Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทิ้งได้ถูกต้องช่วยโลกให้ถูกทาง

ทิ้งได้ถูกต้องช่วยโลกให้ถูกทาง

Published by Chalermkiat Deesom, 2019-12-25 20:25:22

Description: ทิ้งได้ถูกต้องช่วยโลกให้ถูกทาง

Search

Read the Text Version

ทกุ วนั นี้ เรือ่ งการจดั การขยะถอื เป็นปัญหาใหญ่ ด้วยเหตผุ ลหนงึ่ ก็คอื เพราะคนทงิ้ ขยะโดยไม่รวู้ า่ ควรจะแยกขยะก่อน หรอื ควรแยกอยา่ งไร เนื่องจากขยะที่ปะปนกันส่งผลใหจ้ ัดการขยะได้ยาก ขณะที่ขยะบางอย่างน�ำ กลบั มาใช้ประโยชนไ์ ด้อกี ขยะบางชนิ้ เปน็ ขยะอนั ตราย ตอ้ งจดั การอยา่ งถกู วธิ ี หากเราชว่ ยกันคนละไม้คนละมือ กจ็ ะสามารถ ช่วยโลกของเราให้มีสภาพที่ดขี ้ึนได้

ขยะคุณรู้จัก ดแี ค่ไหน เราตอ้ งรจู้ ักประเภทของขยะก่อนเพ่ือทจี่ ะสามารถคัดแยกขยะก่อนท้ิงได้ ขยะปจั จบุ ันมีอยู่ 4 ประเภท ได้แก่ 1.ขยะยอ่ ยสลาย/ ขยะเปยี ก เช่น เศษผัก เปลือกผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ เศษเนื้อสตั ว์ ลกั ษณะ: ขยะเนา่ เสยี และยอ่ ยสลายได้ เร็ว สามารถน�ำ มาหมกั ทำ�ปยุ๋ ได้ 2. ขยะรไี ซเคลิ เชน่ แกว้ กระดาษ กระปอ๋ งเครอื่ งดมื่ เศษพลาสติก เศษโลหะ อะลูมิเนียม ยางรถยนต์ กลอ่ งกระดาษ กลอ่ งเครอ่ื งดม่ื ลกั ษณะ: บรรจุภัณฑห์ รอื วัสดเุ หลอื ใชซ้ ึ่ง สามารถน�ำ กลบั มาใชป้ ระโยชน์ใหม่ได้ 3.ขยะอนั ตราย เช่น เข็มฉีดยา แบตเตอร่ี ถา่ นไฟฉาย นำ�้ มันเคร่ืองใชแ้ ลว้ ลักษณะ: ขยะปนเป้ือนหรือมีองค์ประกอบ ของวัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุมีพิษ วัตถุท่ี ทำ�ให้เกิดโรค วัตถุกัดกร่อน และวัตถุท่ีอาจ กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 3

ไมโครพลาสติก ถือเป็นขยะอันตราย ต่อระบบนิเวศน์ มักเป็นส่วนผสมของ ผลิตภัณฑ์ทำ�ความสะอาดผลัดเซลล์ผิว เช่น เม็ดบีดส์ เม็ดสครับ ในเคร่ืองสำ�อาง และยาสีฟัน สบู่ล้างมือ สบู่ล้างจาน นำ�้ ยาทำ�ความสะอาดห้องนำ�้ นำ�้ ยาซักผ้า รวมทั้งเส้นใยจากผ้าใยสังเคราะห์ ไมโคร พลาสติกบางชนิดไม่สามารถมองเห็นด้วย ตาเปล่า เพราะมีขนาดเล็กมาก (เล็กกว่า 5 มลิ ลเิ มตร) 4.ขยะทวั่ ไป เช่น ถุงขนมกรบุ กรอบ ถุงพลาสติกบรรจุ ผงซักฟอก พลาสตกิ หอ่ ลูกอม ซองบะหมี่กึ่ง ส�ำ เรจ็ รูป ถงุ พลาสตกิ ใส่อาหาร ลักษณะ: ขยะท่ีย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่า สำ�หรับการนำ�กลับมาใชใ้ หม่ กว่าจะ เศษกระดาษ 2-5 เดอื น เปลอื กสม้ 6 เดอื น ย่อยสลาย ถว้ ยกระดาษเคลอื บ 5 ปี กน้ กรองบุหร่ ี 12 ปี รองเทา้ หนงั 25-40 ปี กระป๋องอะลมู เิ นยี ม 80-100 ปี ถงุ พลาสติก 450 ปี โฟม ไม่ย่อยสลาย 4

แยกขยะกอ่ นทิ้ง ขยะเพราะไมใ่ ชแ่ ค่ เมอ่ื เรารจู้ กั ขยะชนดิ ตา่ งๆ แลว้ เราตอ้ งชว่ ยกนั แยกขยะกอ่ นทงิ้ โดยเรมิ่ ตง้ั แตข่ ยะ ในบา้ น ร้ไู หมวา่ การแยกขยะสามารถชว่ ยลดภาระเจา้ หนา้ ท่ีรถเก็บขยะได้มาก ตัวอยา่ ง เขต ก. และเขต ข. มีขยะ 2,000 ตัน เทียบเท่ากบั รถขนขยะ 333 คนั เขต ก. ไมแ่ ยกขยะ ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ หนา้ ที่ ของรถเก็บขยะ ต้องใช้เวลาจัดการ ขยะ 20 วนั เขต ข. แยกขยะ ใช้เวลาจัดการขยะ เพียง 5 วนั ก็แล้วเสรจ็ แล้วเมื่อเราแยกขยะ เราก็จะสามารถ ขยะเหล่าน้ันจะถูกนำ�ไปใช้ประโยชน์ นำ�ขยะรีไซเคิลไปขายสร้างรายได้เพิ่ม ได้ต่อก็อาจจะสูญค่า หรืออาจเป็น ที่สำ�คัญ ควรคิดทุกคร้ังก่อนท้ิงขยะ อนั ตรายท้งั ต่อตวั เราและสง่ิ แวดลอ้ ม เพราะหากเราทง้ิ ลงไปโดยไมค่ ดิ แทนท่ี 5

4 ถัง คัดแยก ถงั ขยะเปยี ก/ ยอ่ ยสลายง่าย EM หากไมแ่ ยก: การทง้ิ ถงุ พลาสตกิ โลหะ แก้ว มลู สัตว์ลงไปรวมกับขยะย่อยสลายง่าย จะยากต่อ การนำ�ไปใช้ประโยชน์ต่อ จะไม่สามารถนำ�เศษ ผักผลไม้และเศษอาหารไปทำ�ปุ๋ยและนำ�้ หมัก จุลนิ ทรีย์ (EM) ได้ เกร็ดความรูก้ ารแยกขยะ คัดแยกเศษอาหารออกจากขยะทเ่ี ป็น เศษก่ิงไม้ใบไม้ ซ่ึงสามารถนำ�ไปทำ�ปุ๋ย หมักได้ หากขยะมีลักษณะแหลมมาก อยา่ งเชน่ ไมล้ ูกชิ้น ให้หกั กอ่ นทิ้ง จัดหาภาชนะที่มีฝาปิด เพื่อไม่ให้สัตว์นำ� เช้ือโรคเข้าไปแพร่เช้อื ถังขยะท่วั ไป หากไม่แยก: ขยะท่ัวไปส่วนใหญ่จะถูกนำ�ไปฝัง กลบเพราะไมค่ มุ้ คา่ ทจ่ี ะน�ำ ไปใชซ้ ำ�้ หรอื รีไซเคิล ได้ ดังน้ันเม่ือจะแยกก็ต้องแยกออกมาชัดเจน หา้ มทงิ้ เศษอาหาร ขยะรไี ซเคลิ และขยะจากสวน ลงไปรวมกับขยะท่ัวไป 6

ถงั ขยะรไี ซเคลิ X หากไม่แยก: ทำ�ให้เสียทรัพยากรที่ใช้ ได้ เพื่อประหยัดเนื้อท่ีและเก็บได้ ซำ�้ ได้ไปอย่างเปล่าประโยชน์ อีกทั้ง สะดวก เจา้ หนา้ ทน่ี �ำ ขยะไปคดั แยกเองไดล้ า่ ชา้ แยกขยะรีไซเคิลที่แตก และ สิ้นเปลอื งพลังงาน สภาพดีออกจากกัน เกร็ดความรกู้ ารแยกขยะ แยกชนิด สี ประเภทของขยะ รไี ซเคลิ ออกจากกนั เพอื่ สะดวกใน การใช้งานหรือขาย ขยะรีไซเคิลบางชนิดทำ�ให้แบน ถังขยะอนั ตราย หากไม่แยก: อาจท�ำ ใหเ้ กิดอนั ตราย เกร็ดความรกู้ ารแยกขยะ ได้ เช่น ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรี่ แยกขยะอันตรายแต่ละประเภท โทรศัพท์เคลื่อนท่ีซ่ึงอาจระเบิดเมื่อ ออกจากกัน ไม่มัดรวมและควร เจอความร้อน และหากไม่มัดปาก สวมถุงมอื เพ่อื ป้องกันสารพิษ ถงุ ให้เรียบรอ้ ยกอ็ าจปล่อยสารพิษ ระวังไม่ให้แตกหักเพราะสารเคมี อาจเขา้ สู่ร่างกาย แยกขยะใส่ถุงและไว้ให้ห่างจาก ห้องครวั พ้ืนทีท่ ่มี ีเด็ก ขยะไมโครพลาสติกมีขนาดเล็ก มองไมเ่ หน็ ควรกรองดว้ ยถงุ กรอง ใหเ้ ศษตา่ งๆ รวมกัน 7

ตามสถานท่สี าธารณะตา่ งๆ เรามกั จะ ท้ิงขยะนอกบา้ น เหน็ ถงั คดั แยกขยะท่ถี กู จดั เตรียมตามน้ี ตอ้ งท�ำ อยา่ งไร ซงึ่ จะมรี ะบชุ นดิ ของขยะเอาไว้ รวมถงึ สขี องถงั ทแ่ี ตกตา่ งกนั เพอื่ การ เลือกทงิ้ ขยะให้ถกู ตอ้ งแบบเดียวกบั ทเ่ี ราคัดแยกขยะในบา้ น ขยะ ไ1ด้ที่ ยิ่งแยก ยิ่งได้ ได้ลดคา่ ใช้จา่ ย เช่น แยกขยะอินทรีย์ หากบ้านไหน ทำ�การเกษตรก็สามารถนำ�ขยะอินทรีย์ ท่ีเป็นเศษผักผลไม้ไปทำ�ปุ๋ยหมักรดนำ�้ ตน้ ไมไ้ ด้ หรอื น�ำ เศษอาหารไปเลยี้ งสตั ว์ ไดท้ ่ี 2 ได้เงินคา่ ขนม การแยกขยะรีไซเคิล เช่น ขวดแก้ว กระดาษ ขวด พลาสติก นำ�มาล้างแล้วเอาไปขายให้แหล่งรับซ้ือ ใกล้บ้าน สร้างรายได้เข้ากระเป๋า หรือใครมีความ คิดสร้างสรรค์นำ�มาท�ำ งานประดษิ ฐ์ กส็ ามารถหา ช่องทางสร้างรายได้จากขยะรีไซเคลิ เหลา่ น้นั ได้ 8

ได้ที่ ไดค้ วามสะอาด 3 เป็นระเบียบ การจัดการกับส่ิงของในบ้านท่ีไม่สามารถนำ�ไปใช้ซำ�้ และไม่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ เช่น โฟม ซองบะหม่ีสำ�เร็จรูป, หลอดไฟเสีย โดยการสง่ ตอ่ ใหเ้ จา้ หนา้ ทน่ี �ำ ไปฝงั กลบ กเ็ ปน็ อกี วธิ ที ชี่ ว่ ยท�ำ ใหบ้ า้ น สะอาดและเป็นระเบียบ ได้ที่ ได้สุขภาพ 4 การแยกขยะอันตรายนำ�ไปใส่ถุงท้ิง หรือทิ้งลงในถังขยะอันตรายทำ�ให้ลด ความเสยี่ งทข่ี ยะเหลา่ นน้ั จะปลอ่ ยสาร พิษภายในบา้ น ได้ท่ี ได้ลด เช่น แยกขยะอันตราย อย่างไมโครบีดส์หรือไมโคร ความเสี่ยง พลาสติกที่มักอยู่ในผลิตภัณฑ์ทำ�ความสะอาด ซง่ึ ตอ้ ง 5 กเตปอ่รื้ออในนงแสดหู่ร้วะลยบง่ถนบุงำ�บ้ซแำ�ักลบผะัด้าสนเง่ิพำ�แ้ ่ือวลไดดมลค่ใอ้ หวมา้ขมยเสะี่ยทงี่มทอี่จงะไไมป่เปหน็นเนป้ีปื้อนน สถานท่ีทิง้ นอกเหนอื จากที่เราสามารถทง้ิ ขยะอนั ตรายในถังขยะ ขยะอนั ตราย อนั ตรายทก่ี ำ�หนดแล้ว เรายังสามารถทิง้ ขยะอนั ตราย มที ีไ่ หนบา้ ง กบั รถขยะของ กทม. ทกุ วนั ที่ 1 และ 15 ของเดอื น หรอื น�ำ ไปทงิ้ ทส่ี �ำ นกั เขตทกี่ �ำ หนด สามารถตรวจสอบจดุ ทงิ้ ขยะใกลบ้ า้ นไดจ้ ากลงิ คข์ อ้ มลู นี้ http://infofile.pcd. go.th/haz/Drop_Off.pdf?CFID=1236633&CFTO- KEN=83992309 9

จัดการที่ตน้ ตอ ก่อนจะมาเปน็ ขยะ นอกเหนือจากการจัดการแยกขยะแล้ว เราควรคำ�นึงถึงการลดจำ�นวนขยะก่อน การท้ิงด้วยหลัก 5Rs ได้แก่ การลดการใช้ (Reduce) การซ่อมแซมและนำ�มาใช้ ใหม่ (Repair) การน�ำ มาใชซ้ �ำ ้ (Reuse) การรไี ซเคลิ (Recycle) และการหลกี เลยี่ ง การใช้วัสดุทีท่ ำ�ลายยาก (Reject) ลดการใช้ (Reduce) คอื การค�ำ นงึ ถงึ ความจ�ำ เปน็ ในการใช้ เลอื กใชส้ นิ คา้ ทม่ี อี ายกุ ารใชง้ านนานๆ และ รู้จักปฏิเสธสิ่งที่รู้ว่าจะต้องกลายเป็นขยะในไม่ช้า เพ่ือลดปริมาณขยะให้น้อยลง ดว้ ยวธิ กี ารดังนี้ ใช้ตะกร้าหรือถงุ ผ้าแทนการใช้ถงุ พลาสตกิ ใชแ้ กว้ สว่ นตวั แทนการใชแ้ กว้ ทใี่ ชค้ รง้ั เดยี วแลว้ ทงิ้ เปลย่ี นไปใชส้ ินคา้ ชนิดเตมิ (Refill) เลอื กสนิ คา้ ที่บรรจใุ นถุงมากกว่าบรรจุในขวด ใช้กลอ่ ง ปิ่นโตใส่อาหารตามรา้ นแทนการใช้โฟม ปฏเิ สธการใส่ถงุ พลาสติกตามรา้ นสะดวกซื้อ ลดการสรา้ งขยะเม่อื ไปท่องเทยี่ วตามแหลง่ ทอ่ งเที่ยวธรรมชาติ ลดการใชข้ ยะอันตราย หนั ไปใช้วิธีธรรมชาติ เช่น เปลือกส้มแห้งนำ�มาเผาไล่ยุง หรือใช้ผลมะนาว เพอ่ื ดบั กล่นิ ภายในห้องน�ำ้ 10

การซ่อมแซมและนำ�กลบั มาใช้ใหม่ (Repair) คือการซ่อมแซมสิง่ ของเพ่ือน�ำ กลบั มาใช้ไดด้ งั เดมิ เชน่ salt ซ่อมแซมเสื้อผา้ ไมต่ อ้ งทิ้ง ติดกาวซ่อมรองเทา้ แทนการซอ้ื ใหม่ sugar ซ่อมเคร่ืองใช้ไฟฟ้าให้กลับมาใช้ใหม่ ได้ honey น�ำ ไปใชซ้ ้ำ� (Reuse) คอื การใชท้ รพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ หรอื เมอื่ ตอ้ งเลอื กซอื้ สนิ คา้ สกั ชนิ้ ตอ้ งคดิ วา่ สนิ คา้ นนั้ สามารถใชไ้ ดม้ ากกว่าหนึ่งครั้งหรืออาจจะน�ำ ไปให้ผู้อื่นใชต้ อ่ ได้ เชน่ ถงุ พลาสตกิ ทไ่ี มเ่ ปรอะเปอ้ื นเกบ็ ไว้ กระดาษทุกชนิดใช้ให้ครบทั้งสอง ใช้ใส่ของอีกครั้งหนึ่งหรือใช้เป็นถุง หน้า ใสข่ ยะในบา้ น น�ำ กลอ่ งคกุ กท้ี หี่ มดแลว้ มาใชใ้ สข่ อง วัสดุแก้วทุกชนิดนำ�มาใช้ใส่เครื่อง แทนการซือ้ กลอ่ งใสข่ อง ปรงุ ในครวั ได้ สรา้ งสรรค์เป็นสง่ิ ใหม่ (Recycle) คอื การน�ำ สง่ิ ทถี่ กู ใชง้ านแล้ว หรือใชง้ านไมไ่ ด้แล้วมาแปรรปู เปน็ สิง่ ใหม่ เพอ่ื ใช้ประโยชน์ เชน่ ขวดนำ�้ พลาสติก ยางรถยนต์มาทำ� เส้ือเก่าดัดแปลงเป็นกระเปา๋ ผ้า กระถางปลูกตน้ ไม้ กระดาษน�ำ มาท�ำ ดอกไมป้ ลอม กนรำ�ะกปร๋อะงปนุกำ้�อนัดำ�้ ลมมาตเจัดาฝะาใรชูเ้เปป็น็นทแ่ีกใส้ว่ ขวดนำ�้ พลาสติก กระป๋องนำ�้ อัดลม เคร่ืองเทศในครัว ประดษิ ฐ์เปน็ ของเลน่ ให้ลูก แผงไขไ่ กน่ �ำ มาประยกุ ตเ์ ปน็ แผน่ กนั หลอดไฟไม่ใช้แล้วสร้างสรรค์เป็น เสยี งตดิ ผนังห้อง แจกนั ดอกไม้ 11

จัดพิมพแ์ ละเผยแพรโ่ ดย SOOK PUBLISHING เรยี บเรียงข้อมูลบางส่วนจาก หนังสอื อ่านประกอบการเรียนชุด “ความสุขของฉนั ใน วันสุขภาพดี” หน่วยที่ 6 : ลูกแก้วในกระป๋องสเปรย์ มหาภยั โดย ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพ แห่งชาติ สวทช. ขยะไมใ่ ชข่ ยะ ตอนระบบการจดั การขยะ โดย ส�ำ นกั งาน กองทุนสนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะ มลู ฝอย โดย ส�ำ นกั จดั การกากของเสยี และสารอนั ตราย กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม ปัญหาส่ิงแวดล้อมเนือ่ งจากขยะมลู ฝอย โดย กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ไมโครพลาสตกิ สงิ่ เลก็ ๆ ใกลต้ วั เรา กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำ�นักงาน เศรษฐกจิ อุตสาหกรรม ขยะย่ิงแยกยง่ิ ได้ โดยกรมประชาสัมพนั ธ์ การบริหารจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพสำ�หรับ สถานประกอบกจิ การ กรมควบคมุ มลพษิ สามารถสบื คน้ ข้อมลู และหนังสอื เพ่มิ เติมไดท้ ห่ี อ้ งสรา้ งปัญญา ศูนย์เรยี นรูส้ ุขภาวะ สำ�นักงานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) หรือดาวนโ์ หลดไดท้ ่ีแอปพลิเคชนั SOOK Library และ resource.thaihealth.or.th โทร. 02-343-1500 กด 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook