Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อุบายเจริญปัญญา

อุบายเจริญปัญญา

Published by Chalermkiat Deesom, 2015-08-18 00:11:56

Description: หลวงพ่อทูลบอกอุบายเจริญปัญญา เพื่อให้คนฟังเป็น ให้คิดเป็น เพราะการฟังธรรมด้วยดี ย่อมเกิดความฉลาดเรียกว่าเกิดปัญญา เกิดความเข้าใจในเหตุในผล ตามหลักความเป็นจริงในสัจธรรม

Keywords: หลวงพ่อทูล

Search

Read the Text Version

อุบายเจริญปัญญา โดย พระอาจารยท์ ลู ขปิ ปฺ ปญโฺ  ธรรมเทศนา เม่อื วนั ท่ี ๒๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๖ณ วัดบ้านกรอบ ต. รัตภูมิ อ. ควนเนยี ง จ. สงขลา

คำ� น�ำ “อุบายเจริญปัญญา” เป็นเทศน์ที่หลวงพ่อได้เทศน์โปรดชาวควนเนยี ง ทวี่ ดั บา้ นกรอบ อ. ควนเนยี ง จ. สงขลา ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ได้กราบเรียนหลวงพ่อว่า โดยส่วนตัวแล้วชอบกัณฑ์เทศน์น้ีมากทสี่ ดุ หลวงพอ่ บอกวา่ “ไหนเอามาฟงั ดซู ”ิ ทา่ นพดู ดว้ ยใบหนา้ ยม้ิ ๆ เมอื่ ท่านดบั ขันธ์ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ จงึ ไดเ้ ลือกกัณฑ์เทศนน์ ้ีมาท�ำเป็นหนังสือใช้แจกในงานพระราชทานเพลิงศพของท่านเพราะเห็นว่าเน้ือหาสาระในเล่มได้บ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ในวธิ กี ารปฏบิ ตั ใิ นแนวของหลวงพอ่ ทลู อยา่ งชดั เจน มที ง้ั โลกตุ ระ และโลกียะ เหมาะกับนักปฏิบัติไม่ว่าจะเป็นนักบวชหรือฆราวาส มีตวั อยา่ งท่กี ระชับเข้าใจ และตามไดง้ ่ายๆ แม้กระทั่งวิธกี ารปฏบิ ตั ิเพอ่ื การอยรู่ ว่ มกบั คนอน่ื ๆ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ และทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ คอืการสร้างฐานการปฏิบัติในแนวสายปัญญา โดยใช้ข้อมูลจากชีวิตประจำ� วันใหเ้ ปน็ ประโยชน์

ในส่วนตัวแล้วคิดว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีม่งุ หวังจะเขา้ กระแส ไม่วา่ จะเปน็ ขั้นใดขนั้ หนึง่ กต็ าม ขอใหท้ ่านท้งั หลายท่ไี ด้อา่ นหนังสอื เลม่ น้ี จงได้ประโยชน์ไม่วา่ จะมีจดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ความสุข ความสมหวัง หรือเพื่อมรรคผลนิพพานใดๆ ก็ขอให้ท่านจงได้ประสพผลดังท่ีท่านได้ตั้งใจแล้วดว้ ยเทอญ แม่ชีโย ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบ่งปันเป็ นธรรมทาน

อบุ ายเจริญปญั ญา อบุ ายของหลวงพอ่ ในการสอน สอนใหค้ นฟงั เปน็ ใหค้ ดิ เปน็ไมใ่ หฟ้ งั เฉยๆ การฟงั เฉยๆ มนั ไมร่ เู้ รอื่ งอะไร ไมร่ คู้ วามหมายอะไรในคำ� วา่ “สุสฺสสู ํ ลภเต ปญฺ ํ การฟงั ธรรมะด้วยดียอ่ มเกดิความฉลาด” เรียกวา่ เกดิ ปัญญา คำ� วา่ เกิดปญั ญา คอื เกดิความเขา้ ใจในเหตใุ นผล เกดิ ความเขา้ ใจตามหลกั ความเปน็ จรงิในสัจธรรม ทีนี้ค�ำว่าสัจธรรมตัวเดียวนี้เป็นค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ประกาศให้คนทั้งหลายในโลกได้รู้จักความจริงสจั ธรรม แปลว่าความจริง หมายถงึ ความจริงในคำ� สอนของพระพุทธเจ้าทเี่ ริม่ สอนมาในสมัยน้ัน ยุคนั้นพระพุทธเจ้าสอนความจริง ทีนค้ี วามจรงิ ทีน่ �ำมาสอนนนั้ มาจากไหน ความจรงิ ท่ีพระองคเ์ จา้ สอนคนในยคุ พทุ ธกาลนน้ั เอาความจรงิ ทมี่ าจาก

๒ พระอาจารย์ทูล ขปิ ปฺ ปญฺโ บคุ คล ในตวั บคุ คลมนั มคี วามจรงิ อยใู่ นตวั ของมนั แตเ่ ราไมร่ ู้ เราไม่เห็น เหมือนกับน่ังทับนอนทับท้ังวันท้ังคืนก็ไม่รู้ว่า ความจรงิ อะไร พระองคจ์ งึ ไดเ้ อาความจรงิ ทม่ี อี ยกู่ บั ตวั บคุ คล นี่แหละมาสอนคนเอง เรียกว่าเอาธรรมะจากคนมาสอนคน ธรรมะความจรงิ ทค่ี นเรามอี ยนู่ ี้ พระองคไ์ ดช้ บ้ี อกวา่ นค่ี อื ของจรงิ ของจริงท่ีว่ามาน้ีพระองค์เจ้าได้แบ่งออกเป็น ๓ หมวดหมู่ ด้วยกัน ๑. หมวดหมเู่ รอ่ื ง “อนจิ จงั ” อนจิ จงั เปน็ คำ� บาลี แปลวา่ การเปลย่ี นแปลง ๒. สจั ธรรมคอื ความจรงิ อยา่ งหนง่ึ คอื “ความทกุ ข”์ คนเรา เกดิ ขนึ้ มาทกุ คนยอ่ มมคี วามทกุ ขป์ ระจำ� ตวั ทกุ ขก์ าย ทกุ ขใ์ จ อนั นี้ทกุ คนมีอยู่ แตท่ กุ คนกค็ ิดว่าเปน็ ธรรมดา ๓. ความจรงิ อกี อยา่ งหนงึ่ ทพี่ ระองคเ์ จา้ สอนคอื เรอื่ ง “อนตั ตา” คำ� วา่ อนตั ตา คอื สงิ่ ทห่ี มดสภาพ ไมม่ อี ะไรเหลอื นนั่ คอื ว่าอนตั ตา คือหมดสภาพจากทุกส่ิงทกุ อย่าง ไมว่ า่ สงิ่ น้ันมชี วี ติ หรอื ไมม่ ชี วี ติ เม่ือถงึ ทสี่ ดุ ของจดุ หนง่ึ แล้วมันจะหมดสภาพไป เหมือนต้นไม้ใบหญ้าหรือต้นยางท่ีมี อยทู่ บี่ า้ นเรา เมอ่ื ดๆู แลว้ กเ็ หมอื นตน้ ยาง เมอ่ื ถงึ วนั หนง่ึ ขา้ งหนา้ ตน้ ยางต้นนั้นแหละมนั จะแก่ชราคร�่ำครา่ มันจะโคน่ ลง มนั จะ

อบุ ายเจรญิ ปัญญา ๓ผุพัง เป็นธรรมชาติของธาตุเดิมของเขา ต้นยางต้นนั้นก็จะหมดสภาพทนั ที ไมม่ ตี น้ ยางอกี ตอ่ ไป นฉี้ นั ใด รา่ งกายเราทง้ั หมดที่น่ังทับอยู่ขณะน้ีเรียกว่าธาตุส่ี ก็เหมือนกับต้นยาง ต้นยางกเ็ ชน่ ตวั เรา ธาตสุ ข่ี องเรา เมอื่ เกดิ ขนึ้ มากม็ กี ารแก่ แกไ่ ปเรอ่ื ยๆแล้วก็ต้องหมดสภาพไปคือตาย คือหมดอายุขัยของการแก่กค็ ือตาย ร่างกายเราทั้งหมดนีม้ ันเปน็ ความจรงิ ของมนั คอื วา่อาศัยชั่วคราว ถึงกาลเวลาก็หมดสภาพไปเหมือนต้นยางที่ว่านัน้ เอง ทนี ี้ ตายไปแลว้ เอาไปไหนตอ่ เอาไปฝงั บา้ ง เขา้ เมรบุ า้ งเผาทิ้งบ้าง ร่างกายเราขณะใดที่ยังมีจิตอาศัยอยู่ ร่างกายเรากต็ อ้ งไปมาได้ เคลอื่ นไหวได้ สมั ผสั อะไรกไ็ ด้ เพราะรา่ งกายเรา

๔ พระอาจารยท์ ลู ขิปปฺ ปญโฺ  มนั มตี วั หนง่ึ เปน็ ตวั บงั คบั เปน็ ตวั ประกอบ นน่ั คอื นาม นามของจติ เรยี กว่า เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ ทงั้ ๔ ตวั นเ้ี ขาเรยี กว่า เป็นอาการของจิต เฉพาะวิญญาณตัวเดียว มันไปผสมผสาน อยู่กับร่างกายเราทุกส่วน อยู่ที่ตา เขาเรียกว่าวิญญาณในตา ถา้ ตาไมม่ วี ญิ ญาณกไ็ มเ่ หน็ อะไร เหน็ กไ็ มร่ วู้ า่ อะไร หเู หมอื นกนั ถา้ ขาดวญิ ญาณในหกู ฟ็ งั ไมร่ เู้ รอื่ ง เหมอื นคนทต่ี าย คนทตี่ ายนน้ั คือว่าวิญญาณในหู ตา จมูก ลนิ้ กาย หมดสภาพไปแล้ว ถงึ จะ มตี ากร็ บั รอู้ ะไรไมไ่ ด้ จะมหี กู ฟ็ งั อะไรไมร่ เู้ รอ่ื ง นเี้ รยี กวา่ วญิ ญาณ หมดสภาพ เพราะวญิ ญาณไดอ้ อกจากรา่ งไปแลว้ แตเ่ มอ่ื วญิ ญาณ ยงั อยใู่ นรา่ งเรา มนั กท็ ำ� ไดท้ กุ สงิ่ ทกุ อยา่ ง ขณะทเี่ รายงั มชี วี ติ อยู่ ตนเราที่วา่ มามลี ักษณะ ๒ ตนด้วยกนั ๑. ตน คอื ธาตสุ ่ี คอื ธาตดุ ิน ธาตุน�ำ้ ธาตลุ ม ธาตุไฟ ทเี่ รามีอยนู่ ี้ มนั ต้องสมดลุ กัน ๒. ตน คอื ใจของเรานี้ ก็มาอาศยั รา่ งกายเรานี้อยู่ กายทกุ สว่ น ใจเราตอ้ งสรา้ งขน้ึ มา พดู งา่ ยๆ วา่ รา่ งกาย เรานเี้ ปน็ บา้ นพกั ของใจหรอื บา้ นของใจกว็ า่ ได้ หรอื บา้ นของจติ กว็ ่าได้ เหมอื นว่าจติ เราสรา้ งรา่ งกายนข้ี ึน้ มา แต่เริม่ ตน้ จริงๆ กอ่ นมาเปน็ รา่ งกายเราไดเ้ นอ่ื งจากอะไร มนั มเี หตปุ จั จยั ของมนั วญิ ญาณของคนทม่ี าเกดิ แตล่ ะคนนัน้ เป็นเพียงวิญญาณลว้ นๆ

อบุ ายเจริญปัญญา ๕ไม่มีวิญญาณอ่ืนใดจะหาบหามกระดูก เอ็น เส้นผม มาเกิดแม้แต่วญิ ญาณเดียว เม่ือมาเกิดในทอ้ งแม่ จติ สังขารน้มี ันจะปรงุ แต่งเอาธาตุสี่ขนึ้ มา ธาตุส่ีนี้มาจากไหน มาจากสัมภวะธาตุของพ่อแม่เขาวา่ หยดนำ้� มนั เดยี ว เขาวา่ สเปริ ม์ อนั นนั้ แหละ คอื จติ จะมากอ่ สรา้ งตวั นขี้ น้ึ มาเปน็ รปู เปน็ ธาตสุ ขี่ นึ้ มากต็ รงนี้ ทนี ต้ี วั เราเกดิ ขน้ึ มา เราก็ตอ้ งมองดวู า่ เรามาเกดิ เกดิ จากอะไร เกดิ จากกอ้ นทีม่ นั แก่เป็น ใครเปน็ คนแก่ พ่อแม่เราเปน็ คนแก่ เม่อื เราเกิดจากพอ่ แมข่ องเรา เม่ือพ่อแม่เราแกเ่ ป็น เราก็ต้องแกเ่ ป็นเม่อื พ่อแม่เราตายเป็น ปยู่ ่าตาทวดตายเป็น เรากต็ อ้ งตายเปน็เหมือนพ่อแม่ปู่ย่าตาทวดของเรา เราเกิดจากสิ่งท่ีไม่เที่ยง

๖ พระอาจารย์ทูล ขิปปฺ ปญโฺ  เม่ือพ่อแม่เราไม่เท่ียง ร่างกายเราก็ไม่เท่ียงด้วย เม่ือพ่อแม่ เรามีความทุกข์กายทุกข์ใจอยู่ เรามาเกิดท่ีน่ัน เราก็เป็นทุกข์ เหมือนกับพ่อแม่ของเรา น่ีคือบ่อเกิดเป็นอย่างไร เราก็เป็น อยา่ งน้นั ให้เรามองภาพยอ้ นหลัง คอื อดตี อดีตชาติน้ี แลว้ ชาติ ปจั จบุ นั กค็ อื อดตี ชาติ คอื ชาตนิ ท้ี ลี่ ว่ งเลยจากปจั จบุ นั มาหลายปี เรามองย้อนหลังดูก็แล้วกันว่ามันเป็นอย่างไรจนถึงปัจจุบันนี้ เมอื่ เกดิ ขนึ้ มาแลว้ กม็ กี ารแกต่ ามๆ กนั มา ธรรมชาตเิ ปน็ อยา่ งนนั้ เหมอื นตน้ ไมต้ า่ งๆ ทม่ี นั เกดิ ขนึ้ มาแลว้ มนั กต็ อ้ งแกต่ ามธรรมชาติ ของมนั สตั วท์ กุ ประเภทเกดิ ขน้ึ มากต็ อ้ งแกโ่ ดยธรรมชาตขิ องมนั ห้ามไม่ได้ความแก่อันน้ี ถึงจะมีอาหารการกินดีอย่างเลิศเลอ ดีสกั ปานใดก็แล้วแต่ มนั กย็ งั แกอ่ ยู่ จะมที ี่พกั พาอาศัย ทีห่ ลับ ท่ีนอนดี เอาแผ่นทองค�ำมาปูให้นอนหนาเป็นตันๆ อย่างไร ก็แล้วแต่ ร่างกายของเรามันก็แก่น่ันแหละ น่ีเรียกว่าเรามา อาศยั ธาตุอาศยั ขันธน์ ้อี ยชู่ ั่วคราว เรอ่ื งใจของเราจรงิ ๆ แลว้ ทพี่ กั พงิ อยแู่ นๆ่ ไมม่ ี หาทอี่ ยู่ จริงจงั ไมม่ ี ในสามภพน้ีไม่มีบา้ นพกั ไมม่ ีท่อี ย่ขู องใจท่แี น่นอน สกั แหง่ หนงึ่ ถงึ จะไปพรหมโลกกไ็ ปชวั่ คราว เมอื่ หมดบญุ หมด อำ� นาจของญาณของฌานแลว้ กต็ อ้ งมาเกดิ อกี หรอื จะไปสวรรค์

อบุ ายเจริญปัญญา ๗ไปกไ็ ปชว่ั คราวอกี เมอ่ื หมดบญุ กศุ ลกไ็ ปทอี่ น่ื อกี หรอื จะมาเกดิเป็นมนุษยก์ ็มาเกิดชั่วคราว มนษุ ย์เรา เมื่อถงึ เวลากต็ ายกนั ไปหรอื จะไปเกดิ เปน็ สตั วเ์ ลก็ สตั วใ์ หญ่ สตั วบ์ กสตั วน์ ำ้� กต็ าม กเ็ กดิชว่ั คราวแล้วกต็ ายไปอกี จติ วญิ ญาณของเรานจ้ี งึ ไมม่ ที อ่ี ยแู่ นน่ อน เขาวา่ จติ จรจดัเรร่ อ่ นไปเรอ่ื ยๆ ทนี กี้ ารเปน็ มาอยา่ งนเี้ ปน็ มานานเทา่ ไหร่ ดแู ลว้นบั ไมถ่ ว้ นประมวลไมจ่ บ มนั ยาวนานเหลอื เกนิ เกดิ มาแตล่ ะชาติแตล่ ะชาติ กม็ าแก่ มาเจบ็ มาตาย พดู งา่ ยๆ คอื เกดิ มากม็ าหาอยู่หากนิ แล้วก็มาตาย เกิดมาแลว้ ก็มามีความทุกข์ แล้วกม็ าตายมเี ทา่ นค้ี นเรา ไม่เกนิ นไ้ี ปไดเ้ ลย เกดิ มาหาอย่หู ากนิ ก็มาทุกข์กม็ าตาย ทกุ ชาตทิ กุ ภพเปน็ อยา่ งนที้ ผ่ี า่ นมาในอดตี ความเปน็ มาในอดตี เปน็ อยา่ งไรกด็ ใู นชาตปิ จั จบุ นั ในชาตปิ จั จบุ นั นเี้ ราเกดิ มากม็ าแก่ หาอย่หู ากินก็มาทกุ ข์ กม็ าตายเหมือนเดมิ ทีนี้เราจะมากอบโกยเอาอะไรกับโลกอันนี้ เช่น วัตถุสมบตั ขิ องโลกทเ่ี ราหากนั อยทู่ กุ ๆ วนั นี้ เราหลอกตวั เอง ในชาติกอ่ นๆ เรากห็ ากนั อยา่ งนมี้ าแลว้ บางทกี ส็ มหวงั บา้ ง ไมส่ มหวงั บา้ งส่วนมากไม่สมหวัง ไม่อ่ิมพอในวัตถุสมบัติของโลก ถึงได้ขอปรารถนาลว่ งหนา้ ไปกอ่ น เออ ชาตหิ นา้ ขอใหข้ า้ พเจา้ รวยอยา่ งนน้ัรวยอยา่ งน้ี นขี่ อปรารถนา การขอปรารถนาอยา่ งนมี้ ชี าตใิ ดบา้ ง

๘ พระอาจารย์ทลู ขปิ ฺปปญโฺ  ทสี่ มปรารถนา ไมม่ สี กั กะชาตเิ ดยี ว กใ็ นชาตนิ เ้ี ราสมปรารถนา ไหม ก็ไม่ ยงั บกพรอ่ งอยู่ ยงั มคี วามต้องการอยู่ คืออยากรวย อยากได้ อยากมี เมอื่ ชาตนิ ไ้ี มส่ มปรารถนา เรากต็ อ้ งปรารถนา ตอ่ ไปชาตหิ น้า สาธุ ทำ� บุญท�ำทาน จะรักษาศลี อะไรก็แล้วแต่ แตล่ ะวนั แตล่ ะครงั้ กม็ คี วามปรารถนาตอ่ ไปอกี วา่ ไปสวรรคบ์ า้ ง ขอให้รวยบ้าง ชาตหิ น้าขอใหส้ วยบา้ ง ว่ากันไปโน้นอีก นม่ี นั หลอกให้ตัวเองไปเกดิ ทง้ั ทไ่ี มส่ มหวงั แมแ้ ตช่ าตเิ ดยี ว กห็ ลอกตวั เองไปเรอ่ื ยๆ ดเู ถอะวา่ ชาตหิ นา้ ทจี่ ะไปเกดิ นน้ั มนั จะเหมอื นชาตนิ ไี้ หม เหมอื นกนั ไปเกดิ ทอ้ งพอ่ แมแ่ หง่ เดยี ว ไปเกดิ ในกอ้ นทที่ กุ ข์ ไปเกดิ ทก่ี อ้ นอนจิ จงั

อุบายเจรญิ ปัญญา ๙เกดิ ทก่ี อ้ นอนตั ตา อนั เดยี วกนั นน่ั แหละ เมอื่ เกดิ มากเ็ หมอื นกบัชาตนิ ที้ ง้ั ชาตเิ ลย ไมแ่ ตกตา่ งกนั นเ่ี รามองภาพอนาคตกนั ไวว้ า่ตวั อนาคตทย่ี งั ไมม่ าถงึ กด็ ี อดตี ทผ่ี า่ นไปแลว้ กด็ ี จะเหมอื นชาติปัจจุบันน้ีไหม เหมอื นกันทั้งหมดเลย น่เี รามองภาพความจริงเราสอนตวั เองใหเ้ ปน็ เมอื่ เกดิ ขนึ้ มาแลว้ ไมม่ ใี ครจะถอื ครอบครองในสมบตั โิ ลกอันนีไ้ ด้ ทเี่ ราพดู กนั วา่ สมบตั นิ เี้ ปน็ ของเรา อนั นกี้ ข็ องเรา ของเราทกุ ประเภททหี่ ามาไดน้ ม้ี นั จรงิ หรอื เปลา่ มนั จรงิ สว่ นหนง่ึ จรงิ ในสมมตวิ า่ เปน็ ของเราเฉยๆ ความจรงิ แทแ้ นน่ อนไมเ่ ปน็ เปน็ จรงิหลอกๆ จริงขณะเรามีชีวิตอยู่เท่าน้ันเอง เม่ือเราตายไปแล้ววตั ถสุ มบตั ทิ เ่ี ราวา่ เปน็ ของของเรากห็ มดสภาพ ไมม่ คี นใดคนหนงึ่เมอื่ ตายไปแลว้ จะหาบหามวตั ถสุ มบตั ิ บา้ นเรอื น ขา้ วของเงนิ ทองไปไดแ้ มแ้ ตค่ นเดยี ว ตลอดมาเราหลอกตวั เองเฉยๆ ขอใหเ้ รามาพจิ ารณากนั ตรงน้ี การมาเกิดกบั โลกน้ี มนั มีส่วนดสี ำ� หรับคนมปี ัญญาทด่ี ีตัวอย่างพระพุทธเจ้าของเราไง หรือพระอริยเจ้าท้ังหลายทา่ นมาสรา้ งบารมี กต็ อ้ งมาสรา้ งกบั โลกอนั นี้ เปน็ มนษุ ยส์ มบตั ิท่ีสมบูรณ์แบบ เรียกว่ามาสร้างบารมี เม่ือสร้างบารมีแล้วเมื่อท่านภาวนาปฏิบัติ เม่ือมาบรรลุธรรมเป็นพระอริยเจ้าก็ดี

๑๐ พระอาจารยท์ ลู ขปิ ปฺ ปญโฺ  เป็นพระพุทธเจ้าก็ดี ก็เป็นมนุษย์น่ีแหละท่ีเป็นพระพุทธเจ้า ก็เป็นมนษุ ย์เรานแี่ หละทเี่ ปน็ พระอรยิ เจา้ แตบ่ ารมสี ว่ นทเ่ี ปน็ พระพทุ ธเจ้า พระอริยเจา้ ท่านท�ำอยา่ งไร ลองมาพิจารณากัน ท่านมามองส่ิงทท่ี า่ นหลง คำ� ว่าหลง หลงอะไรบ้าง ตามหลักที่ เราพูดกันว่า เราเคยได้ยินครูบาอาจารย์หรือพระพูดบ่อยๆ “พากันละความโลภนะ ละความโกรธนะ ละความหลงนะ” นเี่ ราฟงั กนั มายาวนาน แตว่ ธิ กี ารละ ละอยา่ งไรนน้ั สว่ นมากทา่ น ไม่แจกแจงให้ฟังหรอก อาจจะไมร่ ูก้ ไ็ ด้ หลายคนเคยไดย้ นิ ไดฟ้ งั ไหมวา่ “การละความโลภ ใหท้ ำ� ทานเยอะๆ ทำ� ทานมากๆ” อนั นม้ี นั ไมใ่ ชท่ างละความโลภ เขาวา่ เปน็ ตวั กำ� จดั ความขตี้ ระหนเี่ ฉยๆ อนั ละความโลภจรงิ ๆ ไมใ่ ชล่ ะ ตัวน้ี มันละด้วยปัญญา หรือบางทีก็พากันไปนึกค�ำบริกรรม ทำ� สมาธิ เพอ่ื ใหจ้ ติ ใจไดม้ คี วามสขุ มคี วามสบาย เพอื่ ใหค้ วามโลภ หมดไปสนิ้ ไป หรอื ใหค้ วามโกรธหมดไปสน้ิ ไปกต็ าม วธิ กี ารทำ� สมาธิมันไม่ใช่เป็นเรื่องละความโลภความโกรธอะไรๆ เลย แตเ่ พยี งเอาไปขม่ ขม่ ได้ คือขม่ ไมใ่ ห้โลภไดบ้ า้ ง ในขณะท่ี นั่งสมาธิ หรือข่มไม่ให้โกรธได้ในขณะที่น่ังสมาธิ เพียงข่ม เฉยๆ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งละ เรอื่ งละมนั เกย่ี วกบั สตปิ ญั ญาทมี่ าสอนใจ ให้ถือว่าความโลภมันอยู่ที่ไหน อยู่ท่ีใจของเรา ความโกรธ

อุบายเจริญปัญญา ๑๑อยทู่ ไ่ี หน อยทู่ ใี่ จของเรา ความหลงอยทู่ ไ่ี หน อยทู่ ใี่ จของเราน่ันแหละใจเรามันยังกลมกลืนกันอยู่ในความโลภ ความโกรธแลว้ กค็ วามหลงทนี่ ่ี การศกึ ษาวธิ กี ารละโลภ โกรธ หลง ทใ่ี จเรา ใหเ้ ราศกึ ษาสว่ นนงี้ า่ ยๆ วา่ ไอค้ วามโลภนเี้ ปน็ ตวั หยาบสดุ นะ เปน็ ตวั หยาบสดุคำ� วา่ โลภคำ� เดยี วเอาอะไรมาโลภ ตวั โลภจรงิ ๆ คอื จติ คอื ใจเราเปน็ ตวั โลภ สงิ่ ทใี่ หโ้ ลภคอื อะไร นน่ั คอื วตั ถสุ มบตั ิ นเ้ี องหยาบสดุ แลว้ เรอื่ งวตั ถสุ มบตั ทิ เี่ ราโลภกนั อยู่ คอื วา่ พอไมเ่ ปน็ อม่ิ ไมเ่ ปน็หวงแหน หามาไดก้ ไ็ มอ่ ยากใหค้ นใดคนหนงึ่ หลายคนตอ่ หลายคนไม่อยากกินอยากทานด้วยซ�้ำไป กลัวจะหมดเงินหมดทองนแี่ หละความโลภหมกั หมมใจตวั เอง คอื ไมค่ ดิ ลว่ งหนา้ วา่ เราเกดิมากับโลกอันน้ี มีใครบ้างที่มาหอบหามสมบัติของโลกไปได้ตลอดกาล มันไมม่ ี ถา้ คนมคี วามฉลาดทางสตปิ ญั ญาของตวั เองแลว้ เขาจะเอาวตั ถเุ งนิ ทองขา้ วของทมี่ อี ยมู่ าแปลงเปน็ บญุ กศุ ลได้ มาเปลยี่ นได้นนั่ แหละ เอาวตั ถธุ าตขุ องโลกมาเปลย่ี นมาแปลงใหเ้ ปน็ บญุ กศุ ลนน่ั หมายถึงการให้ทาน ท่ีเราเรียกกนั วา่ ทาน เสียสละสง่ิ ของท่ีมีอยู่ให้แก่พระแก่สงฆ์ก็ได้ ให้แก่คนก�ำพร้าอนาถาก็แล้วแต่คือเสียสละกับคนทด่ี อ้ ยโอกาสกว่าเรา คือให้ไป

๑๒ พระอาจารย์ทลู ขิปฺปปญฺโ การสรา้ งบารมตี วั นี้ เรากพ็ จิ ารณามมุ หนงึ่ วา่ การละ ความโลภตัวเดียวเป็นลักษณะปัญญาสอนใจไม่ให้โลภ สอนอยา่ งไร คือเอาวตั ถสุ มบัติทเ่ี รามีมาพจิ ารณาว่า เรามา เกดิ ตายๆ กบั โลกอนั นี้ มสี ว่ นหนงึ่ ทว่ี า่ เรามคี วามยดึ มน่ั ถอื มนั่ วา่ สง่ิ นีเ้ ป็นของของเรา บา้ นเรา เงินเรา รถเรา ไร่สวนตา่ งๆ ของเรา ความยดึ ตดิ ผกู พนั ของสง่ิ เหลา่ นมี้ นั เปน็ หว่ ง มนั เปน็ ตวั ถว่ งใหค้ นมาเกดิ ใจของคนเรา ถา้ ไปยดึ ตดิ ในสงิ่ ใด ผกู พนั ในส่ิงใด ใจเรามาเกิดในของสิ่งน้ัน น่ีคือเราจะมามองหา สิ่งท่ผี กู พนั

อบุ ายเจรญิ ปัญญา ๑๓ ทนี กี้ ารภาวนาปฏบิ ตั ิ ทา่ นวา่ ใหว้ าง อยา่ ไปยดึ มน่ั สงิ่ หนง่ึส่ิงใดว่าเป็นของของเราท่ีแน่นอนตายตัว ให้เข้าใจเพียงสั้นๆว่าเป็นของเราแค่สมมติว่าเป็นของเรา สมบัติที่มีอยู่ทั้งหมดนี้ให้เขา้ ใจว่าเพยี งอาศยั กันขณะยงั มชี ีวติ อยู่ เมื่อใดเรามชี วี ติ อยู่ก็อาศัยกนั ไป หากนั ไป อยกู่ ันไป กินกันไปเท่าน้ัน เขาวา่ ปจั จยัอาศัย สมบัติท่ีว่ามาน้ี เม่ือเราตายไปจากโลกอันน้ี หรือให้ลกู หลานสบื ทอดตอ่ ๆ กนั ไป ลกู หลานผสู้ บื ทอดตอ่ ๆ กนั ไปนนั้เขามสี ิทธ์ิเอาไปด้วยได้ไหม ก็ไมไ่ ดเ้ หมอื นกันกบั เรา เขาก็ต้องท้ิงใหล้ กู ให้หลานเหลนต่อๆ กนั ไปเรอื่ ยๆ นคี้ อื สมบัตขิ องโลก เราอยา่ มาทำ� ใจใหเ้ ราหลงของสงิ่ น้ี คอื หลงตามความโลภของตวั เอง ไปยดึ ของสงิ่ ใด จะมาเกดิ กบั ของสง่ิ นนั้ แน่ คำ� วา่ สวรรค์คำ� เดยี ว ยงั ไมถ่ งึ นพิ พานนะ เอาแคส่ วรรคก์ อ่ น สวรรคค์ ำ� เดยี วนี้พระพทุ ธองคท์ า่ นสอนแลว้ สอนอกี วา่ ผจู้ ะไปสวรรคไ์ ดย้ ากมากอันนี้มกี ารเปรียบเทยี บวา่ เหมอื นกับโคตวั หน่ึง มี ๒ เขา ขนมีกขี่ น เปน็ ลา้ นๆ ขนกแ็ ลว้ กัน คนทจี่ ะไปสวรรค์ไดก้ เ็ หมอื นกับเขาโคมี ๒ เขาเทา่ นน้ั ผทู้ ไ่ี ปไมไ่ ดเ้ ทา่ ขนโคทงั้ ตวั ใหเ้ ราคดิ มมุ น้ีวา่ มันเป็นไปไดไ้ หม คนท�ำบุญท�ำทานยุคน้ีสมัยน้ี มีการภาวนาปฏิบัติบ้างรักษาศลี บ้าง ให้ทานบา้ ง เหมอื นกับว่าจะไปสวรรค์กันทุกคน

๑๔ พระอาจารย์ทูล ขิปปฺ ปญฺโ เวลาตายไปก็นิมนต์พระสงฆ์องค์เจ้ามาสวดกุสลา มาติกา บังสุกุล ส่งวิญญาณไปสวรรค์ ก็เหมือนพ่อแม่หรือผู้ตายน้ัน จะไปสวรรคท์ กุ คน ผอู้ ยเู่ บอื้ งหลงั ผยู้ งั มชี วี ติ อยกู่ ส็ บายใจ ถอื วา่ เขาไปสวรรคแ์ ลว้ มพี ระสง่ เขาไปสวรรคแ์ ลว้ ความเชอ่ื ถอื ของเรา เป็นอย่างนี้ มีความเขา้ ใจความจริงในชวี ิตอย่างนี้ แทจ้ ริงลึกๆ หาเปน็ เชน่ นน้ั ไม่ การทำ� อยา่ งนเ้ี ปน็ อบุ ายปลอบใจตวั เอง หาวธิ อี อก ของตวั เองงา่ ยๆ เพอ่ื ใหส้ บายใจเฉยๆ จรงิ ๆ ความยดึ มนั่ ถอื มนั่ ของแตล่ ะคนทตี่ ายไปนน้ั มคี วามคดิ เหน็ เปน็ อยา่ งไร อนั นไ้ี มร่ กู้ นั

อบุ ายเจริญปญั ญา ๑๕ แต่พระพุทธเจ้าของเรารู้ว่าใครจะไปสวรรค์หรือไม่ไปสวรรค์ การเขา้ ใจงา่ ยๆ วา่ คนนนั้ ทำ� บญุ ทำ� ทานมามาก สรา้ งโบสถ์สรา้ งวหิ ารเจดยี ม์ ากมายกา่ ยกอง บญุ กศุ ลมากมาย เมอื่ ตายไปก็ไปสวรรค์แล้ว อันนี้คือความคิดของเรา ดูแล้วก็เหมือนว่าจะเปน็ เชน่ นน้ั แตม่ นั ไมเ่ ปน็ กนั ทกุ คนนะ มนั เปน็ อยู่ มนั เปน็ ได้แตน่ อ้ ยมากทจ่ี ะเปน็ ไดอ้ ยา่ งนน้ั กจ็ รงิ อยขู่ ณะทท่ี ำ� บญุ ทำ� ทานใจรา่ เรงิ เบกิ บาน มบี ญุ กศุ ล แตว่ นั สดุ ทา้ ยตอนจติ จะออกจากรา่ งนส้ี ำ� คญั มากเลย สำ� คญั มากเปน็ พเิ ศษ เขาวา่ เรอื มนั จะลม่ เวลาจะจอดเรือน้แี หละ ภาษาโบราณว่า “เม่อื จิตจะออกจากร่างหรือตายไปนี้มันจะมีกรรมนิมิตมาปรากฏ” ถ้าเบ้ืองต้นโดยยังไม่แก้ไขยงั หว่ งนนั่ หว่ งนอี่ ยู่ ยงั หว่ งลกู บา้ ง หว่ งหลานบา้ ง หว่ งทรพั ยส์ นิเงนิ ทองกองสมบตั บิ า้ ง การทำ� บญุ เปน็ สว่ นหนงึ่ แตค่ วามหว่ งเปน็อกี ส่วนหนึง่ เป็นลกั ษณะมี ๒ ส่วนด้วยกัน การทำ� ทาน ใจมคี วามเบิกบานในขณะทีท่ ำ� ทานกจ็ ริงแต่สว่ นหนง่ึ เราไมแ่ กไ้ ขคือความผกู พัน ความห่วง ความอาลัยถ้าเราไม่ไดแ้ กไ้ ขจดุ น้ี เมื่อตายจติ เราจะออกจากร่างไป มนั จะเปน็ นมิ ติ ขนึ้ มา เรยี กวา่ กรรมนมิ ติ แวบ็ เดยี วขนึ้ มาเทา่ นน้ั แหละมนั จะคดิ สำ� นกึ หว่ งคนนน้ั บา้ งคนนบ้ี า้ ง หว่ งเงนิ หว่ งทอง หว่ งลกู

๑๖ พระอาจารยท์ ูล ขปิ ปฺ ปญฺโ ห่วงหลานขึน้ มา น้คี อื ตวั สำ� คัญ สำ� คญั ตรงท่ีวา่ คนนน้ั แทบจะ ไมร่ ูว้ ่าเกดิ อะไรขึน้ พอขาดใจ จติ ออกจากรา่ งปบั๊ แทนท่จี ะไป สวรรคม์ นั ไมไ่ ปเสยี แลว้ ตวั หว่ งตวั ผกู พนั มนั มคี วามรนุ แรงมาก ท่สี ดุ มีนิทานเล่าให้ฟัง มีอยู่ตระกูลหนึ่ง ครอบครัวหน่ึงก็ แลว้ กนั พอ่ แมก่ บั ลกู อกี สามคน คนหวั ปเี ปน็ ผชู้ าย คนกลางมา ทส่ี องกเ็ ปน็ ผชู้ าย คนสดุ ทา้ ยเปน็ ผหู้ ญงิ ลกู ชายสองคน หนง่ึ ใน สองคนน้ีมีคนหนึ่งเป็นคนใจบุญใจกุศล คือชอบบวช พ่อแม่ อนุญาตให้บวช เมื่อบวชมาก็เร่งภาวนาปฏิบัติจนสิ้นอาสวะ บรรลธุ รรมเปน็ พระอรหนั ต์ นคี่ อื ลกู คนกลาง แตล่ กู คนหวั ปเี กเร

อุบายเจริญปัญญา ๑๗ไมเ่ อาไหนเลย ชอบเลน่ เตรด็ เตร่ กินเหลา้ เมายาไปเรอ่ื ยเปอื่ ยตามเพ่อื นฝงู ไปเร่อื ย พูดงา่ ยๆ วา่ ไม่เอาการเอางานอะไร สว่ นผเู้ ปน็ พอ่ วดั กไ็ มเ่ ขา้ พระเจา้ กไ็ มเ่ อา จะไปหมกมนุ่อยู่กับนานั่นแหละ ถ้าไปนา ก็ท�ำนาท้ังวันก็อยู่ได้ แดดออกฟ้าฝนตกไม่ว่า ท�ำไร่ท�ำนาน่ีล่ะขยันนัก คือจิตมันผูกพันอยู่กับนา ส�ำหรับผู้เป็นแม่ ต่ืนข้ึนมาได้ตะกร้ากับเสียมก็ไปสวนไปสับน่ันบ้างสับนี่บ้างในป่าในสวน ชอบไปสวน เรียกว่าจิตผกู พนั กบั สวนอยา่ งเดยี ว มนั ไมไ่ ดผ้ กู พนั ทางวดั วาศาสนา มจี ติผูกพันห่วงอยกู่ บั สวนอย่างเดียว ส่วนคนเล็กสุด คนสุดท้ายคือลูกสาว ก็ชอบแต่งตนแตง่ ตัวรักสวยรกั งาม ท่ีหน้าบา้ นทีอ่ ยอู่ าศัย มสี ระอยสู่ ระหน่งึมีต้นไม้สวยๆ ปลูกรอบข้างสระ ตกเย็นๆ มาก็แต่งตัวสวยๆไปเดินอ้อนแอ้นๆ ชมดอกไม้นั้นบ้างต้นไม้น้ีบ้าง ใส่ปุ๋ยบ้างชื่นชมอยู่อย่างนัน้ แหละ คอื ติดตน้ ไม้ติดดอกไม้ แลว้ กม็ ีใบบัวดอกบัวเกิดขึ้นในสระสวย ก็ไปนั่งดูดอกบัวสวยอยู่อย่างนั้นไม่ทำ� อะไร ตอนเชา้ กด็ ี ตอนเยน็ กด็ ี ประคบประหงมดอกไม้ของตวั เองอยู่อยา่ งนน้ั น่คี ือนสิ ยั ของลกู สาวคนเล็ก

๑๘ พระอาจารย์ทูล ขปิ ฺปปญโฺ  ต่อมาระยะหน่ึง มีโรคอหิวาต์เกิดข้ึน ผู้เป็นพ่อก็ตาย ผเู้ ปน็ แมก่ ต็ าย ลกู สาวคนเลก็ กต็ าย ตาย ๓ คน ขณะทต่ี ายไปนน้ั จติ ของพอ่ กห็ ว่ งกบั นา ตายไปเกดิ เปน็ หมู เปน็ หมทู อ้ งใหญ่ อยกู่ บั นานนั่ แหละ ดนั ตน้ ไมน้ นั้ บา้ ง ตน้ ไมน้ บ้ี า้ ง กลายเปน็ หมเู พราะ ห่วงนามาก ผเู้ ป็นแม่ตายไปเปน็ อะไร เปน็ งู เก่ียวอยกู่ บั ต้นไม้ นัน้ บา้ ง เกยี่ วอยกู่ บั ต้นนีบ้ ้าง อย่อู ยา่ งนน้ั ละ่ เลื้อยไปโนน่ บ้าง เลอื้ ยไปนบ่ี า้ ง อยใู่ นสวนนนั้ เอง คอื หว่ งสวนมากไป กลายเปน็ งู สว่ นลกู สาวคนเลก็ กลายไปเปน็ เขยี ด แตล่ ะวนั ๆ กเ็ ตน้ ไปเตน้ มา ตามต้นไม้ท่ีเราชอบน่ันแหละ เต้นดูนั่นบ้าง เต้นดูนี่บ้าง อยู่ อยา่ งนน้ั

อบุ ายเจริญปญั ญา ๑๙ ขณะเดยี วกนั เหมอื นกบั วา่ กรรมสว่ นนม้ี นั จะเปดิ เผยอยู่นดิ หนง่ึ ไอล้ กู สาวคนเลก็ มนั นกึ ได้ เอ๊ เราตายมาเปน็ เขยี ด นกึ ได้ขน้ึ มา กค็ ดิ อยากจะไปดบู า้ น ทน่ี อน แปง้ เปน็ ยงั ไงหนอ นำ้� หอมเป็นยังไงหนอ หวีเป็นยังไงหนอ คิดถึงน้�ำหอม คิดถึงแป้งเครอื่ งแตง่ ตวั ของตวั เองในหอ้ งนอน พออยากจะขน้ึ ไปดหู อ้ งนอนตวั เองกข็ น้ึ ไม่ได้ ปนี บันไดขนึ้ ไม่ถงึ จงึ เต้นอย่อู ยา่ งนัน้ เต้นอยู่รอบๆ บันไดนน้ั เอง ข้นึ ไม่ได้ ขณะเดียวกันผู้เป็นแม่ ก็มีความคิดข้ึนมาลักษณะเดยี วกัน คอื คิดถงึ บา้ น เอ๊ เราตายมาเป็นงแู ล้วน่ี ในทบี่ า้ นเราเคยซุกซ่อนเอาเงินไว้ไหนบ้าง เอาทองไว้ไหนบ้าง ก็จ�ำได้ก็อยากจะมาดูว่ามันมีอยู่หรือเปล่า ก็มาเพื่อท่ีจะขึ้นมาดูของขณะเดยี วกนั นน้ั เอง พอเลอ้ื ยออกจากสวนกม็ าเจอเขา้ กบั เขยี ดเต้นอยู่ตรงบันได คือลูกสาวนั่นแหละ มันหลงกันแล้วตรงนี้นคี่ อื อาหารของเรา มาเจออาหารของดแี ลว้ งบั เอาซะ กลนื เลยทัง้ ตัวเลย มันไม่รู้วา่ น่ีคอื ลูกสาวของตวั เอง คือมันหลงไปแล้วมนั คนละภพไปแล้ว กลนื ลกู ตัวเองโดยไม่รู้ตัว เป็นอาหารของเรา นี้ว่างูกินเขียด พอกินแล้วก็เลื้อยตามบ้านข้ึนๆ ลงๆ อยู่อย่างนั้นแหละ

๒๐ พระอาจารยท์ ูล ขปิ ฺปปญฺโ ขณะเดียวกัน ผู้เป็นพ่อที่เป็นหมูอยู่ในนาก็นึกข้ึนได้ เอ๊ เราคิดถึงบ้านหนอ เป็นยังไงหนอท่ีบ้าน กลายเปน็ หมูนกึ ขน้ึ มาได้ กอ็ ยากจะมาดบู า้ น พอมาดบู า้ น มากพ็ อดพ๊ี อดี มาเหน็ งูอยู่ในข้างล่างท่ีบ้านก็เต้นใส่ คาบงูฟัดเลย กลืนกินงูท้ังตัว ไปเลย แหนะ่ มันรูห้ รือเปล่าวา่ นค่ี ือเมียเรา มันไมร่ ู้ คนละภพ ไปแล้ว เมื่อพ่ีชายคนโตท่ีเกเรได้กลับมาบ้านเรา มาแทนบุญ มรดกพอ่ แม่ หลงั จากไดท้ ราบขา่ วการตายของพอ่ แม่ และนอ้ งสาว กไ็ ดไ้ ปนาไปทำ� งาน ไปนากพ็ อดพี๊ อดไี ปเหน็ รอยหมทู มี่ นั ดนั ปา่ ดันเขาอยู่ในทุ่งนา ก็ว่าหมูป่ามากินที่นา จึงไปท�ำปืนเพลิงไป คอยดู พอดีหมูมนั กินงูอ่มิ แล้วกก็ ลบั ไปทำ� งานตอ่ คือไปนาตอ่

อุบายเจรญิ ปญั ญา ๒๑ดนั ดนิ ไปดนั ดนิ มาอยนู่ นั่ ละ่ ไอล้ กู ชายมนั รวู้ า่ เปน็ พอ่ เราหรอื เปลา่ไม่ ปนื เพลงิ ยิงไปกต็ มู้ เดยี ว ลงกับที่เลย พอเสร็จแล้วก็นึกถึงน้องชายตัวเองท่ีเป็นนักบวชอยู่ก็ไปหาน้องชาย นิมนต์น้องชายมากินลาบหมู กินอ่อมหมูก็แล้วกัน น้องชายก็รู้แล้วว่าลูกฆ่าพ่อ มีญาณหยั่งรู้แล้วว่าพี่ชายเราหลงผิดแล้ว เห็นว่าเป็นหมู ที่จริงฆ่าพ่อตัวเอง พอพชี่ ายไปบอก นมิ นตน์ อ้ งไปกนิ ลาบหมเู ถอะ นอ้ งชายเลยถามวา่“เป็นหมจู รงิ หรือเปล่าพี่” “หมจู รงิ ๆ สิ เป็นหมูจริงๆ” น้องเลยบอกว่า “พี่ ท่ีพ่ียิงนึกว่าหมูน่ันน่ะ ท่ีว่าตายนั่นน่ะ ไม่ใช่หมนู ะพี่ นัน่ คือพ่อของเรา” เอาล่ะงง พ่ีชายงง กเ็ ถียงกนั อยู่

๒๒ พระอาจารย์ทลู ขิปฺปปญฺโ อยา่ งน้นั ละ่ ก็ว่าหมูอยอู่ ยา่ งนัน้ แหละ ไอ้นอ้ งชายก็วา่ เปน็ พอ่ อยอู่ ยา่ งนน้ั แหละ เอาอะไรมาตดั สนิ ชขี้ าดวา่ ใครเปน็ ใคร นอ้ งเลย ส่ังวา่ “พี่ ถา้ พ่ไี ป ใหเ้ อามดี ไปผ่าท้องหมูดูนะ ในพงุ หมทู ้องหมู มันจะมีงูตัวหน่ึงอยู่ในน้ัน งูตัวท่ีอยู่ในท้องหมูน้ันล่ะคือแม่ ของเรา แล้วก็ผ่าท้องงูอีกคร้ังหน่ึง จะมีเขียดหรือกบอยู่ใน ท้องงูนนั้ ตวั หน่งึ นน่ั คือน้องสาวของเรา” พ่ีชายกง็ ง ไม่แน่ใจ กลับมากม็ าผา่ ทอ้ งหมู ก็เหน็ งูจริงๆ ด้วย ผา่ ท้องงไู ปอีก กเ็ หน็ กบจริงๆ ด้วย จึงสะดุดใจขึ้นมา เออ คนเราน่ี มันเป็นได้ อย่างนี้ๆ นี่เป็นเพราะอะไร เป็นเพราะวา่ มนั ยดึ มนั่ ถือม่ันในของสิ่งใด จติ วญิ ญาณ จะอยตู่ รงนนั้ ถงึ บญุ กศุ ลเคยสรา้ งมามากมายกอ็ ยา่ งหนงึ่ ขณะ สุดทา้ ย ขณะจติ ออกจากร่างนาทีสดุ ท้ายน่ะ จติ มันห่วงอะไร เอาตรงนนั้ เปน็ หลกั นพ่ี ลงั ใหญอ่ ยตู่ รงนนั้ มนั จะไปเกดิ ตรงนนั้ ทนั ที บญุ กเ็ อาไวก้ อ่ น บญุ หายไหม ไมห่ าย แตพ่ ลงั ไมม่ ใี นขณะนนั้ มนั ตอ้ งไปเกดิ ในทที่ ห่ี ว่ งกอ่ น เขาวา่ คนไหนทำ� บญุ มาก ทำ� บญุ ไวม้ าก บุญมีมากไปสวรรค์ ถา้ เปน็ บาปมากไปตกนรก อย่างน้เี ปน็ ตน้ นโ่ี บราณทา่ นพูดไว้ จริงไหม จริงสิ คำ� วา่ มากคำ� เดยี วนี้ เอาอะไรเปน็ ตวั วดั คอื มากในขณะ จติ จะออกจากรา่ ง ในขณะจติ ออกจากรา่ งนน้ั จติ ใจเราเอนไป

อุบายเจรญิ ปัญญา ๒๓ทางไหนมากกวา่ กนั นเ้ี ขาวา่ มาก มากอยา่ งน้ี จติ เอนไปทางไหนมากกวา่ กนั ไปยดึ อะไรมากกวา่ กนั เอาสดุ ทา้ ยเปน็ หลกั เปน็หลกั ของคำ� วา่ มากเท่านั้น ไมม่ ปี ัญหา นเ้ี องพระองคเ์ จา้ ถึงวา่ผู้ทีจ่ ะไปสวรรคไ์ ดเ้ ทา่ โค ๒ เขา คนไปไมไ่ ดเ้ พราะเหมอื นกับขนโคทั้งตัวน้นั น่ะ ก็เปน็ เพราะอยา่ งนี้ นนั่ ละ่ คนท�ำบุญมากๆนกึ วา่ เราไปสวรรคไ์ ด้ มนั ไมใ่ ชง่ า่ ยๆ อยา่ งนนั้ อยกู่ บั การยดึ ตดิ ผกู พนั ถา้ ยดึ ตดิ ผกู พนั ถา้ ตดิ อยใู่ นบา้ นหว่ งบา้ นตวั เอง แทนทจี่ ะไปสวรรคไ์ ด้ มนั ไมไ่ ดไ้ ปตรงนนั้ ไปเปน็ นกพริ าบเอย เปน็ หนเู อยเปน็ คางคกเอย วิ่งตามบ้าน คือหว่ งบา้ น ถ้าห่วงแมวก็เกิดเปน็ลูกแมวไป ถ้าห่วงสุนัขก็เป็นลูกสุนัขไป นี้เป็นต้น ถ้าห่วงลูกห่วงหลานก็คอยไปเกิดเป็นลูกเขาต่อไป น่ีตัวห่วงตัวผูกพัน

๒๔ พระอาจารย์ทลู ขิปปฺ ปญโฺ  สำ� คัญมากเลย ต้องแกไ้ ข ถ้าห่วงสมบตั ทิ ่ีวา่ มาน้ี ก็กลายเป็น สตั วต์ า่ งๆ ทว่ี า่ นี้ ไปคอยดผู กู พนั กบั สงิ่ เหลา่ นน้ั อยู่ เหตใุ ดถงึ วา่ ฝึกตวั เองอยา่ ยึดติดในของสิ่งใดๆ มกี ็มีไป หาไป เอาไป แตท่ ม่ี แี ลว้ หาแลว้ อยา่ ถอื วา่ สงิ่ นเ้ี ปน็ ของของเราตายตวั ใหถ้ อื วา่ สมบตั ทิ เี่ รามอี ยนู่ นั้ เปน็ สาธารณะของครอบครวั ของใช้ ประจำ� วนั ประจำ� ชวี ติ เราเทา่ นนั้ อยา่ ไปยดึ ตดิ ในสงิ่ ของเหลา่ น้ี ต้องสอนใจตวั เองใหเ้ ป็น คือว่าเปน็ ของเราเปน็ ได้ไหม เปน็ ได้ แคส่ มมตวิ า่ เปน็ ของเราเทา่ นน้ั จรงิ ๆ มนั ไมใ่ ช่ รกั ษากนั ไป ดแู ล กันไปถงึ ชีวติ จะหาไม่ นี่คือฝกึ ใจ การฝกึ ใจอยา่ งน้เี ขาเรียกวา่ ภาวนา การภาวนาปฏบิ ตั ทิ เี่ ราฟงั กนั มาตง้ั แตว่ นั นนั้ จนถงึ บดั น้ี ยังถกเถยี งกันไม่หยดุ ไมห่ ยอ่ น คือความไมเ่ ขา้ ใจของคน หลกั ภาวนามี ๒ หลกั ด้วยกัน อันนี้จะพูดเร่อื งภาวนาใหฟ้ งั นะ การภาวนามีอยู่ ๒ หลักด้วยกัน ๑. หลกั ทหี่ นงึ่ เขาวา่ หลกั หา้ มความคดิ เรยี กวา่ ทำ� สมาธิ การท�ำสมาธิทุกประเภท ครูบาอาจารย์จะสอนว่า “อย่าคิด อะไรนะ ใหจ้ ิตอยู่ในค�ำบรกิ รรมอย่างเดยี ว” อย่างทว่ี า่ “อตีตํ นานฺวาคเมยยฺ นปปฺ ฏิกงฺเข อนาคตํ ปจฺจุปฺปนฺนญจฺ โย ธมมฺ ํ ตตถฺ ตตถฺ วปิ สสฺ ต”ิ การทำ� สมาธใิ หจ้ ติ อยนู่ ง่ิ อยา่ ไดค้ ดิ เรอื่ งอดตี ท่ีผ่านไปแล้ว อย่าไปคิดถึงสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น อนาคตต่างๆ

อบุ ายเจริญปัญญา ๒๕อย่าไปคดิ ถึง ให้อยู่ในปัจจบุ นั ตรงนี้ นี่คือหลกั หา้ มความคดิคือการท�ำอยู่ในปัจจุบัน น่ีหลักหนึ่ง ทีนี้ปัจจุบันที่ว่ามานี้มีลกั ษณะ ๒ ประเภท อนั หนง่ึ ปจั จบุ นั ของสมาธิ ขณะทท่ี ำ� สมาธิตอ้ งทำ� อยา่ งทว่ี า่ มาน้ี ๒. หลักอีกอันหน่ึงท่ีเขาว่า หลักวิปัสสนาภาวนาอันน้ีส�ำคัญมากเลย ส่วนมากเราเข้าใจกันแต่สมถภาวนาหลกั วปิ สั สนาภาวนาน้ี ๙๙.๙๙ เปอรเ์ ซน็ ต์ คนจะไมเ่ ขา้ ใจสว่ นน้ีวปิ สั สนาภาวนาจะมปี จั จบุ นั ชว่ งหนงึ่ ของชวี ติ หรอื ปจั จบุ นั ชาติ เพียงสอนกันท่ัวๆ ไปว่า เอ้า ท�ำสมาธิกันไปเถอะเมอ่ื จิตสงบดี ปญั ญาเกิดขนึ้ อย่างนเี้ ป็นตน้ ก็สอนกันอย่างนี้คอื สอนแบบไมเ่ ขา้ ใจ คอื หลบั ตาสอนโดยไมม่ เี หตผุ ลอะไร โดยท่ีไม่คิดถึงสมัยครั้งพุทธกาลว่าพระพุทธเจ้าเราสอนอย่างนี้หรือเปลา่ น้คี อื วา่ ขาดการศึกษาประวตั ิของพระพุทธเจา้ ขาดการศึกษาประวัติของพระอริยเจ้าทั้งหลาย เลยสอนกันมั่วๆกนั ไป ท�ำสมาธไิ ปเถิด จติ สงบดีปญั ญาเกดิ ขึน้ อยา่ งนเ้ี ปน็ ต้น หลักน้ีไมม่ ใี นศาสนาพทุ ธเราเลยครงั้ พทุ ธกาล แตย่ คุ นี้เขียนหนังสือขึ้นมามากมายก่ายกอง วิธีการสอนอย่างน้ีมันมีทไี่ หน ปญั ญาเกดิ ขนึ้ จากความสงบของสมาธิ มนั ไมเ่ กย่ี วกนั เลยมนั ไมถ่ กู วปิ สั สนาภาวนาทว่ี า่ มานตี้ อ้ งแปลกอ่ น วปิ สั สนาแปลวา่

๒๖ พระอาจารยท์ ลู ขิปฺปปญฺโ อะไร แปลว่าปัญญา ใหแ้ ปลไว้อย่างนี้กอ่ น ต้องแปลให้มันถูก วปิ สั สนาแปลวา่ ปญั ญา ปญั ญาแปลวา่ อะไรอกี ปญั ญาแปลวา่ ความคดิ นเ้ี อง เมอ่ื ลงความคดิ ตวั เดยี วนะ่ เปน็ ฐานเรมิ่ ตน้ ของ ทกุ คนเลยทนี ี้ เขาวา่ ความคดิ แลว้ อนั นคี้ นจะเขา้ ใจ ภาษาบา้ นเรา วา่ ความคิด ศัพท์วา่ ปญั ญาเปน็ ศัพทข์ องธรรมะ แลว้ กพ็ ดู กนั ทัว่ ๆ ไปดว้ ย พืน้ ๆ จริงๆ คอื หลกั ความคดิ ไอ้หลักความคิดที่ว่ามาน้ี เรามีไหมในตัวเรา เคยคิด เปน็ ไหม คดิ เปน็ แตค่ วามคดิ ทเี่ รามอี ยมู่ นั คดิ แตท่ างโลก เขาวา่ คดิ ทางโลก คอื วา่ คดิ หาอยหู่ ากนิ คดิ หาเงนิ หาทอง คดิ สะเปะสะปะ เร่ืองของโลกทัง้ หมดเลย เอาไปเอามาก็คดิ เร่อื งกามคณุ เรอื่ ง รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ส่ิงใดจะเกดิ ความชอบใจ เราก็ คดิ มาใหเ้ กดิ ความชอบใจ คดิ หาใหเ้ กดิ ความโลภบา้ ง คดิ มาเพมิ่ ความโกรธบา้ ง คดิ อะไรใหย้ งิ่ หลงไปบา้ ง หลงในกามคณุ ทง้ั หลาย ในโลก หลงในความคดิ ของเรา เปน็ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างโลก ตลอด เป็นความคิดทางธรรมะมันมีไหม ไม่มี คือไม่เข้าใจ ตน่ื ขนึ้ มากเ็ รม่ิ คดิ ทางโลกไปเลย หาอยหู่ ากนิ ตามประสาความคดิ ของเรา เอาความคิดเราน้ีมาเสริมสรา้ งกิเลสตัณหาให้มากขึ้น น่ีความคิดของเรามีอยู่ คือใช้ความคิดไปทางโลกทางสงสาร

อุบายเจริญปญั ญา ๒๗เปน็ ความคดิ เขาเรยี กวา่ ขดุ หลมุ ฝงั ตวั เอง ความคดิ ประเภทนท้ี ำ�ให้เราเกิดตายๆ กับโลกอันนี้มายาวนาน ต้ังแต่กัปนั้นจนปจั จบุ นั ชาตนิ ี้ มาเกดิ เพราะความคดิ เราหลอกเราเอง หลงความคดิตัวเองมาตลอด น่ีความคิดเรามันมีอยู่ แต่ความคิดจะแก้ไขปัญหาตวั เรามไี หม ไม่เคยมี ไม่เคยสร้าง มแี ตค่ วามคดิ สรา้ งปญั หามาตลอด หาเรอ่ื งใสต่ วั เองให้เกดิ ความหลงผดิ หลงผดิ เรอื่ งนน้ั บา้ งเรอื่ งนบี้ า้ ง ยดึ ตดิ เรอ่ื งนนั้ยึดตดิ เร่ืองน้ี ความคดิ ของเราหลอกตัวเองให้หลงผิดในสง่ิ น้ันสิ่งนี้มาโดยตลอด ความคิดทางธรรมะ เราไม่ได้ฝึกความคิดตวั ความคิดเราน่ีแหละ เรามาศึกษา เอาความคิดท่เี รามอี ยู่นี้มาเปล่ียนวิธกี ารคดิ ใหม่ เหมอื นกบั ปากกา ปากกาเราปากเดยี ว แตก่ อ่ นเคยเขยี นคดโี ลก เขยี นเรอื่ งนนั้ บา้ ง เขยี นเรอื่ งนบี้ า้ ง ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งเขยี นทางคดโี ลก ปากกาปากเดยี วนเ้ี คยเขยี นธรรมะไหม เขยี นไมไ่ ด้เขยี นไม่เป็น เพราะเราไมร่ จู้ ักธรรมะคอื อะไร แตถ่ ้าเราศึกษาธรรมะเขา้ ใจแลว้ ไมต่ อ้ งเปลย่ี นปากกาหรอก เอาปากกาปากเกา่เขยี นธรรมะไดเ้ ลย นฉี้ นั ใด ถา้ เรามกี ารศกึ ษาหลกั ธรรมะปฏบิ ตั ิเข้าใจแล้ว เอาหลกั ความคดิ ท่เี รามนี ้ีหมุนกลบั มาคิดธรรมะได้เลยเช่นเดยี วกนั ความคิดทวี่ า่ มานเี้ ป็นตวั เสรมิ สรา้ งให้ปัญญา

๒๘ พระอาจารย์ทูล ขิปปฺ ปญโฺ  เกดิ ขน้ึ ปญั ญาเกดิ จากความคดิ บอ่ ยๆ พจิ ารณาบอ่ ยๆ ตรกึ ตรอง บอ่ ยๆ คอื คดิ ตามหลกั ความเปน็ จรงิ ใหเ้ ปน็ ไปตามรปู แบบของ อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา เขาวา่ “เย ธมมฺ า เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต” “สงิ่ ทง้ั หลายเกดิ ขนึ้ มาจากเหตุ แลว้ กด็ บั ไปเพราะ เหตนุ ้ันดบั ” นลี้ กั ษณะเราฝกึ ความคดิ ทางธรรมะ ใหเ้ ขา้ ใจสงิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ใหเ้ ขา้ ใจสง่ิ ขณะทตี่ งั้ อยชู่ วั่ ขณะ กใ็ หเ้ ขา้ ใจตามความเปน็ จรงิ วา่ ตอ้ งสลายไป ตอ้ งหมดไป ของทกุ อยา่ งเปน็ อยา่ งน้ี เขาวา่ เกดิ แลว้ ตั้งอยูช่ ว่ั ขณะ แลว้ ก็ดบั ไป มคี วามเข้าใจจรงิ ๆ ทกุ สิง่ ทกุ อยา่ ง เปน็ อยา่ งนนั้ หมด แตจ่ ะดบั ชา้ หรอื ดบั เรว็ นน้ั อยกู่ บั เหตขุ องมนั บางสงิ่ บางอยา่ งมนั กเ็ กดิ เรว็ ดบั เรว็ บางสงิ่ บางอยา่ งเกดิ ขน้ึ มาแลว้ กด็ บั ชา้ หนอ่ ย อยา่ งนเี้ ปน็ ตน้ มนั ตอ้ งดบั แนน่ อน นกี้ เ็ พราะเหตุ ของมนั เอง ทีนีเ้ อาความคดิ มาคดิ กนั เชน่ มาคิดตัวเรา เราเกิด ขน้ึ มา มโี อกาสดบั ไดไ้ หม ดบั ได้ หมายถงึ การตาย หมายถงึ อนตั ตา น่นั เอง น้มี าคดิ ความส้นิ สดุ ของชวี ิตของคนเราหรอื สัตวท์ วั่ ไป ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดขึ้นมาแล้ว สลายไปหมดไปทุกประเภท นี่เรามาคดิ ความจรงิ เหลา่ นี้ เรามาคดิ อกี มมุ หนง่ึ วา่ ในโลกอนั นห้ี รอื สมบตั ขิ องโลก เหลา่ น้ี ไมม่ สี มบตั อิ ะไรเปน็ ของใครทแ่ี นน่ อนจรงิ จงั เลย จะเปน็

อุบายเจริญปัญญา ๒๙เงินทองกองสมบัติอะไรก็แล้วแต่ ไม่มีใครจะหาบหามสมบัติในโลกอนั นี้เปน็ ของตวั เองได้ เปน็ เพียงเรามาเกิด มาหา มาอยู่มาอาศยั กนั ชว่ั คราวชว่ั ขณะ แลว้ กต็ ายจากกนั ไปเทา่ นน้ั คำ� วา่“เราจะตอ้ งพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจไป” เปน็ ทกุ คนอนั นี้ซง่ึ เราไมอ่ ยากจากไปกต็ อ้ งจากไปแนน่ อน ตอ้ งตายกนั แนน่ อนนเ้ี รามาคิดกนั เอาความจริงมาคดิ กนั น้คี ือว่าฝกึ คดิ ในทางความเปน็ จรงิ คดิ บอ่ ยแลว้ นเ้ี ขาเรยี กวา่ โยนโิ ส ความคดิ ทเี่ รามอี ยเู่ ขาวา่ โยนโิ สมนสิการ คิดจนเกดิ ความแยบคาย ปัญหาต่างๆ ท่ีมีจากความคิดเรา มาคิดดูว่ามันเป็นจริงอะไรบ้างไมจ่ รงิ อะไรบา้ ง ใหม้ ันเกิดความแยบคาย ใหห้ ายสงสยั

๓๐ พระอาจารยท์ ูล ขปิ ปฺ ปญโฺ  น่ันแหละมันจะวางตรงน้ัน มันจะปล่อยตรงน้ัน คือ ความเข้าใจตามหลักความเป็นจริง คือความคิดท้ังหมดเป็น อุบายสอนใจตัวเอง เพราะใจเราเริ่มต้นมาต้ังแต่วันนั้นมาจน ขณะน้ี ใจเราเป็นมจิ ฉาคือความเห็นผิดมาตลอด ความเหน็ ผิด ทว่ี า่ มานม้ี นั มาหลายกปั หลายกลั ป์ หลายชาตหิ ลายภพ ทผ่ี า่ นมา ในอดตี กเ็ พราะความเหน็ ผดิ ตวั นี้ เขาวา่ เปน็ มจิ ฉาเดมิ ความเขา้ ใจ ทว่ี า่ โลกเปน็ สง่ิ ทนี่ า่ อยู่ นา่ รกั นา่ ชอบ รปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ นา่ กอดนา่ ชม มนั กว็ า่ ไปโนน่ มนั จงึ หลงโลกหลงสงสารอนั นมี้ า ตลอดเวลา ความคดิ ยวั่ ยตุ วั เองใหห้ ลงโลกหลงสงสารทำ� ไมมนั คดิ เปน็ คดิ ดบิ คดิ ดดี ว้ ย อนั คดิ เพราะอยากแกป้ ญั หาตวั เองเพอ่ื จะออกโลกทำ� ไมไมค่ ดิ เวลาคดิ ผกู มดั ตวั เองใหอ้ ยกู่ บั โลกถนดั นกั คิดท้ังวันท้ังคืนก็ไม่หยุดไม่หย่อน ยิ่งคิดก็ยิ่งผูกยิ่งมัดยิ่งแน่น แต่คดิ ไมม่ ที างแก้ คอื ผกู อย่างเดยี ว แกไ้ ม่เป็น ความคดิ เปน็ ลักษณะ ๒ ประเภท ๑. ความคดิ อยา่ งหนง่ึ มนั เปน็ สงั ขารการปรงุ แตง่ ปรงุ เอา แตง่ เอา สมมตเิ อา นเ้ี ปน็ ตน้ แลว้ กห็ ลงสมมตดิ ว้ ย นเ้ี ปน็ ความคดิ สรา้ งปัญหา ๒. ความคดิ ท่ีว่าเปน็ ปัญญาเราคิดแกป้ ัญหา ไม่คอ่ ยมี ความคดิ อนั น้ี เราไมเ่ คยฝกึ ฝกึ แตค่ วามคดิ สรา้ งปญั หา คอื สงั ขาร

อบุ ายเจริญปัญญา ๓๑การปรุงแต่ง ตัวคิดจะแก้ปัญหาท่ีเขาเรียกว่าปัญญาน้ีไม่ฝึกเอาไว้เลย ให้พากนั ฝกึ คดิ ซะ มองแต่ละอยา่ งๆ บนโลกใบนว้ี า่มันเป็นธรรมชาติอยู่อย่างนี้ร้อยกัปพันกัลป์มาแล้ว ก็ที่เดิมนนั่ แหละ มองภายนอกบ้าง มองเราบ้าง มองเหน็ ตน้ ไมก้ ็เปน็ธรรมะได้ มองเหน็ ใบไมก้ เ็ ปน็ ธรรมะได้ มองเหน็ มะพรา้ ว อะไรกแ็ ลว้ แต่ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งเปน็ ธรรมะไดท้ ง้ั หมด เพราะของทงั้ หมดเกดิ ขน้ึ มาเปน็ ของไม่เท่ยี ง เหมอื นรา่ งกายเรานแี้ หละ ใหน้ อ้ มใหเ้ ปน็ น้อมไปหาตวั เราให้ได้ สิง่ น้ันเหมอื นร่างกายเรา หรือร่างกายเราเหมือนกับของสิ่งน้ัน คือมันสลายได้ หมดไปได้สนิ้ อายุขยั ได้ น่คี อื เทียบกนั ดอู ยา่ งนัน้ นี้เขาว่าการใชค้ วามคิดแก้ปัญหาของใจไม่ให้หลงของส่ิงนั้น น้ีคือหลักฝึกปัญญาปญั ญาตอ้ งฝึกจากการคดิ ตรงน้ี ตวั ความคดิ นน้ั แหละเปน็ ฐานใหเ้ กดิ ปญั ญา คำ� วา่ เกดิปญั ญา เกดิ อยา่ งไรละ่ ทนี ้ี อนั นค้ี นไมเ่ ขา้ ใจ ไปนกึ คาดการณว์ า่จะเหมอื นกบั เปดิ สวติ ชไ์ ฟ พอเปดิ ปบ๊ั มนั จะสวา่ งจา้ ขนึ้ มา อยา่ งนี้เปน็ ตน้ กเ็ ลยมาเขา้ ใจวา่ ปญั ญาเปน็ อยา่ งนน้ั นไ้ี มใ่ ช่ คำ� วา่ เกดิปญั ญา หรอื ปญั ญาเกดิ คอื เกดิ ความเขา้ ใจตามหลกั ความเปน็ จรงิตามความคดิ ของเรา เพราะความคดิ เปน็ ตวั ฐานใหเ้ กดิ ปญั ญาคอื หายสงสยั เหมอื นกบั เราลมื ของบางสงิ่ บางอยา่ ง เราลมื ไปแลว้

๓๒ พระอาจารยท์ ูล ขิปปฺ ปญฺโ ขณะทลี่ มื อยนู่ นั้ นกึ ไมไ่ ดว้ า่ นนั่ คอื อะไร เมอื่ คดิ ไปคดิ มาๆ เมอื่ นกึ ได้เท่านนั้ แหละ เออ ของสิ่งนั้นอย่นู ัน่ ๆ นี้มันจำ� ได้ทนั ที คอื มนั เกดิ ความจำ� ได้ขน้ึ มาแล้ว นึกขึน้ มาได้แล้ว มนั ไมห่ ลง เราจะมาฝกึ ปญั ญากนั คอื ฝกึ การคดิ บอ่ ยๆ คดิ ตามหลกั ความเป็นจรงิ ใหเ้ ป็นไปตามไตรลกั ษณ์ คดิ ทัง้ เรอื่ งภายนอก ถา้ เรอื่ งภายนอกกต็ อ้ งนอ้ มมาภายในใหไ้ ด้ เพราะของภายนอก กบั ของภายในคอื รา่ งกายเรากบั วตั ถธุ าตตุ า่ งๆ เหมอื นกนั ไหม เหมอื นกนั มกี ารเกดิ ขน้ึ หมดไป สลายไป เหมอื นกบั รา่ งกายเรา ทุกสว่ น เปน็ ลักษณะเอาความคิดมาสอนใจเรา

อบุ ายเจริญปญั ญา ๓๓ ความคดิ ท่เี ป็นสังขาร เป็นความคิดทเี่ ป็นไปในตณั หากเิ ลส ตามความอยากความใครก่ ำ� หนดั ยนิ ดใี นกามคณุ ทงั้ หลายความคดิ ฝ่ายนัน้ เราเคยช�ำนาญมาแลว้ กจ็ รงิ แตม่ าฝึกใหม่เอาความคดิ ทว่ี า่ สง่ิ ทงั้ หลายทง้ั ปวงนน้ั นะ่ เปน็ ของทไี่ มเ่ ทยี่ งนี่คือคิดโต้ตอบกัน คิดลักษณะหน้ามือเป็นหลังมือไปเลยกลบั กนั ไปเลย คอื ใจเราจรงิ ๆ มนั ชอบอะไร ชอบเทยี่ ง ไปชอบทม่ี นั เทย่ี ง ไปชอบทว่ี า่ ของไมเ่ ทย่ี ง แตม่ าคดิ ใหม้ นั เทย่ี ง อยา่ งนี้เปน็ ตน้ ไปคดิ สงิ่ ทมี่ นั เปน็ ไปไมไ่ ด้ มนั เปน็ ทกุ ขห์ รอื เปลา่ เปน็ ทกุ ข์เพราะของทไี่ มเ่ ทยี่ งจะมาพยายามฝกึ ใหม้ นั เทย่ี ง อยากใหอ้ ยู่ตลอดไปตลอดเวลา ไม่อยากมีพลัดพรากจากกันเลย น้ีคือคนเรา ของจรงิ มนั มอี ยู่ แตว่ า่ คนเราไมย่ อมรบั ความจรงิ ในสว่ นน้ีใหเ้ ราฝกึ ใจเราซะ ใหย้ อมรบั ความจรงิ สว่ นน้ี ท่ีพระพทุ ธเจา้ วา่“การใช้ปัญญาพิจารณาเพ่ือให้เกิดความรู้จริงเห็นจริงตามหลกั ความเปน็ จรงิ ” นค้ี อื ตอ้ งการจดุ น้ี การปฏบิ ตั ิ นเ้ี ปน็ ลกั ษณะปญั ญาสอนใจ สอนอยเู่ รอ่ื ยๆ ตนื่ ขึน้ มาแต่ละวันสอนทนั ที สอนอยู่บอ่ ยๆ เอาไหม เอา เอากไ็ มต่ ดิ ของสง่ิ ใดๆ เพราะธาตขุ นั ธเ์ รายงัมีอยู่ มันจ�ำเป็นตอ้ งอาศยั วัตถุธาตุภายนอกมาจนุ เจอื ให้อยู่ได้อาหารการกินเราก็หา เราก็กิน กินเพ่ือให้ธาตขุ นั ธต์ ัวน้อี ยู่ได้

๓๔ พระอาจารยท์ ูล ขิปปฺ ปญโฺ  ตามอายขุ ยั ของมนั แตข่ ณะทเ่ี รายงั ไมต่ าย เมอื่ รา่ งกายแขง็ แรงอยู่ เอารา่ งกายทมี่ อี ยทู่ ำ� ประโยชนใ์ หม้ ากทส่ี ดุ เทา่ ทจี่ ะทำ� ได้ นนั่ คอื บญุ กศุ ล เชน่ วา่ ไหวพ้ ระกเ็ อารา่ งกายเราไหว้ กราบไหว้ นงั่ ภาวนา ก็เอาร่างกายเรานั่ง เดินจงกรมก็เอาร่างกายเราเดินจงกรม คอื องค์ประกอบอย่างนี้ แต่พยายามปกปอ้ งอยู่บอ่ ยๆ อย่าเอา รา่ งกายเราไปทำ� ความชว่ั อยา่ เอารา่ งกายเราไปฆา่ สตั วต์ ดั ชวี ติ ลักทรัพย์ ผดิ ในกามต่างๆ กินเหล้าเมายา นต้ี ัดขาดทิ้งได้เลย อยา่ ใหร้ า่ งกายไปทำ� ถึงใจมนั จะอยากก็อยากไปเถอะ แตก่ าย อย่าไปหยิบมาใสป่ ากเรากแ็ ล้วกัน นี้คอื ฝืนใจใหเ้ ปน็ เขาว่าฝึกใจให้ทวนกระแสให้ได้ น้ีคือว่าใจเราเป็นตัว ส�ำคัญ มันจะสั่งกายท�ำอันนั้นบ้าง ท�ำอันน้ีบ้าง เราก็ฝืนใจ ฝืนเอาไว้ อย่าไปท�ำตามใจท่ีมันชอบ เพราะใจท่ีมันชอบนั้น มันเป็นใจที่ม่ัวกัน รวมกันอยู่กับกิเลสตัณหาท้ังหลายท้ังปวง เขาวา่ กเิ ลสตัณหามาบังคบั อยู่ครั้งหน่ึง ใจก็มาบงั คับกายวาจา อกี ครง้ั หนง่ึ นแี่ หละโทษของมนั มนั ถา่ ยเทกนั มาอยา่ งนี้ นคี่ ำ� พดู เรากเ็ หมอื นกนั พยายามรกั ษาเอาไว้ เมอื่ กิเลสตัณหามนั สั่งใจ อยากจะพดู อยา่ งนน้ั อยากจะดา่ ใครอยา่ งนสี้ กั ครง้ั หนง่ึ อดอยา่ พูดตามทีใ่ จมันสั่ง คอื ตามกิเลสมันสงั่ นเ่ี ขาเรียกว่าอดทนต่อสู้ กนั ไป นเ่ี ขาเรยี กวา่ ฝึกภาวนา คอื ฝกึ รักษา คอื ปฏิบัติต่อกาย

อุบายเจรญิ ปญั ญา ๓๕ใหเ้ ปน็ ปฏบิ ตั ติ ่อวาจาให้เปน็ คำ� ว่าส�ำรวมกายวาจาให้เรียบร้อย กอ็ ย่างน้ีเอง ก็คอืการสำ� รวม คำ� วา่ สำ� รวมไมใ่ ชว่ า่ ไมใ่ หท้ ำ� ไมใ่ หพ้ ดู นะ ใหท้ ำ� ได้พดู ได้ แตท่ ำ� สงิ่ ทมี่ นั ถกู ตอ้ ง พดู สงิ่ ทมี่ นั ถกู ตอ้ ง เมอื่ พดู ไปแลว้ไม่มโี ทษกบั ตวั เองและคนอืน่ หรอื ท�ำไปแล้ว ไม่ใหโ้ ทษภยั กบัตวั เองและคนอนื่ อยา่ งน้ีท�ำได้ คอื เป็นธรรม สง่ิ ใดเป็นธรรมท�ำได้ พูดได้ ไม่ใช่ว่าไม่ให้พูดไม่ให้ท�ำ น้ีคือเราต้องสละที่การทำ� ตอ้ งรวู้ า่ อะไรควรทำ� หรอื ไมค่ วรทำ� นกี้ ต็ อ้ งรอบรทู้ ง้ั หมดใช้เหตุผลเป็นตัวตัดสินชี้ขาดได้ คือรักษาปฏิบัติตัวเองให้เป็นนคี้ ือปฏิบตั ทิ างกายทางวาจาของเรา ทางใจของเรา พยายามแกไ้ ขกนั ไปทางใจ จะไปละเดย๋ี วนี้วันน้ไี มไ่ ด้ มนั ต้องฝกึ เม่อื ใจยงั มีอยกู่ ต็ าม แตก่ ายวาจาอยา่ ท�ำตามใจสง่ั เนน้ แตท่ างถกู ตอ้ งกท็ ำ� ตามนนั้ คอื เลอื กทำ� ใหเ้ ปน็ เขาวา่ธัมมวจิ ยะ เลือกท�ำสง่ิ ที่ใหเ้ ป็นธรรม เลอื กพดู สงิ่ ทใี่ ห้เปน็ ธรรมน่ีคือว่าเราต้องเลือก คือว่าส่ิงเป็นธรรม คือท�ำไปแล้วเรามีความสขุ และเพอ่ื นเรากม็ คี วามสขุ ดว้ ย เขาเรยี กวา่ ทำ� ประโยชนต์ นประโยชน์ทา่ นให้ถงึ พร้อม ท้งั ๒ ฝา่ ยให้มีความสุขดว้ ยกนั เชน่ วา่ เราอยรู่ ว่ มกนั เปน็ กลมุ่ เปน็ กอ้ น ถงึ แมว้ า่ ผวั เมยีเหมอื นกนั เมอื่ เปน็ หนมุ่ เปน็ สาวมคี วามรกั กนั ครง้ั แรก สญั ญากนั

๓๖ พระอาจารย์ทูล ขิปปฺ ปญฺโ วา่ อยา่ งไรนะ “จะรกั กนั อยา่ งนๆ้ี ไป จะไมต่ บตอ่ ยตกี นั ฆา่ กนั ” เคยพดู กนั ไหมหนมุ่ สาวดว้ ยกนั เคยวา่ กนั ไหมวา่ “เราเอากนั ไป แลว้ นะ ก็ต้องตีกนั บ่อยๆ นะ” เคยว่ากันไหม ไม่เคยว่ากัน ถ้า ผูผ้ ัวกว็ ่า “ถา้ เราไดเ้ ธอเปน็ เมียแลว้ นะ เราจะเตะคุณบอ่ ยๆ ตี คณุ บอ่ ยๆ ด่าคุณบอ่ ยๆ” เขาเคยว่าอย่างนนั้ ไหม เขาไม่เคยวา่ เราก็เหมือนกันไม่เคยว่าเขา หวานด้วยกันท้ังวันท้ังคืนไปเลย ต้องไปคิดถึงเบ้ืองหลังของเก่า ที่ว่าร่วมรักกันมาท่ีเบื้องต้น เป็นยังไง จะเอากนั มาแลว้ นะ่ จะตอ้ งต่างคนตา่ งเหน็ ใจซึง่ กนั และกัน มองกันให้เปน็

อบุ ายเจรญิ ปัญญา ๓๗ ประโยชน์ตนประโยชน์ท่านท้ัง ๒ ฝ่ายให้มีความสุขนคี่ อื ระหว่างกาย ระหว่างวาจา อย่าพดู ตามใจ อย่าทำ� ตามใจมกี ารภาวนาปฏิบตั ิอยู่ในส่วนท่ีวา่ ปญั ญาเราคดิ สอนตัวเองอยู่เสมอๆ คอื สอนใจใหร้ ู้จรงิ ตามความเป็นจรงิ น่ีอย่างหนง่ึ น้คี ือสอนใจ อีกมมุ หน่ึงเราสอนใจเราได้อย่างไร สง่ิ ทง้ั หมดเกิดขน้ึเราเกดิ จากมกี ารลมื ตวั หลงตวั ไปได้ เขาเรยี กวา่ อตั ตา ถา้ คนเราเอาอตั ตาไปวดั กนั เมอ่ื ไร มนั จะขดั แยง้ กนั ตลอดเวลา ผเู้ ปน็ เมยีกม็ อี ตั ตา ผเู้ ปน็ ผวั กม็ อี ตั ตา หรอื เพอื่ นฝงู เรากม็ อี ตั ตากนั ทง้ั หมดใครยอมใครไหม ไมย่ อมกัน อัตตาตัวนยี้ อมกนั ไม่เปน็ ชนะกนัอยตู่ ลอด นค่ี นเปน็ อยา่ งนนั้ คอื อตั ตา มนั ตอ้ งลดอตั ตาลง หาทางให้ได้ อัตตาตัวเดยี วมันท�ำไดห้ ลายอยา่ ง บาปกรรมต่างๆ ท่ีว่ามานเ้ี กดิ ขนึ้ จากอตั ตาตวั นแี้ หละ ทเี่ ราเอากเิ ลสตณั หาพาอตั ตาไปทำ� ความชวั่ ตา่ งๆ คนฆา่ กนั ตกี นั กเ็ พราะวา่ เราดกี วา่ เขานน่ั แหละเรานึกว่าเราดกี ว่าคนอนื่ เหมอื นพดู งา่ ยๆ วา่ อยากใหค้ นอนื่ มาเคารพเราอยา่ งเดยี วมาไหวเ้ ราอยา่ งเดยี ว หรอื อยากใหค้ นใดคนหนงึ่ หรอื ทงั้ หมดมาเขา้ ใจเราฝา่ ยเดยี ว มนั ไมไ่ ดน้ ะ เราตอ้ งฝกึ ตวั เราอกี ครง้ั หนง่ึ วา่ตอ้ งเขา้ ใจคนอน่ื บา้ ง ใจเขาใจเรามนั เปน็ อยา่ งไร มนั ตอ้ งศกึ ษา

๓๘ พระอาจารย์ทลู ขิปฺปปญโฺ  เขา ศึกษาเรา เอาใจเขาบ้าง เห็นใจเขาบ้าง อกเขาอย่างไร อกเรากต็ อ้ งอยา่ งนนั้ เราตอ้ งมองภาพรวมเอาไว้ นคี้ อื ตวั บงั คบั ตวั อัตตาตัวน้ี อีกอย่างหนึ่ง ถ้าเราเป็นนักปฏิบัติที่ดีแล้ว เป็นคน สงบเสง่ยี มเจยี มตวั พดู งา่ ยๆ วา่ ฝกึ แพ้คนเป็น แพท้ ุกอย่าง การท�ำเหมือนกัน การพูดเหมือนกัน ในกิริยามารยาท ทุกอย่างกแ็ พ้ ยอมแพใ้ หเ้ ป็น ยอมแพ้เป็น ถ้าทุกคนยอมแพ้ กนั เปน็ แลว้ เรอ่ื งจะไมเ่ กดิ ขน้ึ ในสงั คมตรงนน้ั ในกลมุ่ นน้ั หมนู่ น้ั ครอบครวั กไ็ มม่ เี รอื่ งอะไรเกดิ ขนึ้ ผวั กย็ อมแพเ้ มยี เมยี กย็ อมแพ้ ผัวซะ เรือ่ งมนั กไ็ ม่เกดิ ขึน้ ต่างคนตา่ งแพ้กนั นคี้ ือหลักปฏิบัติ ประจำ� วนั เรา เพอื่ นเรากม็ คี วามสขุ เรากม็ คี วามสขุ ดว้ ย เพราะ ตา่ งคนตา่ งแพก้ นั ถา้ ยอมแพก้ นั เปน็ เหมอื นกบั วา่ เราจะทำ� ตวั อกี อยา่ งหนงึ่ เปน็ คอื วา่ เราจะทำ� ตวั ใหเ้ ป็นมิตรกับทุกๆ คน นต่ี น่ื ขน้ึ มากท็ ำ� ตวั อยา่ งน้ี เราอยไู่ หนกแ็ ลว้ แต่ เราทำ� ใจเสมอวา่ เราจะเป็นมิตรกับทุกๆ คนไม่ว่าใครก็ตาม ไม่ว่าสัตว์หรือว่า อะไรก็ตาม ถ้าเราทำ� ตวั เป็นมติ รกับทุกๆ คนไดอ้ ยา่ งน้ี เราจะ ไมม่ เี รอ่ื งราวอะไรเกดิ ขน้ึ กบั ใคร เพราะมองไปแลว้ มนั กม็ ติ รเรา เพื่อนเรา ญาติเราท้ังหมดเลย

อบุ ายเจริญปญั ญา ๓๙ นีค่ อื หลกั ปฏบิ ตั ิ หลักภาวนา คอื การใช้ปญั ญาสอนใจตัวเองใหเ้ ป็น คือปัญญาหาอบุ ายสอนใจ ถ้าเราเองมนั มีอตั ตากพ็ ยายามบังคบั ตวั นี้ลงให้ได้ คือ (๑) แพ้คนใหเ้ ป็น (๒) ฝกึ ใจใหเ้ ราเป็นมิตรกับทุกๆ คนได้ ๒ อยา่ งเทา่ นน้ั เอง อตั ตาจะลดฮวบฮาบทนั ที เราอยไู่ หนกอ็ ยไู่ ปเหอะนา่ สบาย นง่ั ไหนกส็ บาย เราระวงั ตวั เองวา่ อยา่ พดูสง่ิ หนงึ่ สง่ิ ใด ใหค้ นใดคนหนง่ึ เปน็ ทกุ ขเ์ ดอื ดรอ้ นเพราะการพดูของเรา จำ� ไวน้ ะคำ� นี้ นอ่ี ยา่ งหนง่ึ อกี อยา่ งหนงึ่ เราอยา่ ทำ� สง่ิ หนง่ึส่ิงใดให้คนอ่ืนเป็นทุกข์เดือดร้อนเพราะการกระท�ำของเรา๒ ข้อเร่ืองราวที่วา่ มาน้จี �ำใหไ้ ดน้ ะ เมอ่ื กลบั ถงึ บา้ นกไ็ ปเขยี นใสก่ ระดาษเอาไว้ เขยี นตวั ใหญๆ่หาปา้ ยมาปดิ เอาไวว้ า่ หลวงพอ่ ทลู มาเทศนท์ ว่ี ดั นี้ เขยี นไว้ ๔ ขอ้(๑) แพค้ นเปน็ (๒) เราจะเปน็ มติ รกบั ทกุ ๆ คน ขอ้ ๓ วา่ อยา่ งไรจ�ำไดไ้ หม เมอ่ื กพ๊ี ูดว่าอะไร ใครจ�ำได้บา้ ง ไม่บอก อนั น้นี กึ เองก็แล้วกัน บอก ๒ ข้อแล้ว ๒ ข้อตอนปลายเม่ือก้ีก็บอกแล้วใครจ�ำได้เขยี นเอง ๔ ข้อเขียนอยหู่ น้าบ้านเลย ตัวเบ้อเรม่ิ เลยอ่านทกุ วัน ดูทกุ วัน ส�ำนึกทกุ วัน อีกสักวนั ใดวนั หนึ่งขา้ งหน้ามนั จะคอ่ ยส�ำนกึ ตัวเองได้ นค้ี ือคติธรรมเตือนใจตัวเอง คอื ว่า

๔๐ พระอาจารย์ทลู ขิปปฺ ปญโฺ  ตนเตือนตนดว้ ยตนเอง คอื วา่ ใชป้ ัญญาสอนตวั เองใหไ้ ด้ หลวงพอ่ สอนภาวนาปฏบิ ตั คิ อื ทางปญั ญา การพดู อยา่ งนี้ ยังไม่ได้พูดเร่ืองมรรคผลนิพพานให้ฟังนะ เราพูดกันพ้ืนๆ ธรรมดา ปฏบิ ัตพิ ืน้ ๆ ธรรมดา ให้คนมคี วามรักกนั สงสารกัน ถ้าอยู่อย่างน้ี ไปไหนก็มีความสุข อยู่บ้านก็มีความสุข มีแต่ คนรกั มแี ตค่ นนบั ถือเคารพ หลวงพอ่ ใหอ้ บุ ายในความคดิ ในภาคปฏบิ ตั ทิ างปญั ญา ที่ว่ามาให้ฟัง ให้ไปปฏิบัติตามน้ี จากนี้ไปถ้าหากว่าใครจะมี คำ� ถามอะไรบา้ งกับหลวงพ่อกใ็ หถ้ าม ถอื ว่าเป็นวิสาสะ คอื วา่ พวกเราเป็นพุทธบริษัทเดียวกัน ใครสงสัยเรื่องอะไรก็ถามได้ เพราะถือว่าทางพระ หรอื หลวงพอ่ เอง คอื ศกึ ษาอะไรอาจจะ ศึกษามามากกว่าโยมก็ได้ ทีน้ีการภาวนาอาจจะมากกว่าโยม กไ็ ด้ บางทโี ยมอาจมคี วามสงสยั อะไรบา้ ง ทหี่ ลวงพอ่ อธบิ ายมา ท้ังหมดก็ดี หรือบางสิ่งบางอย่างท่ีหลวงพ่อไม่ได้พูดถึงก็ดี จะถามเรอ่ื งอะไรกจ็ ะอธิบายใหฟ้ งั ในภาคปฏบิ ตั ิ วนั นจี้ งึ ไดใ้ หอ้ บุ ายธรรมะเปน็ ขอ้ คดิ เทา่ นคี้ ดิ วา่ สมควร แกก่ าลเวลา เอวงั ก็มีดว้ ยประการฉะน้ี





อฐั ทิ แี่ ปรสภาพเป็นพระธาตุน้�ำเหลืองท่ีแปรสภาพเป็นพระธาตุ

พระอาจารย์ทูล ขปิ ฺปปญโฺ  พระอาจารย์ทลู ขปิ ปฺ ปญโฺ  (พ.ศ. ๒๔๗๘ - ๒๕๕๑)อดตี เจา้ อาวาสวดั ปา่ บา้ นคอ้ จงั หวดั อดุ รธานี เปน็ พระอรหนั ต์ทหี่ าไดย้ ากยง่ิ ในยคุ ปจั จบุ นั ทา่ นไดอ้ ปุ สมบทในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ที่วัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี โดยมีพระธรรมเจดีย์(จมู พนฺธโุ ล) เปน็ พระอปุ ัชฌาย์ ตลอดระยะเวลา ๔๘ พรรษาท่ีอยู่ใต้ร่มกาสาวพัสตร์

พระอาจารยท์ ลู มคี วามตง้ั ใจและความมงุ่ มน่ั ทจี่ ะเดนิ ตามรอยพระพุทธองค์ คือ “จะประพฤติพรหมจรรย์เพื่อกระท�ำท่ีสุดแหง่ ทกุ ขโ์ ดยชอบ และออกเผยแผธ่ รรมเพอ่ื ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ติ ามเกดิความเห็นชอบในศาสนธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างแทจ้ รงิ ” โดยทา่ นมสี จั จะเปน็ อบุ ายในการสรา้ งความเพยี ร และมีสติปัญญาความรอบรู้ในการหาอุบายธรรมมาสอนใจตัวเองอยู่เสมอ จนทา่ นสามารถถึงท่สี ดุ แห่งทุกขไ์ ด้ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ทีบ่ ้านปา่ ลัน อ�ำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย พระอาจารย์ทูล เป็นทั้งปราชญ์แห่งธรรม และเป็นผนู้ ำ� ทางดา้ นการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาอยา่ งแทจ้ รงิ ทา่ นเปน็ผู้ก่อตัง้ วดั ป่าบา้ นค้อ พระมหาธาตุเจดยี ์ฯ สถานทีป่ ฏบิ ตั ิธรรมและวัดหลายแหง่ ในตา่ งประเทศ อาทิ วัดซานฟรานธมั มารามวดั นวิ ยอรค์ ธมั มาราม และศนู ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมเคพวี าย ทา่ นไดเ้ ขยี นหนังสอื ธรรมะภาคปฏิบัติกว่า ๒๐ เลม่ อันเปน็ ทยี่ อมรับอย่างแพรห่ ลาย และไดร้ บั การแปลเปน็ ภาษาตา่ งประเทศหลายภาษา พระอาจารยท์ ลู เปน็ ตวั อยา่ งของพระอรยิ บคุ คลผผู้ า่ นประสบการณใ์ นทางโลกมาอยา่ งมากมายกอ่ นทที่ า่ นจะเขา้ มาบวชในพระพุทธศาสนา ตั้งแต่สมัยวัยเด็ก ทา่ นมนี สิ ัยเป็นผู้น�ำเสยี สละ มเี มตตาสงู รกั ความยตุ ธิ รรม และมสี จั จะวาจาทมี่ นั่ คง

ทา่ นเปน็ หวั หนา้ ชน้ั เรยี น เปน็ ผชู้ ว่ ยสอนของคณุ ครู เปน็ ผนู้ ำ� ของหนุ่มสาวในหมบู่ ้าน และเป็นหัวหนา้ กองคาราวานน�ำควายไปขายยังตา่ งเมือง ในสมยั บวชเปน็ สามเณรตามประเพณี ทา่ นเปน็ ผใู้ ครใ่ นการศกึ ษา ขยนั หาตำ� รามาอา่ นจนเปน็ ผแู้ ตกฉานในพระไตรปฎิ กและภาษาตา่ งๆ อาทิ ขอม ลาว และบาลี นอกจากนี้ ท่านยังสามารถท่องจ�ำบทสวดมนต์ตา่ งๆ ได้อย่างรวดเรว็ และแม่นยำ�มคี รง้ั หนงึ่ พระอาจารยผ์ ดู้ แู ลของทา่ นไดน้ ำ� ทา่ นพรอ้ มพระรปู อนื่ ๆไปสวนมนต์บทมาติกาฯ ที่ท่านไม่รู้จักในงานศพ ในครั้งนั้นปรากฏวา่ มีท่านองคเ์ ดยี วท่ีสวดไมไ่ ด้ ท�ำใหท้ า่ นเกิดความรู้สึกละอายใจเปน็ อยา่ งมาก เมอื่ ทา่ นกลบั มาจงึ ตงั้ สจั จะวา่ จะทอ่ งจำ�บทสวดมนตท์ งั้ หมดใหไ้ ดใ้ นคนื เดยี ว ในวนั ตอ่ มาทา่ นกส็ ามารถทำ� ไดจ้ รงิ ๆ ทำ� ใหท้ กุ คนทไี่ ดฟ้ งั รสู้ กึ แปลกใจและมคี วามประทบัใจในตัวท่านเปน็ อยา่ งมาก นอกจากเปน็ ผเู้ ลศิ ทางดา้ นปญั ญาแลว้ พระอาจารยท์ ลูมคี ณุ สมบตั ทิ พ่ี เิ ศษอกี อยา่ งหนงึ่ คอื เปน็ ผมู้ คี วามกตญั ญกู ตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ในสมัยที่ท่านเป็นฆราวาส ท่านมีโอกาสได้ฟังธรรมสน้ั ๆ จากหลวงพอ่ บญุ มาวา่ “เกดิ -ดบั ๆ” เมอ่ื ไดฟ้ งั ทา่ นก็เกดิ ความประทบั ใจ และได้น�ำธรรมหมวดนไี้ ปพจิ ารณาจนได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook