหโ้ รงเรยี นสามารถขบั เคลอื่ นงานต่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี สถานการณ์กลา่ วถึงท่ีมาและปัจจยั สถานการณท์ ีเ่ ก่ียวกับปญั หาการอ่านการเขยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เมอ่ื ต้นปกี ารศกึ ษา พบว่า นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑–๖ มีจำ� นวน ๑๓๔ คน { 35 }

มีนักเรยี นท่มี ปี ัญหาการอ่านไมอ่ อก อา่ นไม่คล่อง และไม่สามารถจบั ใจความส�ำคญั ของเรอื่ งที่อ่านได้ จ�ำนวน ๑๕ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๑.๑๙ และมปี ัญหาการเขยี น เขยี นไม่ได้ เขียนคำ� สะกดการนั ตไ์ ม่ถูกตอ้ ง การเขยี นสรปุ ใจความสำ� คญั ไม่ได้ และ ปัญหาการเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ จำ� นวน ๒๔ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๗.๑๙ ซงึ่ ตอ้ ง พัฒนา สถานการณ์ท่ีเกี่ยวกับปัญหาสุขภาวะ พบว่า นักเรียนมีปัญหาด้านภาวะ โภชนาการ น�้ำหนักต�่ำกว่าและน้�ำหนักเกินเกณฑ์ซึ่งเป็นผลมากจากสุขภาวะของ นักเรียนไม่ได้รับการดูแลจากครอบครัวและโรงเรียน สถานการณ์ท่ีเก่ียวกับครู ครขู าดสอื่ นวตั กรรมในการพฒั นาทกั ษะการอา่ นการเขยี นภาษาไทยสำ� หรบั นกั เรยี น ขาดแหลง่ การเรยี นรู้ ขาดงบประมาณ ขาดบุคคลทม่ี คี วามชำ� นาญและเช่ยี วชาญ วธิ กี าร ๑) แต่งต้ังและประชุมคณะกรรมการด�ำเนินการโครงการจากภาคีเครือข่าย ๒) พฒั นาและนำ� ใช้ส่ือ นวตั กรรมการอา่ นออกเขยี นได้ และสขุ ภาวะ ๓) ประเมนิ ผล ติดตามผลการดำ� เนนิ งานโดยการมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครือข่าย กระบวนการ (เน้นกระบวนการการมสี ว่ นรว่ มกับชมุ ชน) ๑) การสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการดำ� เนนิ โครงการ การพฒั นาระบบ กลไก การขับเคล่ือนการด�ำเนินงานโครงการ แต่งต้ังคณะกรรมการด�ำเนินงาน จดั ประชมุ คณะกรรมการการดำ� เนนิ งานประกอบดว้ ย ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี น ครฝู า่ ย วิชาการ ครูผ้สู อน ศิษย์เกา่ ตวั แทนเทศบาล คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สมาคมผู้ปกครอง ตัวแทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล และจัดท�ำข้อมูลการ อา่ นออกเขยี นได้ ๒) การสง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี นและชมุ ชนมกี จิ กรรมรว่ มกนั การพฒั นา สื่อ กิจกรรมการเรียนรู้ และเคร่ืองมือประเมินเพื่อส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ ร่วมกับภาคีเครือข่าย สร้างแบบฝึกพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ๓) ใช้ส่ือ นวตั กรรมในการพฒั นาทกั ษะการอา่ นและการเขยี นของนกั เรยี น สอดแทรกภมู ปิ ญั ญา ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่นท่ีเกี่ยวกับสุขภาวะ ส่งเสริมให้ปราชญ์ชุมชนเข้ามามี บทบาทกับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน ๔) บูรณาการการใช้สื่อให้เข้ากับ ตน้ ทนุ ทมี่ อี ยแู่ ละการสนบั สนนุ จากชมุ ชน ประเมนิ และตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานโดย สรา้ งภาคีเครอื ข่ายจากผ้ปู กครองนกั เรียน และชุมชน { 36 }

กิจกรรม ๑) กจิ กรรมการพฒั นาโรงเรยี นกบั คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เพอื่ สรา้ ง กลไกขบั เคล่อื นกิจกรรมในโครงการ ๒) การพฒั นาสอ่ื และนวตั กรรมท่สี ่งเสรมิ การ อา่ นออกเขียนได้ และการส่งเสรมิ สุขภาวะของนักเรยี นแตล่ ะระดับชน้ั ๓) การนำ� ส่ือ ไปใชจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น และนอกเวลาเรยี น ๔) กจิ กรรมการ เรียนร้รู ว่ มกบั ปราชญช์ มุ ชน ๕) กจิ กรรมการศกึ ษาเรียนรู้ดา้ นวฒั นธรรม สงั คม ใน ชมุ ชน ๖) กจิ กรรมกำ� กับติดตามประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานโดยอาศัยภาคเี ครอื ขา่ ย ผู้ปกครอง ๕๗ กจิ กรรมถอดบทเรยี น แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ สงั เคราะห์องค์ความรู้ทีไ่ ด้ จาการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ เพื่อคัดสรรส่ือและนวัตกรรมการจัดการ เรยี นรเู้ รอ่ื งการอา่ นออกเขยี นได้ เผยแพรน่ วตั กรรมการจดั การเรยี นรเู้ รอื่ งความรอบรู้ ภูมิปญั ญาด้านสขุ ภาวะและนวตั กรรมการอ่านออกเขียนได้ ผลลพั ธท์ ี่เกิดขนึ้ นกั เรียนโรงเรียนบ้านเวยี งระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑–๖ มที กั ษะการอ่านและ การเขยี น ในระดบั ดเี ยย่ี ม คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๕.๑๙ และทกั ษะการเขยี นมผี ลการประเมนิ ในระดับดีเย่ียม คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๓๐ ตลอดจนผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติข้ันพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ใน รายวิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ ๖๗.๗๕ ซ่ึงสูงกว่าค่าเฉล่ียระดับประเทศ และเพ่มิ ขึน้ จากปีการศึกษา ๒๕๖๐ คิดเปน็ ร้อยละ ๕.๘๗ ความเปล่ยี นแปลง บุคคล ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ผู้มีส่วนร่วม ๑) โรงเรยี นบา้ นเวยี ง ไดส้ รา้ งความตระหนกั ความสำ� คญั กบั การอา่ นและการเขยี น และถอื เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของครทู กุ คน ผปู้ กครอง ชมุ ชน และทอ้ งถนิ่ โดยประกาศ เปน็ นโยบายและกำ� หนดไวใ้ นแผนงานของโรงเรยี น ๒) มกี ารวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ การอา่ นและการเขยี น และจดั ทำ� เปน็ ขอ้ มลู ของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล เพอ่ื นำ� ไปใชใ้ น การพัฒนาและส่งเสริมให้เหมาะสมกับนักเรียน เพ่ือให้ครูสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ เตม็ ตามศกั ยภาพ และมกี ารสรปุ ผลและรายงานการดำ� เนนิ งานตอ่ ผปู้ กครองนกั เรยี น และทกุ สว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๓) ดา้ นผปู้ กครอง ชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั ตอ่ การ แกป้ ญั หาดา้ นการอา่ นและการเขยี นเปน็ อยา่ งดี ใหค้ วามรว่ มมอื เอาใจใสด่ แู ลบตุ รหลาน อยา่ งใกลช้ ดิ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ กจิ กรรมในโรงเรยี น ตลอดจนตดิ ตามความ กา้ วหนา้ การพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนของโรงเรยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและสมำ�่ เสมอ   { 37 }

ภาพท่ี ๑.๒ โรงเรยี นบา้ นดง ต�ำบลท่งุ หัวชา้ ง อำ� เภอท่งุ หวั ชา้ ง จงั หวัดลำ� พนู

ชมุ ชนชาติพนั ธุก์ ะเหรี่ยง โรงเรียนบ้านดง ต�ำบลทงุ่ หัวชา้ ง อ�ำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำ� พนู เรอ่ื งเด่นของพืน้ ท่ี โรงเรียนบา้ นดง ส�ำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาล�ำพูนเขต ๒ ตัง้ อยเู่ ลขที่ ๑๔๑ หมู่ ๙ ต�ำบลทงุ่ หวั ช้าง อ�ำเภอทุ่งหวั ช้าง จังหวัดลำ� พูน มีนักเรยี นท้งั หมด ๑๘๙ คน มคี รจู �ำนวน ๑๒ คน สัดส่วน ๑๕.๗๕ นกั เรยี น ทุกคนเปน็ กลมุ่ ชาตพิ นั ธกุ์ ะเหรย่ี ง จดุ เด่นคือนักเรยี นและคนในชมุ ชนมวี ถิ ีชีวิต วัฒนธรรมท่ียังคงด�ำรงอยู่สืบทอดมาจนถึงทุกวันน้ี ดังน้ันโรงเรียนจึงได้น�ำ บริบทท้องถิ่นมาวิเคราะห์เพื่อสร้างกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับนักเรียน โดยเน้นการท�ำกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้น�ำเสนออัตลักษณ์ของชาติพันธุ์ กะเหรย่ี งเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความภาคภมู ใิ จและสามารถเรยี นรอู้ ยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ ในสงั คมได้ นอกจากนโี้ รงเรยี นบา้ นดงไดร้ บั ความรว่ มมอื จากหลายๆ ฝา่ ยทร่ี ว่ มกนั พฒั นา คุณภาพการจัดการศกึ ษา อาทิ อบต.ท่งุ หัวชา้ ง โรงพยาบาลทุ่งหัวช้าง สถานี ต�ำรวจภูธรอ�ำเภอทุ่งหัวช้าง ตลอดผู้ปกครองเป็นผู้ประสานน�ำเสนอข้อมูลใน ท้องถิ่นเพ่ือน�ำมาพัฒนาการเรียนการสอนให้ดีขึ้น จนได้รับแต่งต้ังให้เข้าร่วม โครงการโรงเรยี นดปี ระจ�ำต�ำบล สถานการณก์ ล่าวถึงทมี่ าและปัจจยั สถานการณท์ เ่ี กย่ี วกบั การอา่ นการเขยี นในปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ เมอ่ื ตน้ ปี การศึกษา พบว่า นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ มีจ�ำนวน ๑๒๘ คน มีนกั เรียนท่ีมีปัญหาการอา่ นและการเขียน จ�ำนวน ๑๙ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๔.๘๔ ซึ่งจ�ำเป็นท่ีจะต้องพัฒนาให้นักเรียนมีทักษะการอ่านการเขียนที่ดีข้ึน { 39 }

และในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ มีผลการทดสอบแหง่ ชาติ O-NET ในกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทยมคี ่าเฉลี่ยรอ้ ยละ ๔๓.๑๒ ซงึ่ ต�่ำกวา่ ระดับ ประเทศ และต�่ำกว่าระดับเขตพื้นที่การศึกษา แสดงให้เห็นว่าในภาพรวมนักเรียน ยังขาดทักษะการอ่านการเขียนและทักษะการอ่านจับใจความสำ� คัญ สถานการณ์ที่ เกย่ี วกบั ปญั หาสขุ ภาวะยอ้ นหลงั ๓ ปี พบวา่ นกั เรยี นมปี ญั หาฟนั ผุ โรคอว้ น นกั เรยี น หญงิ สว่ นใหญม่ เี หา และนกั เรยี นไมร่ กั ษาความสะอาดรา่ งกาย ซงึ่ ปญั หาดงั กลา่ วเกดิ จากบริบทท้องถ่ินของนักเรียนที่ในชุมชนยังขาดความรู้ในเร่ืองสุขภาวะและการดูแล สุขภาพเบ้ืองต้นอย่างถูกวิธี สถานการณ์ท่ีเก่ียวกับครู ครูมีความมุ่งม่ันในการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนแต่ยังขาดความรู้และงบประมาณสนับสนุนในการ สรา้ งสอื่ การเรยี นการสอนทส่ี รา้ งสรรคแ์ ละหลากหลาย สถานการณท์ เ่ี กย่ี วกบั ชมุ ชน ชมุ ชนไมค่ อ่ ยเหน็ ความสำ� คญั ของการศกึ ษาเนอื่ งดว้ ยบรบิ ททอ้ งถน่ิ วฒั นธรรมวถิ ชี วี ติ ทย่ี ึดพง่ึ พาธรรมชาติ วิธกี าร ๑) ประชุมผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาเพ่ือให้ทราบแนวทางใด การด�ำเนินโครงการ ประกอบด้วย ตัวแทนคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทน ผปู้ กครอง นกั เรยี น ๒) สง่ เสริมการท�ำงานโดยความรว่ มมือกับชมุ ชน เชน่ อบต. ทงุ่ หวั ชา้ ง โรงพยาบาลทงุ่ หวั ชา้ ง สถานตี ำ� รวจภธู รอำ� เภอทงุ่ หวั ชา้ ง ตลอดผปู้ กครอง ประสานเครอื ขา่ ยผปู้ กครองเพอ่ื เปน็ ผนู้ ำ� เสนอขอ้ มลู ในทอ้ งถน่ิ ประกอบดว้ ย ปราชญ์ ชาวบ้านในด้านตา่ งๆ ข้อมลู วถิ ีชีวิตวฒั นธรรมชาตพิ ันธ์กุ ะเหรยี่ ง ๓) น�ำความรู้จาก ในโรงเรยี นและในทอ้ งถิน่ ไปเผยแพรแ่ ละแลกเปล่ียนเรียนรใู้ นชมุ ชน กระบวนการ ๑) ประชมุ ผทู้ ม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจและรว่ มกำ� หนด แนวทางในการด�ำเนินโครงการ ประกอบด้วย ตัวแทนคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทนผปู้ กครอง นกั เรยี น ๒) ผลิตสอ่ื นวัตกรรม กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่สี ่งเสรมิ การอา่ นออกเขยี นได้ และความรอบรสู้ ขุ ภาวะ ๓) ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษารว่ ม กนั วิพากษส์ อ่ื นวตั กรรมเพือ่ น�ำขอ้ มูลไปพัฒนาต่อยอด ๔) นำ� ใช้สอื่ นวตั กรรม วดั และประเมนิ ผลแลว้ นำ� ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั จากการใชส้ อ่ื เผยแพรแ่ ลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ บั คนใน { 40 }

ชุมชนเพอ่ื ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับสุขภาวะ แลว้ น�ำไปปฎบิ ัติ ๕) สรุปผลการ ดำ� เนนิ งาน โดยรว่ มประชมุ กบั ผทู้ ม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งทกุ ภาคสว่ นนำ� ขอ้ มลู เผยแพรชู่ มุ ชน ผ่านนวตั กรรมจอ๊ ย ซอ สขุ ภาวะเนอ่ื งในโอกาสตา่ งๆ กจิ กรรม ๑) กจิ กรรมเรยี นรสู้ ขุ ภาวะจากโรงพยาบาลทงุ่ หวั ชา้ ง ๒) กจิ กรรมออกกำ� ลงั กาย เพอื่ สขุ ภาพ กจิ กรรมรบั ความรเู้ รอื่ งโทษภยั ยาเสพตดิ จากสถานตี ำ� รวจภธู ร ๓) กจิ กรรม พส่ี อนนอ้ งอ่านทอ่ งหนงั สอื ๔) กิจกรรมค่ายภาษาเสรมิ ทักษะการอ่านออกเขยี นได้ และกิจกรรมมอบความรู้สูช่ ุมชนเสรมิ สรา้ งภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ กะเหรย่ี ง ๕) กิจกรรม จอ๊ ย ซอ สขุ ภาวะ เพื่อนำ� ความรู้เผยแพรใ่ นชมุ ชน ผลลัพธท์ ่ีเกิดขึน้ ๑) นักเรยี นมพี ัฒนาการอ่านการเขียนทีด่ ีขนึ้ สง่ ผลใหผ้ ลการทดสอบระดับชาติ O-NET ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยปีการศึกษา ๒๕๖๑ มีค่าเฉลี่ย ๖๓.๐๕ ซึง่ สูงขนึ้ กวา่ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ร้อยละ ๑๙.๙๗ สูงกวา่ ระดับประเทศและระดับเขต พ้ืนที่การศึกษา ๒) นักเรียนมีความรู้เรื่องสุขภาวะและการดูแลสุขภาพเบ้ืองต้น สามารถไปถา่ ยทอดใหก้ บั ผปู้ กครองและคนในชมุ ชนได้ ๓) นกั เรยี นมที กั ษะในการพดู ในการนำ� เสนอขอ้ มลู ตอ่ ชมุ ชนมคี วามภมู ใิ จในอตั ลกั ษณข์ องชาตพิ นั ธก์ุ ะเหรยี่ งมากขน้ึ ความเปลี่ยนแปลง บคุ คล ชมุ ชนท้องถนิ่ ผู้มสี ่วนร่วม ๑) ครบู ุคลากรทางการศึกษามสี ่วนร่วมในการด�ำเนนิ งานมที ักษะในการพฒั นา สื่อ นวัตกรรมและจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีดีขน้ึ ๒) นักเรียนมีเจตคตทิ ่ดี ีใน การเรียนรู้พร้อมท่ีจะน�ำความรู้ที่ได้รับขยายผลต่อยอดในท่ีชุมชน ๓) นักเรียนมี พฒั นาการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละนกั เรยี นมสี ขุ ภาวะทด่ี ขี น้ึ ๔) โรงเรยี น ชมุ ชน องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชนเห็นถึงความส�ำคัญในการจัด กิจกรรมการส่งเสริมการอา่ นออกเขียนไดแ้ ละสุขภาวะ ๕) คนในชมุ ชนไดร้ ับความรู้ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจากการเผยแพร่ข้อมูลจากนักเรียน ๖) เกิด ความรว่ มมอื ในการขบั เคลอ่ื นโครงการ นกั เรยี นไดร้ ถู้ งึ วฒั นธรรม วถิ ชี วี ติ ของตนเอง และมีความภมู ใิ จในชาติพนั ธกุ์ ะเหร่ียงมากย่งิ ขึ้น { 41 }

ภาพท่ี ๑.๓ โรงเรยี นบ้านแฮะ ต�ำบลงมิ อ�ำเภอปง จงั หวัดพะเยา

นสม้อมบนูรณ�ำป์ทร้ังชั กญายาเใศจรพษัฒฐกนจิ าพคอุณเพธรียรงม โรงเรียนบ้านแฮะ ตำ� บลงมิ อ�ำเภอปง จังหวัดพะเยา เรอื่ งเดน่ ของพ้นื ท่ี โรงเรยี นบา้ นแฮะ สงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพะเยา เขต ๒ ตงั้ อย่พู ืน้ ทีห่ มู่ ๑๑ ต�ำบลงิม อ�ำเภอปง จังหวดั พะเยา มคี รู ๗ คน นกั เรียน ๓๗ คน สดั ส่วน ๕.๒๘ โรงเรยี นบา้ นแฮะ มจี ดุ เดน่ คอื ครมู คี วาม สามัคคีท�ำงานเป็นทีม ชุมชนมีความเข้มแข็งและเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามี สว่ นรว่ มในการพฒั นาโรงเรยี น จนสง่ ผลใหท้ กุ คนเปน็ เจา้ ของโรงเรยี นรว่ มกนั พฒั นาเปน็ โรงเรยี นโครงการพฒั นาทกั ษะชวี ติ ของนกั เรยี นตามหลกั ของปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง มีผลสัมฤทธ์ิระดับดีเด่น จัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้น นกั เรยี นเปน็ สำ� คญั อยา่ งมคี ณุ ภาพ สง่ เสรมิ สขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ ของนกั เรยี น ใหเ้ ขม้ แขง็ ปลอดภยั มกี จิ กรรมตามโครงการโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพ และ โครงการสง่ เสรมิ รกั การอา่ น สง่ ผลใหเ้ ปน็ ทยี่ อมรบั ของผปู้ กครอง ชมุ ชน คณะ กรรมการสถานศกึ ษา ผนู้ ำ� ชมุ ชนปราชญช์ าวบา้ น วดั หนว่ ยงานราชการ ภาคี เครอื ขา่ ย เชน่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลงมิ สถานีต�ำรวจ ใหค้ วามร่วมมือ สง่ เสริม สนับสนนุ พฒั นานกั เรยี น ขบั เคลอื่ น โรงเรียนใหม้ ีความพร้อมในทุกดา้ น สถานการณก์ ลา่ วถึงทม่ี าและปัจจัย สถานการณท์ เ่ี กย่ี วกบั ปญั หาการอา่ นการเขยี น เมอ่ื ตน้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ พบวา่ จำ� นวนของนกั เรยี นมปี ญั หาอา่ นไมค่ ลอ่ ง ๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘ และ จบั ใจความส�ำคญั ยังไมไ่ ด้จ�ำนวน ๕ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๖.๔ นักเรยี นต้องได้ { 43 }

รับการพัฒนาให้สามารถอ่านคล่องและจับใจความส�ำคัญได้ซึ่งเป็นพื้นฐานส�ำคัญใน การเรียนรู้ในระดับที่สูงข้ึน สถานการณ์ที่เก่ียวกับปัญหาสุขภาวะย้อนหลัง พบว่า นกั เรียนมสี ภาวะทนั ตสขุ ภาพพบความผิดปกติตอ้ งรักษาเร่งด่วน (ระดับ จ > ๑๐% ถือวา่ เป็นปญั หา) จำ� นวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๕๑ สถานการณท์ ่ีเกยี่ วกบั ครู ครูเป็นครูท่ีมีศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นนักเรียนเป็นส�ำคัญ โดยใช้ส่ือ เทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นรบู้ รหิ ารจดั การอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และพฒั นาตนเอง อยา่ งตอ่ เนอื่ ง นำ� ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ หรอื ปราชญช์ าวบา้ นมารว่ มจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ วธิ ีการ ๑) กำ� หนดนโยบายการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละรอบรสู้ ขุ ภาวะของ โรงเรยี น และบรู ณาการในแผนปฏบิ ตั งิ านประจำ� ปี ประกาศนโยบายการพฒั นาทกั ษะ การอ่านออกเขียนได้และรอบรู้ สขุ ภาวะของโรงเรียน ศึกษานักเรยี นเปน็ รายบคุ คล จัดท�ำสารสนเทศแสดงจ�ำนวนนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ โดยระบุปัญหาสาเหตุ เปน็ รายบคุ คลตามแบบคดั กรอง วเิ คราะหห์ าสาเหตแุ ละระดบั ของปญั หาพรอ้ ม จดั กลมุ่ นกั เรยี นทอ่ี า่ นไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ดต้ ามระดบั ของปญั หา ๒) จดั กจิ กรรมแบบมสี ว่ นรว่ ม ระหวา่ งโรงเรียน ผปู้ กครอง ชุมชน และภาคีเครือข่ายชว่ ยเหลือสนับสนุนการสอน อ่านการสอนเขียนใหก้ ับบุตรหลาน เชน่ สื่อ นวัตกรรมทน่ี ำ� ไปฝึกทำ� ทีบ่ ้าน ชว่ ยหา สมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอนของโครงการพัฒนาทักษะการ อ่านออกเขียนได้และคู่มือการด�ำเนินงานพัฒนาสุขภาวะผ่านการอ่านออกเขียนได้ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้น�ำชุมชน ให้ความเห็นชอบ และให้ความร่วมมือ สนับสนุนการด�ำเนินงาน ๓) การจัดกระบวนการเรียนรู้น�ำภูมิปัญญาหรือปราชญ์ ชาวบา้ นมสี ่วนร่วมในกิจกรรมการเรยี นรู้ และ ๔) ร่วมผลิตและนำ� ใชส้ อ่ื นวัตกรรม สำ� หรบั เพ่ิมศักยภาพในการเรยี นรู้ กระบวนการ ๑) ประชมุ วางแผน กำ� หนดนโยบายร่วมกนั ระหวา่ งผู้บรหิ าร คณะครู ชุมชน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และภาคีเครือข่ายร่วมกันในการพัฒนา โรงเรยี น ร่วมขบั เคลือ่ นโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนภาคเรียนละ ๒ ครั้ง ๒) จดั กจิ กรรมแบบมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งโรงเรยี น ผปู้ กครอง ชมุ ชน และภาคเี ครอื ขา่ ย { 44 }

๓) การจดั กระบวนการเรยี นรนู้ ำ� ภมู ปิ ญั ญาหรอื ปราชญช์ าวบา้ นมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม การเรยี นรู้ เชน่ การเรยี นรพู้ ชื สมนุ ไพรพนื้ บา้ น ประโยชนข์ องสมนุ ไพร ๔) รว่ มผลติ และนำ� ใช้สื่อ นวตั กรรมให้ตรงกบั ความตอ้ งการของนักเรียนส�ำหรับเพมิ่ ศกั ยภาพใน การเรยี นรู้ นำ� ข้อมูลทไ่ี ดม้ าท�ำวเิ คราะหป์ ัญหา สาเหตุทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ฟันผุ อ่านไม่ออก เขียนไมไ่ ด้ หาแนวทางแกไ้ ขปญั หา สรุปแนวคิดร่วมกนั ใหค้ รูผ้รู บั ผิดชอบโครงการ โรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพและมนี วตั กรรม ยาสฟี นั สมนุ ไพรใบพลชู นดิ แคปซลู ทท่ี ดลอง ใชอ้ ยา่ งไดผ้ ล ครภู าษาไทยรว่ มกบั คณะครทู กุ คนรว่ มกนั ผลติ สอื่ แกไ้ ขนกั เรยี นทมี่ คี วาม บกพรอ่ งทางการเรยี นรกู้ ารเรยี นรภู้ าษาไทยสำ� หรบั นกั เรยี นทบ่ี กพรอ่ งทางการเรยี นรู้ โดยจดั ทำ� แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะจากการศกึ ษาเอกสารงานวจิ ยั เกย่ี วขอ้ ง และ ๕) พฒั นา ยาสฟี นั สมนุ ไพร HERBETELL สตู รฟลอู อไรดแ์ ลว้ ขอรบั การรบั รอง นำ� ใชก้ บั นกั เรยี น ทุกคน กิจกรรม ๑) กิจกรรมการส่งเสรมิ งานเครือขา่ ยการจดั การศึกษา ๒) กิจกรรมแบบมสี ่วน ร่วมกับภาคเี ครอื ขา่ ย ๓) กิจกรรมเรียนร้กู บั ภมู ปิ ัญญาดา้ นพื้นสมนุ ไพรพ้ืนบา้ น และ ๔) กิจกรรมผลติ และใช้ สือ่ นวตั กรรม เพิม่ ศักยภาพและประสิทธิภาพในการเรยี นรู้ ผลลพั ธท์ ่เี กดิ ข้ึน ๑) โรงเรียนมแี ผนพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย โดยเน้นคณุ ภาพ นกั เรยี น คุณภาพครูผสู้ อน และการบรหิ ารจดั การทีด่ ีและผนวกแผนพฒั นาไวใ้ นการ ประกนั คณุ ภาพของโรงเรยี น ๒) ไดแ้ บบฝกึ เสรมิ ทกั ษะเรอ่ื งมาตราตวั สะกด กลมุ่ สาระ การเรยี นรภู้ าษาไทยสำ� หรบั นกั เรยี นทบี่ กพรอ่ งทางการเรยี นรู้ จำ� นวน ๑๐ เลม่ เปน็ ผลท�ำใหน้ กั เรยี นท่บี กพรอ่ งทางการเรยี นรู้ สามารถอา่ นและเขยี นมาตราตวั สะกดได้ ทุกมาตราตัวสะกด ๓) สุขภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนท่ีรักษาเร่งด่วน ก่อนใช้ ยาสฟี นั สมนุ ไพร HERBETELL สตู รฟลอู อไรด์ จำ� นวน ๕ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๓.๕๑ และหลังใช้ยาสีฟันสมุนไพร HERBETELL จ�ำนวนนักเรียนมีสุขภาวะทันตสุขภาพ ของนักเรียนที่รักษาเร่งด่วน ฟันผุลดลง ๒.๗๐ ๔) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑–๖ มีทักษะการอ่านออกเขียนได้ ตามผลการประเมินทักษะการอ่านออกเขียนได้ ของแต่ละระดบั ชั้นปเี ฉลย่ี ร้อยละ ๙๐ ขึน้ ไป { 45 }

ความเปลย่ี นแปลงของบคุ คล ชุมชนท้องถิน่ ผมู้ ีสว่ นร่วม ๑) นักเรียนท่ีได้รับการคัดกรองเป็นเด็กพิเศษเรียนร่วม เปล่ียนเป็นเด็กปกติ ๒) ผู้ปกครอง ชุมชน เอาใจใส่ดูแลลูกหลานอย่างใกล้ชิดมากข้ึน ให้ความร่วมมือ สนับสนุนช่วยเหลือโรงเรียนเรอ่ื งการบ้านการอ่านการเขียนอย่างสมำ�่ เสมอ ติดตาม ความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง อบต.งิม ให้การสนับสนุนงบประมาณของโครงการที่ สอดคลอ้ งกบั โครงการโรงเรยี นปลอดการอา่ นไมอ่ อกเขยี นไมไ่ ด้ โครงการดา้ นสขุ ภาวะ { 46 }

มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ อำ�เภอเมอื ง จังหวดั อุตรดิตถ์ โรงเรียนบ้านป่าแต้ว ตำ� บลคอรุม อ�ำเภอพชิ ัย จงั หวัดอตุ รดิตถ์ โรงเรยี นบ้านนาไค้ ต�ำบลบัวใหญ่ อ�ำเภอนานอ้ ย จังหวัดน่าน โรงเรยี นบา้ นปงสนกุ ตำ� บลเจดีย์ชยั อ�ำเภอปัว จังหวัดน่าน โรงเรยี นบา้ นนาวงศ์ ตำ� บลเจดียช์ ยั อ�ำเภอปัว จังหวัดน่าน โรงเรียนบ้านแมย่ างตาล ต�ำบลแมย่ างตาล อำ� เภอรอ้ งกวาง จังหวดั แพร่ { 47 }

ภาพท่ี ๒ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ อำ� เภอเมอื ง จังหวดั อุตรดติ ถ์

วิเคราะห์และสังเคราะห์ เรือ่ งเด่นการด�ำเนินงาน พเพฒั อ่ื สนง่าเทสกัรษมิ คะกวาารมอรา่ อนบอรอู้ทกาเงขดีย้านนไดส้ขุ ภาพ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ อำ� เภอเมือง จังหวดั อุตรดิตถ์ แนวคดิ หลักการ การขับเคล่ือนและพัฒนาประเด็นพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ทางด้านสุขภาพอยู่บนฐานของการพัฒนาโดย เอาพนื้ ทเ่ี ปน็ ตวั ตงั้ พรอ้ มทง้ั มกี ระบวนการคน้ หาและเรยี นรทู้ นุ ทางสงั คม และศักยภาพของชุมชน เพื่อน�ำมาใช้พัฒนาและต่อยอดการด�ำเนินงาน ของแต่ละพ้ืนที่ อีกทั้งยังมีกระบวนการจัดการความรู้ การแลกเปล่ียน เรียนรู้จากพ้ืนท่ีต้นแบบ และการใช้กระบวนการวิจัยในการสร้าง องค์ความรู้ในประเด็นต่างๆ ที่สนใจ การด�ำเนินการดังกล่าวจึงเป็น ส่ิงส�ำคัญเพอ่ื การพัฒนาศักยภาพและเสรมิ สร้างความเข้มแข็งให้กับพืน้ ที่ ที่สามารถน�ำใช้ประสบการณ์ที่ได้รับจากกระบวนการเรียนรู้และพัฒนา มาปรับใช้เพ่ือจัดการกับประเด็นปัญหาและความต้องการของประชากร กลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ในการพฒั นาระบบการดแู ลเด็กและเยาวชน โดยมี วตั ถปุ ระสงค์ คอื ๑) เพอ่ื พฒั นาเครอื่ งมอื ประเมนิ ความสามารถดา้ นภาษา สำ� หรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ๒) เพื่อพัฒนาส่ือ นวัตกรรมการ จดั การเรยี นรทู้ สี่ ง่ เสรมิ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาวะโดยผา่ นการพฒั นาความ สามารถด้านภาษาส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ๓) เพื่อให้เด็ก นักเรียนกล่มุ เป้าหมายไดร้ บั การพัฒนาให้อ่านออกเขียนได้ และนกั เรยี น ทุกคนได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธ์ทางการเรียนภาษาไทยสูงข้ึน มีพื้นท่ี { 49 }


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook