Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี ๒๕๕๔

รายงานประจำปี ๒๕๕๔

Published by Chalermkiat Deesom, 2015-10-29 03:41:52

Description: จัดทำโดย มหาวิทยาลัยบูร

Keywords: จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยบูรพา,มหาวิทยาลัยบูรพา,Buu archives

Search

Read the Text Version

Ã¾Ò ÒÇ·Ô ÂÒÅÂÑ ºÙBUR APHA UNIVERU ÁËรายงานประจำป SITY มหาวิทยาลัยบูรพาUBnuirvRAaeenprpnhsouaitraytl

สารบัญ หนา้ บทสรปุ สำ�หรับผู้บรหิ าร ๓ ประวัตมิ หาวทิ ยาลยั บรู พา ๔ ดษุ ฎบี ณั ฑติ กิตติมศกั ด ิ์ ๖ ศิษย์เก่าดเี ด่น ๘ บคุ ลากรดีเดน่ ๙ กจิ กรรมเด่น ๑๐ ผลงานทรพั ย์สนิ ทางปัญญา ๑๗ การบรหิ าร ๒๐ ๑. โครงสรา้ งการบรหิ ารมหาวิทยาลยั บรู พา ๒๑ ๒. โครงสรา้ งการแบง่ ส่วนงานมหาวทิ ยาลัยบรู พา ๒๒ ๓. สภามหาวิทยาลยั บรู พา ๒๓ ๔. สภาวิชาการมหาวิทยาลัยบรู พา ๒๙ ๕. คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลยั บรู พา ๒๙ ๖. คณะกรรมการส่งเสรมิ กิจการมหาวทิ ยาลยั บรู พา ๓๐ ๗. การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ๓๒ ๘. บญั ชงี บดลุ ๓๕ ๔๕ ผลงานตามพนั ธกจิ มหาวิทยาลยั ๔๖ ๑. การจัดการศึกษา ๕๑ ๒. การปรับปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ๕๗ ๓. การวจิ ยั ๖๑ ๔. การบรกิ ารวชิ าการแก่สงั คม ๖๖ ๕. การทำ�นบุ �ำ รุงศลิ ปะวัฒนธรรม ๖๗ ๖. การวิเทศสมั พันธ์ ๗๖ ๗. ความรว่ มมอื กับองคก์ รภายในประเทศ ๗๙ สถิติพ้ืนฐานมหาวิทยาลยั บูรพา ๙๕ ภาคผนวก 2 Burapha University Annual Report 2011

บทสรปุสำ�หรับผู้บริหาร ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยบูรพาได้ดำ�เนินกิจกรรมตามภารกิจหลักในด้านการให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการ และวชิ าชีพชนั้ สงู ท�ำ การสอน วิจัย ใหบ้ ริการวชิ าการแกส่ ังคม และทำ�นบุ ำ�รงุ ศิลปะวฒั นธรรม ตามกจิ กรรมโดยสรุปดังนี้ ดา้ นการบรหิ าร จดั แบง่ โครงสรา้ งการบรหิ ารงานออกเปน็ ดา้ นการบรกิ ารวิชาการแกส่ งั คม ให้บรกิ ารวชิ าการแก่๓ แหง่ คอื แหง่ ท่ี ๑ มหาวทิ ยาลยั บูรพา จงั หวดั ชลบุรี ประกอบ สงั คม ๔๕๐ โครงการ เปน็ เงนิ จ�ำ นวน ๒๐๕,๖๘๑,๙๐๘ บาท จ�ำ แนกดว้ ยสว่ นงาน ๑ ส�ำ นกั งานสภามหาวทิ ยาลยั ๑ ส�ำ นกั งานอธกิ ารบดี เปน็ โครงการทไ่ี ดร้ บั เงนิ อดุ หนนุ รฐั บาล รอ้ ยละ ๑๑.๓๓ เงนิ รายได้๑๗ คณะ ๔ วทิ ยาลยั ๓ ส�ำ นกั และ ๒ สถาบนั แหง่ ท่ี ๒ คอื วทิ ยาเขต มหาวทิ ยาลยั รอ้ ยละ ๒๘.๒๒ และจากแหลง่ ทนุ อนื่ รอ้ ยละ ๖­ ๐.๔๔จนั ทบรุ ี จงั หวัดจนั ทบรุ ี ประกอบดว้ ยสว่ นงาน ๓ คณะ และแห่งที่ บุคลากรเปน็ วทิ ยากรและบรรยายพเิ ศษ จ�ำ นวน ๕๙๖ ครั้ง เขยี น๓ คือ วทิ ยาเขตสระแกว้ จังหวัดสระแก้ว ประกอบด้วย สว่ นงาน บทความเผยแพรท่ างสิง่ พิมพ์ ๒๒๓ บทความเผยแพร่วิชาการทาง๒ คณะ ในด้านงบประมาณ มหาวทิ ยาลัยได้รับเงินอดุ หนุนรฐั บาล วทิ ยกุ ระจายเสยี ง และทางอนิ เทอรเ์ นต็ ๕๔๐ เรอ่ื ง และการบรกิ ารจำ�นวน ๑,๒๑๐,๔๐๘,๘๐๐ บาท และเงินรายได้มหาวิทยาลัย ทางการแพทย์ ผู้ปว่ ยนอก ๑๙๒,๕๔๐ ราย และผูป้ ่วยใน ๔,๓๗๘จำ�นวน ๒,๕๒๒,๙๐๗,๗๐๐ บาท ด้านบุคลากร มีจำ�นวน ราย๒,๘๘๙ คน จำ�แนกเปน็ คณาจารย์ รอ้ ยละ ๔๔.๕๑ สายสนบั สนนุ ด้านการทำ�นุบำ�รุงศิลปะวัฒนธรรม ดำ�เนินกิจกรรมวิชาการ ร้อยละ ๔๕.๗๓ และประเภทลกู จ้าง รอ้ ยละ ๙.๗๖ จำ�นวน ๒๖๑ โครงการ งบประมาณสนับสนุน ๑๐,๕๖๐,๕๘๐ ด้านการจัดการศึกษา ภาคปกติ เปิดหลักสูตร บาท สว่ นใหญเ่ ปน็ โครงการทไ่ี ดร้ บั ทนุ จากแหลง่ เงนิ รายได้ รอ้ ยละ๘๐ หลักสูตร ๒๐๒ สาขาวิชา ภาคพิเศษ ๕๙ หลักสูตร ๗๔.๓๓ รองลงมาเป็นทุนจากแหล่งทุนอ่ืน ร้อยละ ๑๖.๘๖ และ ๑๕๕ สาขาวิชา จัดการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติระดับ เงินอุดหนนุ จากรฐั บาล ร้อยละ ๘.๘๑ปรญิ ญาตรี ภาคปกติ ๓ หลกั สตู ร ๔ สาขาวชิ า และหลกั สตู รระดบั ดา้ นการวเิ ทศสมั พนั ธ์ ตกลงความรว่ มมือทางวิชาการบณั ฑติ ศกึ ษา ภาคปกติ ๔ หลกั สตู ร ๔ สาขาวชิ า หลกั สตู รภาคพเิ ศษ กบั สถาบนั การศกึ ษาตา่ งประเทศ ๕๒ สถาบนั ๑๗ ประเทศ ด�ำ เนนิ๔ หลักสตู ร ๔ สาขาวิชา จ�ำ นวนนิสิตท้งั หมด ๔๓,๗๖๔ คน ระดับ กจิ กรรมทางวชิ าการโครงการพฒั นาผ่านสำ�นกั งานเพื่อการพัฒนาปรญิ ญาตรี ร้อยละ ๘๑.๒๔ ระดบั ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ รอ้ ยละ ระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ (สพร.) จำ�นวน ๐.๑๒ ระดับปริญญาโท ร้อยละ ๑๖.๑๙ และระดับปริญญาเอก ๑๐ โครงการ โครงการแลกเปลยี่ นนสิ ติ และบคุ ลากรของสถาบนั ไทยร้อยละ ๒.๔๕ รบั นิสติ เข้าใหม่ จำ�นวน ๑๔,๐๒๐ คน จ�ำ แนกเปน็ กบั ตา่ งประเทศ (University Mobility in Asia and the Pacific :ระดับปริญญาตรี ร้อยละ ๒๖.๑๖ ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต UMAP) จำ�นวน ๓ โครงการ โครงการ GMS โครงการแลกเปลี่ยนรอ้ ยละ ๐.๐๗ ระดบั ปรญิ ญาโท รอ้ ยละ ๕.๒๑ และระดบั ปรญิ ญาเอก บุคลากรและนิสิตกับประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง จำ�นวน รอ้ ยละ ๐.๕๙ ๓ โครงการ โครงการแลกเปลยี่ นนสิ ติ และบคุ ลากรของสถาบนั ไทย ด้านการปรบั ปรงุ คุณภาพการศึกษา บุคลากรลาศกึ ษา กบั ตา่ งประเทศ จ�ำ นวน ๒ โครงการ โครงการเครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยัตอ่ ภายในประเทศ รอ้ ยละ ๗๘.๒๖ ต่างประเทศ ร้อยละ ๒๑.๗๔ อาเซยี น (ASEAN University Network : AUN) จ�ำ นวน ๓ โครงการ และศึกษาดูงาน อบรม สัมมนาภายในประเทศ ร้อยละ ๘๑.๒๖ โครงการความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศอื่นๆ จำ�นวน ต่างประเทศ ร้อยละ ๑๘.๗๔ บุคลากรเขียนตำ�รา หรือเอกสาร ๓๘ โครงการ และโครงการแลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรม จำ�นวน ประกอบการเรียนการสอน จำ�นวน ๓๐ เร่ือง และผลิตส่ือและ ๑๓ โครงการพัฒนาส่ือเพอ่ื การศึกษา จำ�นวน ๑๔๘ เรือ่ ง ด้านความร่วมมือกับส่วนราชการและองค์กรเอกชน ด้านการวิจัย ทำ�วิจัย ๖๔๖ โครงการ ใช้งบประมาณ ภายในประเทศ ได้ทำ�ความตกลงความร่วมมือด้านต่างๆ เช่น ๑๗๕,๙๔๕,๒๗๓ บาท จำ�แนกเป็นโครงการวิจัยจากเงินอุดหนุน ความรว่ มมือทางวิชาการ การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาหลกั สูตรรัฐบาล ร้อยละ ๑๔.๒๔ โครงการวิจัยเงินรายได้มหาวิทยาลัย การสอน การวจิ ยั รว่ ม และอน่ื ๆ กบั สว่ นราชการและองคก์ รเอกชนรอ้ ยละ ๒๙.๘๘ โครงการวิจัยเงินทนุ อ่ืน ๆ ร้อยละ ๕๒.๓๒ และ ภายในประเทศ จำ�นวน ๒๙ โครงการโครงการวิจยั ทีท่ ำ�ร่วมกับองค์กร หรือหน่วยงานอน่ื รอ้ ยละ ๓.๕๖มผี ลงานวจิ ยั ไดร้ บั การตพี มิ พใ์ นวารสารทางวชิ าการระดบั ชาติ ๑๕๐ มหาวทิ ยาลัยบูรพา 3เร่ือง ระดับนานาชาติ ๙๔ เร่ือง และนำ�ผลงานวิจัยนำ�เสนอในที่ รายงานประจ�ำ ปี 2554ประชมุ ระดับชาติ ๑๓๗ เร่อื ง ระดับนานาชาติ ๑๓๐ เรื่อง

ประวตั ิมหาวิทยาลัยบูรพา มหาวทิ ยาลยั บรู พาตง้ั อยใู่ นเขตภาคตะวนั ออก ณ เลขท่ี ๑๖๙ ถนนลงหาดบางแสนต�ำ บลแสนสขุ อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี มพี น้ื ทีท่ ัง้ สิ้น ๖๔๗ ไร่ ๒ งาน ๑ ตารางวา ความเปน็ มากอ่ นทจ่ี ะมาเปน็ มหาวทิ ยาลยั บรู พา เรม่ิ ใน เม่ือวันท่ี ๒๗ มิถุนายน ๒๕๑๗ ดังน้ัน วิทยาลัยวิชาการศึกษา ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้จัดตั้งโรงเรียนฝกึ หัดครู บางแสน จงึ เปน็ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ วทิ ยาเขตบางแสนช้ันสูงข้ึนที่ซอยประสานมิตร อำ�เภอพระโขนง จังหวัดพระนคร ตง้ั แต่นน้ั และได้เพ่มิ สาขาวชิ าในการผลติ บัณฑติ มากขนึ้ มกี ารจนถึงปี พ.ศ. ๒๔๙๗ จึงได้รับการยกฐานะข้ึนเป็น “วิทยาลัย พฒั นากจิ กรรมตามภารกจิ เจรญิ รดุ หนา้ ตามล�ำ ดบั จนกระทง่ั วนั ท่ีวชิ าการศกึ ษา ประสานมิตร” ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ได้ขยาย ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ จึงยกฐานะเปน็ มหาวทิ ยาลัยบูรพาวทิ ยาเขตออกไปอกี ๒ แหง่ ไดแ้ ก่ วทิ ยาลยั วชิ าการศกึ ษาปทมุ วนั สิ้นสภาพการเป็นวิทยาเขตตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยและวทิ ยาลยั วชิ าการศกึ ษาบางแสน ในสว่ นของวทิ ยาลยั วชิ าการ บรู พา พ.ศ. ๒๕๓๓ ซงึ่ ไดป้ ระกาศใชใ้ นหนงั สอื ราชกจิ จานเุ บกษาศึกษาบางแสนได้มีการวางศิลาฤกษ์ ในวันท่ี ๘ กรกฎาคม เลม่ ท่ี ๑๐๗ ตอนที่ ๑๓๑๒๔๙๘ ทต่ี �ำ บลแสนสุข อำ�เภอเมือง จงั หวัดชลบุรี นับแต่นั้นมา ตลอดเวลาท่ีผ่านมามหาวิทยาลัยบูรพา ได้ตอบสนองจงึ ยดึ ถอื เอาวนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ของทกุ ปเี ปน็ วนั คลา้ ยวนั สถาปนา หลักการที่ว่าการศึกษาน้ันประชาชนทุกคนต้องเข้าถึงอย่างมหาวทิ ยาลยั เรยี กวา่ วัน “แปดกรกฎ” วิทยาลัยวิชาการศึกษา เท่าเทียมและท่ัวถึง จึงได้ขยายวิทยาเขตออกไป ๒ แห่ง คือบางแสน จึงเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศที่ได้ เมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๘ ตั้งวิทยาเขตสารสนเทศจัดต้ังขึ้นในส่วนภูมิภาค สังกัดกรมการฝึกหัดครู กระทรวง จันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ตามมติคณะรัฐมนตรีข้ึนเป็นแห่งแรกศึกษาธิการ โดยเปิดสอนหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) เปิดการเรียนการสอน ในปีการศึกษา ๒๕๓๙ และในปีต่อมา หลกั สูตร ๔ ปี วนั ที่ ๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ จดั ตง้ั วทิ ยาเขตสารสนเทศสระแกว้ ต่อมาเม่ือวันท่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ วิทยาลัย จังหวัดสระแก้ว ขึ้นเป็นแห่งที่ ๒ เริ่มเปิดการเรียนการสอนวชิ าการศกึ ษาบางแสนไดร้ บั โอน “โรงเรยี นพบิ ลู บ�ำ เพญ็ ” สงั กดั ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๑ ภายหลงั ไดม้ กี ารประกาศของมหาวทิ ยาลยักรมสามญั ศกึ ษา ซึ่งตั้งอยู่ท่ีตำ�บลแสนสขุ อำ�เภอเมือง จังหวัด ใช้ชือ่ ว่า วิทยาเขตจนั ทบรุ ี และวิทยาเขตสระแก้วชลบุรี เพื่อปรับปรุงให้เป็นโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยได้มีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำ�คัญ ในวันโดยตง้ั ชอ่ื ใหมว่ า่ โรงเรยี นสาธติ “พบิ ลู บ�ำ เพญ็ ” วทิ ยาลยั วชิ าการ ที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยการเปล่ียนสถานภาพจากศึกษาบางแสน มหาวทิ ยาลยั สว่ นราชการ เปน็ มหาวทิ ยาลยั ในการก�ำ กบั ของรฐั พ.ศ. ๒๕๐๑ มีผ้สู ำ�เร็จการศึกษาเป็นร่นุ แรก จำ�นวน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ๒๕๕๐ และได้๓๕ คน หลงั จากนน้ั ในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ไดเ้ ปดิ รบั บคุ คลทม่ี วี ฒุ ิ ป.ม. ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๒๕ ตอนที่ ๕ ก ในวันที่หรอื พ.ม. หรอื อ.กศ. หรอื ป.กศ.สงู หรอื เทยี บเทา่ เขา้ ศกึ ษาเปน็ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑นสิ ติ ภาคสมทบหลกั สตู ร การศกึ ษาบณั ฑติ (กศ.บ.) และในปี มหาวิทยาลัยบูรพามีความมุ่งม่ันในปณิธาน ปรัชญาพ.ศ. ๒๕๑๔ ได้รับโอนอาคารเรียน ที่ดินและสิ่งก่อสร้างของ ภารกิจหลกั วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และเปา้ หมายของมหาวิทยาลัยวทิ ยาลยั บางแสน สงั กดั กรมสามญั ศกึ ษาใหม้ าเปน็ ของวทิ ยาลยั บูรพาที่ชดั เจน จงึ เป็นแรงผลกั ดนั ให้มหาวทิ ยาลัยมีความพรอ้ มวิชาการศกึ ษาบางแสน สงั กดั กรมการฝึกหดั ครู ท่ีจะก้าวไกลไปข้างหน้าอย่างมั่นใจ เพื่อสู่ความเป็นเลิศทาง ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ วิทยาลัยวิชาการศึกษาได้เปลี่ยน วิชาการที่ตอบสนองต่อความต้องการกำ�ลังคนในระดับคุณภาพฐานะเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตามพระราชบัญญัติ ของประเทศไทยในปจั จบุ ันและอนาคตมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ยา้ ยมาสงั กดั ทบวงมหาวทิ ยาลยั

สญั ลกั ษณ์ สีประจ�ำ มหาวิทยาลยั คอื สีเทา - ทอง หมายถึง ความเจริญทางของมหาวิทยาลัยบูรพา สีประจ�ำ มหาวิทยาลยั สติปัญญา สีเทาเปน็ สีของสมอง หมายถึง คุณธรรม หมายความวา่ บัณฑติ สที อง จากมหาวิทยาลัยบูรพา สเี ทา - ทอง เปน็ ผกู้ อปรดว้ ยสตปิ ญั ญา และคณุ ธรรม ตน้ ไม้ประจำ�มหาวทิ ยาลัย ต้นมะพรา้ วแบบที่ ๑ แบบท่ี ๒ วนั สถาปนามหาวิทยาลัย ๘ กรกฎาคม (แปดกรกฎ)ตรา เครื่องหมาย หรือสญั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลยั บรู พา ปรัชญาแบบที่ ๑ เปน็ วงกลมซอ้ นกนั สองวง วงกลมในมรี ปู เลขไทย “๙” สรา้ งเสรมิ ปัญญา ใฝห่ าความรูค้ ู่คณุ ธรรม ชน้ี ำ�สงั คม อยตู่ รงกลาง ลอ้ มรอบดว้ ยกนกเปลวเพลงิ ดา้ นบนมรี ศั มี ประกอบแปดแฉก ดา้ นลา่ งของเลข ๙ เปน็ เสน้ โคง้ สาม ค�ำ ขวัญ เสน้ วงกลมนอกเบอื้ งบนมคี �ำ วา่ “สโุ ข ปญญฺ าปฏลิ าโภ” เบ้ืองล่างมคี �ำ วา่ “มหาวทิ ยาลัยบรู พา” ความไดป้ ญั ญาให้เกิดสุขแบบที่ ๒ เปน็ วงกลมซอ้ นกนั สองวง วงกลมในมรี ปู เลขไทย “๙” ภารกิจหลัก อยู่ตรงกลาง ล้อมรอบด้วยกนกเปลวเพลิงด้านบนมี รศั มปี ระกอบแปดแฉก ดา้ นลา่ งของเลข ๙ เปน็ เสน้ โคง้ มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันการศึกษาวิจัย มีวัตถุประสงค์ สามเส้น วงกลมนอกเบื้องบนมีคำ�ว่า “มหาวิทยาลัย ให้การศึกษาดำ�เนินการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อสร้างและพัฒนา บรู พา” เบอื้ งลา่ งมคี �ำ วา่ “BURAPHA UNIVERSITY” องคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยี ใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการ ทะนบุ �ำ รงุ ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และการกฬี า รวมทง้ั การสนบั สนนุ กจิ กรรมของรฐั และทอ้ งถน่ิ และการมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาชมุ ชนและสง่ิ แวดลอ้ มความหมายของตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ของ วสิ ยั ทศั น์มหาวิทยาลยั บรู พา สรา้ งคนคณุ ภาพ สรา้ งปญั ญาใหแ้ ผน่ ดนิ ดว้ ยคณุ ภาพการ ๑. ตราเปน็ รปู ทรงกลม ลอ้ มรอบดว้ ยชอื่ มหาวทิ ยาลยั และ ศกึ ษาระดบั สากล เพอ่ื น�ำ พาสงั คมไทยสสู่ งั คมอดุ มปญั ญาทเี่ ขม้ แขง็ พทุ ธศาสนสภุ าษติ ประจ�ำ มหาวทิ ยาลยั วา่ “สโุ ข ปญญฺ า อย่างย่งั ยนื ปฏิลาโภ” มีความหมายว่า ความได้ปัญญาให้เกดิ สุข พันธกิจ ๒. ตรงกลางเป็นรูปเลขไทย “๙” หมายถึง รัชสมัยของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รชั กาลปจั จบุ ัน ๑. สร้างความรู้ปัญญาและบริหารจัดการให้เกิดคุณค่าต่อการ พฒั นาสังคม ๓. มกี นกเปลวเพลงิ ลอ้ มรอบ หมายถงึ ความรงุ่ โรจนแ์ ละ ความรุ่งเรือง ๒. จัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพในระดับสากล สร้างบัณฑิตให้มี คุณธรรม เช่ยี วชาญในศาสตรเ์ ปน็ ผ้นู �ำ ทม่ี ีทักษะสากล ๔. รัศมีประกอบมี ๘ แฉก หมายถึง จังหวัดในภาค ตะวันออก ๘ จังหวัด และฐานเดิมท้ัง ๘ วิทยาเขต ๓. บริการวิชาการสู่สังคม ร่วมสร้างสังคมอุดมปัญญาท่ีพ่ึง ของมหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ตนเองส่งเสริม สนับสนุนและธำ�รงไว้ซึ่งศิลปะวัฒนธรรมและ ความเปน็ ไทย ๕. ด้านล่างเป็นเส้นโค้ง หมายถึง ความเคลื่อนไหวและ การพัฒนาไมม่ ที ีส่ ้นิ สดุ ๔. พัฒนามหาวิทยาลัยให้เข้มแข็ง มีระบบบริหารจัดการที่มี ประสิทธภิ าพสงู และพ่งึ ตนเองได้ปณิธานมหาวิทยาลยั บูรพา เป้าประสงค์ ๑. ผลติ บณั ฑติ ให้มีปัญญา ใฝ่หาความรู้ และคณุ ธรรม ๒. สรา้ งองคค์ วามร้ใู หม่ เพ่อื ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ ๑. มหาวิทยาลัยเป็นอุดมศึกษาชั้นนำ�ท่ีเป็นเลิศด้านการผลิต ๓. เปน็ ทพี่ ง่ึ ทางวชิ าการ สบื สานวฒั นธรรม ชน้ี �ำ แนวทาง บัณฑิต และการวิจัย และมีผลงานโดดเด่นในระดับประเทศการพัฒนาแกส่ งั คม โดยเฉพาะภาคตะวนั ออก และระดบั นานาชาติ ๒. มหาวทิ ยาลยั เปน็ คลงั ความรู้ และแหลง่ อา้ งองิ ทางวชิ าการของ 5นป�ำรพะเาทสศังคแมลสะู่สระังรคดามบัยอนงมดุาานหมนปาปาวรชัญิทะาจญยต�ำาิปาลเปีัย2น็บ5ทรู 5พพ่ี 4งึ่าทางวชิ าการของสงั คม

ปรญิ ญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยมติเอกฉันท์ของสภามหาวิทยาลัยบรู พาได้มอบปริญญาดุษฎบี ณั ฑิตกิตติมศักดใิ์ หก้ ับผูท้ มี่ ผี ลงานอันเป็นคุณปู การต่อวชิ าการดา้ นตา่ งๆ เพือ่ เปน็ เกยี รตปิ ระวตั ิสบื ไป ดงั ต่อไปนี้ ๑. ศาสตราจารย์ ดร. ยูน คิม Provost for International Education ทง้ั Accademia di Belle Arti di Roma, สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขา and Cooperation, มหาวิทยาลัย Italy, Dip. Decaragiane L’ จากประเทศสังคมวิทยา ภาควิชาสังคมวิทยาและ ฟาร์อิสต์ สาธารณรัฐเกาหลี ต้ังแต่ปี อติ าลี ปจั จบุ นั ด�ำ รงต�ำ แหนง่ ศาสตราจารย์ประชากรศาสตร์ จาก Department of พ.ศ. ๒๕๕๒ หลังเกษียณอายุราชการ ประจ�ำ ภาควิชาศลิ ปะไทย คณะจิตรกรรมSociology and Population Studies ได้รับการแต่งต้ังให้เป็นศาสตราจารย์ ประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยัCenter, University of Pennsylvania, เกียรติคุณประจำ�ภาควิชาสังคมวิทยา ศลิ ปากร สภามหาวทิ ยาลยั บรู พามมี ตเิ ปน็Philadelphia, Pennsylvania, U.S.A ณ Utah State University, Utah, เอกฉันท์มอบปริญญาศิลปกรรมศาสตรระดับปริญญาเอกจาก Department of Logan, U.S.A. นักวิจัยอาวุโสของ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาทัศนDemography, Institute of Advanced ศูนย์พัฒนาช่วยเหลือประชากรศาสตร์ ศลิ ป์ ไว้เพ่ือเปน็ เกยี รติประวตั สิ บื ไปStudies, The Australian National ณ Hong Kong University of Science ๓. ศาสตราจารย์ ดร. อูยีนUniversity, Canberra, ประกาศนยี บัตร and Technology, Clear Water Bay, พี. ชีแฮน สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาด้านประชากรศาสตร์จากสถาบันวิจัย Kowloon Hong Kong ต้ังแต่ปี พ.ศ. ตรี สาขา Psychology จาก Universityช้ันนำ�หลายแห่งอาทิ United nations ๒๕๕๐ สภามหาวิทยาลัยบูรพามีมติเป็น of Dublin Trinity College ประเทศDemographic Training and Research เอกฉนั ทม์ อบปรญิ ญาปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ Ireland ในปี ค.ศ. ๑๙๗๖ ระดบั ปริญญาCentre, Bombay, India. Office of กิตติมศักด์ิ สาขาวิชาการจัดการ ไว้เพ่ือ โท ๒ สาขา คือ สาขา Occupationalpopulation Research, Princeton เป็นเกยี รตปิ ระวัติสืบไป Psychology ในปี ค.ศ. 1979 จากUniversity, Princeton, New Jersey, ๒ . ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ป รี ช า The Queen’s University of Belfast,U.S.A. Completed the Summer เ ถ า ท อ ง สำ � เร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ศิ ล ป Northern Ireland และในปี ค.ศ. ๑๙๘๐Institute Program, Survey Research บณั ฑติ สาขาจติ รกรรม (เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั สาขา Experimental Psychology จากCenter, Institute for Social Research, ๒) และศลิ ปมหาบณั ฑติ สาขาจิตรกรรม University of Dublin Trinity College,University of Michigan, Ann Arbor, คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพ Ireland ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขา SocialMichigan, U.S.A. ปจั จบุ นั ด�ำ รงต�ำ แหนง่ พิมพ์ จากมหาวิทยาลัยศิลปากร รวม Psychology & Personality Theory จากEndowed Chair Professor and Vice6 Burapha University Annual Report 2011

University of California, Santa Cruz สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ไว้เพ่ือเป็น ในสถาบันการศึกษาหลายสถาบันท้ังในประเทศสหรฐั อเมริกา ในปี ค.ศ. ๑๙๘๘ เกยี รติประวัตสิ บื ไป และตา่ งประเทศ เชน่ ประเทศสาธารณรฐัปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่ง คณบดีวิทยาลัย ๕ . มิ ส เ ต อ ร์ โ ม ริ ฮิ โ ก ะ ประชาชนจนี ปจั จบุ นั เปน็ อดตี ผวู้ า่ ราชการการศกึ ษาและพฤตกิ รรมศาสตร์ (Dean, ฮิรามัตสึ สำ�เร็จการศึกษาจากคณะ จังหวัดโออิตะ ประเทศญี่ปุ่น และเป็นCollege of Education and Behavioral นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียว เคย ประธานคณะกรรมการสง่ เสรมิ OVOP 21Sciences) สภามหาวิทยาลยั บรู พามมี ติ ดำ�รงตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการ กรมกอง ของจงั หวดั โออติ ะ สภามหาวทิ ยาลยั บรู พาเป็นเอกฉันท์มอบปริญญาปรัชญาดุษฎี ต่าง ๆ ในสำ�นักการประกอบการ มีมติเป็นเอกฉันท์มอบปริญญาปรัชญาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการบริหาร สำ�นักเหมืองแร่ สำ�นักการส่งเสริมการ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการการศกึ ษา ไว้เพื่อเปน็ เกียรตปิ ระวตั สิ บื ไป พาณิชย์ สำ�นักอุตสาหกรรมหนัก สำ�นัก จดั การสาธารณะ ไวเ้ พอ่ื เปน็ เกยี รตปิ ระวตั ิ ๔ . น า ย คุ ณ วุ ฒิ ม ง ค ล อุตสาหกรรมพื้นฐาน แห่งกระทรวงการ สบื ไปประจักษ์ สำ�เร็จการศึกษาปริญญา ค้าและอุตสาหกรรมนานาชาติ ประเทศศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาพัฒนาชุมชน ญี่ปุ่น ต่อมาดำ�รงตำ�แหน่งรองผู้อำ�นวยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และ การส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารรฐั มนตรกี ระทรวงได้รับปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต ทด่ี นิ แหง่ ชาตญิ ป่ี นุ่ รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั กิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ โออิตะ และผู้ว่าราชการจังหวัดโออิตะ สงขลา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ – ๒๕๓๒ ตามลำ�ดับ เคยเป็นประธานคณะดำ � ร ง ตำ � แ ห น่ ง ร อ ง น า ย ก เ ท ศ ม น ต รี กรรมการและสหพันธ์หลายแห่ง เช่นเมืองเบตง ฝ่ายการศึกษา และตั้งแต่ คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมการปี พ.ศ. ๒๕๓๒ จนถึงปัจจุบันดำ�รง ท่าเรือแห่งชาติ คณะกรรมการส่งเสริมตำ�แหน่งนายกเทศมนตรี เมอื งเบตง สภา การก่อสร้างทางด่วนแห่งชาติ เป็นต้น มหาวิทยาลัยบูรพามีมติเป็นเอกฉันท์ น อ ก จ า ก นั้ น ยั ง เ ป็ น ศ า ส ต ร า จ า ร ย์มอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ กิตติมศักด์ิ และศาสตราจารย์เกียรติคุณ มหาวิทยาลัยบรู พา 7 รายงานประจ�ำ ปี 2554

ศษิ ย์เกา่ดีเด่น การผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัยเพ่ือพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า ทำ�ประโยชน์ให้สังคมเป็นภารกิจท่ีสำ�คัญย่ิง จากอดีตที่ผ่านมาบัณฑิตท่ีเป็นศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัย ได้ทำ�หน้าท่ีดังกล่าวในฐานะผู้มีความพร้อมในดา้ นความรแู้ ละความสามารถ จนสรา้ งชอื่ เสยี งใหก้ บั ตนเอง และสถาบนั จนเปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ จงึ ไดร้ บั เกยี รตยิ กยอ่ งเปน็ศิษยเ์ กา่ ดเี ด่นของมหาวิทยาลัย ในปี ๒๕๕๔ มศี ษิ ยเ์ ก่าที่ไดร้ บั รางวัลศษิ ยเ์ ก่าดีเด่น จำ�นวน ๑๖ คน ดังตอ่ ไปน้ี รองศาสตราจารยว์ นั เนาว์ ยเู ดน็ นางสาวสุภาวดี วงศส์ กลุ รนุ่ ๒ ศรอนงค์ รุ่น ๒๐ นกนางนวล ขา้ ราชการบ�ำ นาญ นกั เขียนอสิ ระ ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นสวนกุหลาบวิทยาลัยรงั สติ จงั หวดั ปทมุ ธานี ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยด์ ารณี  ภุมวรรณ รองศาตราจารย์ ดร.วรวุฒิ โรมรตั นพันธ์ รุ่น ๘  สิงหผ์ ยอง รุ่น ๒๑ กรกฎ ขา้ ราชการบ�ำ นาญ อุปนายกสมาคม ผู้อำ�นวยการโครงการหลกั สตู รพัฒนาชมุ ชน ศษิ ย์เกา่ มหาวิทยาลยั บูรพา มหาบณั ฑติ ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์พัทยา รองศาสตราจารย์บุหงา วชิระศักดิม์ งคล นายชูฤทธิ์ จิตวีระ รุ่น ๑๓  เอราวณั รนุ่ ๒๓ ฉทั ทนั ต์ รองศาสตราจารย์ สาขาจิตวิทยา ผ้จู ัดการส่วนสรา้ งสรรคแ์ ละผลิตสือ่   การแนะแนว คณะศกึ ษาศาสตร์ ฝา่ ยสือ่ สารองคก์ ร บริษทั ปตท.จำ�กดั (มหาชน) มหาวิทยาลัยนเรศวร ศาสตราจารย์ ดร.ทรงศกั ด์ ิ เพ็ชรมติ ร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อษุ าวดี ตนั ติวรานรุ ักษ์ รนุ่ ๑๔ กระทงิ ด�ำ รุ่น ๒๕  ตฤณสีห์ หัวหน้าภาควิชาชีวโมเลกุลและพนั ธศุ าสตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ เขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตรอ้ น     มหาวิทยาลัยบรู พา มหาวทิ ยาลยั มหิดล ร อ้ รยนุ่ โท๑๕ส ม เมหา่าตไฟร อ่อนวงศ์ ด รร.ุ่นบรู๒พ๖า ทมศิ ฤคพมลาอศยสวุ รรณ์ ประธานภูมภิ าคท่ี ๒ ไลออนส์สากล อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภฏั ภาค ๓๑๐ บี ประเทศไทย พระนครศรอี ยุธยา น ราุ่นยส๑ม๖พ งพษิร์ มาบะใขบาว น ราุ่นงเว๓ธ๑ก านกเคลศิ่นววรชิ ิต ผอู้ �ำ นวยการโรงเรียนปราจณิ ราษฎรอำ�รุง ผ้อู ำ�นวยการศนู ยว์ ิจยั คลินิก จงั หวัดปราจีนบรุ ี คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา น รานุ่ยว๑ชั ๗ริน ทหงรส์ เข์จารวญิ เผ่า น ราุน่งป๔ัท๖ม าส คัตณุ ตนสลิบื บพศุ งยษ์ ์พนั ธ์ ผอู้ �ำ นวยการกลุม่ พัฒนาระบบบรหิ าร   ผอู้ �ำ นวยการโรงเรียนพงษส์ ริ ิวทิ ยาชลบุรี ส�ำ นักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคม อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวัดชลบรุ ี และความมัน่ คงของมนุษย์ รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร ฝอยพิกุล นายวิเชียร สคุ นธประทปี รุ่น ๑๙  จามรี ร่นุ ๕๓  นาคินบดินทร์ขจรกติ ต์ คณบดีบัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั นายกเทศมนตรีตำ�บลท่าเกษม ราชภฏั นครราชสีมา อ.เมอื ง จ.สระแก้ว8 Burapha University Annual Report 2011

บคุ ลากรดีเด่น ในปงี บประมาณ ๒๕๕๔ มหาวทิ ยาลยั บรู พามบี คุ ลากรทไ่ี ดส้ รา้ งประโยชนต์ อ่ สงั คมจนเปน็ ทย่ี อมรบั จากสงั คมภายนอกและภายในมหาวทิ ยาลยั ในหลายๆ ดา้ น เชน่ การบรกิ ารวชิ าการการชว่ ยเหลอื สงั คม การครองตนในฐานะเปน็ ประชาสงั คมเปน็ ทป่ี ระจกั ษใ์ นความดแี กส่ งั คม จนไดร้ ับรางวัล เพือ่ เป็นการประกาศเกยี รติคุณในคุณความดีเป็นเกยี รตปิ ระวัติสืบไป ดังน้ี ๑. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยพ์ ชั นี นนทศักด ์ิ คณะการจดั การ ๘. รองศาสตราจารย์ ดร.สุรสิงห์ ไชยคุณและการทอ่ งเทย่ี ว ไดร้ บั รางวลั รตั นบรู พา สาขาการบรกิ ารวชิ าการ คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิจัย ประจำ�ปีประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ จากมหาวิทยาลยั บูรพา ๒๕๕๔ จากคณะวิทยาศาสตร์ ๒. ศาตราจารย์ นายแพทย์ศาสตรี เสาวคนธ์ ๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กันทิมา สุวรรณพงศ์ คณะการแพทยแ์ ผนไทยอภัยภูเบศร ได้รับรางวลั คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิจัย ประจำ�ปี ๒.๑ รางวัลเกียรติยศในฐานะผู้ทำ�การบุกเบิก ๒๕๕๔ จากคณะวิทยาศาสตร์งานวิจัยและการควบคุมโรคพยาธิใบไม้ในประเทศไทย ในการ ๑๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งนภา แซ่เอ็งประชุมนานาชาติ ๒๕๕๔ International Congress of liver คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิจัย ประจำ�ปีFluke ณ จังหวัดขอนแก่น ๒๕๕๔ จากคณะวทิ ยาศาสตร์ ๒.๒ โล่เกียรติคุณในฐานะอาจารย์แพทย์ ๑๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุบลลักษณ์ รัตนศักด์ิ ของคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ประพฤติดีเด่นในเชิง คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิจัย ประจำ�ปีคุณภาพ จริยธรรม ประจำ�ปี ๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยบูรพา จาก ๒๕๕๔ จากคณะวทิ ยาศาสตร ์แพทยสภา ๑๒. ดร.ธนิดา จลุ วนชิ พงษ์ คณะวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา ๒.๓ ประกาศเกียรติคุณในฐานะบุคคล ได้รับรางวัลอันดับ ๑ อาจารย์ที่มีผลงานและการวิจัยผ้เู ป็นต้นแบบท่ดี ีของเยาวชนจากเครือข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพ ประเภทงานวิจัยเดี่ยว (๒๕๕๑-๒๕๕๓) จากมหาวิทยาลัย(Youth for next step) จากเครอื ข่ายเยาวชนพัฒนาศักยภาพ ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ๓. ศาสตราจารย์ธวัช ปุณโณทก คณะมนุษยศาสตร์ ๑๓. ดร.อาณัติ ดีพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้รับและสังคมศาสตร์ ไดร้ ับรางวัลปชู นยี บุคคลแหง่ ชาตทิ างดา้ นภาษา รางวัลเกียรติยศ “บุคคลตัวอย่างแห่งปี” ประจำ�ปี ๒๕๕๔ สาขาไทย จากกระทรวงวัฒนธรรม บริหารการศกึ ษา จาก ฯพณฯ นายอำ�พล เสนาณรงค์ องคมนตรี ๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกรียงศักดิ์ พราหมณพันธุ์ ซ่ึงเป็นหน่ึงกิจกรรมในโครงการหนึ่งล้านกล้าความดีถวายในหลวงและนายพีรพัฒน์ ม่ังคั่ง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จัดโดยนติ ยสารเส้นทางไทย และมลู นิธเิ พื่อสงั คมไทย ได้รับรางวัลบุคคลที่ทำ�คุณประโยชน์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ๑๔. ดร.วิทวัส แจ้งเอ่ียม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากส�ำ นักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บริโภค ไดร้ ับรางวลั “Best Poster Award” ใน งาน AUN / SEED-Net ๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ ประทุมชาติ 3rd Regional Conference Interdisciplinary on Naturalคณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่น Resources and Materials Engineering (3rd RC-NRM)จากกระทรวงศึกษาธิการ ณ โรงแรม Bayview hotel เมืองลังกาวี ประเทศมาเลเซีย ๖. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุษาวดี ตันติวรานุรักษ์คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยบูรพาประจำ�ปี ๒๕๕๔ จากมหาวทิ ยาลัยบูรพา ๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมถวิล จริตควรคณะวทิ ยาศาสตร์ ไดร้ บั รางวลั “รตั นบรู พา” สาขาการสอน ประจ�ำ ปี๒๕๕๔ จากมหาวทิ ยาลัยบรู พา มหาวิทยาลยั บรู พา 9 รายงานประจำ�ปี 2554

กิจกรรมเดน่10 Burapha University Annual Report 2011

กิจกรรมเดน่ในรอบปีงบประมาณ ๒๕๕๔ มหาวทิ ยาลยั บรู พาด�ำ เนนิ กจิ กรรมตามภารกจิ ในแตล่ ะปจี �ำ นวนมาก ซงึ่ เปน็ กจิ กรรมทสี่ ว่ นงานภายในมหาวทิ ยาลยั ไดด้ �ำ เนนิ การตามความรบั ผดิ ชอบ อนั มสี ว่ นส�ำ คญั ในการเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการและการท�ำ นบุ �ำ รุงศิลปวัฒนธรรม ทงั้ ส้ิน ในปีงบประมาณ ๒๕๕๔ มีกจิ กรรมทส่ี �ำ คญั บางสว่ นดังต่อไปน้ีโครงการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ “มหาวทิ ยาลยั บรู พา บูรณาการข้อมูลการจัดการแหล่งน้ําจากระดับชุมชน ซ่ึงเป็น๒๕๕๔” วนั ที่ ๖-๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ อาคาร กระบวนการใหป้ ระชาชนไดเ้ หน็ ถงึ สภาพปญั หาและแนวทางแกไ้ ข ๕๐ ปี (ศาสตราจารยป์ ระยรู จนิ ดาประดษิ ฐ)์ มหาวทิ ยาลยั ทส่ี ามารถจดั การนา้ํ รว่ มกนั ได ้ เปดิ โอกาสใหภ้ าคประชาชนไดม้ สี ว่ นรว่ มบรู พา ตำ�แสนสขุ อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบุรี ในรูปแบบต่างๆ เช่น การจัดเวทีประชาคมสำ�หรับประชาชนได้ นำ�ข้อมูลและความคิดเห็นต่างๆ เพื่อร่วมจัดทำ�เป็นแผนแม่บทให้ มหาวิทยาลัยบูรพาได้กำ�หนดยุทธศาสตร์การพัฒนา หน่วยงานต่างๆ นำ�ไปสู่การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และป้องกันมหาวทิ ยาลยั ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ในประเดน็ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ความขัดแย้งที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคตระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับการวิจัยที่มุ่งพัฒนามหาวิทยาลัยบูรพาให้เป็น “มหาวิทยาลัย และภาคประชาชน นอกจากนี้ การนำ�เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศวิจัย” โดยมุ่งสร้างผลงานวิจัยท่ีสร้างสรรค์สามารถบูรณาการ เข้ามาช่วยในการบูรณาการข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาทรัพยากรนํ้า องค์ความรู้เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เข้มแข็ง มุ่งพัฒนาการวิจัย นับเป็นเครื่องมือที่มีบทบาทสำ�คัญในการบริหารและจัดการทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดา้ นวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ และ ทรัพยากรน้ําได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ อย่างย่งั ยนื โครงการน้ี มีวัตถุประสงค์ ๔ ประการ คอื ศกึ ษาและในการตอบสนองต่อความตอ้ งการของสังคมไทย มงุ่ พฒั นาบัณฑิต วเิ คราะหแ์ หลง่ นาํ้ และความตอ้ งการใชน้ าํ้ ดา้ นอปุ โภค และบรโิ ภคของมหาวิทยาลัยบูรพา ให้มีคุณธรรม และมีความเชี่ยวชาญ ในจงั หวดั สระแกว้ โดยใชก้ ระบวนการการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในศาสตรท์ ศ่ี กึ ษา มคี วามสามารถทางการบรหิ ารจดั การเปน็ ทย่ี อมรบั ศกึ ษาและจัดท�ำ แผนการพฒั นาทรพั ยากรนา้ํ ระยะส้ัน ระยะกลางและเชอ่ื มนั่ ของสงั คม สามารถสรา้ งสรรคค์ ณุ คา่ และคณุ ประโยชน์ และระยะยาว ในจังหวัดสระแก้ว จัดเวทีเพื่อส่งเสริมให้มีการแกส่ ังคม และม่งุ พฒั นามหาวทิ ยาลยั บูรพา ใหเ้ ป็นองค์กรแหง่ การ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กบั ผใู้ ชน้ าํ้ ทค่ี �ำ นงึ ถงึ ผลประโยชน์เรียนรทู้ ีม่ สี มรรถนะสงู ระดบั สากล และเปน็ องคก์ รอัจฉริยะ ของทุกฝ่าย และจัดทำ�ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ของจังหวัดสระแก้วเพื่อการพัฒนาแหล่งนํ้า ท้ังน้ี ในส่วนโครงการจดั ท�ำ แผนพฒั นาและแกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งนาํ้ โดยมี ของมหาวิทยาลัยบูรพา ได้มอบให้ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ ส่วนร่วมของประชาชนในจงั หวดั สระแก้ว และภมู สิ ารสนเทศภาคตะวนั ออก เปน็ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบด�ำ เนนิ งาน ซง่ึ รองศาสตราจารยอ์ ฌั ชา ก.บวั เกษร ไดร้ บั เปน็ หวั หนา้ โครงการฯ เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างสำ�นักงานจังหวัด เร่ิมตั้งแต่วันท่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันท่ี ๓๑ ธันวาคมสระแก้ว โครงการชลประทานจังหวัดสระแก้ว และศูนย์ภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๕๓ ทั้งนี้ ศูนย์ ฯ ได้จัดทำ�แผนที่ความต้องการใช้นํ้า เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคตะวันออก โดยเป็นการ ด้านอุปโภคบริโภค และความคิดเห็นของผู้ใช้นํ้าในด้านต่างๆ ในจังหวัดสระแก้ว ที่ได้รับจากกระบวนการการมีส่วนร่วมของ ประชาชนเพอ่ื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู อา้ งองิ ส�ำ หรบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ในจงั หวดั สระแกว้ ต่อไป โครงการสำ�รวจข้อมูลภาคพ้ืนดินบริเวณพ้ืนท่ีประสบ อทุ กภยั ในจงั หวดั สระแกว้ ปราจนี บรุ ี นครนายก สระบรุ ี ลพบรุ ี ปทมุ ธานี และจงั หวดั นนทบรุ ี เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างสำ�นักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) และ ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคตะวันออก มหาวิทยาลยั บูรพา 11 รายงานประจำ�ปี 2554

มหาวิทยาลัยบูรพา เพ่ือสำ�รวจข้อมูลหมู่บ้านท่ีประสบอุทกภัย คณะการจัดการและการท่องเท่ียว คณะมนุษยศาสตร์และครอบคลุมพื้นที่ภาคตะวันออกและภาคกลาง จำ�นวน ๗ จังหวัด สังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก ศูนย์เกาหลีศึกษา ศูนย์ไดแ้ ก่ จงั หวดั สระแกว้ ปราจนี บรุ ี นครนายก สระบรุ ี ลพบรุ ี ปทมุ ธานี จีนศึกษา และสถาบันขงจ่ือ ของมหาวิทยาลัยบูรพา และเจแปน และจงั หวดั นนทบรุ ี โดยส�ำ นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิ ฟาวนเ์ ดชน่ั ไดต้ ระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั และความจ�ำ เปน็ ในการศกึ ษาสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) ไดร้ บั มอบหมายจากนายกรฐั มนตรใี ห้ ความเปน็ ไปของกลมุ่ ประเทศในแถบเอเชยี ตะวนั ออกในดา้ นตา่ งๆด�ำ เนนิ การใชข้ อ้ มลู จากดาวเทยี มในการประเมนิ ความเสยี หายจาก เพอ่ื สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื และแลกเปลย่ี นทางวชิ าการทางดา้ นอทุ กภยั ปี ๒๕๕๓ ซ่งึ ในการด�ำ เนนิ การดังกล่าว จ�ำ เปน็ ตอ้ งสำ�รวจ เอเชียตะวันออกศึกษา และการบริหารจัดการข้ามวัฒนธรรม ข้อมูลภาคพ้ืนดินเพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ข้อมูลจาก จึงได้ร่วมกันจัดโครงการประชุมสัมมนาวิชาการนานาชาติในคร้งั น้ีดาวเทียมตอ่ ไป โดยเริม่ ด�ำ เนนิ การต้ังแต่วนั ท่ี ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ในวนั พฤหสั บดที ่ี ๑๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ โรงแรมเดอะไทด์๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ทั้งนี้ ศนู ย์ภูมภิ าคฯ รีสอร์ท จ.ชลบุรี โดยจัดบรรยายเร่อื ง การศึกษาและการบริหารภาคตะวันออก ได้ส่งมอบข้อมูลจากการสำ�รวจหมู่บ้านท่ีประสบ จัดการข้ามวัฒนธรรม โดยวิทยากรพิเศษจากชาวไทย ชาวจีน อุทกภัยผ่านอินเทอร์เน็ตทุกวัน เพื่อประเมินความเสียหายอย่าง ชาวญ่ีปุ่นและชาวเกาหลี และกิจกรรมการนำ�เสนอผลงานทางทันทว่ งที วชิ าการและงานวจิ ยั ทางดา้ นเอเชยี ตะวนั ออกศกึ ษาและการบรหิ าร จดั การขา้ มวฒั นธรรมในเอเชยี ตะวนั ออกโดยผนู้ �ำ เสนอผลงานทง้ั จาก ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ ผลจากการด�ำ เนนิ โครงการท�ำ ใหเ้ กดิ การ แลกเปลย่ี นภาษา วฒั นธรรม และองคค์ วามรู้ ตลอดจนเปน็ เวที เผยแพรแ่ ละแลกเปลย่ี นงานวชิ าการและงานวจิ ยั ดา้ นเอเชยี ตะวนั ออก ศกึ ษาและการบรหิ ารจดั การของกลมุ่ ประเทศในแถบเอเชยี ตะวนั ออกโครงการประชุมสัมมนาวิชาการนานาชาติ ครั้งท่ี ๑ โครงการศูนย์การเรียนรู้การดูแลสุขภาพภาคประชาชน(พ.ศ. ๒๕๕๔) : มองเอเชียตะวันออก เร่ือง การศึกษา ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย อภยั ภเู บศรและการบรหิ ารจดั การขา้ มวฒั นธรรมในเอเชยี ตะวนั ออก โครงการศูนย์การเรียนรู้การดูแลสุขภาพภาคประชาชน ในศตวรรษท่ี ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดม้ กี ารสานสมั พนั ธแ์ ละ ด้านการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศรเป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ความรว่ มมอื แหง่ เอเชยี ตะวนั ออกภายใตก้ รอบความรว่ มมอื อาเซยี น เกดิ การเรียนรู้ทีเ่ กย่ี วกบั สขุ ภาพ และการดูแลสุขภาพ ดว้ ยศาสตร์+ ๓ (ASEAN + ๓) ซ่งึ เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ การแพทย์แผนไทย ที่เน้นการดูแลสุภาพแบบองค์รวม ร่วมกับ สมาชกิ อาเซยี นกบั ประเทศนอกกลมุ่ ๓ ประเทศ คอื จนี เกาหลใี ต้ การสบื สานวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ น ทเี่ ปน็ วถิ ชี วี ติ ของคนไทยและญปี่ นุ่ เพอ่ื สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ในระดบั อนภุ มู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ในอดตี น�ำ มาเสนอและถา่ ยทอดเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ผา่ นกจิ กรรมทจ่ี ดั ขน้ึออก และเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารจดั ตง้ั ชมุ ชนเอเชยี ตะวนั ออก (East Asian ในวันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ณ บริเวณชั้นหนึ่งCommunity) กรอบความรว่ มมอื ดงั กลา่ วครอบคลมุ ความรว่ มมอื ตกึ เจา้ พระยาอภยั ภเู บศร คณาจารย ์ เจา้ หนา้ ท ่ี นสิ ติ แพทย ์ แผนไทยกวา่ ๑๖ สาขา ทง้ั ภาษา วฒั นธรรม สงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง ฯลฯ ประยกุ ต์ จงึ ไดด้ �ำ เนนิ โครงการขนึ้ ในวนั ท่ี ๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๒ซง่ึ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ น ้ี กรอบความรว่ มมอื อาเซยี น + ๓ (ASEAN + ถึงวนั ที่ ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยมกี จิ กรรมต่างๆ ได้แกก่ าร๓) จะกา้ วเขา้ สปู่ ที ่ี ๑๔ แลว้ การไดศ้ กึ ษาความเปน็ ไปของประเทศ ท�ำ เครื่องหอมไทย ท�ำ อาหารบำ�รุงกำ�ลงั ทำ�สมนุ ไพรไทยกำ�จัดภยัในกลมุ่ เอเชยี ตะวนั ออกในศตวรรษท่ี ๒๑ จะชว่ ยพฒั นาองคค์ วาม ความอบั ชนื้ ท�ำ ขนมไทยไปวดั ท�ำ เครอื่ งแกงไทย ท�ำ ของขวญั ปใี หม่รู้ การเชอ่ื มโยงทางดา้ นภมู ปิ ญั ญา วฒั นธรรม การแลกเปลย่ี นเรยี น แบบไทย ทำ�นํ้าสมุนไพรถวายพระ เป็นต้น ทำ�ให้ประชาชนท่มี ารู้ซ่ึงกันและกัน อันนำ�ไปสู่ความเข้าใจอันดี และกระชับความ เยี่ยมชมตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร พิพิธภัณฑ์การแพทย์แผนไทย สัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออก ท่ีมีชีวิต สามารถส่งต่อความรู้ผ่านกิจกรรมของศูนย์การเรียนรู้ฯมหาวทิ ยาลยั บรู พาตง้ั อยใู่ นภมู ภิ าคตะวนั ออกของประเทศ ใกลแ้ หลง่ และบุคคลากรทางการแพทย์แผนไทยสปู่ ระชาชนท่วั ไปได้ ท่ตี ้งั ของนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่ง ท้งั อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเลก็ รวมทง้ั อตุ สาหกรรมหนกั และอตุ สาหกรรมเบาจ�ำ นวนมาก มที า่ เรอื และใกลส้ นามบนิ อกี ทง้ั ยงั ใกลแ้ หลง่ ทอ่ งเทย่ี วทเ่ี ปน็ ทร่ี จู้ กั ในระดบั นานาชาตหิ ลายแหลง่ อาทิ พทั ยา เกาะเสมด็เกาะชา้ ง ฯลฯ จงึ มคี วามหลากหลายทางดา้ นวฒั นธรรม ดว้ ยเหตนุ ้ ี 12 Burapha University Annual Report 2011

โครงการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารกลุ่มสถาบัน เยาวชนเหล่านั้นให้มีความสามารถเพ่ิมขึ้น อันจะเป็นผลดีต่อการแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ณ คณะแพทยศาสตร์ พัฒนาประเทศตอ่ ไปมหาวิทยาลัยบรู พา จากแนวความคิดดังกล่าวข้างต้น ประเทศสาธารณรัฐ สงั คมนิยมโรมาเนยี จึงได้เชญิ ประเทศต่างๆ ๖ ประเทศ สง่ เยาวชน กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยเห็นว่าการ เข้าแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ จากศึกษาแพทยศาสตร์จำ�เป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาอย่าง การเริ่มต้นดังกล่าวน้ีทำ�ให้นานาประเทศเห็นคุณค่าและประโยชน์สมํ่าเสมอและต่อเน่ืองท้ังน้ีเพ่ือให้ได้บัณฑิตที่มีคุณภาพ ให้บริการ ของกิจกรรมน้ี จึงได้มีประเทศต่างๆ เข้าร่วมแข่งขันเพ่ิมมากข้ึนด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพมีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการ ทุกปี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นการจัดการแข่งขันครั้งที่ ๒๓ และของผู้ใช้บัณฑิต เพ่ือให้การดำ�เนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ ประเทศไทยได้รับเชิญจากคณะกรรมการกลางจัดการแข่งขันดังกล่าวจึงได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการอำ�นวยการและคณะ คอมพิวเตอร์โอลิมปิก (International Informatics Olympiadกรรมการบริหารของกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย Committee) ใหร้ บั เกยี รตเิ ปน็ เจา้ ภาพจดั การแขง่ ขนั คอมพวิ เตอร์ข้ึนเพ่ือให้การดำ�เนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ต่อเนื่องและ โอลมิ ปกิ โดย คณะวทิ ยาการสารสนเทศ เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการน้ีมปี ระสทิ ธภิ าพจงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารจดั ประชมุ สมั มนาคณะกรรมการ และได้ดำ�เนินโครงการในวันที่ ๒๒-๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ อย่างต่อเน่ือง โดยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้รับ ณ โรงแรมรอแยลคลฟิ บชี รสี อรท์ จงั หวดั ชลบรุ ี ซง่ึ การจดั โครงการเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการประชุมคณะกรรมการบริหารกลุ่ม ครงั้ นม้ี กี จิ กรรมตา่ งๆ คอื จดั นทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสถาบนั แพทยศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย ครง้ั ท่ี ๘/๒๕๕๓ ขน้ึ ใน วนั ศกุ รท์ ่ี สมเด็จพระเจ้าเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเน่ืองในวโรกาสทรง ๑๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ หอ้ งประชมุ ๙๐๓ อาคาร ภปร. สำ�นกั งาน พระชนมายุครบรอบ ๘๔ พรรษา จัดนิทรรศการสันทนาการและอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั บรู พา โดยจดั ประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร เผยแพรศ่ ลิ ปะวฒั นธรรมไทย อ�ำ นวยความสะดวกและตดิ ตงั้ ระบบกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๘/๒๕๕๓ คอมพวิ เตอรใ์ นการแขง่ ขนั และรบั ลงทะเบยี นและใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบัผลจากการจัดโครงการครั้งน้ีทำ�ให้เกิดแนวทางในการพัฒนา การแขง่ ขนั คอมพวิ เตอรโ์ อลมิ ปกิ ระหวา่ งประเทศ ครงั้ ท่ี ๒๓ ผลจากคณะแพทยศาสตร์และวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เกิดการแลกเปล่ยี น การดำ�เนินโครงการนี้ทำ�ให้มหาวิทยาลัยบูรพาได้รับช่ือเสียงด้านแนวความคดิ การด�ำ เนนิ งานในแตล่ ะสถาบนั และเปน็ การประชาสมั พนั ธ์ การบริการวิชาการเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในระดับชาติขอ้ มลู ขา่ วสารของคณะแพทยศาสตรแ์ ละวทิ ยาลยั แพทยศาสตร์ และนานาชาติ นอกจากนนั้ คณะวทิ ยาการสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั บรู พาไดส้ รา้ งและเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ยดา้ นการบรกิ ารวชิ าการเกย่ี วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายด้านวิชาการกับหน่วยงาน ภาครัฐและหน่วยงานภาคการศึกษาอื่น ๆ นอกจากน้ันนิสิตและ คณาจารยท์ เ่ี ขา้ รว่ มโครงการไดเ้ ปดิ โลกทศั นแ์ ละรว่ มแบง่ ปนั ความร ู้ และประสบการณ์ด้านวิทยาการสารสนเทศกับผู้เข้าร่วมงาน ท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการฝึกการทำ�งาน เป็นกลุ่มและความสามัคคีในกลมุ่ ด้วยโครงการจัดการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่าง โครงการการพฒั นายานใตน้ า้ํ เพอ่ื ใชต้ รวจสอบโครงสรา้ งประเทศ ใต้ทะเล การแขง่ ขนั โอลมิ ปกิ ทางวชิ าการเกดิ ขน้ึ จากกลมุ่ นกั วชิ าการ การสำ�รวจท้องทะเลเพื่อการศึกษาใช้วิธีการหลายอย่างที่มีความคิดว่าประเทศต่างๆ มีเยาวชนผู้มีอัจฉริยะทางปัญญาอยู่ การใชห้ ุ่นยนต์ “อาร์โอวี” เป็นอกี ทางเลือกท่เี หมาะสมและไมเ่ ปน็เปน็ จ�ำ นวนมาก และเยาวชนเหลา่ นจี้ ะเปน็ ทรพั ยากรบคุ คลทม่ี คี วามสำ�คัญย่ิงต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต การให้เยาวชนเหล่านั้นได้มาแข่งขันในด้านวิชาการเช่นเดียวกับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกจะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยพัฒนาความสามารถพิเศษทางปัญญาของ มหาวทิ ยาลัยบรู พา 13 รายงานประจ�ำ ปี 2554

อนั ตรายตอ่ มนษุ ย์ อารโ์ อวจี ะควบคมุ และตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั ผใู้ ชง้ าน วิชาการจึงได้รับเป็นที่ปรึกษาเพื่อปฏิบัติงานตามโครงการพัฒนาผ่านทางสายเคเบิล ในปัจจุบันหุ่นยนต์อาร์โอวีจากต่างประเทศ เสริมสร้างเครือข่ายอาสาสมัครด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากมีราคาสูงหลายแสนบาท ซึ่งเป็นข้อจำ�กัดในการศึกษาท้องทะเล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (กรมควบคุมมลพิษเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น ดร.ภัคพงศ์ จันทเปรมจิตต์ อาจารย์ประจำ� และกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม) โดยการจดั ท�ำ โครงการนขี้ น้ึภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ เสรมิ สรา้ งและขยายเครอื ขา่ ยอาสาสมคั รดา้ นสง่ิบูรพา จึงได้มีแนวคิดท่ีจะพัฒนายานยนต์สำ�รวจใต้นํ้าน้ี โดยเป็น แวดล้อมและด้านสุขภาพในพื้นทีเ่ ขตควบคมุ มลพิษ จงั หวัดระยองหวั หนา้ ทมี วจิ ยั และไดร้ ว่ มมอื กบั นสิ ติ ในภาควชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล และพื้นที่ใกล้เคียง ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักและ เพอื่ ท�ำ การวจิ ยั และพฒั นายานใตน้ า้ํ ควบคมุ ระยะไกล (Remotely มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ปกป้อง และรักษาสภาพแวดล้อมและOperated underwater Vehicle – ROV) หรอื อาร์โอวี เพ่อื ใช้ การเฝ้าระวังสุขภาพ พัฒนารูปแบบการสื่อสารความเส่ียงที่มีต่อสำ�รวจและเก็บข้อมูลของสิ่งมีชีวิตและทรัพยากรใต้ทะเล ซึ่งช่วย สขุ ภาพ และสรา้ งชมุ ชนตน้ แบบดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพ โดยมีใหม้ นษุ ยส์ ามารถจดั การและใชท้ รพั ยากรไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและคมุ้ คา่ กจิ กรรมการสอื่ สารขอ้ มลู ทเี่ หมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย การพฒั นามากทสี่ ดุ นอกจากคณุ สมบตั ทิ กี่ ลา่ วมาแลว้ ยานอารโ์ อวยี งั สามารถ ศักยภาพอาสาสมัครผู้ส่ือสารความรู้ และการเสริมสร้างความนำ�ไปใช้ตรวจสอบใต้ท้องเรือและส่ิงก่อสร้างใต้น้ําแทนมนุษย์ซึ่งมี ตระหนกั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพ ผลทเ่ี กดิ จากความส�ำ เรจ็ ของอนั ตรายตอ่ ชีวติ ไดอ้ ีกดว้ ย โครงการ ทำ�ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับข้อมูลข่าวสารด้านส่ิงแวดล้อม ลักษณะของอาร์โอวีท่ีคณะผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น ประกอบ และสุขภาพที่สอดคล้องกับความต้องการและความคาดหวังของดว้ ยระบบขบั เคลอ่ื น ๔ ชดุ ผคู้ วบคมุ ใชว้ ธิ กี ารควบคมุ ระยะไกล โดย กลุ่มเป้าหมาย มีอาสาสมัครผู้ให้ความรู้แก่ประชาชนท่ีมีศักยภาพใชจ้ อยสติก๊ กำ�หนดการเคลื่อนที่ได้ ๓ รปู แบบ เคล่ือนท่ขี ้นึ -ลงตาม ในการสอื่ สารความเสยี่ งและองคค์ วามรดู้ า้ นสง่ิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพ แนวดงิ่ เดนิ หนา้ - ถอยหลัง หนั ซา้ ย - หันขวา มชี ุดคอนโทรลเลอร์ ทเ่ี หมาะสมในพน้ื ทเ่ี ปา้ หมาย มสี อ่ื ประชาสมั พนั ธแ์ ละชดุ องคค์ วามรู้ส�ำ หรบั การควบคมุ และรบั ขอ้ มลู จากเซน็ เซอร์ คอื เซน็ เซอรว์ ดั ความ ด้านส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ รูปแบบและช่องทางการสื่อสารท่ีมีดนั ไอเอม็ ยแู ละเขม็ ทศิ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมทงั้ มกี ลอ้ งวดิ โี อทสี่ ามารถ ประสิทธิภาพ และประชาชนมีความตระหนักในเชิงจิตอาสาและรับภาพใต้นํ้ามายังผู้ใช้งานเพื่อเก็บข้อมูลได้ มีระบบแสงสว่าง มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ปกป้อง และรักษาสภาพแวดล้อมและส�ำ หรบั งานในท่ีมดื สามารถด�ำ ได้ลึกประมาณ ๒๐ เมตร เน่อื งจาก สุขภาพ ครอบคลมุ ท้ังระดับบคุ คล ครอบครัวและชมุ ชนสายเคเบิลสำ�หรับติดต่อระหว่างผู้ใช้และยานใต้น้ํายาว ๒๐ เมตรล�ำ ตวั ยานใตน้ าํ้ กวา้ ง ๓๒๐ มลิ ลเิ มตร ยาว ๕๐๐ มลิ ลเิ มตร และสงู โครงการสัมมนาครแู นะแนวเพอ่ื เตรียมรองรับ AFTA๒๕๐ มลิ ลเิ มตร ระบบพลงั งานใชแ้ บบแบตเตอรเี่ ซลลแ์ หง้ ชนาด ๑๒โวลด์ ๒ ชุดนาํ้ หนักของยาน ๑๕ กิโลกรัม ราคาตน้ แบบ ๗๐,๐๐๐ ประเทศไทยกำ�ลังอยู่ในช่วงเวลาของการเตรียมความบาท ผลสำ�เร็จของโครงการนีไ้ ดม้ กี ารเผยแพร่ผ่านส่ือตา่ ง ๆ ทัง้ ใน พรอ้ มเพอ่ื การพฒั นาบณั ฑติ ใหพ้ รอ้ มเพอื่ กา้ วเขา้ สกู่ ารเปน็ ประชาคมหนังสือพมิ พ์ต่าง ๆ และเว็ปไซต์ ทำ�ให้ ดร.ภัคพงศ ์ จนั ทเปรมจิตต์ เศรษฐกจิ อาเซยี น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ครแู นะแนวเปน็ ปจั จยั ทสี่ �ำ คญัได้รับเชิญให้เป็นท่ีปรึกษาเร่ืองยานใต้น้ําควบคุมระยะไกลให้แก่ ตอ้ งมกี ารปรบั ตวั เพอื่ แนะน�ำ นกั เรยี นใหส้ ามารถใชภ้ าษา โดยเฉพาะบริษัท บอกกอกรีไซเคิลแอนด์รียูส จำ�กัด และท�ำ ให้มหาวิทยาลัย ภาษาอังกฤษ ซงึ่ เปน็ ภาษากลางการติดตอ่ สอ่ื สารของ AFTA เพื่อไดม้ ีชื่อเสยี งเปน็ ท่รี ู้จกั มากขน้ึ ประชาสัมพนั ธ์ อภิปราย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ตลอดจนเจรจา ความร่วมมือต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา โครงการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยอาสาสมคั รดา้ น ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยช้ันนำ� มีนโยบายสำ�คัญในการนำ�วิชาการของสงิ่ แวดลอ้ มและสขุ ภาพ ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เซี ย น ไ ด้ อ ย่ า ง ส ง่ า ง า ม จึงสนับสนุนทุกส่วนงานให้เร่งรัดการดำ�เนินงานเพ่ือการรองรับ จากแผนการพัฒนาโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีชายฝ่ังทะเล นโยบายดงั กลา่ วอยา่ งเปน็ รปู ธรรม วทิ ยาลยั นานาชาติ มหาวทิ ยาลยัตะวนั ออก ต้งั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๒๔ เป็นตน้ มา จงั หวัดระยองเกดิ การ บูรพาจึงได้รับหน้าที่จัดโครงการสัมมนาครูแนะแนวเพื่อเตรียมเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรมมาเป็นภาคอุตสาหกรรมและการท่องเท่ียว ก่อให้เกิดการขยายตวั ในดา้ นอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ผลพวงจากการดำ�เนินกิจกรรมต่างๆเหล่าน้ีได้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชนในพน้ื ท่ี คณะสาธารณสขุ ศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั บรู พาในฐานะทเี่ ปน็ สถาบนั การศกึ ษาในภาคตะวนั ออก มคี วามพรอ้ มทาง14 Burapha University Annual Report 2011

รองรับ AFTA ขึ้น เพ่ือครูแนะแนวมีความพร้อม สามารถแนะนำ� โครงการสัมมนาวิชาการนานาชาติ เร่ือง “ศิลปะและแนะแนวทางดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษใหก้ บั นกั เรยี นในการตดิ ตอ่ วัฒนธรรมด้านการแสดงพ้ืนบ้านของประเทศลุ่มแม่น้ําสอ่ื สารในระดบั สากลไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ ผลจากความส�ำ เรจ็ โขง”ของโครงการนี้ได้รับความสนใจจากครูแนะแนวเป็นจำ�นวนมาก ทต่ี ระหนกั ถงึ การเปลยี่ นแปลงสกู่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น สถาบันวิจัยวัฒนธรรมและศิลปะได้ตระหนักถึงความ สำ�คัญและความจำ�เป็นท่ีต้องบำ�รุงรักษา และส่งเสริมเอกลักษณ์โครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรด้านอัญมณีและ ของประเทศใหเ้ ปน็ ทร่ี จู้ กั เพอื่ สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื และการเครอ่ื งประดับจงั หวัดจันทบรุ ี แลกเปลยี่ นทางวชิ าการดา้ นหตั ถกรรมและการแสดงพนื้ บา้ น ทง้ั นี้ เพอ่ื การพฒั นาศาสตรท์ างดา้ นภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สสู่ ากล ซงึ่ จะท�ำ ให้ จังหวัดจันทบุรีเป็นแหล่งผลิตและซื้อขายอัญมณีที่มี ศลิ ปนิ เกดิ ความภาคภมู ใิ จและมนั่ ใจ ทจ่ี ะอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมพนื้ บา้ นชอ่ื เสยี งมาตง้ั แตอ่ ดตี เนอ่ื งจากมวี ตั ถดุ บิ (พลอยดบิ ) ในพน้ื ท่ี แตป่ จั จบุ นั อันลํ้าค่าสืบทอดสู่อนุชนรุ่นหลังโดยอาศัยกิจกรรมทางวิชาการ พลอยดิบในจังหวัดจันทบุรีเหลือน้อยมาก ทำ�ให้ผู้ประกอบการ การสมั มนาและการแสดงพน้ื บา้ นของแตล่ ะประเทศ เพอื่ สรา้ งความเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอัญมณีต้องปรับตัว โดยเดินทางไปแสวงหา รคู้ วามเขา้ ใจในระดบั ภมู ภิ าคและระดบั โลกโดยใชว้ ฒั นธรรมเปน็ สอ่ืพลอยดบิ จากทวั่ ทกุ มมุ โลกเพอื่ นำ�มาเพมิ่ มลู คา่ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญาดา้ น โครงการน้ีไดด้ ำ�เนนิ การระหวา่ งวนั ท่ี ๑๘ - ๒๐ กมุ ภาพนั ธ ์ พ.ศ.การเผาและเจียระไนพลอยท่ีมีการสะสมมาต้ังแต่อดีต ซ่ึงได้มีการ ๒๕๕๔ โดยมีกิจกรรมสัมมนาวิชาการ เรื่อง ศิลปวัฒนธรรมด้านประมาณการว่ามีแรงงานในด้านการเจียระไนพลอยทั้งประเทศ การแสดงพน้ื บา้ น ของประเทศลมุ่ แมน่ า้ํ โขง และการแสดงพน้ื บา้ น๑.๑ ลา้ นคน เปน็ แรงงานในจังหวดั จนั ทบุรีไม่น้อยกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ จากประเทศลุ่มแม่น้าํ โขง (ลาว เวยี ดนาม เขมร และไทย) ผลท่เี กดิคน โลกปัจจุบันอยู่ในช่วงของยุคโลกาภิวัตน์ที่มีการติดต่อสื่อสาร จากความสำ�เรจ็ ของโครงการ คอื มผี ใู้ หค้ วามสนใจเปน็ จำ�นวนมากกันได้อย่างรวดเร็วและไร้พรมแดน หากภาครัฐไม่มีโครงการที่จะ พรอ้ มทง้ั ไดก้ ระชบั สมั พนั ธไมตรรี ะหวา่ งประเทศใหแ้ นน่ แฟน้ ยง่ิ ขน้ึช่วยพัฒนาฝมี ือแรงงานทเี่ ก่ยี วข้องกับอุตสาหกรรม อัญมณแี ละ และสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหนว่ ยงานเครอื่ งประดบั จะท�ำ ใหก้ ารผลติ อญั มณแี ละเครอื่ งประดบั ในอนาคตไม่มีการพัฒนา ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปลาทะเลและจะเสียเปรียบคู่แข่งขัน ทำ�ให้สูญเสียส่วนแบ่งการตลาด สวยงามในกลุ่มปลาการ์ตูนให้แก่ประเทศคู่แข่ง ซ่ึงจะส่งผลให้มูลค่าการค้าภายในประเทศและการสง่ ออกอญั มณแี ละเครอ่ื งประดบั ของไทยลดลงดว้ ย ดงั นนั้ จากการประสบความสำ�เร็จในแผนงานวิจัย เร่ือง ดร.สุรินทร์ อินทะยศ คณบดีคณะอัญมณี จงึ ไดจ้ ดั ทำ�โครงการ “การพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงปลาทะเลสวยงามในกลุ่ม เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรด้านอัญมณีและเครื่องประดับขึ้น ปลาการต์ นู ” ของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลและไดม้ กี ารถา่ ยทอดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพ่ิมทักษะการออกแบบอัญมณีและเคร่ือง เทคโนโลยีการเพาะเล้ียงไปสู่เกษตรกรและผู้ประกอบธุรกิจการประดับ โดยเปิดสอนหลักสูตร พัฒนาบุคลากรด้านการวิเคราะห์ เพาะเล้ียงปลาสวยงาม ทำ�ให้เกิดฟาร์มเพาะเลี้ยงปลาการ์ตูนข้ึนอญั มณี การทำ�ต้นแบบแม่พิมพ์เครื่องประดับและการหล่อตัว ในประเทศไทยหลายฟารม์ ซง่ึ ความส�ำ เรจ็ น้ีจะนำ�ไปสู่การทดแทนเรือน เครอ่ื งประดบั ขน้ั กลางและขน้ั สงู สง่ เสรมิ และพฒั นาบคุ ลากร การนำ�ปลาการ์ตูนขึ้นมาจากธรรมชาติ ทำ�ให้ช่ือเสียงของสถาบันดา้ นเครอ่ื งประดบั อญั มณี และการท�ำ ตวั เรอื นเครอื่ งประดบั ขนั้ กลาง วิทยาศาสตร์ทางทะเลเป็นที่รู้จักแพร่หลายทั้งในประเทศและข้ันสูง ผลท่ีเกิดจากความสำ�เร็จของโครงการนี้ทำ�ให้สามารถ และต่างประเทศในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ประสบความสำ�เร็จเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรด้านอัญมณีและเครื่องประดับจังหวัดจันทบรุ ี มหาวทิ ยาลยั บูรพา 15 รายงานประจำ�ปี 2554

ในการเพาะเล้ียงปลาการ์ตูน และมีนักวิจัยและนักศึกษาในระดับ ตัวชี้วัดสำ�หรับการประเมินผลการจัดการศึกษาของประเทศ (๓)บัณฑิตศึกษาขอเข้ามาศึกษาดูงานและฝึกงานจากหลายประเทศ พัฒนาศักยภาพบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องของสำ�นักงานเลขาธิการสภาอย่างต่อเน่ือง เช่น ฝรั่งเศส สเปน เวียดนาม และมัลดีฟ เป็นต้น การศึกษา ผลที่เกิดจากความสำ�เร็จของโครงการ ทำ�ให้สำ�นักงานรวมทั้งความสนใจในการถ่ายทำ�สารคดีประกอบการอนุรักษ์ปลา เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร มพี จนานกุ รมขอ้ มลูการต์ นู ในธรรมชาติ โดย John Boyle เจา้ ของบรษิ ทั Shark Bay ตัวชี้วัด (KPI Definition Dictionary) ระบบฐานข้อมูลตัวชี้วัด Films ได้รับการติดต่อจาก National Geographic Television ด้านการประเมินผลการจัดการศึกษาของประเทศท่ีสามารถใช้ในInternational ให้ผลิตรายการสารคดีเก่ียวกับการอนุรักษ์ปลา การอา้ งองิ แกห่ นว่ ยงานตา่ ง ๆ ไดแ้ ละมรี ะบบคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศการต์ นู ในธรรมชาติ จงึ ไดต้ ดิ ตอ่ มายงั ดร. วรเทพ มธุ วุ รรณ ผอู้ �ำ นวย สำ�หรับการประเมินผลการจัดการศึกษาของประเทศที่สามารถใช้การสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล ซึง่ ได้มอบหมายให้ ดร. เสาวภา เป็นเครื่องมือหรือกลไกในการนำ�นโยบายการศึกษาสู่การปฏิบัติสวสั ดพิ์ รี ะ หนงึ่ ในทมี งานวจิ ยั ประสานงานกบั ทมี ถา่ ยท�ำ ทนี่ โี มฟารม์ รวมทงั้ สามารถใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการก�ำ หนดนโยบายการศกึ ษาและสุภาพรรณฟารม์ ซ่งึ เป็นฟารม์ ทส่ี ถาบนั ฯ ถา่ ยทอดเทคโนโลยี และสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจสำ�หรับผู้บรหิ ารได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสบความส�ำ เร็จสูงสุด สารคดีชุดน้ีได้ทำ�การตัดต่อเสร็จเรียบร้อยมีช่ือว่า โครงการคลนิ ิกเทคโนโลยี อาสาสมัครวิทยาศาสตรแ์ ละ“The Struggle for Survival” ซึ่ง National Geographic เทคโนโลยีTelevision โดยทางผู้ผลิตได้ข้ึนช่ือของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาในสารคดี นับเป็นการเผยแพร่ผลงาน หลังจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ริเร่ิมวจิ ยั ทสี่ ามารถน�ำ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ ทงั้ ในแงข่ องการอนรุ กั ษ์ การ โครงการคลนิ ิกเทคโนโลยขี น้ึ เม่ือเดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๕๔๖ และ เสริมสร้างอาชีพและรายได้ รวมท้ังเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงของ ได้ร่วมมือกับสถาบันการศึกษาท่ัวประเทศสร้างเป็นเครือข่ายสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และมหาวทิ ยาลยั บรู พาใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั ประสานงานให้ความช่วยเหลือประชาชนในทุกพื้นที่ทำ�ให้ปัจจุบัน อย่างกว้างขวางมากขน้ึ มเี ครอื ขา่ ยคลนิ กิ เทคโนโลยถี งึ ๖๖ เครอื ขา่ ย ๑๓๓ แหง่ พน้ื ทบี่ รกิ าร ๖๔ จงั หวดั โดยมบี ทบาทหนา้ ทต่ี ามองคค์ วามรู้ และความเชย่ี วชาญโครงการการวจิ ยั และพฒั นาระบบคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศ ทม่ี อี ยู่ และพรอ้ มจะใหบ้ รกิ ารวชิ าการแกป่ ระชาชนและชมุ ชนไดแ้ ก่ส�ำ หรบั การประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของประเทศ กจิ กรรมการถา่ ยทอดเทคโนโลยี กจิ กรรมการวจิ ยั และพฒั นาตอ่ ยอด กิจกรรมการบริการใหค้ �ำ ปรึกษาและบรกิ ารข้อมลู เทคโนโลยี และ โครงการวิจัยและพัฒนาระบบคลังข้อมูลสารสนเทศ กิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจทางด้านวิทยาศาสตร์และสำ�หรับการประเมินผลการจัดการศึกษาของประเทศ จัดทำ�ขึ้น เทคโนโลยี นวตั กรรม และภมู ปิ ญั ญาไทย ซงึ่ กจิ กรรมเหลา่ นจี้ ะเปน็เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการตอบโจทย์ด้านการประเมินผลการจัดการ ก�ำ ลงั ผลกั พนั ใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ างเศรษฐกจิ ในเชงิ บวก คอื ลดรายจา่ ย ศึกษาของประเทศ เพ่ือให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นภาพรวมของ เพ่ิมรายได้และเพ่ิมคุณภาพชีวิตให้แก่กลุ่มที่เป็นรากฐานของผลการดำ�เนินงานการจัดการศึกษาของสถาบันการศึกษาที่มีอยู่ ประเทศใหม้ น่ั คง ดงั นน้ั ส�ำ นกั บรกิ ารวชิ าการ จงึ ไดด้ �ำ เนนิ กจิ กรรมท้งั หมดในประเทศไทย โดยระบบคลังข้อมูลดังกล่าว จะสรา้ งโดย ในเดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ - เดอื นกนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยการใช้โปรแกรมระบบงานอัจฉริยะ (Business Intelligence) เพ่ือ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรม การใหค้ ำ�ปรึกษาแนะน�ำ แก้ไขดึงข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลของหน่วยงานด้านการศึกษาจาก ปัญหาชุมชน การผลักดันความต้องกรของชุมชน ผ่าน อสวท. หลาย ๆ แหล่ง หลายแพลตฟอรม์ โดยจดั เกบ็ ในระบบคลงั ข้อมูล ให้เกิดโครงการความช่วยเหลือและสนับสนุนไปสู่การพัฒนาและ(Data Warehouse System) และจะแสดงรายงานสารสนเทศ เสริมสร้างรายได้ให้ชุมชน ระดับภูมิภาค ทำ�ให้ผู้รับบริการได้ตามตัวชี้วัดสำ�หรับการประเมินผลการจัดการศึกษาของประเทศ ประโยชน์ในการประชาชน การประกอบธุรกิจ/กิจการ การเพ่ิม๔๙ ตัวชี้วัดท่ีครอบคลุมใน ๕ ด้าน ได้แก่ ด้านความทั่วถึงและ ผลผลิตและสร้างรายไดใ้ หเ้ พมิ่ สูงขึ้นเพียงพอ ด้านความเสมอภาค ด้านคุณภาพ ด้านประสิทธิภาพและด้านประสิทธิผล คณะศึกษาศาสตร์และสำ�นักคอมพิวเตอร์มหาวทิ ยาลยั บรู พา จงึ ไดจ้ ดั ท�ำ โครงการขนึ้ เมอื่ วนั ที่ ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันท่ี ๒๕ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยดำ�เนนิ งานโครงการภายใตข้ อบเขตทก่ี �ำ หนด คอื (๑) ศกึ ษาและจดั ท�ำ ค�ำ นยิ ามเชิงปฏิบัติการตัวช้ีวัดสำ�หรับการประเมินผลการจัดการศึกษาของประเทศ (๒) พฒั นาระบบคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศและระบบฐานขอ้ มลู16 Burapha University Annual Report 2011

ผลงานการประดิษฐ์ที่จดสิทธิบัตรของมหาวิทยาลัยบูรพาปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ย่นื ค�ำ ขอจดทะเบยี นสิทธบิ ตั ร/อนุสทิ ธิบัตร จำ�นวน ๙ ผลงาน ชื่อผลงาน เจ้าของผลงาน/สงั กัด เลขท่คี �ำ ขอ วนั ทย่ี ่นื คำ�ขอสทิ ธิบัตรการประดิษฐ์ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔อนพุ นั ธข์ องแอนโดรกราโฟไลด์ ผศ. ดร.รงุ่ นภา แซ่เอง็ และคณะ ๐๙๐๑๐๐๓๓๓๖(andrographolide) เพอ่ื พฒั นาเปน็ (คณะวิทยาศาสตร์ /มหาวทิ ยาลัยบรู พา) ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ยาต้านมะเรง็ ศ.ดร.อภิชาต สขุ สำ�ราญ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ (คณะวทิ ยาศาสตร์ /มหาวทิ ยาลยั รามค�ำ แหง) ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓สทิ ธบิ ตั รออกแบบผลิตภัณฑ์ ศ.ดร.ภาวณิ ี ปยิ ะจตรุ วฒั น์ และคณะ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓เครอ่ื งประดบั แสดงอารมณ์ขนั เชิงลบ (คณะวิทยาศาสตร์ /มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล) ๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๕๔เครอ่ื งประดับแสดงอารมณ์ขนั เชงิ ลบ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔เครื่องประดับแสดงอารมณข์ ันเชงิ ลบ นางสาวสภุ ารยี ์ เถาวว์ งษา ๑๐๐๒๐๐๓๒๔๐ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๔เครื่องประดบั สะท้อนเดก็ ก�ำ พร้าท่ีเปน็ นางสาววรญั รตั น ์ วงศแ์ สนสุข ๑๐๐๒๐๐๓๒๔๑โรคเอดส์ (คณะอญั มณ)ี ๑๐๐๒๐๐๓๒๔๒ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔โคมไฟปลาตะเพียนดนิ เผา นางสาวสภุ ารยี ์ เถาวว์ งษา ๑๐๐๒๐๐๓๒๔๓อนุสทิ ธิบตั ร นางสาววรญั รตั น ์ วงศแ์ สนสุข ๑๑๐๒๐๐๑๖๕๗การเสรมิ ซีแซนทินในอาหาร (คณะอัญมณี)ส�ำ หรบั เลีย้ งกุง้ ทะเล นางสาวสภุ ารยี ์ เถาวว์ งษาการใช้สารสกดั จากเมมเบรนโปรตีน นางสาววรญั รตั น ์ วงศแ์ สนสขุจากปรสติ Cryptocaryon irritans (คณะอัญมณี)ระยะธีรอนต์ (theront) เพื่อกระตุ้น นายทัสนะ ก้อนดีภูมคิ ุ้มกันโรคจุดขาวนํ้าเคม็ ทีเ่ กิดใน นางสาวกนกพร ภทั ทิยไพบลู ย์ปลาทะเล (คณะอัญมณ)ีเครอ่ื งยนต์พลังงานลมขนาด ผศ.เสกสรรค ์ ตนั ยาภริ มย์๙ กระบอกสบู (คณะศลิ ปกรรมศาสตร)์ ผศ.ดร.บุญรตั น์ ประทมุ ชาติ ๑๑๐๓๐๐๐๑๐๐ (คณะวิทยาศาสตร)์ ๑๑๐๓๐๐๐๕๙๙ ดร.สุพรรณ ี ลโี ทชวลติ และ ดร.จันทร์จรัส วัฒนะโชติ (สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล) นายอนุพนธ ์ พมิ พช์ ว่ ย ๑๑๐๓๐๐๐๖๗๖ (คณะวิศวกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลยั บูรพา 17 รายงานประจำ�ปี 2554

ได้รบั การจดทะเบยี นอนุสิทธบิ ัตร จ�ำ นวน ๙ ผลงาน ชอ่ื ผลงาน เจ้าของผลงาน/สงั กดั เลขท่ี วนั ที่ได้รับการจดทะเบยี นการยอ้ มไข่มุกใหไ้ ด้สเี หลืองทอง อนุสิทธบิ ตั ร ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓กรรมวิธกี ารเตรยี มเลคตินจากปะการงั ผศ.ดร.พิมพท์ อง ทองนพคณุ ๑๗ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔อ่อน (คณะอัญมณี) ๕๗๘๑ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔กรรมวธิ กี ารเก็บรักษาถุงนาํ้ เช้ือของ ดร.จนั ทรจ์ รัส วัฒนะโชติ ๕๙๙๐กุ้งกลุ าดำ� (Penaeus monodon) (สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล) ๕๙๘๖ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ด้วยวธิ ีการแชเ่ ยน็ รศ. ดร.วรี พงศ ์ วุฒพิ นั ธช์ุ ยั และ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๔ถุงมอื สำ�หรับผปู้ ่วยโรคขอ้ ไหลต่ ิดหรอื รศ.ดร.สบุ ณั ฑิต นม่ิ รัตน์ ๖๑๒๓ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๔ออ่ นแรง (คณะวิทยาศาสตร)์ ๖๑๗๕การย้อมไขม่ ุกให้ไดส้ ีน้าํ ตาล คณุ วชั รี ลอื นาม ๖๑๗๖ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๔จากสารละลายของเกลอื เงิน บคุ คลภายนอกเคร่อื งปรับอากาศเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ ผศ.ดร.พิมพ์ทอง ทองนพคณุ ๖๑๗๗ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๔จากนาํ้ เหลอื ทิง้ ของระบบ (คณะอัญมณี)เครอ่ื งปรบั อากาศพลงั งานตา่ํ โดยอาศยั ผศ.ดร.บญุ รตั น์ ประทมุ ชาติ ๖๑๗๘ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๔แผงกระจายความเยน็ และนา้ํ และคณะพรมี ิกซ์ส�ำ หรับผสมนํ้าจืดเพอ่ื ใชเ้ ลยี้ ง (คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละบคุ คลภายนอก) ๖๒๙๙สัตวน์ ้ํา ผศ.ดร.บญุ รตั น์ ประทมุ ชาติผลติ ภัณฑเ์ จลฟา้ ทะลายโจรส�ำ หรับ และคณะทำ�ความสะอาด (คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละบคุ คลภายนอก) ผศ.ดร.บญุ รตั น์ ประทมุ ชาติ และคณะ (คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละบคุ คลภายนอก) ผศ.ดร.ประเสริฐ มีรัตน์ (คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา) และผศ.ดร.ศศมล ผาสกุ (คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณใ์ นพระบรมราชปู ถมั ภ)์18 Burapha University Annual Report 2011

ไดร้ บั การรับรองการจดแจ้งขอ้ มูลลขิ สทิ ธ์ิ จ�ำ นวน ๗ ผลงาน ชอ่ื ผลงาน เจา้ ของผลงาน/สงั กดั เลขท่ี วนั ที่ทไ่ี ดร้ ับการรับรอง ทะเบยี นข้อมูล ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๔ระบบคอมพิวเตอรเ์ พอื่ การบรหิ าร ผศ.ดร.พชั นยี ์ ธระเสนาและพฒั นาทรพั ยากรบุคคล (วทิ ยาลยั การบริหารรฐั กจิ ) ว๑.๔๐๑๕โดยใช้สมรรถนะเปน็ ฐาน/วรรณกรรม(โปรแกรมคอมพิวเตอร)์ภาพ Banyan /ศิลปกรรม อาจารยก์ ุลชาณชั เตมิ ประยรู ศ๓.๑๒๖๕ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๔(ภาพพิมพ)์ (คณะศลิ ปกรรมศาสตร์) ศ๓.๑๒๖๖ ๒๒ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔ ศ๓.๑๒๖๗ ๒๒ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔ภาพลูกประคบสมุนไพร/ศิลปกรรม อาจารยก์ ลุ ชาณชั เติมประยรู ศ๓.๑๒๖๘ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๔(ภาพพมิ พ์) (คณะศลิ ปกรรมศาสตร)์ ศ๓.๑๒๖๙ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๔ ศ๓.๑๒๗๐ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๔ภาพลายสักทอง/ศลิ ปกรรม อาจารย์กลุ ชาณัช เตมิ ประยูร(ภาพพิมพ์) (คณะศิลปกรรมศาสตร)์ภาพใหมจ่ ีจ้ี (ภาพส)ี /ศลิ ปกรรม อาจารย์กลุ ชาณชั เติมประยรู(ภาพพิมพ)์ (คณะศลิ ปกรรมศาสตร์)ภาพใหมจ่ ีจ้ี (ภาพขาวดำ�) /ศลิ ปกรรม อาจารยก์ ลุ ชาณัช เตมิ ประยูร(ภาพพิมพ์) (คณะศิลปกรรมศาสตร์)ภาพเดน่ เจา้ ทรัพย์ (ภาษาองั กฤษ) / อาจารย์กุลชาณัช เติมประยรูศลิ ปกรรม (ภาพพิมพ์) (คณะศิลปกรรมศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั บรู พา 19 รายงานประจ�ำ ปี 2554

การบรหิ าร20 Burapha University Annual Report 2011

โครงสร้างการบริหารมหาวิทยาลัยบูรพาคณะกรรมการบริหารงานบุคคล สภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการสง่ เสรมิ กจิ การ มหาวิทยาลัยบรู พา นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลยั สภาพนักงานคณะกรรมการบริหารงานการเงิน มหาวิทยาลัยบูรพา สภาวชิ าการ และทรัพย์สนิ อธิการบดี คณะกรรมการทแี่ ตง่ ตงั้ โดย คณะกรรมการบรหิ าร มหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยัรองอธกิ ารบดี ผอู้ ำ�นวยการสถาบนั /ส�ำ นัก/ศูนย์ คณบดี๑. ฝา่ ยบริหาร ๑. สถาบนั วจิ ยั วัฒนธรรมและศลิ ปะ ๑. คณะการจดั การและการทอ่ งเทยี่ ว๒. ฝา่ ยวชิ าการ ๒. สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ๒. คณะการแพทย์แผนไทยอภยั ภเู บศร๓. ฝา่ ยกิจการนสิ ติ ๓. ส�ำ นกั คอมพวิ เตอร์ ๓. คณะพยาบาลศาสตร์๔. ฝ่ายวิเทศสมั พนั ธ์ ๔. ส�ำ นักบรกิ ารวชิ าการ ๔. คณะแพทยศาสตร์๕. ฝา่ ยวิทยาเขตจันทบรุ ี ๕. สำ�นกั หอสมดุ ๕. คณะเภสัชศาสตร์๖. ฝ่ายวทิ ยาเขตสระแกว้ ๖. สถาบันภาษา ๖. คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์๗. ฝา่ ยกีฬา นันทนาการ ศลิ ปะ ๗. คณะภมู ิสารสนเทศศาสตร์ และวฒั นธรรม ๘. คณะรฐั ศาสตรแ์ ละนิตศิ าสตร์ ๙. คณะโลจสิ ติกส์ ผูช้ ว่ ยอธิการบดี หัวหน้าสว่ นงาน ๑๐. คณะวิทยาการสารสนเทศ ๑๑. คณะวทิ ยาศาสตร์๑. ฝา่ ยบรหิ าร ๑. หัวหน้าสำ�นักงานสภามหาวทิ ยาลัย ๑๒. คณะวทิ ยาศาสตร์การกฬี า๒. ฝ่ายวิชาการ ๒. หวั หน้าสำ�นักงานอธกิ ารบดี ๑๓. คณะวศิ วกรรมศาสตร์๓. ฝา่ ยวิเทศสมั พนั ธ์ ๑๔. คณะศิลปกรรมศาสตร์๔. ฝ่ายกจิ การนสิ ติ ๑๕. คณะศึกษาศาสตร์๕. ฝา่ ยกจิ การพเิ ศษ ๑๖. คณะสาธารณสุขศาสตร์๖. ฝา่ ยวิทยาเขตจันทบุรี ๑๗. คณะสหเวชศาสตร์๗. ฝ่ายวทิ ยาเขตสระแกว้ ๑๘. วทิ ยาลยั การบริหารรฐั กจิ ๑๙. วิทยาลยั นานาชาติหมายเหตุ ๒๐. วทิ ยาลัยพาณิชยศาสตร์ ๒๑. วิทยาลยั วทิ ยาการวิจัยและวิทยาการปญั ญา* หมายถึง หนว่ ยงานในมหาวิทยาลัยบรู พา วทิ ยาเขตจันทบุรี ๒๒. คณะเทคโนโลยที างทะเล*** หมายถงึ หนว่ ยงานในมหาวทิ ยาลยั บูรพา วิทยาเขตสระแกว้ ๒๓. คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละศิลปศาสตร*์ ๒๔. คณะอญั มณี* ๒๕. คณะเทคโนโลยีการเกษตร** ๒๖. คณะวทิ ยาศาสตร์และสังคมศาสตร์** มหาวิทยาลยั บูรพา 21 รายงานประจ�ำ ปี 2554

โครงสร้างการแบ่งส่วนงานมหาวิทยาลัยบูรพา มหาวทิ ยาลยั บรู พามหจางัวหทิ วยัดาชลัยลบบรูรุ พี า วจิทังยหาวเขัดตจจนั ันททบบรุ รุี ี วจทิ ังยหาวเขัดตสสรระะแแกก้ว้วส�ำ นกั งานสภามหาวิทยาลยั คณะเทคโนโลยที างทะเล คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรส�ำ นกั งานอธกิ ารบดี คณะวิทยาศาสตรแ์ ละศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์คณะการจดั การและการทอ่ งเที่ยว คณะอญั มณีคณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศรคณะพยาบาลศาสตร์คณะแพทยศาสตร์คณะเภสัชศาสตร์คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์คณะภมู ิสารสนเทศศาสตร์ วิทยาลยั การบริหารรฐั กิจคณะรัฐศาสตรแ์ ละนติ ิศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติคณะโลจิสติกส์ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์คณะวทิ ยาการสารสนเทศ วิทยาลยั วิทยาการวิจยั และวทิ ยาการปญั ญา คณะวทิ ยาศาสตร์ สถาบนั วจิ ยั วัฒนธรรมและศิลปะคณะวทิ ยาศาสตร์การกฬี า สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเลคณะวศิ วกรรมศาสตร์ ส�ำ นักคอมพวิ เตอร์คณะศิลปกรรมศาสตร์ ส�ำ นักบริการวิชาการคณะศึกษาศาสตร์ สำ�นักหอสมดุคณะสาธารณสุขศาสตร์ สถาบันภาษาคณะสหเวชศาสตร์22 Burapha University Annual Report 2011

สภามหาวิทยาลัยบูรพา ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สวุ รรณกลุ นายกสภามหาวทิ ยาลยั ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพียรชยั อปุ นายกสภามหาวทิ ยาลัยกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผทู้ รงคณุ วุฒิรองศาสตราจารย์ ดร.กำ�จดั มงคลกลุ นายจกั รมณฑ์ ผาสุกวนชิ นายแจค็ มนิ ทร์ อิงค์ธเนศรองศาสตราจารย์ เชาวน์ มณวี งษ์ นายธรรมนติ ย์ สมุ นั ตกลุ ศาสตราจารย์ ดร.ธรี วุฒิ บณุ ยโสภณนายธีระวฒั น์ อรุณธัญญะ นายบัญญัติ จันทนเ์ สนะ นายพรี ะพงษ์ อจั ฉรยิ ชวี นิศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั ร้ิวตระกูล ศาสตราจารย์ สมศกั ดิ์ จักรไพวงศ์ 23ดร.สเุ มธ ตันติเวชกุล มหาวทิ ยาลัยบูรพา รายงานประจำ�ปี 2554

กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั โดยตำ�แหน่งศาสตราจารย์ ดร. สุชาติ อุปถมั ภ์ ศาสตราจารย์ นพ.สมพล พงศไ์ ทย นางสุนงนาท สูตะบตุ รประธานกรรมการส่งเสรมิ กจิ การมหาวทิ ยาลยั อธกิ ารบดี นายกสมาคมศษิ ยเ์ ก่า รองศาสตราจารย์ อัฌชา ก.บวั เกษร ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ วา่ ท่เี รอื ตรี ดร.เอกวิทย์ มณีธรประธานสภาพนักงาน (ถงึ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔) ประธานสภาพนักงาน (เร่มิ ๑ สงิ หาคม ๒๕๕๔)กรรมการสภามหาวิทยาลยั ประเภทหวั หน้าสว่ นงาน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. รชั นภี รณ์ ทรัพยก์ รานนท์ คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์กปรรรมะเกภาทรผสู้แภทามนหคาณวาิทจยาารลยยั ์ กปรรรมะเกภาทรผสูแ้ภทามนหคาณวาทิ จยาารลยยั์ ปกระรเรภมทกผาู้แรคสทณภนาาพจมนาหรกั ายงว์าิทนยซางึ่ ลมัยใิ ช่ (ถึง ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔) (เร่มิ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๔)ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ว่าท่เี รือตรี ดร.เอกวทิ ย์ มณีธร ผชู้ ว่ ยศาสตรตาจารย์ ดร.วรรณท์ นา พรมสวย นางสาวกนกรตั น์ คลา้ ยทองค�ำ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ เรืองประเทืองสุข นางธนวรรณ ศกั ดากมั ปนาท รองอธิการบดีฝา่ ยบริหาร หวั หน้าสำ�นักงานสภามหาวิทยาลัย เลขานกุ าร ผชู้ ว่ ยเลขานุการ24 Burapha Universit y Annual Report 2011

คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลัยบรู พา ประธานกรรมการ ๑. ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ มพล พงศไ์ ทย อธิการบดี รองประธานกรรมการ ๒. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ เรืองประเทอื งสขุ รองอธกิ ารบดีฝ่ายบรหิ าร กรรมการ๓. รองศาสตราจารยอ์ ฌั ชา ก. บัวเกษร ๔. รองศาสตราจารย์ ดร.เสรี ชัดแชม้ ๕. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พิชาญ สว่างวงศ์ รองอธกิ ารบดี รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวชิ าการ และ รองอธิการบดีฝา่ ยวเิ ทศสมั พันธ์ รักษาการแทนผู้อำ�นวยการสถาบันภาษา๖. ผชู้ ่วยศาสตราจารยบ์ ุญมา ไทยกา้ ว ๗. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บรรพต วริ ฬุ ราช ๘. ดร.วศิน ยุวนะเตมยี ์ รองอธิการบดีฝา่ ยกจิ การนสิ ิต ผู้รักษาการแทนรองอธิการบดี ผู้รกั ษาการแทนรองอธิการบดฝี า่ ยวิทยาเขต ฝา่ ยกจิ การพเิ ศษ และ จันทบรุ ี คณบดีวิทยาลยั พาณชิ ยศาสตร์ ๙. อาจารยเ์ สรี ชิโนดม ๑๐. ดร.เจริญ ชินวานชิ ย์เจริญ ๑๑. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมถวลิ จรติ ควรผูร้ ักษาการแทนรองอธกิ ารบดี ผชู้ ่วยอธิการบดฝี า่ ยบริหาร และ ผู้ช่วยอธิการบดฝี า่ ยวชิ าการ ผูร้ กั ษาการแทนหัวหนา้ สำ�นกั งาน ฝา่ ยวทิ ยาเขตสระแกว้และคณบดคี ณะวิทยาศาสตร์ อธิการบดี และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา 25 รายงานประจำ�ปี 2554

๑๒. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ๑๓. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ๑๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สหทั ยา รัตนะมงคลกุล ดร.ยวุ ดี รอดจากภยั ดร.พรชยั จลู เมตต์ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวิชาการ ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผูช้ ่วยอธกิ ารบดฝี ่ายวิเทศสมั พันธ์ ๑๕. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ๑๖. อาจารยส์ หรฐั ธีระคัมพร ๑๗. ดร.ไชยา กฎุ าคาร ชัยยศ วนิชวฒั นานุวตั ิ ผ้ชู ่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตจนั ทบรุ ี ผ้ชู ่วยอธกิ ารบดีฝ่ายวิทยาเขตสระแกว้ผู้ช่วยอธกิ ารบดีฝา่ ยกจิ การนิสิต ๑๘. อาจารย์เสถียร ปรุ ณะวิทย์ ๑๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ๒๐. นางธนวรรณ ศักดากมั ปนาทผชู้ ่วยอธกิ ารบดฝี ่ายกฬี า นันทนาการ ว่าทเ่ี รอื ตรี ดร. เอกวทิ ย์ มณธี ร หัวหน้าส�ำ นกั งานสภามหาวิทยาลัย ศลิ ปะและวฒั นธรรม ประธานสภาพนกั งาน๒๑. ผชู้ ่วยศาสตราจารยพ์ ัชนี นนทศกั ดิ์ ๒๒. ศาสตราจารย์ ๒๓. ดร.ไพฑูรย์ แกว้ หอมคณบดีคณะการจัดการและการทอ่ งเท่ยี ว นายแพทย์ศาสตรี เสาวคนธ์ ผู้รกั ษาการแทนคณบดี คณบดคี ณะการแพทยแ์ ผนไทยอภยั ภเู บศร คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร๒๔. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รชั นภี รณ์ ๒๕. นายแพทยว์ รรณะ อนู ากลู ๒๖. รองศาสตราจารย์ ทรัพย์กรานนท์ ผรู้ กั ษาการแทนคณบดีคณะแพทยศาสตร์ ดร.สนิ ธุช์ ยั แก้วกติ ิชยั คณบดคี ณะเภสชั ศาสตร์ คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์๒๗ ดร.สพุ รรณ กาญจนสธุ รรม ๒๘ ดร.บุญรอด บญุ เกดิ ๒๙. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์คณบดีคณะภมู สิ ารสนเทศศาสตร์ คณบดคี ณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ดร.สัมฤทธิ์ ยศสมศกั ดิ์ คณบดคี ณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์26 Burapha University Annual Report 2011

๓๐. ดร.มานะ เชาวรตั น์ ๓๑. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ๓๒. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ คณบดีคณะโลจสิ ติกส์ ดร.สุวรรณา รัศมขี วญั ดร.อุษาวดี ตันติวรานรุ กั ษ์ คณบดีคณะวิทยาการสารสนเทศ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ๓๓ ดร.ศักด์ิชาย พิทกั ษว์ งศ์ ๓๔. อาจารยล์ ัญจกร สัตยส์ งวน ๓๕. ดร.อาณตั ิ ดพี ฒั นาคณบดคี ณะวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา คณบดคี ณะวิทยาศาสตรแ์ ละศลิ ปศาสตร์ คณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์๓๖. อาจารยส์ มาน สรรพศรี ๓๗. รองศาสตราจารย์ ๓๘. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์คณบดคี ณะศิลปกรรมศาสตร์ ดร.มนตรี แย้มกสกิ ร ดร.ประเสริฐ มรี ตั น์ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ คณบดีคณะสหเวชศาสตร์ ๓๙. รองศาสตราจารย์ ๔๐. อาจารย์สรุ นิ ทร์ อินทะยศ ๔๑. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วสุธร ตันวฒั นกุล คณบดีคณะอัญมณี ดร.พัชนีย์ ธระเสนาคณบดีคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ คณบดีวิทยาลัยการบรหิ ารรฐั กิจ๔๒. รองศาสตราจารย์ ๔๓. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ๔๔ รองศาสตราจารยไ์ พพรรณ อินทนลิดร.เรณา พงษ์เรอื งพันธุ์ ดร.สุชาดา เพชรกรปาณี ผรู้ ักษาการแทนผอู้ �ำ นวยการสถาบนั วิจัยคณบดวี ทิ ยาลยั นานาชาติ คณบดวี ทิ ยาลยั วิทยาการวิจัย และวิทยาการปัญญา วฒั นธรรมและศิลปะ๔๕. ดร.วรเทพ มุธุวรรณ ๔๖. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ๔๗. รองศาสตราจารย์ ผูอ้ ำ�นวยการสถาบัน ดร.สุรางคนา ธรรมลขิ ติ เทพศักด์ิ ทองนพคณุ วิทยาศาสตรท์ างทะเล ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั คอมพวิ เตอร์ ผู้อ�ำ นวยการสำ�นกั บรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยบรู พา 27 รายงานประจำ�ปี 2554

๔๘. รองศาสตราจารย์ ๔๙. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ๕๐ ดร.ผลาดร สุวรรณโพธิ์ ดร.ศรวี รรณ มีคณุ นายแพทยพ์ ิสษิ ฐ์ พริ ิยาพรรณ ผ้อู �ำ นวยการโรงเรยี นสาธิต ผอู้ ำ�นวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพผอู้ ำ�นวยการส�ำ นักหอสมดุ “พิบลู บ�ำ เพญ็ ”๕๑. นางกนกวรรณ มณไฑวงศ์ ๕๒. นางสาวภิญโญ เปี่ยมประสาทพร ๕๓ นางสาวเนาวรตั น์ ดรณุ ศรีผอู้ �ำ นวยการกองการเจา้ หน้าท่ี ผ้อู ำ�นวยการกองกิจการนสิ ติ ผ้อู �ำ นวยการกองแผนงาน๕๔. นางสาวกนกรัตน์ คล้ายทองคำ� ๕๕. นายพชิ ติ ร มพี จนา ๕๖. นายสภุ าพ คัมภริ านนท์ผูอ้ ำ�นวยการกองคลังและทรพั ยส์ ิน ผ้อู �ำ นวยการกองบรกิ ารการศกึ ษา ผ้อู �ำ นวยการกองอาคารสถานที่๕๗. นางสาวพชั รี ปัญญาเลิศศรทั ธา ๕๘. นางภัทรภร ธรรรมมะ ๕๙. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ วไิ ล ล่มิ ถาวรานนั ต์ผูป้ ฏบิ ตั หิ น้าท่ีผอู้ �ำ นวยการกองบรหิ าร ผู้ปฏิบัตหิ น้าท่ีผอู้ �ำ นวยการกองบริหาร ผู้รกั ษาการแทนผ้อู �ำ นวยการศูนยจ์ นี ศกึ ษา วิทยาเขตสระแกว้ วทิ ยาเขตจันทบุรี๖๐. นางสาววราภา เกลด็ แกว้ จนิ ดา ๖๑. นางสาวราตรี แซห่ วอ่ ง ๖๒. นายครรชติ ดอกไม้คลี่ ผจู้ ัดการศูนย์ปฏบิ ตั ิการโรงแรม หวั หนา้ หนว่ ยตรวจสอบภายใน ประธานคณะกรรมการบรหิ ารโครงการ กรรมการและเลขานุการ ผ้ชู ว่ ยเลขานุการ จดั ตัง้ กองกีฬา และนันทนาการ ๖๓. นางธนดิ า แผลงจันทึก ๖๔. นางบญุ เพ็ญ ฤทธ์มิ หันต์ ๖๕. นางอรอินท์ุ วนชิ วัฒนานุวตั ิผอู้ �ำ นวยการกองกลาง (กรรมการและ หวั หนา้ งานการประชมุ และพธิ ีการ (ผชู้ ว่ ย เจา้ หน้าท่ีบรหิ ารงานทว่ั ไป (ผูช้ ่วย เลขานกุ าร) เลขานุการ) เลขานุการ)28 Burapha University Annual Report 2011

สภาวิชาการมหาวิทยาลัยบูรพา ประธานกรรมการ กรรมการกรรมการสภาวชิ าการมหาวทิ ยาลัยบรู พา กรรมการประกอบด้วย กรรมการ กรรมการ ๑. อธิการบด ี กรรมการ ๒. ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพยี รชัย กรรมการ ๓. ศาสตราจารย์ ดร.ปราณ ี กุลละวณิชย ์ กรรมการ ๔. ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.วิจิตร ศรสี ุพรรณ กรรมการ ๕. ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ พลตรีหญิงแพทยห์ ญิงวณิช วรรณพฤกษ์ กรรมการ ๖. ศาสตราจารย์ ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษส์ กุล กรรมการ ๗. ศาสตราจารย์ ดร.ละออศรี เสนาะเมือง กรรมการ ๘. คณบดีคณะรัฐศาสตรแ์ ละนติ ศิ าสตร์ กรรมการ ๙. คณบดวี ิทยาลัยวทิ ยาการวิจัยและวิทยาการปญั ญา กรรมการ ๑๐. คณบดคี ณะการแพทยแ์ ผนไทยอภัยภเู บศร กรรมการ ๑๑. คณบดีคณะวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา กรรมการ ๑๒. คณบดคี ณะวทิ ยาการสารสนเทศ กรรมการ ๑๓. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ กรรมการ ๑๔. รองศาสตราจารย์นฤมล ลี้ปิยะชาต ิ กรรมการ ๑๕. ศาสตราจารย์ สุชาติ เถาทอง กรรมการและเลขานกุ าร ๑๖. รองศาสตราจารย์ ดร.วสุธร ตันวัฒนกุล ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร ๑๗. รองศาสตราจารย์ ดร.สุวรรณา จนั ทรป์ ระเสรฐิ ๑๘. รองศาสตราจารยอ์ ฌั ชา ก.บัวเกษร ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๑๙. รองศาสตราจารย์ ดร.วีรพงศ์ วุฒิพันธ์ุชัย ผ้ชู ่วยเลขานุการ ๒๐. รองอธิการบดฝี ่ายวชิ าการ ๒๑. ผู้ช่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยวิชาการ (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมถวิล จริตควร) ๒๒. ผ้อู �ำ นวยการกองบรกิ ารการศึกษา ๒๓. หวั หน้างานพฒั นาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยั บูรพา 29 รายงานประจ�ำ ปี 2554

คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยบูรพา ประธานกรรมการ กรรมการ ๑. ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ อปุ ถมั ภ์ กรรมการ กรรมการ ๒. ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบรุ ี กรรมการ ๓. รองศาสตราจารย์ เชาวน์ มณวี งษ์ กรรมการ กรรมการ ๔. นายจิตติ พงศไ์ พโรจน ์ กรรมการ ๕. นายสุทนิ ภาศวิ ะมาศ กรรมการ ๖. นายภิญโญ ตัน๊ วเิ ศษ กรรมการ กรรมการ ๗. นายธรี ะวัฒน์ อรณุ ธญั ญะ กรรมการ ๘. นายจิราเมศร์ โชคสุริยเกยี รติ กรรมการ ๙. นายธีระ มงคลจิตตานนท ์ กรรมการ ๑๐. นายวิบลู ย์ กรมดิษฐ ์ กรรมการ ๑๑. นายพงษไ์ พโรจน์ รัชตะทรพั ย์ กรรมการ กรรมการ ๑๒. นายฉัตรชยั ทมิ กระจ่าง กรรมการ ๑๓. นายจกั รวาล ต้ังประกอบ กรรมการ ๑๔. นางสอ่ งศรี พศิ าลวาเลิศ กรรมการ กรรมการ ๑๕. นายธรี ะชัย ลอ้ วชริ ะวัฎฎ์ กรรมการ ๑๖. นายเทอดธรรม อัมราลขิ ติ กรรมการ ๑๗. นายกสมาคมศษิ ยเ์ ก่ามหาวิทยาลยั บูรพา กรรมการ ๑๘. นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั ชลบุร ี กรรมการ ๑๙. นายกเมืองพัทยา กรรมการ ๒๐. นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองแสนสขุ กรรมการ ๒๑. นายกเทศมนตรเี ทศบาลนครแหลมฉบัง กรรมการ กรรมการ ๒๒. ประธานสภาอตุ สาหกรรมจังหวัดชลบรุ ี กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ๒๓. ประธานหอการคา้ จังหวัดชลบุรี กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ๒๔. นายชุมพล เทย่ี งธรรม กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ ๒๕. ดร.พิชัย สนแจง้ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร ๒๖. นายภาคิน สมมติ ร ๒๗. นายสาธิต ปติ ิวรา ๒๘. นายสรุ ินทร์ จริ วิศษิ ฐ์ ๒๙. นายเจรญิ จรุ กี านนท์ ๓๐. นายจิระวี เสมอวงษ์ ๓๑. รองอธกิ ารบดฝี ่ายบรหิ าร ๓๒. ผูอ้ ำ�นวยการกองกลาง ๓๓. หัวหน้างานการประชุมและพธิ ีการ ๓๔. นางอรอนิ ท์ุ วนิชวัฒนานวุ ัติ 30 Burapha University Annual Report 2011

สภาพนกั งาน ประธานสภาพนักงาน รองประธานสภาพนกั งานคนที่ ๑ ๑. นายเอกวทิ ย์ มณธี ร รองประธานสภาพนักงานคนที่ ๒ ๒. นายครรชติ ดอกไม้คล่ี ๓. นางสาวไพลนิ เงาตระการววิ ฒั น์ ๒๐. นายธนากร เท่ยี งนอ้ ย ๒๑. นางสาวสุปราณี ธรรมพิทักษ์ สมาชกิ ๒๒. นางสาวชตุ ิวรรณ เดชสกุลวัฒนา ๔. นายพิเชฐ เจรญิ เกษ ๒๓. นายเสริมสทิ ธิ์ สรอ้ ยสอดศรี ๕. นายบุญเชิด หนอู ่ิม ๒๔. นายสรร กลิ่นวิชิต ๖. นางสาวยนุ ี พงศ์จตรุ วิทย์ ๒๕. นางเวธกา กลนิ่ วชิ ิต ๗. นางสาวศริ ดา จารุตกานนท์ ๒๖. นางอาภากร ธาตุโลหะ ๘. นายสุดสายชล หอมทอง ๒๗. นายสรุ พล ปยุ้ เจริญ ๙. นางสาวพิมลพรรณ เลศิ ลา้ํ ๒๘. นายเมธิน ศรีสวสั ดิ์ ๑๐. นายวิทวสั แจง้ เอี่ยม ๒๙. นายเอกกฤต เมนะคงคา ๑๑. นางยุวดี ชโิ นดม ๓๐. นายสทุ ธิจติ ต์ รอดผัน ๑๒. นายกนก พานทอง ๓๑. นางสาวณัฐฐิญา ดีหลี ๑๓. นางสาวพมิ พ์ทอง ทองนพคณุ ๓๒. นางสนุ ันทา อนิ ทเจริญ ๑๔. นายธนพล พุกเสง็ ๓๓. นางพิสมยั นาํ้ จนั ทร์ ๑๕. นางเบญ็ จมาศ ไพบลู ย์กจิ กลุ ๓๔. นางสาวอภญิ ญา หรูสกลุ ๑๖. นายปญั ญา อนิ ทเจรญิ ๑๗. นายภูรติ มีพร้อม เลขาธกิ าร ๑๘. นายโอฬาร ถิ่นบางเตียว รองเลขาธิการ คนท่ี ๑ ๑๙. นายกติ ติศักด์ิ ออ่ นเอ้ือน รองเลขาธิการ คนที่ ๒ เลขาธกิ าร ๓๕. นางวรรณท์ นา ภาณพุ นิ ทุ ๓๖. นางสาวชนสิ รา แก้วสวรรค์ ๓๗. นายใหม่ ภูผา มหาวิทยาลัยบรู พา 31 รายงานประจำ�ปี 2554

การประกนั คุณภาพ๑. กิจกรรมการประกันคุณภาพ ๑. โครงการประชุมสัมมนา เรื่อง “การเตรียมความพร้อมสำ�หรับการประเมินการศกึ ษา คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน” (๙ องคป์ ระกอบ ๒๓ ตวั บง่ ช)้ี ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ จ�ำ นวน ๒ ครง้ั ในวนั ที่ ๑ และ ๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ ห้องประชมุ ใหญ่ ชน้ั ๒ อาคารหอศิลปะ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ดำ�เนิน และวัฒนธรรมภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพาพันธกจิ ๕ ประการ โดยมปี ณธิ าน เพื่อ ๒. โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การจัดทำ�แผนยกระดับผลิตบัณฑิตให้มีปัญญา ใฝ่หาความรู้ มหาวทิ ยาลยั บรู พาตามผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน” มหาวทิ ยาลยั บรู พา ปกี ารและคุณธรรม สร้างองคค์ วามรใู้ หม่ เพือ่ ศึกษา ๒๕๕๓ ในวนั ที่ ๑ – ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ โรงแรม ลองบชี การเ์ ดน้ โฮเตล็ความเปน็ เลิศทางวิชาการ เปน็ ที่พงึ่ ทาง แอนด์ สปา พัทยาเหนือ ชลบุรีวชิ าการ สบื สานวฒั นธรรม ชนี้ �ำ แนวทาง ๓. โครงการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “ผู้ประเมินคุณภาพการพัฒนาแก่สังคม โดยเฉพาะในภูมิภาค ศึกษาภายใน” หลกั สตู ร ๑ (ส�ำ หรับผทู้ ี่มีประสบการณ์ในการประเมนิ คุณภาพ) ในวนั ที่ ๓๐ตะวันออก พันธกิจ ๕ ประการ ได้แก่ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ หอ้ งประชมุ Auditorium ชนั้ ๘ อาคารวทิ ยาลยั พาณชิ ยศาสตร์สร้างความรู้ปัญญา และบริหารจัดการ มหาวทิ ยาลยั บรู พาใหเ้ กดิ คณุ คา่ ตอ่ การพฒั นาสงั คม จดั การ ๔. โครงการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาศึกษาท่ีมีคุณภาพในระดับสากล สร้าง ภายใน มหาวทิ ยาลยั บรู พา” หลกั สตู รพเิ ศษ ๒ วนั (ส�ำ หรบั ผทู้ มี่ ปี ระสบการณใ์ นการประเมนิบณั ฑติ ใหม้ คี ณุ ธรรม เชยี่ วชาญในศาสตร์ คณุ ภาพ) ในวนั ท ่ี ๒๓ – ๒๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ หอ้ งประชมุ ๑๐๑ – ๑๐๒ หอประชมุเปน็ ผู้นำ�ท่มี ีทักษะสากล บรกิ ารวชิ าการ ธ�ำ รง บัวศร ี มหาวิทยาลัยบรู พาสู่สังคม ร่วมสร้างสังคมอุดมปัญญาท่ีพึ่ง ๕. โครงการประชุมสัมมนา เร่ือง “การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรบั การประเมนิตนเอง สง่ เสริม สนบั สนุนและธำ�รงไวซ้ ่ึง คุณภาพภายนอกรอบสาม” สำ�หรับผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากร มหาวิทยาลัยบูรพา ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย และ ในวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๐๘.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชมุพัฒนามหาวิทยาลัยให้เข้มแข็ง มีระบบ ๒๐๒ ชั้น ๒ หอประชุมธ�ำ รง บัวศรี มหาวทิ ยาลัยบรู พาบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูงและ ๖. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง “การเขียนรายงานการประเมินตนเองพ่ึงตนเองได้ การที่จะบรรลุถึงปณิธาน ประจ�ำ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๓” Self – Assessment report (SAR) ในวันที่ ๒๖ พฤษภาคมดังกล่าวได้นั้น จำ�เป็นต้องมีการจัดการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ หอ้ งประชุม PH ๑๑๗ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพาเ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม ม่ั น ใ จ ใ ห้ กั บ สั ง ค ม ๗. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร เรอ่ื ง “การใช้โปรแกรมระบบฐานขอ้ มูลด้านการผู้ ต้ อ ง ก า ร ใช้ กำ � ลั ง ค น ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ประกนั คณุ ภาพการศึกษา” (CHE QA ONLINE SYSTEM) จำ�นวน ๒ ครั้ง ในวันที่ ๒๕ซึ่งโดยหลักการ คือ ต้องมีการประกัน และ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ หอ้ งศูนย์เทคโนโลยีการศกึ ษา ชนั้ ๒ คณะศึกษาศาสตร์คณุ ภาพภารกจิ และปจั จยั การด�ำ เนนิ การ (อาคาร QS ๑)ด้านอื่น ๆ ท่ีมีผลต่อการจัดการศึกษา ๘. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “การเตรยี มความพรอ้ มสำ�หรบั เลขานกุ ารสำ�หรบัพร้อมท้ังรักษามาตรฐานการศึกษาของ การตรวจประเมนิ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับส่วนงาน ปีการศึกษา ๒๕๕๓มหาวิทยาลัย ในส่วนของการประกัน ในวนั ท่ี ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ ห้องประชมุ ๙๐๓ ช้นั ๙ อาคาร ภปร. มหาวทิ ยาลัยคณุ ภาพการศกึ ษานี้ มหาวทิ ยาลยั บรู พา บูรพาได้ตระหนักเป็นอย่างดีย่ิง จึงได้สรรหา ๙. โครงการ “วันประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา” (Buraphaวิธีการดำ�เนินการมาต้ังแต่ ปี พ.ศ. University Quality Assurance Day : Buu QA Day) ในวันที่ ๗ – ๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๙ โดยเริ่มแรกได้มีการให้ความรู้ ๒๕๕๔ ณ หอประชมุ ธำ�รง บัวศรี มหาวทิ ยาลัยบูรพากบั บคุ ลากรในลกั ษณะของการจดั อบรม ๑๐. โครงการ “การตรวจประเมนิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน มหาวทิ ยาลยัการบรรยาย และสัมมนาเชิงปฏิบัติการ บรู พา” ส�ำ หรบั ผลงานรอบปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ ระหวา่ งวันท่ี ๘ – ๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๔เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรมคี วามรู้ ความเขา้ ใจอยา่ ง ๑๑. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เรื่อง “การกรอกขอ้ มลู การประกนั คุณภาพการแท้จริง และหลังจากน้ันการดำ�เนินการ ศกึ ษา โดยใชโ้ ปรแกรมระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา” (CHE QA ONLINEในดา้ นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของ SYSTEM) วนั ท่ี ๒๔ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ หอ้ งประชมุ ๙๐๓ ชนั้ ๙ อาคาร ภปร.มหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดด้ �ำ เนนิ การพฒั นา ๑๒. โครงการ “การรับการตรวจประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม มหาวิทยาลัยก้าวหน้ามาโดยลำ�ดับ มหาวิทยาลัย บูรพา” จากสำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) บรู พาไดด้ �ำ เนนิ กจิ กรรมดา้ นการประกนั ในวันท่ี ๑๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ หอ้ งประชมุ ๙๐๓ ช้ัน ๙ อาคาร ภปร.คุณภาพการศกึ ษา ดงั น้ี32 Burapha University Annual Report 2011

๒. ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยบูรพาได้ดำ�เนินการให้มีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ซ่ึงแต่งตั้งโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา ตามคำ�สั่งมหาวิทยาลัยบูรพาที่ ๑๒๒๖/๒๕๕๔ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน มหาวิทยาลยั บรู พา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกอบด้วย ๑. ศาสตราจารย์ ดร.เสริมศักดิ์ วศิ าลาภรณ์ ราชบัณฑิต ประธานกรรมการ ๒. รองศาสตราจารย์ ดร.ชนศกั ดิ์ บ่ายเท่ียง กรรมการ ๓. รองศาสตราจารย์ ดร.สมสรร วงษอ์ ยู่นอ้ ย กรรมการ ๔. รองศาสตราจารย์ ดร.กัญญดา ประจศุ ิลป กรรมการ ๕. รองศาสตราจารย์ ดร.ดุษณี ธนะบริพัฒน ์ กรรมการ ๖. รองศาสตราจารย์ ดร.วศิน องิ คพฒั นากลุ กรรมการ ๗. รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค ์ อยู่ถนอม กรรมการ ๘. รองศาสตราจารยว์ จิ ิตพาณี เจรญิ ขวัญ กรรมการ ๙. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ ์ กรรมการ ๑๐. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.นรงค์ ฉิมพาล ี กรรมการ ๑๑. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยป์ ราน ี พรรณวิเชยี ร กรรมการ ๑๒. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ยวุ ด ี รอดจากภยั กรรมการและเลขานุการ การตรวจประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายในครัง้ นี้ มวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ ประเมนิ ผลการดำ�เนนิ งานของ มหาวิทยาลยั บรู พา ในรอบปีการศึกษา ๒๕๕๓ ตามตัวบ่งช้ี และเกณฑ์มาตรฐานของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และของมหาวิทยาลัยบูรพา รวมท้ังศึกษาวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน ประเด็นเร่งด่วน ในการพัฒนาข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาในแต่ละองค์ประกอบ และให้ข้อเสนอแนะ เพ่ือการปรับปรงุ และพฒั นาคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลัยบรู พา ต่อไป คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ได้ดำ�เนินการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ของมหาวิทยาลัยบูรพา ในวันที่ ๘ – ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ และได้เสนอผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ พร้อมทงั้ จัดท�ำ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายในของมหาวิทยาลัยบูรพา เสนอต่อมหาวิทยาลยั บรู พา ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในตาม ๒๓ ตวั บ่งช้ขี องส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) พบว่า ในภาพรวม มีคุณภาพระดับดี (คะแนนเฉล่ยี ๓.๘๔) มหาวทิ ยาลยั บูรพา 33รายงานประจ�ำ ปี 2554

จุดเด่น จุดทคี่ วรพฒั นา ๑. ผู้บรหิ ารสูงสดุ ของมหาวทิ ยาลยั มีวสิ ยั ทศั น์ กระบวน ๑. อาจารย์วุฒิปริญญาเอก และอาจารย์ท่ีมีตำ�แหน่ง ทัศน์และมีความมุ่งม่ันที่จะบริหารจัดการนำ�พามหาวิทยาลัยไปสู่ ทางวิชาการ ตํา่ กว่าเกณฑใ์ นการเป็นมหาวิทยาลัยวิจยัการเปน็ มหาวทิ ยาลัยวิจยั ๒. ผลงานวิจัยของอาจารย์และนิสิตท่ีตีพิมพ์ในวารสาร ๒. มหาวิทยาลัยต้งั อยูใ่ นสภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมใกล้ นานาชาติ ยงั มนี อ้ ยกรุงเทพมหานคร ใกล้สนามบิน การคมนาคมสะดวก สามารถใช้ ๓. ในระหว่างคณะมหี ลกั สูตรและโปรแกรมที่คาบเกี่ยวทรัพยากรภายนอกมหาวิทยาลัยท้ังในประเทศและต่างประเทศ กันและซํ้าซ้อน เป็นผลทำ�ให้แต่ละคณะต้องแข่งขันกันเองด้วยซ่ึงเอ้ืออำ�นวยต่อการนำ�มหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศในการเป็น ยุทธวิธีต่าง ๆ เพือ่ จูงใจผทู้ จ่ี ะเขา้ เรียน เป็นอปุ สรรคในการพัฒนามหาวทิ ยาลยั ชัน้ นำ�ภาคตะวนั ออก ความเชี่ยวชาญเฉพาะ และการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างคุ้มค่า ๓. มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรและโปรแกรมที่หลากหลาย ซงึ่ มหาวทิ ยาลยั ควรก�ำ กบั ดแู ลความเหมาะสม และความเปน็ ธรรมท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สามารถตอบสนองความต้องการ ในการปฏิบัติของผูเ้ รยี นได้เปน็ อยา่ งดี ๔. ควรปรบั ปรงุ หลกั สตู รทกุ หลกั สตู รใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ ๔. มหาวิทยาลัยบูรพาตั้งอยู่ใกล้ทะเล และพื้นที่ชายฝ่ัง มาตรฐานหลักสูตรของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard) ซง่ึ สามารถบูรณาการเพอ่ื ตามรอบระยะเวลา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ตอ้ งด�ำ เนนิ การทกุ หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวจิ ยั และเปน็ จดุ เนน้ จดุ เดน่ ของมหาวทิ ยาลยั ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาต ิ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๕. มหาวิทยาลัยบูรพา มีศักยภาพสูงที่จะรับนิสิต กอ่ นเปิด ภาคการศึกษา ๒๕๕๕ต่างชาติเข้าศึกษา/วิจัย โดยพบว่ามี ๒๑ คณะ/วิทยาลัยท่ีมีนิสิต ๕. บางหนว่ ยงานยงั ขาดความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ตวั บง่ ชแี้ ละตา่ งชาตศิ ึกษาในทกุ ระดับการศกึ ษา เกณฑ์การประเมิน จึงส่งผลต่อการประเมินตนเอง และการเขียน ๖. มหาวทิ ยาลยั กอ่ ตงั้ มานาน มศี ษิ ยเ์ กา่ ทม่ี ชี อื่ เสยี งและ รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR)มีศักยภาพ สามารถกลับมาพัฒนามหาวิทยาลยั ๖. สร้างความเข้าใจและพัฒนาระบบการประเมิน ๗. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั และชมุ ชน ใหก้ ารสนบั สนนุ ความสำ�เร็จของแผนตามวัตถุประสงค์ของแผน และนำ�ผลการกิจกรรมของมหาวิทยาลัยอยา่ งตอ่ เน่อื ง ประเมินไปปรับปรุงแผนอยา่ งเป็นรปู ธรรม ๗. สำ�หรับหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน ควรมีการประเมินตนเองทุกองค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องตามพันธกิจ ของหน่วยงาน ประเด็นเร่งด่วนในการพัฒนา ๑. กำ�หนดผู้รับผิดชอบหลักในการพัฒนามหาวิทยาลัย สู่สถาบันการเรียนรู้ และดำ�เนินการจัดการความรู้ตามเป้าหมาย ให้ครบวงจรของการจดั การความรู้ ๒. กำ�หนดผู้รับผิดชอบหลักในการจัดทำ�แผนบริหาร ความเสย่ี งระดบั มหาวทิ ยาลยั และด�ำ เนนิ การตามแผนการบรหิ าร ความเสี่ยงใหค้ รบวงจร ๓. ควรให้การสนับสนุนและช่วยเหลือหน่วยงานที่มี ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในต่ํากว่าระดับดี ซ่ึงจะส่ง ผลต่อการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกของหน่วยงานและ มหาวิทยาลัย ๔. ควรกำ�หนดกลยุทธ์ให้ผู้บริหารทุกระดับเห็น ความสำ�คญั และมีส่วนรว่ มในการประกันคณุ ภาพการศึกษา34 Burapha University Annual Report 2011

มปบงีหญั บาวปิทชรยะีงมาาบลณัยดบลุ รู๒พ๕า๕๔ มหาวิทยาลัยบูรพา 35รายงานประจ�ำ ปี 2554

มหาวทิ ยาลัยบรู พางบกระแสเงินสดสำ�หรบั รอบระยะเวลาบัญชีส้ินสดุ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำ เนินงานเงินสดรบั รายได้จากเงนิ งบประมาณ ๑,๔๖๗,๙๘๗,๕๑๗.๖๓ รายไดจ้ ากการขายสนิ ค้าและบรกิ าร ๒,๐๖๔,๕๘๔,๑๔๑.๕๖ รายไดจ้ ากการบริจาค รายได้อนื่ ๒๒,๙๑๒,๙๖๑.๒๔ ๑๐๒,๖๔๑,๔๐๑.๗๕รวมเงินสดรบั บวก ลูกหนีล้ ดลง ๓,๖๕๘,๑๒๖,๐๒๒.๑๘เงนิ สดจ่าย หกั สนิ คา้ และวัสดุคงเหลอื เพ่ิมขนึ้ ๓,๑๐๔,๖๑๘.๗๘ รายได้คา้ งรับเพิม่ ขนึ้ ๓,๖๖๑,๒๓๐,๖๔๐.๙๖ ค่าใชจ้ า่ ยด้านบุคลากร ๕,๘๓๖,๕๔๐.๖๐ คา่ ใช้จา่ ยในการด�ำ เนนิ งาน ๕๓,๔๖,๙๒๙.๔๘ ค่าใชจ้ า่ ยเงินอุดหนุน ๓,๖๕๐,๐๔๗,๑๗๐.๘๘ ค่าเสอ่ื มราคา ค่าใช้จ่ายอ่นื ๙๔๔,๙๕๕,๕๑๐.๐๙ ๑,๑๑๓,๐๖๔,๕๒๐.๗๑ หัก เจา้ หน้ีเพิ่มขนึ้รวมเงินสดจา่ ย ค่าใช้จา่ ยคา้ งจ่ายเพิม่ ขึน้ ๑๔๓,๔๗๙,๕๙๙.๙๓กระแสเงินสดสุทธิจากกจิ กรรมด�ำ เนนิ งาน เงินรับฝากและเงนิ ประกนั เพิม่ ขึน้ ๔๓๐,๒๑๕,๕๗๐.๙๕ หน้ีสินหมนุ เวยี นอนื่ เพมิ่ ขน้ึ ๑๘,๓๗๔,๒๙๗.๒๔กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทนุ สนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวยี นอืน่ ลดลง ๒,๖๕๐,๐๘๙,๔๙๘.๙๒ สนิ ทรพั ยโ์ ครงสร้างพ้นื ฐาน (สทุ ธิ) ลดลง ๓๓๓,๙๙๔.๒๑ หกั เงนิ ลงทนุ ระยะส้นั เพิ่มขน้ึ ๕,๑๑๙,๕๒๖.๕๗ ทดี่ นิ อาคาร และอปุ กรณ์ (สุทธ)ิ เพ่มิ ขึ้น ๒๑๖,๘๕๙,๒๑๐.๐๔ สนิ ทรพั ย์ไมม่ ตี ัวตน (สุทธ)ิ เพม่ิ ขนึ้ ๕๙,๙๗๔,๙๘๒.๕๑ ๒,๓๖๗,๘๐๑,๗๘๕.๕๙กระแสเงนิ สดสทุ ธิจากกิจกรรมลงทนุ ๑,๒๘๒,๒๔๕,๓๘๕.๒๙กระแสเงนิ สดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ๑๔๗,๕๗๔.๓๖ ๑,๘๕๘,๓๓๔.๕๘ ทนุ เพ่ิมข้นึ ๒,๐๐๕,๙๐๘.๙๔ หัก รายไดส้ ูง/(ตํ่า)กวา่ ค่าใชจ้ ่ายสะสมลดข้นึ ๗๔๒,๘๒๐,๑๗๐.๘๕ ๒๐๒,๑๙๖,๑๗๗.๐๐ เงนิ กรู้ ะยะยาวลดลง ๓,๕๐๐,๑๔๘.๓๒กระแสเงนิ สดสทุ ธจิ ากกิจกรรมจดั หาเงนิ (๙๔๖,๕๑๐,๕๘๗.๒๓)เงนิ สดเพิ่มขน้ึ / (ลดลง) สทุ ธิ ๑๒๐,๖๙๘,๔๘๖.๗๙เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สดคงเหลือ ณ วนั ต้นงวด ๑๔๒,๒๐๐,๐๔๓.๘๐เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สดคงเหลือ ณ วันปลายงวด ๘๕๐,๐๐๐.๐๐36 Burapha University (๒๒,๓๕๑,๕๕๗.๐๑) Annual Report 2011 ๓๑๓,๓๘๓,๒๔๑.๐๕ ๑,๑๒๗,๙๖๔,๘๐๑.๐๙ ๑,๔๔๑,๓๔๘,๐๔๒.๑๔

มหาวทิ ยาลัยบรู พา หมายเหตุ (หนว่ ย:บาท)งบแสดงฐานะการเงนิณ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔สินทรพั ย์สินทรัพย์หมุนเวียน เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงินสด ๒ ๑,๔๔๑,๓๔๘,๐๔๒.๑๔ ลกู หน้ี ๓ ๑๘๒,๒๙๕,๕๐๓.๖๓ รายไดค้ า้ งรบั ๔ ๖,๑๐๐,๑๓๘.๖๑ เงนิ ลงทุนระยะส้นั ๕ ๒,๔๐๓,๘๗๘,๔๘๑.๙๕ สนิ คา้ และวัสดุคงเหลอื ๖ ๒๔,๒๒๗,๙๑๒.๘๔ รวมสินทรพั ย์หมุนเวียน ๔,๐๕๗,๘๕๐,๐๗๙.๑๗สนิ ทรัพยไ์ ม่หมนุ เวยี น เงนิ ลงทนุ ระยะยาว ๗ ๘๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ (สทุ ธ)ิ ๘ ๓,๕๔๒,๐๑๖,๖๔๙.๔๘ สนิ ทรัพย์โครงสรา้ งพ้นื ฐาน (สุทธ)ิ ๙ ๕,๕๐๘,๗๓๔๗.๒๖ สินทรพั ยไ์ ม่มตี ัวตน (สุทธิ) ๑๐ ๙,๓๙๔,๒๑๐.๕๓ สนิ ทรัพยไ์ ม่หมุนเวียนอ่นื ๑๑ ๑,๑๘๙,๑๒๗.๗๒ รวมสินทรัพยไ์ มห่ มนุ เวยี น ๓,๖๘๗,๖๘๗,๓๓๔.๙๙รวมสินทรพั ย์ ๗๗,๔๕๕,๓๗๔,๑๔.๑๖ หมายเห ตปุ ระกอบง บการเงนิ เป ็นส่วนหนงึ่ ขอ งงบการเงนิ น้ี ม หาวทิ ยาลยั บรู พา หมายเหตุ (หนว่ ย:บาท)งบแสดงฐานะการเงินณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔หน้สี ิน หน้ีสินหมุนเวียน เจ้าหน้ี ๑,๒๕๕,๑๐๙,๔๑.๗๘ ค่าใชจ้ ่ายคา้ งจา่ ย ๑๒ ๘๒,๒๙๘,๙๒๗.๓๒ เงินรบั ฝากและเงนิ ประกนั ๑๓ ๔๑๔,๓๒๐,๗๙๗.๓๓ หนส้ี ินหมุนเวยี นอ่ืน ๑๔ ๓๙๗,๘๐๙,๔๐๐.๑๙ รวมหนสี้ นิ หมนุ เวยี นหน้ีสนิ ไม่หมนุ เวยี น ๑,๐๑๙,๙๔๐,๐๖๖.๖๒ เงนิ กรู้ ะยะยาว ๑๕ ๔,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ รวมหน้สี นิ ไมห่ มนุ เวียน ๔,๐๐๐,๐๐๐.๐๐รวมหนส้ี ิน ๑๐๒๓,๙๔๐,๐๖๖.๖๒สว่ นทนุ ๑๖ ๒,๖๙๓,๔๘๗,๗๓๙.๓๑ ทนุรายได้สงู (ตํ่า)กวา่ ค่าใชจ้ า่ ยสะสม ๑๗ ๔,๐๒๘,๑๐๙,๖๐๘.๒๓รวมส่วนทุน ๖,๗๒๑,๕๙๗,๓๔๗.๕๔รวมหนีส้ นิ และสว่ นทุน ๗,๗๔๕,๕๓๗,๔๑๔.๑๖ หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เป็นส่วนหนง่ึ ของงบการเงนิ น้ี มหาวิทยาลัยบูรพา 37 รายงานประจำ�ปี 2554

มหาวิทยาลัยบูรพา หมายเหตุ (หนว่ ย:บาท)งบรายได้และคา่ ใชจ้ ่าย ๑๘ ๑,๔๖๗,๙๘๗,๕๑๗.๖๓ส�ำ หรบั ปี สิ้นสดุ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๙ ๑,๔๖๗,๙๘๗,๕๑๗.๖๓ ๒๐ ๒,๐๖๔,๕๘๔,๑๔๑.๕๖ รายได้จากการดำ�เนนิ งาน ๒๑ ๒๒ ๒๒,๙๑๒,๙๖๑.๒๔ รายไดจ้ ากรัฐบาล ๒๓ ๑๐๒,๖๔๑,๔๐๑.๗๕ รายไดจ้ ากเงนิ งบประมาณ ๒๔ ๒,๑๙๐,๑๓๘,๕๐๔.๕๕ รวมรายไดจ้ ากรฐั บาล ๓,๖๕๘,๑๒๖,๐๒๒.๑๘ รายได้จากแหลง่ อ่ืน ๙๔๔,๙๕๕,๕๑๐.๐๙ รายได้จากการขายสนิ ค้าและบรกิ าร ๑,๑๑๓,๐๖๔,๕๒๐.๗๑ รายได้จากการบริจาค ๑๔๓,๔๗๙,๕๙๙.๙๓ รายรบั อื่น ๔๓๐,๒๑๕,๕๗๐.๙๕ รวมรายไดจ้ ากแหล่งอ่ืน ๑๘,๓๗๔,๒๙๗.๒๔ รวมรายไดจ้ ากการด�ำ เนินงาน ๒,๖๕๐,๐๘๙,๔๙๘.๙๒ คา่ ใชจ้ ่ายจากการดำ�เนินงาน ๑,๐๐๘,๐๓๖,๕๒๓.๒๖ คา่ ใช้จ่ายดา้ นบุคลากร ค่าใชจ้ ่ายในการด�ำ เนนิ งาน คา่ ใช้จ่ายเงินอดุ หนุน คา่ เสื่อมราคาและคา่ ตดั จ�ำ หน่าย ค่าใชจ้ า่ ยอน่ื รวมคา่ ใชจ้ ่ายจากการด�ำ เนนิ งาน รายได้สูง (ตา่ํ ) กว่าค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เป็นส่วนหนง่ึ ของงบการเงนิ น้ ี 38 Burapha University Annual Report 2011

มหาวทิ ยาลยั บูรพาหมายเหตุประกอบงบการเงินสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ความเป็นมาของมหาวทิ ยาลยั ๒. สำ�นกั งานอธิการบดี ๓. สว่ นงานวชิ าการ (คณะ ๒๒ สว่ นงาน และวทิ ยาลยั ม หา วิ ทย า ลั ย บู ร พ า เ ดิ ม ช่ื อ ม ห า วิ ท ยาลัย ๔ ส่วนงาน)ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน และต่อมาได้ยกฐานะ ๔. ส่วนงานอื่น (สถาบัน ๒ ส่วนงาน และสำ�นัก เป็นมหาวิทยาลัยบูรพาในวันที่ ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ๓ ส่วนงาน)ซ่ึงต่อมาในวันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ มหาวิทยาลัย โดยมีหน่วยงานย่อย ๓ หน่วย ดังนี้ โรงเรียนสาธิต บูรพาได้เปล่ียนสถานภาพจากการเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ “พบิ ลู บ�ำ เพญ็ ” , ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ และสถาบนั วทิ ยาศาสตร์มาเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ สภามหาวิทยาลัย ทางทะเล ซ่ึงทัง้ ๓ หน่วยงานนี้ มกี ารจดั ท�ำ งบการเงนิ จากแหลง่มอี �ำ นาจหนา้ ทค่ี วบคมุ ดแู ลกจิ การทว่ั ไปของมหาวทิ ยาลยั โดย เงินรายได้แยกจากมหาวิทยาลัยบูรพา และเม่ือสิ้นปีงบประมาณการก�ำ หนดเปา้ หมาย วางนโยบาย และแนวทางในการพฒั นา มหาวทิ ยาลยั บรู พาจะด�ำ เนนิ การท�ำ งบการเงนิ รวมของมหาวทิ ยาลยัของมหาวทิ ยาลยั ออกขอ้ บงั คบั ระเบยี บ และประกาศตา่ ง ๆ จากแหล่งเงินรายได้ และแหล่งเงนิ แผน่ ดนิเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงาน รวมถึงกำ�หนดนโยบายและ การบนั ทกึ บญั ชขี องมหาวทิ ยาลยั ใชโ้ ปรแกรมการบนั ทกึวธิ กี ารเกยี่ วกบั การจดั หารายได้ จดั หาแหลง่ ทนุ และทรพั ยากร บญั ชรี ะบบ ๓ มติ ิอืน่ อนมุ ัติการต้งั งบประมาณรายรบั และอนมุ ตั งิ บประมาณ ๒. หลกั การบัญชีทใ่ี ชใ้ นการจัดทำ�งบการเงินรายจา่ ยของมหาวิทยาลยั ๒.๑ มหาวทิ ยาลยั รบั รรู้ ายไดต้ ามเกณฑค์ งคา้ ง ยกเวน้ รายไดข้ องมหาวทิ ยาลยั ไมเ่ ปน็ รายไดท้ ตี่ อ้ งน�ำ สง่ กระทรวง ๒.๑.๑ รายไดจ้ ากการจดั การศกึ ษาของวทิ ยาลยัการคลงั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยเงนิ คงคลงั และกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ กี าร พาณิชยศาสตร์, วิทยาการบริหารรัฐกิจ และศูนย์บัณฑิตศึกษางบประมาณ ประกอบดว้ ย นานาชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ ๑. เงนิ อุดหนุนจากรัฐบาล ๒.๑.๒ รายไดจ้ ากการจดั การศกึ ษา จะรบั รเู้ มอื่ ๒. รายได้จากการจัดการศึกษา ส้ินปภี าคการศึกษา โดยใน ๑ ปีบัญชีจะรบั รรู้ ายได้จากการจัดการ ๓. รายไดจ้ ากการบริหารสินทรพั ย์ ศึกษา ๓ ครง้ั แบ่งเปน็ ดังน้ี ภาคตน้ , ภาคฤดรู ้อน และภาคปลาย ๔. รายได้จากการลงทนุ และดอกเบีย้ รับ ๒.๑.๓ รายไดร้ ะหวา่ งหนว่ ยงาน-รายไดจ้ ากการ ๕. รายไดจ้ ากการใหบ้ ริการสุขภาพ จัดการศึกษาจัดสรร และรายได้ระหว่างหน่วยงาน-เงินสมทบจ่าย ๖. รายได้จากการให้บรกิ ารวชิ าการ สว่ นกลางจะเกดิ ขน้ึ พรอ้ มกบั คา่ ใชจ้ า่ ยระหวา่ งหนว่ ยงาน-คา่ ใชจ้ า่ ย ๗. รายได้จากการวิจยั ในการจัดการศึกษาจัดสรร และ ค่าใช้จา่ ยระหวา่ งหน่วยงาน - เงนิ ๘. รายไดจ้ ากการเป็นทป่ี รึกษา สมทบจา่ ยสว่ นกลางจะเกดิ ณ วนั ทท่ี �ำ การจดั สรรรายไดเ้ มอ่ื สนิ้ ภาค ๙. เงนิ และทรัพย์สินทไี่ ดจ้ ากการรับบริจาค การศกึ ษา แตล่ ะภาค ๑๐. เงนิ รบั ฝาก ๒.๒ ณ สน้ิ ปงี บประมาณไดม้ กี ารปรบั ปรงุ บญั ชี ดงั นี้ ๑๑. เงนิ อุดหนนุ จากแหล่งอน่ื ๒.๒.๑ รายไดด้ อกเบี้ย ๑๒. รายไดห้ รอื ผลประโยชนอ์ น่ื นอกจากขอ้ (๑) ถงึ (๑๑) ๒.๒.๒ รายได้ระหวา่ งหน่วยงาน ๒.๒.๓ เงินสมทบส่วนกลางหมายเหตทุ ี่ ๑ – สรุปนโยบายการบัญชที สี่ ำ�คัญ ๒.๒.๔ เงนิ สมทบจา่ ยกองทนุ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ๒.๒.๕ เงินสมทบจา่ ยกองทุนส่วนงาน ๑. เกณฑก์ ารจดั ท�ำ งบการเงนิ ๒.๓ รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ ารวชิ าการ และรายไดจ้ าก งบการเงนิ จดั ท�ำ ขน้ึ ตามเกณฑค์ งคา้ ง โดยรวมสนิ ทรพั ย์ โครงการวจิ ยั จากแหลง่ ทนุ ภายนอกรบั รรู้ ายไดเ้ มอ่ื โครงการสน้ิ สดุหนี้สิน รายได้และค่าใชจ้ ่าย ของส่วนงานดงั น้ี และไดม้ ีการรายงานผลการใชจ้ า่ ยโครงการ ด้วยยอดรายได้สูงกวา่ ๑. สำ�นักงานสภามหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยบูรพา 39 รายงานประจำ�ปี 2554

ค่าใช้จ่ายโครงการ กรณีโครงการยังไม่สิ้นสุดบันทึกไว้เป็นหน้ีสิน ๒.๑๐.๒ รายได้จากโครงการวจิ ยั จะรับรเู้ มื่อมีประเภทรายได้โครงการบรกิ ารวิชาการ หรอื รายไดโ้ ครงการวจิ ัย การเบกิ จ่าย เป็นรายไดป้ ระเภทรายได้จากโครงการวจิ ยั ๒.๔ ลูกหน้นี ิสติ /นกั ศกึ ษา ๒.๑๑ ค่าบำ�รุงกิจกรรมนิสิต และค่าบำ�รุงกีฬา มหาวทิ ยาลยั บนั ทกึ รบั รเู้ มอ่ื สน้ิ สดุ ภาคเรยี นการ รับรู้เป็นหนี้สิน เม่ือได้รับเงิน และตัดบัญชีเมื่อมีการเบิกจ่าย โดยศกึ ษา โดยท�ำ การตง้ั ลกู หนเ้ี ทา่ กบั ยอดรายงานสรปุ รายไดแ้ ยกคณะ ใช้เกณฑ์เงนิ สดตามภาระงาน ซึ่งพิมพ์รายงานจากระบบทะเบียน มหาวิทยาลัย ๒.๑๒ เงนิ รับฝากยังไม่มีนโยบายการต้ังค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ ทั้งน้ี เน่ืองจากการ กรณีนำ�เงินรับฝากไปซื้อครุภัณฑ์ จะทำ�การเกบ็ สถิตขิ ้อมลู หนสี้ ญู นัน้ มีไมถ่ งึ ๑ % ปรับปรุงบัญชีเงินรับฝาก คู่กับรายได้จากเงินรับฝากรอการรับรู้- ๒.๕ เงนิ ลงทุนระยะสั้นกองทนุ ส่วนบคุ คล ท่ีนำ�ไปซือ้ สนิ ทรัพย์ ณ วันทมี่ กี ารตั้งหนี้ มหาวิทยาลัยรับรู้ผลตอบแทนจากการลงทุน รายได้จากเงินรับฝาก เปน็ บัญชีรายไดจ้ ากการทุกเดือน ซอื้ ครภุ ณั ฑม์ ลู คา่ ตา่ํ กวา่ เกณฑ์ จากแหลง่ เงนิ รบั ฝาก หรอื เมอื่ มกี าร ๒.๖ วสั ดคุ งเหลือ ใชว้ ิธีการ FIFO ซอื้ ครภุ ณั ฑจ์ ากแหลง่ เงนิ รบั ฝาก และมกี ารคดิ คา่ เสอื่ มราคา จะบนั ๒.๗ ทด่ี นิ อาคาร และอปุ กรณ์ ทกึ บญั ชีรบั รู้รายได้จากเงนิ รบั ฝาก ๒.๗.๑ ที่ดิน แสดงตามราคาทุน ณ วันท่ี ๒.๑๓ รายได้จากการรับบริจาครอการรับรู้ เป็นไปกรรมการตรวจรับ ตามหลกั การและนโยบายบัญชสี ำ�หรบั หน่วยงานภาครฐั ฉบับที่ ๒ ๒.๗.๒ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง แสดงตาม หวั ขอ้ รายได้รอการรับรู้ราคาทนุ ณ วันทก่ี รรมการตรวจรบั เสร็จส้นิ ในงวดสุดทา้ ย ๒.๑๔ ทุนจากการบริจาคคงยอดเงินต้น เป็นบัญชี ๒.๗.๓ อปุ กรณ์ (ครภุ ัณฑ)์ แสดงตามราคาทุน ทนุ ซงึ่ หมายถงึ เงนิ ทนุ ทม่ี ผี บู้ รจิ าคใหโ้ ดยระบใุ หค้ งยอดเงนิ ตน้ และณ วันท่กี รรมการตรวจรบั ใชไ้ ดแ้ ตด่ อกผลจากเงนิ ทนุ นนั้ บนั ทกึ ตามตน้ แบบระบบงบประมาณ ๒.๗.๓.๑ ครุภัณฑ์ท่ีได้มาตั้งแต่ปีงบประมาณ พสั ดุ การเงินและบญั ชกี องทนุ โดยเกณฑ์พึงรบั -พึงจ่าย ลกั ษณะ ๓๒๕๔๐ – ๒๕๔๕ แสดงราคาทุนต่อหนว่ ย ตั้งแต่ ๓๐,๐๐๐ บาท มิติ สำ�หรบั ผู้ปฏิบตั ิในมหาวิทยาลยั /สถาบันของรฐั ๒.๗.๓.๒ ครุภัณฑ์ที่ได้มาตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒.๑๕ ดอกผลเงินทุน เป็นบัญชีทุน ซ่ึงเป็นการรับรู้๒๕๔๖ – ๒๕๕๓ แสดงราคาทุนตอ่ หนว่ ย ตง้ั แต่ ๕,๐๐๐ บาท ดอกเบ้ียรับที่ได้จากเงินบริจาคคงยอดเงินต้น และเมื่อมีการนำ�ไป ๒.๗.๓.๓ ครุภัณฑ์ที่ได้มาต้ังแต่ปีงบประมาณ ใช้จ่ายจะทำ�การปรับปรุงบัญชีดอกผลเงินทุน คู่กับรายได้จากการ๒๕๕๔ แสดงราคาทุนต่อหนว่ ย ต้งั แต่ ๕,๐๐๑ บาท บริจาค ณ วันทมี่ กี ารตั้งหน้ี ทั้งนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเพื่อให้สินทรัพย์น้ันอยู่ใน ๒.๑๖ ทนุ จากการรว่ มทนุ หมายถงึ การรว่ มลงทนุ ของสภาพทใี่ ช้ด�ำ เนนิ งานได้ หรือก่อสรา้ งแล้วเสรจ็ หนว่ ยงานภายในมหาวทิ ยาลัย ซ่ึงจะเปน็ บัญชคี ูก่ ับบญั ชเี งนิ ลงทนุ ๒.๘ สินทรัพย์ที่ได้รับบริจาค แสดงคู่กับรายได้จาก ระยะยาวภายในหนว่ ยงานการบริจาครอการรับรู้-สำ�หรับรับบริจาคสินทรัพย์ และค่าเสื่อม ๒.๑๗ รายไดร้ ะหวา่ งหนว่ ยงาน และคา่ ใชจ้ า่ ยระหวา่ งราคาของสนิ ทรพั ยท์ ไี่ ดร้ บั บรจิ าค จะรบั รคู้ า่ ใชจ้ า่ ยพรอ้ มรายไดจ้ าก หน่วยงาน เปน็ บญั ชีท่ีเกิดกบั ส่วนงานภายในมหาวิทยาลยั ซ่ึงส่วนการบริจาค งานหน่ึงเกิดรายรบั และอีกสว่ นงานหนง่ึ เกดิ ค่าใช้จ่าย ซงึ่ ท้ังน้รี วม ๒.๙ ค่าเส่ือมราคาสินทรัพย์ถาวรที่ซ้ือ/รับบริจาค กรณที มี่ กี ารโอนเปลย่ี นแปลงงบประมาณรายจา่ ยขา้ มสว่ นงานดว้ ยคำ�นวณโดยวิธีเส้นตรง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดโดย ๒.๑๘ ทุนจากการบริจาคคงยอดเงินต้น - กองทุนมหาวิทยาลยั ตามหนังสือเวยี นท่ี ศธ ๐๕๒๘.๐๒๖/ว.๓๘๙ ลงวัน มหาวิทยาลัยบูรพาใช้ไป สร้างหอพักเทาทอง ๒ และทุนจากการที่ ๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๙ เรื่องอตั ราค่าเสอื่ มราคาและอายุการ บรจิ าคคงยอดเงนิ ตน้ -กองทนุ มหาวทิ ยาลยั บรู พาใชไ้ ป สรา้ งหอพกัใชง้ านของสนิ ทรัพย์ เทาทอง ๓ เปน็ บญั ชคี กู่ นั ทนุ จากการบรจิ าคคงยอดเงนิ ตน้ - กองทนุ ๒.๑๐ รายได้โครงการบริการวิชาการ/โครงการวิจัย มหาวทิ ยาลยั บรู พา เนอ่ื งจากยมื เงนิ กองทนุ มหาวทิ ยาลยั บรู พา เพอื่รบั รเู้ ปน็ หนส้ี นิ เมอื่ มกี ารรบั เงนิ ณ วนั ทไ่ี ดร้ บั และตดั บญั ชอี อกเมอื่ กอ่ สรา้ งหอพกั เทาทอง โดยลดยอดบญั ชกี องทนุ มหาวทิ ยาลยั บรู พามกี ารเบกิ จา่ ย และเพม่ิ บญั ชกี องทนุ มหาวทิ ยาลยั บรู พาใชไ้ ป สรา้ งหอพกั เทาทอง ๒.๑๐.๑ รายไดโ้ ครงการบรกิ ารวชิ าการ เมอ่ื สน้ิสดุ โครงการเจา้ ของโครงการรายงานผลการใช้จา่ ย จงึ รับรู้เปน็ รายได้ประเภทรายได้จากโครงการบริการวิชาการ40 Burapha University Annual Report 2011

หมายเหตทุ ่ี ๒ - เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด (หนว่ ย:บาท) ๑,๒๐๔,๕๗๓.๘๔ เงินสด เช็คในมอื ๗๘๑,๐๐๔.๖๙ เงนิ ฝากธนาคารกระแสรายวัน-เงินนอกงบประมาณ ๕๔,๙๐๐,๙๘๕.๘๖ เงนิ ฝากธนาคารกระแสรายวัน-เงินในงบประมาณ (๓,๑๙๐,๗๐๗.๔๒) เงนิ ฝากธนาคารออมทรัพย์-เงินนอกงบประมาณ ๑,๒๑๓,๒๔๓,๖๒๓.๑๙ เงินฝากธนาคารออมทรพั ย-์ เงนิ ในงบประมาณ ๑๗๔,๒๙๒,๓๖๑.๙๘ เงินฝากคลัง เงนิ ขาด/เกนิ บัญชี ๑๑๖,๖๐๐.๐๐ รวม เงินสดและรายการเทียบเทา่ เงินสด (๔๐๐.๐๐)หมายเหตทุ ่ี ๓ - ลูกหน ้ี ๑,๔๔๑,๓๔๘,๐๔๒.๑๔ ๗๖,๒๙๖,๖๑๕.๐๐ ลกู หนี้นิสิตนกั ศกึ ษา/นกั เรยี น ๒๕,๗๖๑,๐๘๗.๗๓ ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล ๒,๒๓๖.๐๐ ลูกหนส้ี ทุ ธอิ น่ื ๗๕,๕๓๓,๓๖๘.๙๙ ลกู หนเ้ี งินยมื นอกงบประมาณ ๔,๗๐๒,๑๙๕.๙๑ ลกู หนเ้ี งินยมื ในงบประมาณ รวม ลกู หนี้ ๑๘๒,๒๙๕,๕๐๓.๖๓ ๖,๑๐๐,๑๓๘.๖๑หมายเหตทุ ่ี ๔ - รายได้ค้างรบั ๖,๑๐๐,๑๓๘.๖๑ ๕๗,๗๐๐,๔๐๑.๘๘ ดอกเบย้ี ค้างรบั รวม รายไดค้ า้ งรับ ๑,๐๙๔,๔๔๖,๙๖๑.๖๘ ๒,๐๔๓,๐๓๑.๑๕หมายเหตุที่ ๕ - เงนิ ลงทนุ ระยะสั้น ๑๙๘,๖๔๙,๔๓๖.๗๓ เงินฝากธนาคารประเภทเงินฝากประจำ�-ธนาคารกรุงไทย ๒๔๖,๘๑๙,๘๑๕.๒๑ เงินฝากธนาคารประเภทเงินฝากประจ�ำ -สหกรณอ์ อมทรัพย์ ๒๖๔,๐๖๑,๔๘๙.๘๑ เงนิ ฝากธนาคารประเภทเงินฝากประจำ�-ธนาคารกรงุ ศรีอยธุ ยา ๗๕,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ เงินฝากธนาคารประเภทเงนิ ฝากประจ�ำ -ธนาคารกสกิ รไทย ๕๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ เงนิ ฝากธนาคารประเภทเงนิ ฝากประจ�ำ -ธนาคารธนชาต ๔๑๕,๑๕๗,๓๔๕.๔๙ เงินฝากธนาคารประเภทเงนิ ฝากประจำ�-ธนาคารนครหลวงไทย ๒,๔๐๓,๘๗๘,๔๘๑.๙๕ เงนิ ฝากธนาคารปรแภทเงินฝากประจำ�-ธนาคารอิสลามไทย ๒๑,๒๕๐,๘๗๔.๘๘ เงนิ ฝากธนาคารประเภทเงนิ ฝากประจ�ำ -ธนาคารซไี อเอม็ บี ไทย เงนิ ลงทนุ ระยะสน้ั กองทุนส่วนบคุ คล ๒,๙๗๗,๐๓๗.๙๖ รวม เงนิ ลงทนุ ระยะสน้ั ๒๔,๒๒๗,๙๑๒.๘๔ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐หมายเหตทุ ี่ ๖ - สินคา้ และวัสดคุ งเหลอื ๓๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ ๘๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ สินคา้ คงเหลอื วัสดุคงคลงั รวม สินคา้ และวัสดุคงเหลอืหมายเหตทุ ่ี ๗ - เงนิ ลงทุนระยะยาว เงินลงทุนระยะยาวในเงนิ ฝากประจำ�-ธนาคารกรงุ ไทย เงินลงทุนระยะยาวในตราสารหน้ี รวม เงนิ ลงทนุ ระยะยาว มหาวิทยาลัยบูรพา 41 รายงานประจ�ำ ปี 2554

หมายเหตุที่ ๘ - ท่ีดนิ อาคาร และครุภัณฑ์ (สทุ ธิ) (หน่วย:บาท) ทดี่ ิน ๕๘,๗๘๖,๐๒๗.๕๐ อาคาร ๕,๒๑๕,๔๙๗,๘๐๘.๑๖ หัก ค่าเส่อื มราคาสะสม-อาคาร ๒,๘๔๑,๒๒๓,๗๙๘.๙๘ อาคาร (สุทธิ) ๒,๓๗๔,๒๗๔,๐๐๙.๑๘ ส่ิงปลกู สรา้ ง หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม-สิง่ ปลกู สรา้ ง ๒๓๒,๒๕๘,๕๐๘.๒๑ สง่ิ ปลกู สร้าง (สุทธ)ิ ๑๐๘,๔๕๗,๘๘๔.๓๙ สว่ นปรบั ปรงุ สนิ ทรพั ย์ ๑๒๓,๘๐๐,๖๒๓.๘๒ หกั ค่าเสื่อมราคาสะสม-ส่วนปรับปรงุ สินทรพั ย์ ๒๘,๕๑๑,๓๘๗.๓๑ ส่วนปรับปรงุ สินทรพั ย์ (สทุ ธิ) ๑๔,๙๗๖,๒๐๘.๒๒ ครภุ ณั ฑ์และอปุ กรณ์ ๑๓,๕๓๕,๑๗๙.๐๙ หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม-ครุภัณฑแ์ ละอุปกรณ์ ๒,๒๙๗,๒๐๓,๑๘๑.๗๓ ครภุ ัณฑแ์ ละอุปกรณ์ (สทุ ธิ) ๑,๘๗๖,๑๔๒,๗๔๑.๐๐ งานระหวา่ งก่อสรา้ ง ๔๒๑,๐๖๐,๔๔๐.๗๓ รวม ทดี่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) ๕๕๐,๕๖๐,๓๖๙.๑๖ ๓,๕๔๒,๐๑๖,๖๔๙.๔๘หมายเหตทุ ่ี ๙ - สินทรพั ย์โครงสรา้ งพื้นฐาน (สุทธิ) ๙๒,๖๗๓,๐๐๔.๑๒ ๓๗,๕๘๕,๖๕๖.๘๖ สนิ ทรพั ยโ์ ครงสรา้ งพ้นื ฐาน ๕๕,๐๘๗,๓๔๗.๒๖ หัก คา่ เสอ่ื มราคาสะสม-สินทรัพยโ์ ครงสร้างพื้นฐาน รวม สนิ ทรัพยโ์ ครงสร้างพ้นื ฐาน (สทุ ธิ) ๗,๕๗๘,๖๘๔.๘๓ ๒,๒๐๒,๔๗๔.๓๐หมายเหตทุ ี่ ๑๐ - สนิ ทรพั ย์ไม่มีตวั ตน (สทุ ธ)ิ ๕,๓๗๖,๒๑๐.๕๓ ๔,๐๑๘,๐๐๐.๐๐ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ๙,๓๙๔,๒๑๐.๕๓ หัก ค่าตัดจ�ำ หน่ายสะสม-โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (สทุ ธิ) ๔๐๑,๕๐๔.๔๒ โปรแกรมคอมพิวเตอรร์ ะหว่างพัฒนา ๗๘๗,๖๒๓.๓๐ รวม สนิ ทรัพยไ์ ม่มีตัวตน (สุทธ)ิ ๑,๑๘๙,๑๒๗.๗๒ ๒๑๑,๐๑๔.๐๗หมายเหตทุ ี่ ๑๑ - สินทรพั ย์ไมห่ มนุ เวยี นอืน่ ๗๙,๓๖๘,๗๙๐.๙๓ ๑,๑๙๓,๗๒๕.๓๑ เงนิ มัดจ�ำ และเงนิ ประกัน ๗๒๕,๓๙๗.๐๑ เงนิ ค้าํ ประกันผลงาน ๘๐๐,๐๐๐.๐๐ รวม สนิ ทรัพยไ์ มห่ มุนเวียนอื่น ๘๒,๒๙๘,๙๒๗.๓๒ ๓๖๖,๖๐๐,๙๓๕.๒๕หมายเหตุที่ 12 - คา่ ใชจ้ ่ายคา้ งจา่ ย ๓๖,๗๑๖,๔๘๐.๓๘ ค่าสาธารณูปโภคคา้ งจา่ ย ใบส�ำ คัญคา้ งจ่าย ภาษีหกั ณ ทจ่ี า่ ยรอนำ�สง่ -ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา ภาษีหัก ณ ท่จี ่ายรอนำ�ส่ง-ภาษเี งินได้นิติบุคคล ค่าใช้จ่ายค้างจา่ ยอน่ื รวม ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายหมายเหตทุ ี่ ๑๓ - เงินรบั ฝากและเงนิ ประกนั เงนิ รับฝากเงนิ รายได้ เงินรบั ฝากเงนิ แผ่นดนิ42 Burapha University Annual Report 2011

เงนิ ประกันสญั ญา (หน่วย:บาท) รวม เงนิ รับฝากและเงนิ ประกนั ๑๑,๐๐๓,๓๘๑.๗๐ ๔๑๔,๓๒๐,๗๙๗.๓๓หมายเหตุที่ ๑๔ - หนี้สนิ หมนุ เวยี นอ่ืน ๒๒,๒๗๔,๖๕๐.๐๐ รายไดจ้ ากการขายสนิ คา้ /บริการรบั ล่วงหนา้ ๔,๓๕๖,๒๕๐.๐๐ รายไดจ้ ากการจัดการศกึ ษารอการรบั รู้ ๑๖๔,๗๑๕,๒๓๑.๕๓ รายไดจ้ ากการบริจาครอการรบั รู้ ๒๙,๗๐๕,๘๒๘.๕๒ รายได้จากเงนิ รับฝากรอการรบั ร้-ู ทีน่ �ำ ไปซ้ือสนิ ทรพั ย์ ๑๐๕,๑๘๔,๖๗๓.๓๓ รายไดโ้ ครงการบรกิ ารวชิ าการ ๔๕,๒๑๙,๒๔๔.๘๘ คา่ บำ�รุงกจิ กรรมนสิ ิต ๖,๕๐๘,๑๘๗.๐๑ คา่ บ�ำ รงุ กฬี า ๑๙,๘๔๕,๓๓๔.๙๒ รายไดจ้ ากโครงการวจิ ัย ๓๙๗,๘๐๙,๔๐๐.๑๙ รวม หน้สี นิ หมุนเวียนอ่นื ๔,๐๐๐,๐๐๐.๐๐หมายเหตทุ ่ี ๑๕ - หนสี้ นิ ไมห่ มนุ เวียน ๔,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ เงินกู้ระยะยาวจากหนว่ ยงานภายนอก ๑,๙๗๙,๓๐๖,๙๐๙.๗๒ รวม หนส้ี ินไม่หมนุ เวียน ๖๕๔,๗๐๔,๔๐๓.๙๑ ๕๙,๔๗๖,๓๔๕.๖๘หมายเหตุท่ี ๑๖ - ทุน ๒,๖๙๓,๔๘๗,๗๓๙.๓๑ ทุนของหน่วยงาน ทนุ จากการบริจาคคงยอดเงินต้น ๓,๐๒๐,๐๗๓,๐๘๔.๙๗ ดอกผลเงนิ ทนุ ๑,๐๐๘,๐๓๖,๕๒๓.๒๖ รวม ทุน ๔,๐๒๘,๑๐๙,๖๐๘.๒๓หมายเหตุที่ ๑๗ - รายได้สงู /(ตา่ํ )กวา่ คา่ ใชจ้ ่ายสะสม ๑,๖๐๔,๐๙๑,๕๓๒.๕๐ ๖๙,๘๘๘,๖๐๙.๕๙ รายได้สูง/(ตํ่า)กว่าคา่ ใช้จา่ ยสะสม ๔๑,๗๒๙,๔๗๔.๖๔ รายได้สงู /(ต่าํ )กวา่ คา่ ใช้จ่ายสทุ ธิ ๗๒,๐๑๙,๑๙๓.๐๐ รวม รายไดส้ ูง/(ต่าํ )กวา่ ค่าใช้จา่ ยสะสม ๑,๖๒๒,๙๕๙.๐๐ ๒,๙๗๒,๐๗๐.๐๐หมายเหตทุ ี่ ๑๘ - รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ๒๔,๙๙๐,๑๔๕.๐๐ ๒๔๗,๒๗๐,๑๕๗.๘๓ รายได้จากการจดั การศกึ ษา รายได้ค่าธรรมเนยี ม ๒,๐๖๔,๕๘๔,๑๔๑.๕๖ รายไดจ้ ากการบรหิ ารสถานท่ี รายได้หอพัก ๓๗,๖๑๓,๗๗๔.๔๕ รายได้คา่ เช่าอุปกรณ/์ ยานพาหนะ ๔,๖๗๔,๗๙๙.๖๖ รายไดจ้ ากการให้บริการ ๕๙,๗๑๗,๙๐๓.๖๔ รายได้คา่ เขา้ ชม รายไดค้ ่ารักษาพยาบาล ๖๒๒,๘๑๐.๐๐ รวม รายไดจ้ ากการขายสนิ ค้าและบรกิ าร ๑๒,๒๑๔.๐๐ ๑๐๒,๖๔๑,๔๐๑.๗๕หมายเหตุท่ี ๑๙ - รายรบั อน่ื รายรบั อื่น รายไดจ้ ากเงนิ รับฝาก รายได้จากดอกเบี้ย รายรบั จากการขายสินทรพั ย์ หน้ีสูญได้รับคนื รวม รายรับอ่ืน มหาวทิ ยาลยั บรู พา 43 รายงานประจ�ำ ปี 2554

หมายเหตุท่ี ๒๐ - คา่ ใช้จา่ ยด้านบุคลากร (หน่วย:บาท) ๘๒๒,๐๕๑,๒๗๖.๐๕ เงนิ เดือนและค่าจา้ ง ๑๐๕,๖๔๘,๗๐๕.๖๒ บำ�เหน็จบ�ำ นาญ ๕๒,๐๗๒,๑๑๐.๖๒ ค่าเงนิ ชว่ ยเหลอื พนักงานและครอบครวั ดา้ นคา่ รักษาพยาบาล คา่ เงนิ ชว่ ยเหลือพนกั งานและครอบครวั ดา้ นการศึกษา ๒,๑๔๑,๘๗๔.๐๐ ค่าใช้จ่ายบคุ ลากรอน่ื ๙,๙๐๖,๔๔๓.๘๐ รวม ค่าใช้จา่ ยดา้ นบคุ ลากร ๙๔๔,๙๕๕,๕๑๐.๐๙ ๓๓๐,๙๕๖,๒๑๒.๔๒หมายเหตทุ ี่ ๒๑ - ค่าใชจ้ า่ ยในการด�ำ เนินงาน ๒๑,๘๑๘,๔๖๕.๔๔ ๘,๗๓๖,๕๔๒.๔๗ คา่ ตอบแทน คา่ ใช้จ่ายดา้ นการฝกึ อบรม ภายในประเทศ ๘๗๒,๓๔๕.๖๓ คา่ ใชจ้ ่ายด้านการฝึกอบรม ต่างประเทศ ๒๑,๐๖๘,๒๙๕.๒๘ คา่ ใชจ้ า่ ยด้านการฝกึ อบรมบุคคลภายนอก ๔๕,๑๕๘,๑๕๐.๖๖ คา่ ใชจ้ ่ายเดินทางเพอื่ งานราชการภายในประเทศ ๒๖๕,๕๑๖,๖๕๑.๒๐ คา่ ใชจ้ า่ ยเดินทางเพ่อื งานราชการตา่ งประเทศ ๔๐,๗๙๐,๖๒๐.๖๕ ค่าใชส้ อย ๑๖๙,๓๐๓,๘๓๖.๓๙ ค่าครภุ ัณฑม์ ลู ค่าต่ํากวา่ เกณฑ์ ๑๑๖,๐๒๓,๒๗๘.๐๐ วสั ดุใช้ไป ๙๒,๘๒๐,๑๒๑.๕๗ ค่าสาธารณปู โภค ๑,๑๑๓,๐๖๔,๕๒๐.๗๑ ตน้ ทนุ ขาย ๓๗,๘๘๑,๐๔๐.๘๙ รวม คา่ ใชจ้ ่ายในการด�ำ เนินงาน ๓,๐๐๐.๐๐หมายเหตุท่ี ๒๒ - ค่าใช้จ่ายเงนิ อดุ หนุน ๑๐๕,๕๙๕,๕๕๙.๐๔ ๑๔๓,๔๗๙,๖๙๙.๙๓ คา่ ใชจ้ ่ายเงินอุดหนนุ เพ่อื การด�ำ เนนิ งาน ๑๕๓,๒๗๖,๐๘๐.๒๖ คา่ ใชจ้ า่ ยเงินอุดหนนุ เพ่ือการลงทุน ค่าใช้จา่ ยเงินอดุ หนนุ อ่ืน ๕,๕๘๐,๓๖๔.๔๘ รวม รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ๒๗๐,๑๑๓,๕๔๓.๘๖หมายเหตุท่ี ๒๓ - คา่ เสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย ๑,๒๔๕,๕๘๒.๓๕ ๔๓๐,๒๑๕,๕๗๐.๙๕ คา่ เสอ่ื มราคาครภุ ัณฑแ์ ละอุปกรณ์ ค่าเส่ือมราคาสนิ ทรพั ย์โครงสรา้ งพืน้ ฐาน ๔๐,๙๗๐.๐๐ ค่าเสือ่ มราคา-อาคาร ๕๘๓,๑๗๑.๕๐ ค่าตัดจำ�หน่าย ๑๗,๑๗๑,๖๕๒.๒๘ รวม ค่าเส่อื มราคาและค่าตัดจำ�หน่าย ๒๑๖,๓๐๒.๔๘ ๓๖๒,๑๘๓.๙๘หมายเหตทุ ี่ ๒๔ - คา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ๑๗.๐๐ คา่ ลงทะเบียนถอนคนื ๑๘,๓๗๔,๒๙๗.๒๔ หนส้ี ญู คา่ ใชจ้ า่ ยอ่ืน ดอกเบีย้ จ่าย ค่าจ�ำ หนา่ ยจากการขายสนิ ทรัพย์ คา่ ใช้จา่ ยในการโอนสินทรพั ยห์ น่วยงานภายนอก รวม คา่ ใช้จา่ ยอ่ืน44 Burapha University Annual Report 2011

ผลงานตามพันธกิจของมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยบูรพา 45รายงานประจำ�ปี 2554

๑. การจัดการศึกษา มหาวิทยาลยั บูรพาม่งุ เน้นการกระจายโอกาสทางการศึกษา โดยเปิดโอกาสให้มกี ารรับนสิ ิตในระดบั ปริญญาตรีทั้งหลกั สตู รภาคปกติ และหลกั สตู รภาคพเิ ศษ ในระบบรบั ตรงจากนกั เรยี นในเขตภาคตะวนั ออก การจดั การศกึ ษามหาวทิ ยาลยั บรู พาไดเ้ นน้ ปรชั ญาการผลิตบัณฑิต คือ สร้างเสริมปัญญา ใฝ่หาความรู้คู่คุณธรรม ช้ีนำ�สังคม เพ่ือสร้างบัณฑิตที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยให้เป็นก�ำ ลังคนทถี่ ึงพรอ้ มในการทำ�งาน และการใชช้ วี ติ ในสังคม นอกจากนั้นมหาวทิ ยาลยั บรู พา ยงั ได้ส่งเสรมิ การจดั การเรยี นการสอนในสาขาวิชาทข่ี าดแคลน สาขาวชิ าทตี่ ลาดแรงงาน สงั คม ประเทศชาตติ ้องการ รวมถึงส่งเสรมิ การจดั การศึกษาหลกั สูตรนานาชาติเพอ่ืก้าวไปสูค่ วามเป็นสากลดว้ ย ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๔ สรุปการด�ำ เนินกจิ กรรมดังกลา่ วขา้ งตน้ ดังต่อไปนี้ ๑.๑ หลกั สตู ร และสาขาวชิ า มหาวทิ ยาลยั บรู พาไดจ้ ดั การเรยี นการสอนตงั้ แตร่ ะดบั ปรญิ ญาตรี จนถงึ ระดบั ปรญิ ญาเอก โดยใน แตล่ ะปียงั มกี ารเปิดหลกั สตู รสาขาวิชาใหม่เพมิ่ ขึ้น เพอ่ื ตอบสนองต่อความต้องการของสงั คม และการพฒั นาของประเทศชาติ ดังน้ี ๑.๑.๑ จ�ำ นวนหลักสตู รและสาขาวชิ า เปิดสอน ภาคปกติ จำ�นวน ๘๐ หลักสตู ร ๒๐๒ สาขาวิชา ภาคพเิ ศษ จำ�นวน๕๙ หลักสูตร ๑๕๕ สาขาวิชา จ�ำ แนกรายละเอียดตามตารางดงั ตอ่ ไปน้ีตารางจำ�นวนหลกั สตู รและจ�ำ นวนสาขาวชิ าท่เี ปดิ สอนในปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับ หลักสูตร ภาคปกติ สาขาวิชา หลกั สตู ร ภาคพเิ ศษ สาขาวชิ า ๔๒ ๑๑๙ปรญิ ญาตรี ๑ ๑ ๒๘ ๘๐ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ ๒๐ ๕๗ปรญิ ญาโท ๑๗ ๒๕ ๐๐ปรญิ ญาเอก ๘๐ ๒๐๒รวม ๒๕ ๖๖ ๖๙ ๕๙ ๑๕๕ ๑.๑.๒ หลกั สูตรทเี่ ปิดรบั นสิ ิตรุ่นแรก ในปกี ารศึกษา ๒๕๕๔ มหาวิทยาลยั รบั นสิ ติ เขา้ ศกึ ษาเปน็ รุ่นแรกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ๑๐ หลกั สูตร ๑๐ สาขาวชิ า จำ�แนกเป็นหลักสูตรปกติ ๗ หลักสตู ร ๗ สาขาวชิ า หลักสตู รพิเศษ ๓ หลักสตู ร ๓ สาขาวิชา และระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ๕ หลกั สตู ร ๕ สาขาวชิ า จ�ำ แนกเปน็ หลกั สตู รปกติ ๑ หลกั สตู ร ๑ สาขาวชิ า หลกั สตู รพเิ ศษ ๔ หลกั สตู ร ๔ สาขาวชิ า ดงั น้ีตารางหลักสตู รระดบั ปริญญาตรีทีเ่ ปดิ รับนิสิตรุน่ แรกในปกี ารศึกษา ๒๕๕๔ คณะ/วิทยาลยั ชือ่ หลกั สตู ร ชอื่ สาขาวชิ า ภาคปกติ ภาคพเิ ศษคณะมนุษยศาสตร์และ ศิลปศาสตรบัณฑติ การจดั การทรัพยากรวฒั นธรรม **สังคมศาสตร์คณะศึกษาศาสตร์ ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ เทคโนโลยกี ารฝกึ อบรมเพือ่ การ -* พัฒนาทรพั ยากรมนุษย์คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ *- สาธารณสขุ ศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ - **คณะวิทยาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ * สาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต - บรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต การจัดการโลจิสติกสแ์ ละการคา้ ชายแดน46 Burapha University Annual Report 2011

คณะ/วทิ ยาลยั ชอ่ื หลักสูตร ช่อื สาขาวชิ า ภาคปกติ ภาคพเิ ศษวทิ ยาลยั พาณชิ ยศาสตร์ ปรัชญาดษุ ฎีบัณฑิต การจดั การสาธารณะ -* บริหารธรุ กจิ มหาบัณฑติ การบริหารการประชาสมั พนั ธ์และ -* ส่อื สารมวลชนวิทยาลัยนานาชาติ Bachelor of Arts Communication Arts and *- Designคณะการจดั การและการท่องเที่ยว การจดั การมหาบัณฑติ การจัดการการท่องเที่ยวระหวา่ ง -* ประเทศคณะวิทยาศาสตร์และสงั คมศาสตร์ บรหิ ารธุรกจิ บณั ฑิต การจดั การโลจิสตกิ สแ์ ละการค้า *- ชายแดนคณะสหเวชศาสตร์ กายภาพบำ�บดั บัณฑติ กายภาพบ�ำ บดั *-คณะวทิ ยาการสารสนเทศ วิทยาศาสตรบณั ฑิต วิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ ** ๑.๑.๓ การจัดการศึกษาหลักสูตรนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพาจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนานาชาติ ซ่ึงเป็น พันธกิจ (Mission) ของมหาวิทยาลัยในการเป็นฐานรองรับการพัฒนามหาวิทยาลัยให้ก้าวไปสู่ความเป็นสากลตามปณิธานที่ตั้งไว้ โดยเปิดหลักสูตรระดบั ปริญญาตรี ภาคปกติ ๓ หลักสูตร ๔ สาขาวิชา ระดบั ปริญญาโท ๔ หลักสตู ร ๔ สาขาวิชา จ�ำ แนกเป็นภาคปกติ ๑ หลกั สตู ร ๑ สาขาวิชา ภาคพิเศษ ๓ หลักสูตร ๓ สาขาวิชา และระดับปริญญาเอก ๘ หลักสูตร ๘ สาขาวิชา จำ�แนกเป็นภาคปกติ ๓ หลักสูตร ๔ สาขาวชิ า ภาคพิเศษ ๑ หลกั สตู ร ๑ สาขาวชิ า ดงั น้ี คณะ ชื่อหลกั สูตร ชอื่ สาขาวิชา ภาคปกติ ภาคพเิ ศษคณะพยาบาลศาสตร์ Doctor of Philosophy Nursing Science * -คณะวทิ ยาศาสตร์ Master of Nursing Science Nursing Science * -คณะศึกษาศาสตร์ Doctor of Philosophy Biological Science * - Doctor of Philosophy Education Administration * -วทิ ยาลยั นานาชาติ Human Resource - * Master of Education Development Teaching English as a Second - * Master of Arts Language Human Resource - * Bachelor of Business Development Administration Business Administration * - Bachelor of Science Bachelor of Arts Computer Science * - Communication Skills * - for Human Resource Development *- Communication Arts and Design มหาวิทยาลัยบรู พา 47 รายงานประจำ�ปี 2554

คณะ ชอ่ื หลักสูตร ชอ่ื สาขาวชิ า ภาคปกติ ภาคพเิ ศษวทิ ยาลัยพาณชิ ยศาสตร์ Master of Business Business Administration - * Administration (Business Administration) ๑.๒ นสิ ิต ปีการศกึ ษา ๒๕๕๔ มหาวทิ ยาลยั บรู พามกี ารด�ำ เนินการดา้ นนิสติ จำ�แนกได้ดงั น้ี ๑.๒.๑ รบั เขา้ นสิ ติ ใหม่ จ�ำ นวน ๑๔,๐๒๐ คน (ระดบั ปริญญาตรี ร้อยละ ๘๑.๖๖ ระดับประกาศนียบัตรบณั ฑิต ร้อยละ๐.๒๑ ระดบั ปรญิ ญาโท ร้อยละ ๑๖.๒๘ และระดับปรญิ ญาเอก ร้อยละ ๑.๘๕.) จ�ำ แนกเป็นหลักสตู รภาคปกติ ๗,๐๕๗ คน (ระดับปริญญาตรี ร้อยละ ๙๑.๐๓ ระดบั ประกาศนยี บัตรบัณฑติ ร้อยละ ๐.๔๓ ระดบั ปริญญาโท ร้อยละ ๕.๗๐ และระดบั ปรญิ ญาเอก ร้อยละ ๒.๘๕ ของนิสติ ที่รับเขา้ ใหม่ทัง้ หมด) หลกั สตู รภาคพิเศษ ๖,๙๖๓ คน (ระดับปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ ๗๒.๑๗ ระดบั ปริญญาโท ร้อยละ ๒๗.๐๐ และระดับปริญญาเอก รอ้ ยละ ๐.๘๓ ของนสิ ิตท่ีรับเข้าใหมท่ ั้งหมด) แผนภมู ริ ้อยละของนสิ ิตใหม่ จำ�แนกตามประเภทการรบั เขา้ ศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ประเภทการรับนสิ ิตใหมใ่ นระดบั ปรญิ ญาตรี การรับนิสิตใหม่ในระดับปริญญาตรีเข้าศึกษาใช้วิธีการสอบ ๒ ประเภท คือ การสอบเข้าโดยสำ�นักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) และสอบตรงจากมหาวิทยาลัยบรู พา ในปีการศกึ ษา ๒๕๕๔ รับนิสติ โดยการสอบเข้าของ สกอ. จำ�นวน ๒,๔๖๔ คนจำ�แนกเปน็ ภาคปกติ ๒,๑๙๘ คน ภาคพเิ ศษ ๒๖๖ คน และรบั โดยการสอบตรงจากมหาวิทยาลยั จำ�นวน ๘,๙๘๕ คน จ�ำ แนกเป็นภาคปกติ๔,๒๒๖ คน และภาคพิเศษ ๔,๗๕๙ คน ๑.๒.๒ นสิ ติ ทง้ั หมด ปีการศกึ ษา ๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยมนี สิ ติ ทงั้ หมด ๔๓,๗๖๔ คน (ระดับปรญิ ญาตรี ร้อยละ ๘๑.๒๔ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ร้อยละ ๐.๑๒ ระดับปริญญาโท ร้อยละ ๑๖.๑๙ และระดับปริญญาเอก ร้อยละ ๒.๔๕) จำ�แนกเป็นนิสิต ภาคปกติ จำ�นวน ๒๔,๕๑๓ คน (ระดับปริญญาตรี ร้อยละ ๙๒.๕๔ ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ร้อยละ ๐.๒๒ ระดับปริญญาโท ร้อยละ ๓.๘๘ และระดับปริญญาเอก ร้อยละ ๓.๓๖ ของจำ�นวนนสิ ิตท้ังหมด) และนิสิตภาคพิเศษ จำ�นวน ๑๙,๒๕๑ คน (ระดบั ปรญิ ญาตรีร้อยละ ๖๖.๕๐ ระดบั ปรญิ ญาโท ร้อยละ ๓๑.๖๙ และระดับปรญิ ญาเอก รอ้ ยละ ๑.๒๙ ของจำ�นวนนิสติ ทง้ั หมด)48 Burapha University Annual Report 2011

แผนภมู ริ อ้ ยละของนิสติ ทงั้ หมด จำ�แนกตามระดบั การศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๕๔ ๑.๒.๓ ผูส้ ำ�เร็จการศึกษา ในปีการศกึ ษา ๒๕๕๓ มีผู้ส�ำ เร็จการศกึ ษา จำ�นวน ๘,๔๘๔ คน (ระดบั ปริญญาตรี ร้อยละ๖๙.๒๔ ระดับประกาศนยี บตั รบณั ฑติ รอ้ ยละ ๑.๕๗ ระดบั ปริญญาโท ร้อยละ ๒๘.๓๒ และระดบั ปรญิ ญาเอก ร้อยละ ๐.๘๗) จ�ำ แนกเปน็ ผสู้ �ำ เร็จการศึกษาภาคปกติ ๓,๖๔๖ คน (ระดับปริญญาตรี รอ้ ยละ ๙๑.๓๓ ระดับประกาศนยี บัตรบณั ฑติ รอ้ ยละ ๒.๓๐ ระดับปริญญาโทร้อยละ ๕.๑๓ และระดบั ปริญญาเอก ร้อยละ ๑.๒๓ ของจำ�นวนผู้สำ�เรจ็ การศึกษาทง้ั หมด) และภาคพิเศษ ๔,๘๓๘ คน (ระดบั ปริญญาตรีร้อยละ ๕๒.๕๘ ระดับประกาศนยี บตั รบัณฑิต รอ้ ยละ ๑.๐๑ ระดับปริญญาโท รอ้ ยละ ๔๕.๘๐ และระดบั ปริญญาเอก รอ้ ยละ ๐.๖๐ ของจำ�นวนผู้สำ�เร็จการศึกษาท้ังหมด)แผนภูมิรอ้ ยละของผ้สู ำ�เร็จการศึกษา จ�ำ แนกตามระดบั การศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๑.๒.๔ ภาวะการหางานทำ�ของบัณฑิต หลังจากบัณฑิตสำ�เร็จการศึกษาแล้ว มหาวิทยาลัยบูรพาได้ติดตามผลของ ภาวะการท�ำ งานของบณั ฑติ เพอ่ื น�ำ ผลการส�ำ รวจมาใชใ้ นการวางแผน ก�ำ หนดนโยบายของมหาวทิ ยาลยั ในการผลติ บณั ฑติ ใหเ้ ปน็ ไปตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และเปน็ ตามความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ตอ่ ไป จากการส�ำ รวจภาวะการหางานท�ำ ของบณั ฑติ ทส่ี �ำ เรจ็ การศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยบรู พา 49รายงานประจำ�ปี 2554

ในปกี ารศึกษา ๒๕๕๓ จากผูส้ ำ�เร็จการศกึ ษาในระดับปรญิ ญาตรี ๕,๘๗๔ คน ผลจากการสำ�รวจพบว่าบณั ฑิตทต่ี อบแบบสอบถาม จ�ำ นวน ๕,๔๐๑ คน มงี านท�ำ ๓,๘๗๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๖๕ ยงั ไม่ได้ท�ำ งาน ๑,๓๕๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๘.๓๕ ๑. บัณฑติ มงี านท�ำ (ท�ำ งานแล้ว+ท�ำ งานแลว้ และกำ�ลังศึกษาตอ่ ) ๒. บัณฑิตยังไม่ได้ทำ�งานแผนภูมิรอ้ ยละของภาวะการมีงานท�ำ ของบัณฑิต จำ�แนกประเภทการมีงานท�ำ และไม่มงี านท�ำ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๑.๒.๕ ทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ได้จัดหาทุนการศึกษา ประเภทต่างๆ เช่น ทุนมูลนิธิ ทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา แบบ กยศ. ทุนกยู้ มื เพือ่ การศึกษา แบบ กรอ. ฯลฯ เพือ่ ช่วยเหลือ สนบั สนนุ นิสิตท่ีขาดแคลนทนุ ทรัพย์ให้สามารถศกึ ษาในมหาวิทยาลัยได้จนส�ำ เรจ็ การศกึ ษา จากการสำ�รวจทนุ การศกึ ษาโดยกองกจิ การนสิ ติ ส�ำ นกั งานอธกิ ารบดี พบวา่ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๔ น้ี มที นุ สนบั สนนุ นสิ ติจ�ำ นวน ๖,๕๔๖ ทนุ เป็นเงิน ๑๓๓,๑๙๔,๙๙๐ บาท ประเภททนุ จ�ำ นวนทุน จ�ำ นวนเงนิ จ�ำ นวนผไู้ ดร้ บั ทุน ตรี โท เอกทนุ มูลนิธิ ๗๘ ๑,๐๒๓,๐๐๐ ๗๘ - -ทนุ เงินรายไดม้ หาวทิ ยาลัยบูรพา ๑๖๕ ๘๒๕,๐๐๐ทนุ ภาครฐั และเอกชน ๑๓๘ ๑๖๕ - -ทนุ ธนาคาร ๒,๘๔๖,๘๕๐ทุนพระราชทานฯ ๖ ๑๔๔,๐๐๐ ๑๓๘ - -ทนุ กองทุนเงินให้กูย้ ืมเพ่ือการศึกษาประเภท กยศ. ๒๒ทุนกองทุนเงินใหก้ ยู้ ืมเพ่อื การศกึ ษาประเภท กรอ. ๖,๑๑๒ ๖,๗๖๕,๐๐๐ ๖- - ๒๕ ๑๒๐,๔๔๙,๖๔๐ รวม ๒๒ - - ๖,๕๔๖ ๑,๑๔๑,๕๐๐ ๖,๑๑๒ - - ๑๓๓,๑๙๔,๙๙๐ ๒๕ - - ๖,๕๔๖ - - ๑.๒.๖ การพัฒนานิสิต ในปีการศึกษา ๒๕๕๔ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเป็นการพัฒนานิสิต ในกิจกรรม ทสี่ ำ�คัญดงั ต่อไปนี้ ๑) การจัดบริการนิสิต เป็นกิจกรรมที่จัดให้กับนิสิตในด้านต่างๆ ที่จะทำ�ให้นิสิตได้รับความสะดวกในการดำ�เนินชีวิตภายในมหาวิทยาลัย และการเสรมิ สรา้ งใหน้ สิ ิตได้มีคุณภาพชีวติ ท่ีดี เพ่ือเปน็ ประโยชนใ์ นการใช้ชวี ิตอยู่ในสังคมท้งั ทเี่ ป็นสงั คมในขณะศึกษาและหลังศึกษา ดังน้ี ในด้านการบริการส่ิงอำ�นวยความสะดวกที่เอ้ือต่อการเรียน เช่น ทุนการศึกษา ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุดคณะฯ ยานพาหนะ งานทะเบยี น เปน็ ตน้ ดา้ นการบรกิ ารดา้ นกายภาพทส่ี ง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ของนสิ ติ เชน่ หอพกั นสิ ติ สภาพแวดลอ้ มของหอ้ งเรยี น ลานออกก�ำ ลงั กาย หอ้ งออกก�ำ ลงั กาย สถานทจ่ี �ำ หนา่ ยอาหารเพอื่ สขุ ภาพ สโมสรนสิ ติ หอ้ งสนั ทนาการ ซมุ้ ทน่ี งั่ พกั ผอ่ น เปน็ ตน้ ดา้ นการบรกิ ารดา้ นการแนะแนวและการให้คำ�ปรึกษา : มีอาจารย์ทปี่ รกึ ษาส�ำ หรบั นิสติ แตล่ ะคน (นสิ ิต ๑๐ คนตอ่ อาจารย์ ๑ คน) และมอี าจารยฝ์ า่ ยกจิ การนสิ ติ ทค่ี อยใหค้ �ำ ปรกึ ษารว่ มดว้ ย ดา้ นการบรกิ ารดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสารทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ นสิ ติ และศษิ ยเ์ กา่ เชน่ มบี อรด์ ประชาสมั พนั ธเ์ รอ่ื ง50 Burapha University Annual Report 2011


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook