Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:40:25

Description: buddhist_economics_(thai-eng) เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ

Keywords: เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ

Search

Read the Text Version

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๔๑ชาติไดส าํ เร็จ แลวปลกุ เรา ตัณหากันใหญ จึงกลายเปน ใหผ ลที่กลับตรงขา มคือ คนไทยมคี านิยมบริโภคมาก โดยไมช อบผลิต เลยกลบัทาํ ใหเ กดิ ผลเสียตอ การพัฒนาประเทศชาติหนักลงไปอีก เพราะมีอะไรกจ็ ะกนิ จะใชจะซอื้ จะหาทาเดยี ว แตไ มรูจักทํา ประเทศอื่นเจริญอยางไรๆ เขามอี ะไรใชอ ยา งไร เรากอ็ ยากจะมจี ะใชบ า ง แลวก็ภมู ิใจทมี่ ีที่ใชอยา งเขา แตไมภ ูมิใจท่จี ะทาํ ใหไดอยางเขา น่ีแหละคอื คานยิ มทีข่ ดั ขวางการพัฒนาเปนอยางมาก มนัเปนเครื่องสอแสดงวา การเราความตองการโดยไมเ ขาใจธรรมชาติของมนษุ ยใ หถ กู ตอ งนน้ั จะไมน าํ ไปสผู ลทตี่ อ งการอยา งแทจ รงิ การทเ่ี ราเรา คา นยิ มบรโิ ภค ตอ งการใหค นบรโิ ภคมาก ไมจ าํ เปนตองทาํ ใหเกิดการผลิตขนึ้ แตจ ะทาํ ใหเ กิดความฟุง เฟอ การกูห นย้ี มืสนิ ทุจรติ เพือ่ การบรโิ ภคไดมาก เปน การพฒั นาที่ผดิ พลาดอยางยิง่ เปน ไปไดไ หมวา คนไทย (สมัยหนงึ่ ) อาจจะสนั โดษจริง และคนไทย (อีกสมยั หน่งึ ) ก็มีคานยิ มบริโภคมากจริง โดยทีค่ นไทยเปล่ยี นนสิ ยั เคลอื่ นจากความสนั โดษมาสกู ารมคี านิยมบรโิ ภค ถา เปนอยา งนี้ กห็ มายความวา การนําเอาระบบเศรษฐกิจแบบตะวนั ตกเขา มาใชใ นประเทศไทย หรอื การนําเศรษฐศาสตรแบบตะวนั ตกเขา มาใชใ นประเทศไทยนน้ั ไดน ํามาใชอ ยางผดิ พลาดทําใหเ กิดผลเสีย ทแ่ี ทน ั้น ถา คนไทยมคี วามสันโดษจริง มันกเ็ ปนโอกาสวาเราสามารถใชส นั โดษนน้ั เปนฐาน แลว สงเสรมิ ใหเ กดิ การผลติ ขึน้ คอืเดนิ หนา จากความสนั โดษนนั้ มาตอ เขา กบั การผลติ เหมือนอยางประเทศตะวันตกเมื่อเริ่มยุคอุตสาหกรรมใหมๆก็เร่มิ ความเจรญิ ทางอุตสาหกรรมดว ย work ethic ทเี่ รยี กกันวา

๔๒ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธProtestant ethic ระบบจรยิ ธรรมโปรเตสแตนตน ้ีสอนฝรั่งใหร กั งาน มีความเปนอยแู บบสนั โดษ ใหประหยดั ใหเปนอยอู ยางมธั ยัสถ ใชจายเขียมทสี่ ุด ไมหาความเพลิดเพลินสขุ สําราญ หรอื ฟงุ เฟอ ฟุมเฟอย เม่อื มีรายได ก็เกบ็ ออมไว เพือ่ เอาเงินทีเ่ กบ็ ออมไวม าลงทุนตอ ไป เพ่อื จะไดผลติ ใหมากขึ้น ฉะนนั้ คนในยคุ ทเี่ รยี กวา ปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมในตะวนั ตกนน้ัจะมคี วามเปน อยูอยางสนั โดษ แตมีความตอ งการในการผลติ มาก ก็จงึ หนั เหแรงงานของตัวเอง แทนที่จะใชใ นการบรโิ ภค กเ็ อามาใชในการผลติ เพ่ือสรา งสรรคพฒั นาใหเ กิดความเจริญทางอุตสาหกรรม โดยนยั น้ี ก็หมายความวา เรามที ุนดอี ยูแ ลวสว นหนง่ึ คือคนของเรามคี วามสันโดษ ไมช อบฟุงเฟอ ไมเ หอในการบริโภค รจู กัประหยดั ใชน อ ย เรากป็ ลกุ เรา ความตอ งการอกี ดา นหนงึ่ เตมิ หรอื ผนวกเขามา คอื สรา งนสิ ัยรักงาน และความอยากทาํ ใหส าํ เร็จขึ้นมา กจ็ ะทาํ ใหเ กดิ การผลติ ขนึ้ ได ทาํ ใหบ รรลผุ ลคอื ความเจรญิ ทางอตุ สาหกรรม แตถาเราเขา ใจธรรมชาติของคนผดิ แลว ใชร ะบบเศรษฐกิจน้ีอยา งผดิ พลาด กม็ าเรา ความตอ งการบรโิ ภค ใหค นเกดิ คา นยิ มบรโิ ภคขนึ้ ความสนั โดษทมี่ อี ยเู ดมิ กห็ ายไป และการผลติ กไ็ มเ กดิ ขน้ึ กเ็ ลยทําใหเกิดความฟงุ เฟอ ฟุม เฟอ ยอยางเดยี ว พฒั นาเศรษฐกจิ ไมสาํ เรจ็ ฉะนน้ั สันโดษน้ันถาเขาใจใหถ ูกตองก็คอื วา มนั ตัดความตอ งการประเภทท่ี ๑ คือ ความตอ งการคณุ คา เทียม ตัดความตอ งการสิ่งเสพปรนเปรอตน แตกลบั มีความตองการคุณภาพชวี ิต ซึ่งจะตองหนนุ เสริมขึน้ ไป ในทางพุทธศาสนานน้ั สนั โดษจะตองมาคกู บั ความเพยี รเสมอ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๔๓ไป สนั โดษเพอื่ อะไร เพอื่ จะไดป ระหยัดแรงงานและเวลาทจ่ี ะสญู เสียไปในการทจ่ี ะปรนเปรอตน แลวเอาแรงงานและเวลาน้ันไปใชในการทาํ งานปฏบิ ัตหิ นาที่ สันโดษมีความมงุ หมายอยา งน้ี นีก่ เ็ ปน เรือ่ งเกี่ยวกบั ธรรมชาตขิ องมนษุ ย ฉ. การผลิต ที่จรงิ มเี รือ่ งจะตอ งพดู อกี มากเกย่ี วกับการผลติ การผลติ น้ีก็เปนเร่ืองใหญ การพจิ ารณาเรื่องนี้ ไมใชเ ปน เพยี งการเขา ใจธรรมชาติของมนุษย แตเปนการพิจารณาธรรมชาตทิ ั้งหมดในวงกวา ง ในทางเศรษฐศาสตร การผลติ เปนคาํ พดู ท่ลี วงตาและลวงสมอง ในการผลิต เราคดิ วา เราทาํ อะไรใหเกิดข้ึนใหม แตแ ททจี่ รงิ น้นัมันเปน การแปรสภาพ คอื แปรสภาพอยางหนงึ่ ไปเปน อีกอยา งหน่ึงจากวตั ถอุ ยางหนงึ่ ไปเปนวตั ถอุ กี อยางหนึง่ จากแรงงานอยางหนึ่งไปเปนอกี อยา งหนึง่ การแปรสภาพนี้ เปน การทําใหเ กดิ สภาพใหมโดยทาํ ลายสภาพเกา เพราะฉะนนั้ ในการผลิตนน้ั ตามปกตจิ ะมีการทาํ ลายดว ยเสมอไป ถาเศรษฐศาสตรจะเปน วิทยาศาสตรท แ่ี ทจรงิ แลว จะคดิ ถึงแตก ารผลติ อยางเดียวไมไ ด การผลิตแทบทกุ ครงั้ จะมกี ารทําลายดวย การทําลายในบางกรณนี น้ั เรายอมรบั ได แตการทาํ ลายบางอยา งกเ็ ปนส่ิงท่ยี อมรับไมไ ด ฉะนน้ั จงึ มขี อพจิ ารณาเกีย่ วกับการผลิตในทางเศรษฐกจิ น้ีเชนวา การผลิตบางอยา งเปนการผลติ ท่ีมคี าเทา กบั การทําลาย ซง่ึจะมีปญหาวาควรจะผลิตดหี รอื ไม

๔๔ เศรษฐศาสตรแนวพุทธ ในบางกรณเี ราอาจจะตอ งมีการงดเวน การผลิต และการงดเวนการผลติ นน้ั กเ็ ปน กิจกรรมทเ่ี สริมคุณภาพชวี ิตไดดวย ฉะน้นั ในเศรษฐศาสตรแ บบใหมน ี้ จะพจิ ารณาคนดวยการผลิตหรอื ไมผลิตเทา นัน้ ไมถ กู ตอ ง การไมผ ลิตอาจจะเปน การกระทําหรอื เปน กจิ กรรมทด่ี ที างเศรษฐกิจกไ็ ด เราจะตองพิจารณาเร่ืองการผลิตโดยแยกออกอยา งนอ ยเปน๒ ประเภท คือ การผลิตทมี่ คี า เทา กบั การทาํ ลาย (เชน การผลิตท่ีเปนการทาํ ลายทรพั ยากร และทําใหส ภาพแวดลอ มเสีย) กับการผลติ เพื่อการทําลาย (เชน การผลิตอาวธุ ยุทโธปกรณ) มีทัง้ การผลิตท่มี ีผลในทางบวก และการผลติ ทม่ี ีผลในทางลบ มผี ลในทางเสรมิ คุณภาพชวี ิต และในทางทําลายคณุ ภาพชีวติ อีกประการหนง่ึ ในเศรษฐศาสตรแบบยุคอุตสาหกรรมน้ี การผลติ มคี วามหมายแคบ มองเฉพาะในแงทจ่ี ะเอามาซอ้ื ขายกันไดเปนเศรษฐกจิ แบบการตลาด เพราะฉะนน้ั อาตมภาพอยูทีว่ ัด ทาํ โตะทาํ เกา อีข้ ึ้นมาชดุ หน่ึง เอามาน่ังทํางาน เศรษฐศาสตรบอกไมไดผ ลิต คนหนึ่งขึน้ เวทีแสดงจําอวดตลกจ้ีเสน ทําใหค นหายเครยี ดบันเทงิ ใจ จดั การแสดงโดยเก็บเงิน เราบอกวามีการผลิตเกดิ ขึ้น การจัดแสดงจาํ อวดเปนการผลิต แตอ กี คนหนง่ึ อยูในสํานกั งานหรือสถานศกึ ษา เปน คนท่มี ีอารมณแ จมใส คอยพูด คอยทําใหเพอ่ื นรว มงานรา เริงแจมใสอยูเสมอ จนกระทง่ั ไมต องมคี วามเครยี ด ไมต อ งไปดจู าํ อวด แตเ ราไมพจิ ารณาพฤตกิ รรมของคนผูน้วี า เปนการผลติ แลว ทีนี้ คนท่ที าํ ใหค นอ่ืนเครยี ด มีกิรยิ าวาจาที่ทําใหคนอื่นเครียดอยเู สมอ จนเขาตอ งหาทางแกเ ครยี ดดว ยเครื่องบันเทงิ คอื ไปดู

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๔๕จาํ อวด เรากไ็ มคิดมูลคาทางเศรษฐกิจกันเลย อีกตัวอยา งหนงึ่ เขาจดั แสดงการฆาววั เชน ในเมืองสเปนเขาใหค นลงไปฆา วัวกระทิงใหคนดู โดยเกบ็ เงิน การจัดการแสดงนี้เราเรยี กวา เปนการผลติ ในทางเศรษฐกิจ แตเด็กคนหนึง่ พาผใู หญพาคนแกข า มถนน เราไมเรยี กพฤติกรรมของเด็กนวี้ าเปนการผลิต กรณเี หลา นข้ี อใหค ดิ ดู นเี่ ปน ตวั อยา งเทา นน้ั ซงึ่ แสดงใหเ หน็ วาการพจิ ารณาในทางเศรษฐกจิ นนั้ ยงั แคบมาก ความหมายของการผลติ ก็ยงั แคบ ในทางพทุ ธเศรษฐศาสตรจ ะตอ งขยายวงความคดิ นอ้ี อกไป ในเรอื่ งนี้ถา เราจะมองหา the invisible hand (มอื ลอ งหน)ของ Adam Smith กค็ งตองรอ งทุกขว า the invisible hand ของอาดัมสมธิ นี้ ทาํ งานไมท วั่ ถึง เรื่อง economic growth คอื ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิก็ดี เรื่อง wealth คอื ความมั่งคัง่ กด็ ี จะตองเอามาพจิ ารณากนั ใหมเชน วา ความเจรญิ ความกา วหนา ทางเศรษฐกิจนี้ เพื่ออะไรกันแน ถามนั เปน ไปเพอื่ the increase of the quality of life คือเพื่อความเจริญเพมิ่ พูนของคุณภาพชีวิต ก็จึงนา จะรบั ได

ลักษณะสาํ คญั ของ เศรษฐศาสตรแนวพุทธ๑. เศรษฐศาสตรม ชั ฌิมา: การไดค ุณภาพชีวติ เมอ่ื มคี วามเขา ใจในเร่ืองธรรมชาติของมนุษยแลว กจ็ ะขอช้ีถงึ ลกั ษณะสาํ คญั ของเศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธ กลา วคอื เศรษฐศาสตรแนวพทุ ธนม้ี ลี กั ษณะเปน สายกลาง อาจจะเรยี กวา เศรษฐศาสตรสายกลาง หรอื เศรษฐศาสตรม ชั ฌิมา เพราะวาระบบชวี ติ ของพุทธศาสนาท่เี รียกวามรรคนัน้ กม็ ีช่อื อยแู ลว วามัชฌิมาปฏิปทา องคของมรรคน้ันแตล ะขอเปนสัมมา เชน สัมมาอาชีวะ การที่เปนสมั มานั้นกค็ อื โดยถกู ตอ ง โดยถูกตองกค็ ือทาํ ใหเกดิ ความพอดี ความเปนมัชฌมิ าหรอื สายกลางนั้น ก็คอื ความพอดนี ่ันเอง ชมู าเกอรบอกวา เมื่อมสี มั มาอาชีวะ ก็ตองมี Buddhisteconomics ตองมเี ศรษฐศาสตรแ บบพุทธ ขอพูดตอ ไปวา เม่อื มสี มั มาอาชวี ะ กต็ องมีมิจฉาอาชวี ะดวยเชน เดยี วกัน เมื่อมสี ัมมาอาชีวะ คอื พฤติกรรมทางเศรษฐกิจทีถ่ ูกตอง ก็ตอ งมีมิจฉาอาชีวะคือพฤตกิ รรมทางเศรษฐกิจทีผ่ ิดพลาดดวยทนี ้เี ศรษฐกิจถูกตองท่เี ปนสัมมากค็ อื เศรษฐกิจแบบทางสายกลางหรือเศรษฐกิจแบบมชั ฌมิ าปฏิปทา ในทางพุทธศาสนา มีขอ ปฏิบัติทเ่ี ต็มไปดว ยเรอ่ื งมชั ฌิมาความเปนสายกลาง ความพอดี มตั ตัญุตา ความรูจ กั ประมาณ รู

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๔๗จักพอดี เต็มไปหมด ตลอดจนสมตา เทยี บกบั ที่เราใชค ําวา สมดลุหรอื ดลุ ยภาพ คําเหลา นีเ้ ปนคาํ สาํ คญั ในทางพุทธศาสนา ท่ีวาเปนสายกลาง เปน มชั ฌมิ า มีความพอดี พอประมาณไดด ลุ ยภาพ อนั นี้เปนอยางไร ความพอดีหรอื ทางสายกลางอยูทีไ่ หน ความพอดี คือ จุดที่คุณภาพชีวติ กับความพึงพอใจมาบรรจบกนั หมายความวา เปน การไดรบั ความพึงพอใจดว ยการตอบสนองความตองการคณุ ภาพชวี ิต เมอ่ื ถึงจุดนี้ ก็จึงโยงกลับไปหาการบริโภค ทีพ่ ดู มาเมอื้ ก้ีนว้ี าการบรโิ ภคเปน จดุ ยอดของเศรษฐกิจ ขอทบทวนความหมายของการบรโิ ภคอีกครั้งหน่ึง ถา เปน การบรโิ ภคในทางเศรษฐศาสตร กห็ มายถงึ การใชส นิ คาและบริการบําบดั ความตองการ ซงึ่ ทําใหไดร ับความพึงพอใจสงู สดุ แตใ นแบบพทุ ธ การบรโิ ภคคอื การใชส นิ คา และบรกิ ารบาํ บดัความตอ งการ ซงึ่ ทาํ ใหไ ดร บั ความพงึ พอใจโดยมคี ณุ ภาพชวี ติ เกดิ ขน้ึพอบรโิ ภคปบ กม็ องไปถงึ คณุ ภาพชวี ติ นนั่ คอื การบรโิ ภคทสี่ าํ เรจ็ ผล ถาแคบ รโิ ภคแลว อรอย โก ไดรบั ความพึงพอใจ ก็จบ แคนี้ไมถ อื วา เปน เศรษฐศาสตรชาวพุทธ แตเปน เศรษฐศาสตรท ีต่ ัน แยกสว น ไมเ ขา ไปในระบบสัมพันธแหง การสรา งสรรคข องมนษุ ย ไมเชอื่ มโยงกบั วทิ ยาการอยางอ่นื เพราะบรโิ ภคแบบคลมุ เครอื และเลอื่ นลอย ไมเ ขา ใจและไมค าํ นงึ ถงึ เหตุผลของการบริโภค ไมร คู วามมงุหมายท่แี ทของการบรโิ ภคนั้น เม่ือบรโิ ภคไป ไดรบั ความพงึ พอใจหลงเพลินไป กต็ ดั ตอนเอาวาจบเทานนั้ แตท ่จี รงิ พึงพอใจนน้ั อาจจะเกิดโทษแกช วี ิตกไ็ ด อยางท่พี ูด

๔๘ เศรษฐศาสตรแนวพุทธเมือ่ ก้วี าทําใหเ สยี คณุ ภาพชวี ติ หากพอใจโดยพว งกับการไดคณุ ภาพชวี ติ กจ็ ะเปนฐานสนับสนุนการพฒั นาศกั ยภาพของมนุษยตอไป ทาํ ใหชวี ติ มคี วามดีงามย่ิงขึ้น ฉะนั้น เศรษฐศาสตรจ งึ ไปสัมพันธกบั การมชี ีวติ ของมนุษยท้งั หมด ทจี่ ะเปน อยูอยา งดี เปนชีวิตทดี่ งี าม ทาํ สงั คมใหม สี ันตสิ ุข โดยนยั นี้ ถาเศรษฐศาสตรจะมคี วามหมายอยางแทจริงเศรษฐศาสตรจะตองมสี วนในการพฒั นาศกั ยภาพของมนษุ ย ในการทาํ ใหม นษุ ยม ีความสามารถทีจ่ ะดาํ รงชีวติ ทดี่ งี าม มคี วามสุขรวมกันไดด ยี ่งิ ขนึ้ ดวย มิฉะนน้ั เศรษฐศาสตรจ ะมีไวเ พ่ืออะไร จดุ ยอดของเศรษฐศาสตรท่ีวาเมือ่ ก้อี ยทู ก่ี ารบรโิ ภค เศรษฐ-ศาสตรข องชาวพทุ ธจงึ ปรากฏตวั ในหลกั ทเี่ รยี กวา โภชเน มตตฺ ฺ ตุ าคอื ความรจู กั ประมาณในการบรโิ ภค หลกั นม้ี กี ลา วอยเู สมอ แมแ ตใ นโอวาทปาตโิ มกขท เ่ี ราเรยี กวาหวั ใจพทุ ธศาสนากร็ ะบุไวว า มตตฺ ฺตุ า จ ภตตฺ สฺมึ (ความรูจกัประมาณในอาหาร) รูจักประมาณ คือรจู กั พอดี ความพอประมาณคือความพอดีคาํ วามัตตญั ตุ าคือความรจู ักพอดี เปนหลักสําคัญกระจายอยูท่วัไป ในสัปปรุ ิสธรรม ๗ ประการก็มี โดยเฉพาะในหลักการบรโิ ภคจะมีมัตตญั ุตานี้เขามาทนั ที ตวั กําหนดเศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธ กค็ ือมัตตญั ตุ า ความรูจกั ประมาณ รูจ ักพอดีในการบรโิ ภค หมายถึงความพอดีทใี่ หค ุณภาพของชวี ติ มาบรรจบกับความพงึ พอใจ ในคาํ สอนแสดงขอ ปฏิบตั ิของพทุ ธศาสนกิ ชน โดยเฉพาะ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๔๙พระสงฆ เมอ่ื จะบรโิ ภคอะไรก็ตองพิจารณาเหตุผลหรือความมงุหมายของการบรโิ ภค ตามสูตรที่วา ปฏสิ งฺขา โยนิโส ปณฺฑปาต.ํ ..พิจารณาทุกอยางไมว า จะบรโิ ภคอะไร แตเ ดย๋ี วนเ้ี ราวากนั เปน มนตไปเลย ไมร ูเรือ่ ง สวดจบเปนใชไ ด อนั ทจ่ี ริงนัน้ ทานสอนวา เวลาจะบริโภคอะไรกใ็ หพ ิจารณาคอื พจิ ารณาวา เราพิจารณาโดยแยบคายแลว จงึ บรโิ ภคอาหาร เนว ทวาย น มทาย น มณฑฺ นาย มใิ ชเพ่ือสนุกสนาน มิใชเพ่อื ลมุ หลง มัวเมา มิใชเพ่อื โก หรูหรา ฟมุ เฟอ ย ยาวเทว อิมสสฺ กายสสฺ แตบริโภคเพ่ือใหร างกายม่นั คงดํารงอยไู ด เพอ่ื ใหชีวิตดาํ เนนิ ไป เพื่อกําจัดทุกขเวทนาเกา เพอ่ื ปอ งกนั มิใหม ที กุ ขเวทนาใหม เพื่อเกือ้ หนุนชวี ติ อันประเสริฐ เพอ่ื เกื้อกูลตอชีวติ ทด่ี งี าม เพ่ือความอยผู าสุก เวลาบริโภคจะตอ งเขาใจความหมายอยา งน้ี และบริโภคใหไดผลตามความมงุ หมาย แลวความพอดกี อ็ ยทู ี่น่ี ฉะนน้ั จึงบอกวาความพอดี หรอื สายกลาง อยทู ่คี ุณภาพชีวติ มาบรรจบกับความพงึพอใจ เพราะวาผทู เ่ี ปนชาวพทุ ธพิจารณาเขาใจความหมายของการบริโภควาเพือ่ ความมสี ขุ ภาพดี เพือ่ เกอ้ื กลู ตอ การมีชีวิตทด่ี ี เพ่ืออยูเปนสุข ดังน้ัน คณุ ภาพชวี ติ จึงเปนสิง่ ทต่ี องการในการบริโภค และบรโิ ภคแลว จึงไดรับความพงึ พอใจท่ีไดค ุณภาพชีวติ นน้ั น้คี ือความหมายของ มัตตญั ตุ า คอื ความพอดีทว่ี าเปนทางสายกลาง เปนอันวา กจิ กรรมในทางเศรษฐกจิ นี้ เปน means คือมรรคา ไมใ ชเปน end หรือจดุ หมายในตัวเอง ผลท่ีตองการในทางเศรษฐศาสตรไมใชเปนจุดหมายในตัว

๕๐ เศรษฐศาสตรแนวพทุ ธของมนั เอง แตเ ปนมรรคา คือ เปนฐานสนบั สนุนกระบวนการพฒั นาตนของมนุษย เพอ่ื ชวี ติ ทดี่ ีย่งิ ข้ึน เพื่อใหเขาบริโภคอาหารแลวไมใ ชอมิ่ เฉยๆ ไมใ ชอ่ิมแลว พออรอ ยๆ ก็จบเสร็จกนั ไมใ ชแคนัน้ แตใหเขาอ่มิ เพ่ือใหเขามีกําลงั กาย มีกาํ ลงั ความคิด จะไดทาํ สิ่งที่ดีงามเปนประโยชน เชน จะไดฟง ไดพิจารณาในเรอื่ งที่เจรญิ ปญญาตอไป ดงั ในเร่อื งท่ียกมาเปนตัวอยา งทวี่ า พระพุทธเจาใหค นจัดหาอาหารใหคนเขญ็ ใจรบั ประทาน เม่อื เขารบั ประทานเสรจ็ แลว กไ็ มใชจบแคนนั้ แตเ พอ่ื ใหเ ขาไดฟ ง ธรรมตอ ไป มนั จงึ เปน means ในเมอื่ หลักการมีอยูอ ยา งนี้แลว กจ็ ะมีวธิ ปี ฏบิ ตั ปิ ลีกยอ ยที่แยกซอยออกไปอีก เชน ในกรณที ่คี นมกี นิ อยแู ลว เรากลบั ไมส อนใหเขากินใหเตม็ ที่ ไมส อนใหก ินตามท่อี ยาก ยงิ่ กวา นน้ั บางครงั้ ยงั มกี ารยกยอ งพระบางองคท ฉี่ นั มอ้ื เดยี ว ถา เปนเศรษฐศาสตรยคุ อุตสาหกรรม ก็ตอ งสรรเสรญิ คนที่กนิ ใหมากท่สี ุด บริโภคสม่ี ้ือสบิ ม้ือคงยิง่ ดีใหญ แตในกรณที พี่ อแกค วามตองการคณุ ภาพชีวติ เรากลบัสรรเสรญิ พระบางองคท ี่ฉันม้ือเดยี ว แตไ มใ ชการฉันม้ือเดยี วน้ันเปนจุดหมายนะ ถา ฉนั มือ้ เดยี วแลว ไมไดท ําอะไรใหเกดิ ผลจากการฉันมอื้ เดยี ว กไ็ มไดเร่อื ง กลายเปน เบียดเบยี นตวั เองไป ฉะน้ัน จะตองพิจารณาโดยมเี งื่อนไข คอื บรโิ ภคสงิ่ ทแ่ี ละเทาทีจ่ ะชวยเกอื้ หนนุ ใหการพฒั นาตนไดผ ลดี ในเร่ืองนี้ แมแ ตชาวบา นกเ็ หมอื นกนั ไมเ ฉพาะแตพระ บางทีมาถืออโุ บสถงดอาหารในเวลาเลยเท่ยี งไปแลว ไมร ับประทานในเวลาบา ย เวลาค่ํา การงดกินอาหารทค่ี วรจะกินตามปกติ กลับมีความหมายเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีมีคุณคาเพ่ือประโยชนใน

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๕๑การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ฉะนน้ั การบรโิ ภคจงึ เปน กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ซงึ่ เปน ไปไดทั้งในแงบวกคือกนิ และแงลบคือไมกิน หมายความวา “ไมกนิ ” กเ็ ปนกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ในทางที่จะเพ่ิมคณุ ภาพชวี ติ ไดเหมอื นกัน แลวคนกส็ ามารถมคี วามพึงพอใจจากการงดกินไดด ว ย คอื สามารถไดร บั ความพงึ พอใจจากการไมบริโภค แตไ ดรับคณุ ภาพชวี ติ ตามปกติ เราตองมคี วามพงึ พอใจจากการบริโภค แตในหลายกรณี เรามีความพึงพอใจจากการไมบรโิ ภคหรอื ไมไ ดบ รโิ ภค อยา งไรกต็ าม การไดร บั ความพงึ พอใจจากการงดการบรโิ ภคอาจจะเกดิ จากกิเลส เชน มีมานะถือตัว จะแสดงใหเ หน็ วาเราน่ีเกงเราน่แี น จึงงด ไมร ับประทานอาหาร แลวรสู กึ ภูมิพองในใจวา เราน้ีรบั ประทานอาหารมอ้ื เดยี วได เราเกง แลว กพ็ งึ พอใจ แตเ ปน ความพงึพอใจจากกิเลส คือมานะ เปนเพยี งการกาวจากตัณหาข้ึนไปสูมานะ สวนความพึงพอใจทถี่ ูกตอง คือความพึงพอใจที่วา การกนินอยลงหรอื การอดอาหารคร้งั นี้ เปน การฝกหัดขดั เกลาตนเอง หรือเปน สวนท่ชี วยใหเกิดการพัฒนาคุณภาพชีวติ การทเ่ี รางดการบริโภคคร้งั น้ี มนั ชวยใหคุณภาพชวี ติ ของเราดีข้ึน ถา เกิดความพึงพอใจอยางนี้ข้ึน ก็เปน ความพงึ พอใจที่ถกู ตอ ง ในกิจกรรมของมนุษยปุถุชนท่ีจะทําใหเกิดความพึงพอใจในการบรโิ ภคน้นั คนจาํ นวนมากทีเดยี ว เมอ่ื บริโภคเพื่อบําบดั ความตองการ เชนกนิ อาหารโดยมงุ รสอรอย แตกลบั ทาํ ใหเกดิ อันตรายตอชีวิตรา งกาย เบียดเบียนทั้งตนเองและผอู ่ืน กินสรุ าทาํ ใหพ อใจ แตทาํ ใหเสยี สขุ ภาพ กอการวิวาท เกิดอุบตั ิเหตุ

๕๒ เศรษฐศาสตรแ นวพุทธ ของบางอยา งอรอย บรโิ ภคมากเกินไป เกดิ เปนโทษตอ สขุภาพ หรือกนิ โดยไมมุง คณุ ภาพ กินโดยไมม ุงคณุ คาอาหาร กนิ มากเปลอื งมาก บางทกี นิ มากเปลอื งมาก แตก ลับขาดธาตุอาหาร บางคนกนิ ของดเี อร็ดอรอ ยมากมาย แตต อมาปรากฏวาเปนโรคขาดอาหาร ไมน า จะเปน ไปได แตม ันก็เปน ไปแลว และไมเทานั้นแถมทาํ ใหคนอ่ืนอดกินไปเสยี ดวย ตวั เองก็ขาดธาตอุ าหาร คนอื่นก็พลอยอดกิน เพราะตวั เองกินมากเกนิ ไป ฉะน้นั ความพอใจไมเ ปนตวั ตัดสินอรรถประโยชน ถาความพอใจนนั้ ไมม าพรอ มกับการไดค ุณภาพชวี ติ ความพงึ พอใจบางครัง้กลับเปน ตัวการทําลายอรรถประโยชน เชน ทาํ ใหคนหลงมัวเมาทาํ ลายสุขภาพ เสียคณุ ภาพชวี ิต เปน ตน ทางเศรษฐศาสตรนน้ั เขามหี ลกั อันหน่ึงวา สินคา มีอรรถประโยชนโ ดยสามารถทาํ ใหเ กดิ ความพอใจแกผ บู รโิ ภค เศรษฐศาสตรเขาวางหลกั ไวอ ยา งน้ี แตมองในทางกลบั กัน เราก็สรปุ ไดว า ถาอยา งนั้นก็บริโภคใหม าก กินเขา ไปเพ่อื ใหไดร บั ความพงึ พอใจ แตแ ลว ก็เกิดผลอยา งเมื่อก้ีน้ี ผลบวกกม็ ี ผลลบก็มี ทาํ ลายคณุ ภาพชวี ิตกม็ ี อยางนี้หรอืเปน อรรถประโยชน ทีนี้ถา มองในแงพ ุทธเศรษฐศาสตรก็ตองบอกวา สนิ คาและบริการมีอรรถประโยชน โดยสามารถทาํ ใหเ กดิ ความพอใจ ในการที่ไดเสริมคุณภาพชีวิตแกผ บู รโิ ภค ตอ งเตมิ ตอทา ยอยางนี้ ฉะนัน้ คาํ จํากัดความเรื่องสนิ คา เรอ่ื งบริการ เร่ืองโภคทรัพยอะไรตออะไร ตอ งเปล่ียนใหม ไมใ ชเ ปลี่ยนท้งั หมด แตอาจจะตอ งmodify ตอ งมกี ารดดั แปลงกันมากบา งนอยบาง

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๕๓๒. เศรษฐศาสตรม ชั ฌิมา: ไมเบียดเบยี นตน ไมเบียดเบยี นผูอ่นื ความหมายอกี อยา งหนึ่งของความพอดี หรือมัชฌิมา คอื ไมเบยี ดเบียนตน ไมเ บียดเบยี นผูอน่ื อันน้กี เ็ ปน หลกั สาํ คญั ของพุทธศาสนา ใชตัดสนิ พฤติกรรมมนษุ ย ไมเฉพาะในการบริโภคเทานน้ั แตในทกุ กรณที เี ดยี ว เปนมัชฌิมา ก็คอื ไมเ บยี ดเบียนตน ไมเ บียดเบียนผอู ืน่ คําวา ไมเบียดเบยี นผูอ่นื ในพุทธศาสนานั้น ไมใชเฉพาะคนเรามหี ลกั วา อหสึ า สพฺพปาณานํ แปลวา ไมเบียดเบียนชวี ติ ทั้งปวงซึง่ สมัยนเ้ี ขาเรียกวา ecosystems แปลกนั วาระบบนิเวศ ระบบนิเวศน้เี ปนศพั ทคอ นขา งใหม หมายถงึ ระบบชีวิตท้ังหมดทีส่ ัมพันธก นั พรอ มทงั้ สภาพแวดลอมของมนั ในถ่ินหนึง่ ๆ หรอื ท่ีจดั เปนชุดหนง่ึ ๆ หรือหนว ยรวมหนึ่งๆ เม่ือมองในแงของพระพุทธศาสนาอยา งน้ี หลักการทางเศรษฐศาสตรก็เลยมาสัมพันธกับเรื่องระบบการดํารงอยูของมนุษยทีว่ ามอี งคป ระกอบ ๓ อยางสมั พนั ธอิงอาศยั กนั อยู องคป ระกอบ ๓ อยางนี้คอื มนุษย ธรรมชาติ และสงั คม ธรรมชาติในทีน่ ้ี จํากดั วงแคบเขา มาในความหมายของคาํ วาecosystems ซ่งึ ในภาษาไทยบญั ญัติศัพทไววา ระบบนิเวศ หรือเรยี กงายๆ วา ธรรมชาตแิ วดลอ ม เศรษฐศาสตรแนวพทุ ธน้ัน ตองสอดคลองกบั กระบวนการแหง เหตุปจ จยั อยา งครบวงจร การทจี่ ะสอดคลองกบั กระบวนการแหง เหตุปจจัยอยา งครบวงจร ก็ตอ งเปน ไปโดยสมั พนั ธด ว ยดกี บั องคประกอบทุกอยา งในระบบการดํารงอยขู องมนษุ ย

๕๔ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธ องคประกอบท้งั สามในการดาํ รงอยขู องมนษุ ยน นั้ จะตอ งประสานเกอ้ื กลู กัน หมายความวา องคประกอบเหลาน้ี ประสานกนัดว ย และเกอ้ื กลู ตอ กนั ดว ย ในการดาํ รงอยรู ว มกนั และกเ็ ดนิ ไปดว ยกนั ฉะนัน้ พฤตกิ รรมทางเศรษฐกิจของมนุษยจ ะตองเปน ไปในทางทีไ่ มเ บียดเบยี นตน คือ ไมท าํ ใหเสยี คุณภาพชีวติ ของตนเอง แตใหเปนไปในทางที่พัฒนาคุณภาพชวี ิต เสรมิ คณุ ภาพชวี ิตนน้ั และไมเบียดเบียนผูอืน่ คอื ไมก อความเดือดรอ นแกส ังคม และไมท ําใหเสยีคุณภาพของ ecosystems หรือระบบธรรมชาติแวดลอม ปจจุบนั น้ี ไดมคี วามต่ืนตัวกันมากในประเทศท่พี ัฒนาแลวโดยพากันหวงใยตอ พฤติกรรมทางเศรษฐกิจของคน เชน การใชส ารเคมี และการเผาผลาญเชอื้ เพลงิ ซง่ึ สง ผลในการทาํ ลายสขุ ภาพตนเองทาํ ลายสขุ ภาพผอู นื่ และทาํ ลายสภาพแวดลอ ม เขา หลกั วา เบียดเบียนตนเบียดเบียนผอู ื่น ซงึ่ เปน ปญหาใหญข องอารยธรรมมนษุ ย เมื่อพูดถงึ องคป ระกอบ ๓ อยา ง คือ มนุษย ธรรมชาติ สังคมนี้ กม็ เี รือ่ งแทรกเขา มา คือเร่ืองเทคโนโลยี ปญ หาอยา งหน่งึ คอื เราเขา ใจเทคโนโลยวี าอยางไร ในความหมายของพุทธศาสนา หรอื เฉพาะพทุ ธเศรษฐศาสตรวา เทคโนโลยีคืออะไร เนือ่ งจากเวลาหมดแลว จึงขอรวบรดั วา ในความหมายของพระพุทธศาสนา เทคโนโลยี คือ เคร่อื งมอืขยายวสิ ัยแหง อนิ ทรยี ข องมนษุ ย เรามมี อื มเี ทา มหี ู มตี า มจี มกู มลี น้ิ มีกาย มีใจ พดู รวมๆวาเรามีอนิ ทรยี  แตอินทรยี ข องเรามีขีดความสามารถจํากดั เราตอ งการตอกตะปตู วั หนง่ึ เราตอ งการเดนิ ทางไปยงั สถานที่แหงหนึง่ เราจะเดนิ ไปกช็ า เราจะเอามือตอกตะปูกเ็ จบ็ แย เราก็เลย

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๕๕ตองผลิตฆอ นขึ้นมา ฆอนก็มาชว ยขยายวิสยั แหงอนิ ทรีย ทําใหม ือของเราสามารถทํางานไดผลดยี ง่ิ ขึ้น ตอกตะปูไดส ําเร็จ เราขยายวสิ ัยของเทา จะเดนิ ทางก็มรี ถยนต ตอ มากม็ เี ครื่องบิน ตาของเราเห็นไดจ าํ กดั ของเล็กนกั ก็มองไมเห็น เรากส็ รางกลอ งจุลทรรศนขึน้ มา ทําใหสามารถมองเห็นจลุ นิ ทรียต ัวเลก็ ๆ ไดตาของเรามองไปไดไกลไมพอทจี่ ะเหน็ ดวงดาวซง่ึ อยไู กลมาก ดูเลก็เกนิ ไป บางดวงก็ไมเห็น เราก็สรา งกลอ งโทรทรรศนข น้ึ มา มองไปเหน็ สง่ิ เหลา นั้นได ปจจุบันน้ีเราก็สามารถขยายวิสัยแหงอินทรียสมองของเราออกไป โดยสรางเคร่ืองคอมพวิ เตอรข้นึ มา รวมความวา เทคโนโลยีเปน เครื่องขยายวิสัยแหงอินทรยี ข องมนษุ ย ในยุคปจจุบนั น้ี เราขยายวสิ ยั แหง อนิ ทรียด วยวิธกี ารทางวตั ถุ ทําใหเกิดความเจรญิ ในระบบอตุ สาหกรรมขนึ้ มา แตในสมัยโบราณยคุ หนงึ่ คนเอยี งสดุ ไปทางจติ กไ็ ดพยายามขยายวิสัยแหงอนิ ทรียโ ดยทางจิต การขยายวิสัยแหงอินทรียโ ดยทางจติ น้นั ก็ทาํ ใหเกิดเปนฤทธ์ิ เปนอภญิ ญาขึน้ มา ดงั ที่มเี รอื่ งบอกไววา คนนนั้ คนนี้มีฤทธ มีปาฏิหาริย เหาะเหริ เดนิ อากาศได เปน ตน ก็เปนการขยายวสิ ัยแหงอินทรียเ หมอื นกัน นคี่ อื เปน physical technology คอื เทคโนโลยที างกายอยา งหนงึ่ กับ psychical technology คือ เทคโนโลยที างจิตอยางหนึ่ง เปนอันวา เทคโนโลยเี ปนเครือ่ งมือขยายวสิ ยั แหง อินทรยี ของมนษุ ย และเทคโนโลยีนั้นก็ไดเ ขา มาสมั พันธก บั ระบบการดาํ รงอยูของมนษุ ยทีม่ อี งคประกอบ ๓ ประการนน้ั กลาวคือ - มนุษยไดใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือของตนในการเขาไป

๕๖ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธสัมพันธเก่ียวของกับองคประกอบสวนอ่ืนในการดํารงอยูของมนุษยคือธรรมชาติและสงั คม และเทคโนโลยีน้กี ็เกิดเปนสภาพแวดลอ มอยา งใหมข ึน้ มา เปน สภาพแวดลอ มทีม่ นุษยส รางข้นึ สภาพแวดลอ มสว นทม่ี นุษยส รางขึ้นน้ี บางทีกไ็ ปรกุ รานหรอืขัดแยง กบั สงั คมและสภาพแวดลอมตามธรรมชาติเดิม และทําใหเกดิ ปญ หาขึ้นมา ปญหาทางเทคโนโลยีทเี่ กดิ ขึน้ วาโดยรวบยอด คือ ๑. การพฒั นาเทคโนโลยนี นั้ อาจจะเปนการพฒั นาในลกั ษณะทข่ี ัดแยง กับระบบการดํารงอยขู องมนุษย ทาํ ใหเ สียคุณภาพและทาํ ใหเ สียดุลในระบบของมนษุ ย ธรรมชาติ สังคม แลว กข็ ัดขวางความสมั พนั ธท ี่ดี ที่เก้ือกลู กนั ระหวางองคประกอบท้งั สามอยางน้นั ๒. มีการใชเทคโนโลยีน้นั ในลักษณะทเี่ ปนการเบียดเบยี นตนและเบียดเบียนผอู ่นื ฉะนั้น เมอื่ สัมพันธกับเทคโนโลยี มนุษยจะตอ งแกป ญหานี้โดยพัฒนาเทคโนโลยี ในลักษณะทจ่ี ะทําใหเกดิ การประสานและเกื้อกลู กัน ภายในระบบความสัมพันธข ององคประกอบสามอยา งแหงการดํารงอยขู องมนุษยนัน้ และใชเ ทคโนโลยีเพือ่ ประโยชนเกือ้ กูลทัง้ แกตนเองและแกผูอ ่นื

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๕๗ สรปุ ไดพ ูดเลยเวลาไปแลว แตยังมีขอ สําคญั ๆ ทคี่ า งอยอู กี ส่งิ หน่งึ ทขี่ อยาํ้ ไว ก็คือ ควรจะชัดเจนวา ผลไดท ่ีตองการในทางเศรษฐศาสตรน ้ี ไมใ ชจ ุดหมายในตวั ของมนั เอง แตเ ปน meansคือมรรคา สวน end คอื จุดหมายของมัน กค็ ือ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต และการพฒั นามนษุ ย ฉะนัน้ เศรษฐศาสตรใ นทัศนะของพระพุทธศาสนาจงึ ถอื วากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และผลของมนั เปน ฐานหรอื เปน อปุ กรณท จี่ ะชว ยสนบั สนนุ การมชี วี ติ ทด่ี งี าม และการพฒั นาตน พฒั นาสงั คมของมนษุ ย ขอกา วเลยไปสกู ารสรปุ เร่ืองทอ่ี าตมาเลา ใหฟง ตอนตนวาพระพทุ ธเจา เสดจ็ ไปโปรดคนเข็ญใจนั้น มีแงพ ิจารณาหลายเร่อื งในทางเศรษฐกิจ เชน วา – พระพุทธเจา เสด็จไปโปรดคนเขญ็ ใจ ลงทุนเดนิ ทาง ๔๘๐กโิ ลเมตร เปนการคุม คาไหมในทางเศรษฐกจิ ทจ่ี ะไปโปรดคนเข็ญใจคนหนึง่ ขอนี้นักเศรษฐกิจ กอ็ าจจะพจิ ารณาวาคุม หรือไมคมุ ดังน้ีเปน ตน แตใ นทน่ี ้เี ราจะไมวเิ คราะห เพียงขอพูดฝากไวน ิดเดียว ประเด็นสาํ คัญก็คือ เปนอนั เห็นไดแลว วา พระพทุ ธศาสนาถอื วา เศรษฐกจิ มีความสําคญั มาก ไมเ ฉพาะในแงทวี่ า สัมมาอาชีวะเปนองคหนงึ่ ในมรรคมอี งค ๘ เทาน้ัน แตจ ากเรื่องนี้เราจะเห็นวา ถาทองหิว คนจะฟงธรรมไมรเู รื่อง ฉะนน้ั พระพุทธเจาจึงใหเ ขากินขาว

๕๘ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธเสยี กอ น แสดงวา เศรษฐกจิ มคี วามสาํ คญั มาก แตในทางกลับกัน ถา โจรไดอาหารอยา งดี บรโิ ภคอิม่ แลวรา งกายแข็งแรง กเ็ อารา งกายนน้ั ไปใชท ําการรา ย ปลนฆา ทาํ ลายไดมาก และรุนแรง เพราะฉะนน้ั การไดบ รโิ ภคหรอื ความพรงั่ พรอ มในทางเศรษฐกจิจงึ ไมใชจ ดุ หมายในตัว แตมนั ควรเปน ฐานสําหรบั การพัฒนามนุษยเปน ฐานท่จี ะใหมนษุ ยไดค ณุ ภาพชวี ิต ไดส ิ่งทมี่ คี ณุ คาสูงยิง่ ขึน้ ไปเชน นายคนเขญ็ ใจน้ไี ดกินอาหารแลว เขาก็ไดฟ ง ธรรมตอ ไปดวย ดว ยเหตุผลทีก่ ลาวมานี้ การสรางความพรัง่ พรอมทางเศรษฐกจิ จงึ เปน ภารกิจสาํ คญั ท่ีจะตองทาํ แตเ ราจะตอ งใหความเจริญกา วหนาพร่ังพรอ มทางเศรษฐกิจน้ันสัมพนั ธก บั จุดหมาย โดยใหเ ปนไปเพอ่ื จดุ หมาย คอื ใหเ กิดคณุ ภาพชีวติ ซ่งึ ทําใหมนษุ ยพ รอ มทจี่ ะสรางสรรคห รือปฏิบัติเพือ่ ชีวิตทดี่ งี าม จงึ เรยี กวา เศรษฐศาสตรแ ละเศรษฐกจิ เพ่อื คุณภาพชีวติ ในพระพุทธศาสนามหี ลักอรรถ หรอื อตั ถะ ๓ แปลอยา งงา ยๆวา ประโยชนเบ้ืองตน ประโยชนทา มกลาง และประโยชนส งู สดุ หรอืจดุ หมายเบื้องตน จดุ หมายทา มกลาง และจุดหมายสงู สุด จุดหมายเบือ้ งตน คือ ทฏิ ฐธมั มิกตั ถะ แปลวา ประโยชนท นั ตาเหน็ ซึ่งมคี วามมั่นคงเพียงพอทางเศรษฐกิจรวมอยเู ปน ขอสาํ คญั แตประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือจุดหมายทางเศรษฐกิจนี้จะตอ งประสานและเก้อื กูลตอจดุ หมายอีกสองอยางทส่ี ูงข้ึนไป คือ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๕๙สมั ปรายิกัตถะ อันเปน ประโยชนในทางจิตใจ ในทางคณุ ธรรม ในทางคณุ ภาพชีวติ และปรมัตถ คอื จุดหมายสงู สดุ ไดแกค วามเปนอิสระของมวลมนุษยทภ่ี ายในชวี ติ จิตใจของแตละคน ในการปฏิบตั ิเพ่ือใหบ รรลุผลอยา งนี้ เศรษฐศาสตรจะตองมองตนเองในฐานะเปน องคป ระกอบรว ม ในบรรดาวทิ ยาการและองคประกอบตางๆ ทีอ่ ิงอาศยั และชว ยเสริมกันและกนั ในการแกปญหาของมนษุ ย เพราะฉะนน้ั ในเรื่องน้ี สิ่งสาํ คญั ทเ่ี ศรษฐศาสตรจ ะตอ งทํา ก็คือ การหาจดุ สมั พันธของตนกับวชิ าการแขนงอืน่ ๆ วาจะรวมมือกบัเขาทจี่ ุดไหนในวชิ าการน้นั ๆ จะสง ตอ รับชวงงานกนั อยา งไร ตัวอยางเชน ในดา นการศึกษา เศรษฐศาสตรจ ะสมั พนั ธหรอืรวมมือกับการศึกษาเพอ่ื แกป ญหาของมนษุ ยท ีจ่ ดุ ไหน เชน วา การศึกษาอาจจะสอนใหม นุษยรจู ักคุณคาแท คณุ คา เทยี ม รจู กั คดิ รจู กัพิจารณาวา อะไรเปน คณุ ภาพชีวิต อะไรไมเปน คณุ ภาพชีวิต แลว ก็มาชวยกนั รว มมอื กับเศรษฐศาสตร ในการทีจ่ ะพฒั นามนุษยข ึน้ ไป ประการสุดทาย กิจกรรมทางเศรษฐกจิ นัน้ เปน กจิ กรรมที่ครองเวลาสว นใหญใ นชวี ิตของมนษุ ย เวลาสวนใหญใ นชีวติ ของมนษุ ยน้ันใชไ ปในกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ถาจะใหเศรษฐศาสตรมีคุณคาอยางแทจริงในการแกไขปญหาของมนษุ ย ก็จะตองใหก จิ กรรมทางเศรษฐกิจทกุ อยาง ไมวาจะเปน การผลติ กด็ ี การทาํ งานก็ดี การบริโภคก็ดี การแจกจายกด็ ี

๖๐ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธเปนกจิ กรรมในการสรา งสรรคค ุณภาพชีวติ และพฒั นาศกั ยภาพเพื่อชวี ติ ทีด่ งี าม เราสามารถทาํ ใหกิจกรรมในทางเศรษฐกจิ ทุกอยาง เปน กิจกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตไดตลอดเวลา และนเี่ ปนทางหน่ึงที่จะทําใหเศรษฐศาสตรมีคุณคาท่ีแทจริงในการที่จะแกปญหาของมนุษย คอื ใหกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ทกุ อยาง เปน กิจกรรมในการเสรมิสรางคณุ ภาพชวี ิต ไปดวยพรอ มกนั เมือ่ วา ใหถ กู แท กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ปฏบิ ตั อิ ยา งถูกตอ งยอมเปนกิจกรรมที่เปนไปเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาศักยภาพอยูแลว ในตัว อันนถ้ี อื วาเปนสาระสาํ คัญของเร่อื งเศรษฐ-ศาสตรแ นวพุทธ ทพี่ ดู มาเฉพาะหวั ขอใหญใจความบางเรื่อง อาตมภาพไดแสดงปาฐกถาธรรมมา กพ็ อสมควรแกเวลาขอใหง านท่ีรวมกันจัดคร้งั น้ี ซ่ึงแสดงถึงนาํ้ ใจที่มคี ณุ ธรรม คอื ความกตัญูกตเวทีและความสามัคคี เปน ตน จงเปนเคร่อื งชกู ําลงั ใจใหทกุ ทา นมีความพร่งั พรอมในการทีจ่ ะบาํ เพญ็ กิจหนา ท่ี เพอ่ื ประโยชนสุข ทัง้ สวนตวั และสว นรวม สบื ตอ ไปชั่วกาลนาน

บทพิเศษ <C> หลักการทัว่ ไปบางประการ ของ เศรษฐศาสตรแนวพุทธ (เศรษฐศาสตรมชั ฌิมา)๑. การบริโภคดวยปญ ญา การบริโภคเปน จดุ เรมิ่ ตน (โดยเหตผุ ล) ของกระบวนการเศรษฐกจิ ท้งั หมด เพราะการผลติ กด็ ี การแลกเปล่ียนและการแจกจายหรอื วภิ าคกรรมก็ดี เกดิ ขึน้ เพราะมกี ารบรโิ ภค พรอมนั้น การบริโภคกเ็ ปนจุดหมายปลายทาง (โดยสภาพความจริง) ของกระบวนการเศรษฐกิจทัง้ หมด เพราะการผลติ กด็ ีการแลกเปลี่ยนและการจําหนายจายแจกหรือวิภาคกรรมนั้นก็ดีบรรลผุ ลทีก่ ารบริโภค ผูบริโภค ในฐานะผูรับผลดีและผลรายของกระบวนการเศรษฐกิจ ควรมอี ิสรภาพ โดยเปน ตวั ของตวั เองในการเลือกตดั สนิ ใจเพอ่ื ใหต นเองไดร บั ประโยชนท แี่ ทจ รงิ จากการบรโิ ภค ดงั นนั้ จงึ ตอ งใหเปน การบรโิ ภคดว ยปญ ญา ซง่ึ จะเปน การบรโิ ภคอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ การบริโภคดวยปญ ญา จะทําใหผูบ รโิ ภคเปน ผกู าํ หนดปจจัยตวั อน่ื ในกระบวนการเศรษฐกิจ และทําใหท ้ังการบริโภคนนั้ เอง และ

๖๒ เศรษฐศาสตรแ นวพุทธกระบวนการเศรษฐกจิ ท้งั หมด บงั เกิดความพอดี และเปนประโยชนอยา งแทจริง ยกตัวอยางงายๆ ของการบริโภคดวยปญญา เชน ในการกนิอาหาร ผบู รโิ ภค ตระหนักรูความจรงิ ที่ตน ๑. เปน บคุ คลทีเ่ ปนสวนในสังคม ผมู คี วามตอ งการท่ีถูกกระตุนเราโดยอิทธิพลทางสงั คม เชน คา นยิ ม เปนตน อาจบริโภคเพ่อื แสดงสถานะทางสงั คม ความโกเก ตลอดจนสนุกสนานบันเทงิ ๒. เปน ชวี ติ ทเ่ี ปน สว นในธรรมชาติ ผมู คี วามตอ งการทถี่ กู กาํ หนดโดยเหตุปจจัยในธรรมชาติ ที่จะตอ งบรโิ ภคเพอ่ื ใหช วี ติ เปนอยไู ด ใหรางกายแข็งแรง มีสุขภาพดี ปราศจากโรคเบยี ดเบยี น เปนอยผู าสกุมรี า งกายทพี่ รอ มจะนาํ ไปใชใ นการดาํ เนนิ ชวี ติ ทดี่ งี ามและสรา งสรรค ถา ผบู รโิ ภครวู า ความตอ งการที่แทจ รงิ ในการกินอาหาร คือความตอ งการของชีวิตในขอ ๒ เขาจะตอ งบรโิ ภคเพ่อื ความมงุ หมายที่จะใหร างกายแข็งแรง มีสขุ ภาพสมบูรณและสามารถดําเนินชวี ิตท่ีดี ที่พูดสัน้ ๆ วา คณุ ภาพชีวิต ดังนนั้ ผูบ ริโภคนี้จะบริโภคอาหารเพือ่ สนองความตองการของชีวติ ใหไดค ณุ ภาพชีวิตเปนหลกั หรือเปน สวนจําเปนที่จะตองใหสัมฤทธ์กิ อน สวนการทีจ่ ะสนองความตอ งการเชงิ สังคมหรือไมแ คใดถือเปน สวนเสรมิ ซึ่งจะพิจารณาตามสมควร การบริโภคอยางน้ี เรยี กวาเปนการบรโิ ภคดว ยปญญา ซ่ึงจะทําใหผูบริโภคไดประโยชนจากสินคาและบริการอยางถูกตองตามความเปน จริง ถา พูดดว ยภาษาเศรษฐศาสตรต ามแบบ การบริโภคกม็ ิใชเปน เพียงการใชสินคาและบรกิ ารบาํ บัดความตอ งการ เพื่อใหเกดิ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๖๓ความพอใจอยางเลอ่ื นลอย แต การบริโภค คอื การใชส นิ คาและบริการบาํ บัดความตอ งการ เพอ่ื ใหไดรบั ความพึงพอใจโดยรูวา จะไดคุณภาพชีวติ คอื จะเกิดผลดแี กชวี ติ ตรงตามความมงุ หมายท่ีแทจริงของการบริโภคอาหารเปน ตนนนั้ การบริโภคดว ยปญญาน้ี จงึ เปนหวั ใจหรือเปนศนู ยก ลางของเศรษฐกิจท่ีชอบธรรม หรือทเ่ี ปน สมั มา เพราะจะทาํ ใหเกดิ ความพอดีของปริมาณและประเภทของสง่ิ เสพบริโภค ท่จี ะสนองความตอ งการเพื่อบรรลุจุดหมายที่ถูกตองเปนจริงของการบริโภคสินคาและบริการแตล ะอยาง พรอมน้นั การบริโภคดวยปญญาจะเปน เกณฑมาตรฐานท่ีคุมการผลิต และจดั ปรบั กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ อยา งอ่ืนๆ ใหพอดีปองกนั แกไขคานิยมที่ผดิ ในสังคม เชน ความนิยมฟงุ เฟอฟุมเฟอ ยและลดการเบยี ดเบยี นท้งั ในสังคม และการเบียดเบียนธรรมชาติ ที่ทําใหม ีการใชทรพั ยากรธรรมชาติอยางสิน้ เปลอื งสูญเปลา และกอมลภาวะเกนิ กาํ ลงั ทีจ่ ะขจัด ในทางตรงขาม การบรโิ ภคอยา งขาดปญ ญา คือบริโภคโดยไมไดพิจารณา-ไมตระหนักรูถึงความมุงหมายท่ีแทจริงของการเสพบรโิ ภคสนิ คาและบรกิ ารนัน้ ๆ เชน บริโภคเพียงเพ่อื สนองความตองการทางคา นยิ มในสังคม ใหโ กหรหู รา อวดฐานะ เปนตน นอกจากจะไมสมั ฤทธจิ์ ุดหมายท่ีแทจรงิ ของการบรโิ ภคแลว ยังกอ ใหเ กดิความสน้ิ เปลือง สูญเปลา นําไปสกู ารเบยี ดเบียนเพ่ือนมนุษย และการทาํ ลายสิ่งแวดลอ ม หนําซํ้า การบรโิ ภคอยางขาดปญญาน้นั ทัง้ ทสี่ ้ินเปลืองมากมาย แตกลบั ทาํ ลายคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน จดุ หมายอันแทจริงของการ

๖๔ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธบริโภคไปเสียอีก เชน บรโิ ภคอาหารโกหรูหรา ส้นิ เปลืองเงินหม่ืนบาทไปแลว กลับทาํ ลายสขุ ภาพ เกิดโรคภยั บั่นทอนรา งกายและชวี ติ ของตนเอง ในขณะที่ผบู ริโภคดว ยปญญาจา ยเงินเพียง ๕๐บาท กลับบรโิ ภคแลว ไดป ระโยชนท ่ีสมั ฤทธิจ์ ดุ หมายของการบรโิ ภค ยง่ิ ในยคุ ปจ จบุ นั ทเี่ ศรษฐกจิ แบบธรุ กจิ เพอ่ื กาํ ไรสงู สดุ แผข ยายเปน โลกาภวิ ตั น กจิ กรรมเศรษฐกจิ ดา นการผลติ ไดก า วรดุ หนา ไปไกล ตามปกติน้ัน ผูผ ลติ ทําหนาทีเ่ สมอื นรับใชผบู ริโภค หรอื เปนผูสนองความตอ งการของผบู รโิ ภค และผูบ รโิ ภคเปนผูกําหนดการผลิต แตเ วลาน้ี การณกลบั กลายเปนวา ผผู ลติ มอี ทิ ธพิ ลเหนอื ผูบรโิ ภค จนกระทง่ั ผผู ลติ สามารถกาํ หนดการบรโิ ภค ทาํ ใหก ารบรโิ ภคเปน การสนองความตอ งการเชงิ ธรุ กจิ ของผผู ลติ ดว ยการปลกุ เรา ความตอ งการและปน กระแสคา นยิ มใหมๆ ใหแ กผ บู รโิ ภค ซงึ่ ไมเ ปน ผลดีอยา งแทจ รงิ แกผ บู รโิ ภค และแกโ ลก ทงั้ โลกมนษุ ยแ ละโลกธรรมชาติ นักผลติ ทีด่ ี ผูมคี วามคิดริเรมิ่ จะประดษิ ฐส รรคผลิตภัณฑใหมๆ ที่ชวยใหผบู รโิ ภคมีทางเลือกทด่ี ีข้ึนและเพ่มิ ขึน้ ในการสนองความตอ งการของตน เฉพาะอยางยิ่งส่งิ ใหมทข่ี ยายมิติทางปญญาและเก้ือหนนุ การพฒั นาชวี ิตพัฒนาสงั คม ถา ทําอยา งน้ี ก็เขาหลัก \"เศรษฐกจิ เปน ปจจยั \" คือ เศรษฐกจิเปนตวั เออื้ และเกือ้ หนุนในระบบปจจยาการ (ความเปน เหตปุ จ จยั ในระบบองคร วมทท่ี กุ อยา งทกุ ดา นสัมพันธองิ อาศยั สงผลตอ กัน) ที่ครอบคลมุ ท้งั ชีวิตจติ ใจ สงั คม ตลอดถงึ ธรรมชาตทิ งั้ หมด ท่จี ะใหอารยธรรมของมนุษยชาตดิ าํ เนินไปดวยดี แตท่เี ปนปญ หากนั อยู กค็ ือ การผลิตท่ีมองผูบ ริโภคเปนเหยือ่ ท่ีจะสนองความตองการทางธรุ กิจท่ีมงุ ผลประโยชน ดว ยการ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๖๕ปลุกปน ความตองการเชิงเสพ เพ่อื การบํารุงบําเรอปรนเปรอใหล มุหลงมวั เมา จมอยใู นวงั วนของการบริโภค เพือ่ เพม่ิ ผลประโยชนข องผูผลิต พรอ มไปกับการทาํ ลายคุณภาพชีวติ ของตนเองและบัน่ รอนองครวมแหงระบบการดาํ รงอยดู ว ยดี ทเี่ ปนอยางน้ี ก็เพราะผบู รโิ ภคขาดการพฒั นาตนเอง หรอืพัฒนาตัวไมท นั กับอารยธรรม อยางนอยกไ็ มเ ปน ผบู รโิ ภคทฉี่ ลาดและขาดความสามารถในการแขง ขนั เชิงปญญากบั ผผู ลติ เฉพาะอยา งยง่ิ ในประเทศทกี่ าํ ลงั พฒั นา ถา ไมส ามารถพฒั นาคนใหผูบริโภคดวยปญญามีจํานวนเพิ่มขึ้นในอัตราสวนที่สมควรประชาชนกจ็ ะถูกระบบธุรกิจในประเทศพัฒนาแลว ทเ่ี ปนผผู ลิต ทาํการมอมเมาลอใหตกอยูในกับดักแหงคานิยมท่ีเปนทาสแหงตัณหาของตนเอง ไมมีพลงั ถอนตัวขน้ึ มาจากภาวะดอ ยหรือกาํ ลังพฒั นา ในภาวะเชน น้ี ถาสังคมจะมีชว งเวลาที่เรียกวา เศรษฐกจิ ดี ก็จะเปน เศรษฐกจิ ทดี่ แี คต วั เลขทล่ี วงตา ซงึ่ คลมุ บงั ความเสอ่ื มไว ใหความออ นแอผโุ ทรมคงอยไู ดน าน และแกไ ขไดย ากยง่ิ ขนึ้ จงึ จาํ เปน จะตองมีการพัฒนาผบู ริโภค เพ่อื ใหทันกับผผู ลติและกระแสธรุ กิจ โดยใหผผู ลติ เปนเพียงผนู าํ เสนอสินคาและบรกิ ารตรงตามบทบาทท่คี วรจะเปน และผบู รโิ ภครจู กั ใชป ญ ญาตดั สนิ ใจดว ยวจิ ารณญาณ ทจี่ ะใหก ารบรโิ ภคสมั ฤทธป์ิ ระโยชนท แ่ี ทจ รงิ และผูบรโิ ภคยงั ดาํ รงความเปน อสิ ระ อยใู นฐานะเปนผูกําหนดกระบวนกิจกรรมเศรษฐกิจใหส นองจดุ หมายทแ่ี ทจ รงิ ของมนษุ ย ดังน้นั การบริโภคดว ยปญ ญาน้ี จงึ เรยี กวาการบรโิ ภคทพ่ี อดีซ่ึงเปน แกนของเศรษฐกจิ แบบพอดี หรอื เศรษฐกจิ มชั ฌิมา ซงึ่ สมควรจะเปน เศรษฐกจิ ของมนษุ ยท มี่ กี ารศกึ ษา ผไู ดพ ฒั นาตนแลว มอี ารยธรรม

๖๖ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธ พูดอีกสํานวนหนึง่ วา การบริโภคดว ยปญญา เปน จดุ เรม่ิ และเปนแกนของเศรษฐศาสตรแนวพุทธ เพราะเปนสาระของเศรษฐกจิและเปน ตัวกาํ หนด-ควบคุมกระบวนกจิ กรรมเศรษฐกจิ ทง้ั หมด ตงั้ แตการผลติ จนถงึ การโฆษณาใหค งความเปน เศรษฐกจิ ทีด่ ีที่สรา งสรรค พดู อยา งรวบรดั วา การบรโิ ภคดวยปญ ญา เปน ตวั แทข องสมั มาอาชวี ะ ทจ่ี ะเปน องคป ระกอบแหง อรยิ มรรคาคอื ชวี ติ ทเ่ี ปน อยดู ี ยา้ํ วา เศรษฐกจิ มชั ฌมิ า โดยเฉพาะในแงบ รโิ ภคดว ยปญ ญานี้ตอ งสมั พนั ธไ ปดว ยกนั กบั การพฒั นามนษุ ย คอื การศกึ ษา และโยงเปนปจจัยแกก ันกบั หลกั การขอ อืน่ ๆ ของเศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธนี้๒. ไมเบยี ดเบียนตน-ไมเบียดเบียนผอู ่นื คําวา “ตน” หรอื ตนเอง หมายถึงมนษุ ยแตล ะคน ๑) ท้งั ใน ดา นทเ่ี ปนชวี ติ ท่ีเปน สวนในธรรมชาติ ๒) ท้งั ใน ดา นที่เปน บุคคล ทเ่ี ปน สวนในสงั คม คาํ วา “ผูอ นื่ ” หมายถึง ๑) หมมู นษุ ย ที่ยกเอาตนเองเปน สว นพเิ ศษแยกออกไปตางหาก คอื นอกจากตัวเอง ไดแกสงั คมท่ตี นเขา ไปอยูร วมดวย ๒) ระบบนเิ วศ รวมถึงสิ่งแวดลอม หรอื โลกทง้ั หมด ความหมายในหัวขอน้ี ชัดเจนในตัวพอสมควรแลว จงึ ไมต อ งบรรยายมาก ควรพดู แตเ พยี งวา มนษุ ยใ นฐานะเปน สว นรว มอยใู นระบบสังคมและส่งิ แวดลอมทั้งหมด จะอยูดมี สี ขุ ได นอกจากไมเ บียดเบียนตนแลว ก็ตอ งเปน สวนรว มทีด่ ที ี่เกื้อกลู ไมกอ ความเสียหายเสื่อมโทรมแกระบบที่ตนอาศยั อยดู ว ยนน้ั เพราะความดาํ รงอยูดวยดี

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๖๗หรอื ทกุ ขภ ัยความเดือดรอนทเ่ี กิดแกระบบนนั้ ยอมมผี ลถงึ ตนเอง กอนนไ้ี มนาน (ชว งกอน ค.ศ. ๑๙๗๐ หรือ พ.ศ. ๒๕๑๓)เศรษฐศาสตรเ รียกไดว า ไมเอาใจใสเรื่องสิ่งแวดลอมเลย เพราะถือวาอยูน อกขอบเขตความเกย่ี วขอ งของตน แตห ลังจากนั้นไมน าน เศรษฐศาสตรก ็ถกู ความจาํ เปนบังคบัใหเ ดินไปในทางตรงขาม คอื หันมาใหความสําคญั อยา งมากแกความอยูดีของส่ิงแวดลอม และการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืน เพราะกิจกรรมเศรษฐกิจในยคุ ทผ่ี านมา ไดเปนปจจัยตัวเอกทีก่ อ ใหเกิดปญหาส่งิแวดลอ มทงั้ หมด ทีโ่ ลก (ทงั้ โลกมนุษยแ ละโลกธรรมชาต)ิ ไดประสบ แตเศรษฐศาสตรไ มควรจะรอใหถูกความจําเปน บังคบั จึงคอยสนใจปญหาตา งๆ เพราะในความเปนจริง ปญหาตางๆ โยงถึงกันหมด และเศรษฐกิจมีบทบาทสําคญั ในเรอ่ื งทีเ่ ศรษฐศาสตรยงัอาจจะไมสนใจดว ย เชน บทบาทของเศรษฐกจิ ตอ ความอยูดีของชวี ติ ทไ่ี มใชแคม กี ินมีใช หรือ well-being ทีไ่ มใ ชแ ค wealth หรอื แคmaterial well-being ในความหมายที่อาจจะมองแคบๆ ดงั เชน ปญ หาสง่ิ แวดลอ มนน้ั กเ็ ปน ตวั อยา งทใ่ี หส ตขิ นึ้ มาวาเศรษฐศาสตรจะตองโยงและเชื่อมตอตัวเองไปเก้ือหนุนระบบการดาํ รงอยดู ว ยดขี องมนษุ ยท ง้ั หมด ทงั้ ดา นชวี ติ สงั คม และสง่ิ แวดลอ ม กอ นจะผานหัวขอน้ีไป มีจดุ ท่คี วรยกขึ้นมาพูดไวเปน ท่ีสังเกตเล็กนอยวา คาํ วา “ไมเ บียดเบียนตน” นน้ั มใิ ชหมายความเพยี งแควา ไมปลอยตวั ใหอ ดอยากขาดแคลน แตม ีปจ จัย ๔ และเคร่อื งใชสอยอํานวยความสะดวกตางๆ ใหเ พียงพออยูผาสกุ เทาน้ัน แตห มายรวมถึงการละเวนพฤติกรรมทางเศรษฐกิจที่เปนโทษตอชีวิตของตนเอง แมโดยไมเ จตนา และรไู มเทาถึงการณ เชน การไมรูจกั บริโภค

๖๘ เศรษฐศาสตรแนวพทุ ธดวยปญ ญา บริโภคไมร ูจกั ประมาณ หรือไมร พู อดดี ว ย ดังที่ยกตัวอยา งบอ ยๆ บางคนอาจจะใชจา ยเงินมากมายบริโภคอาหารท่หี รูหราฟมุ เฟอ ยสนองความตอ งการของตัวตนในทางเอรด็ อรอย หรือคานยิ มโกแสดงฐานะในสังคม แตกินอาหารนั้นแลวไมสนองความตองการของชวี ติ กลับเปนโทษ บั่นทอนสุขภาพ ทํารา ยรา งกายของตนเอง ในระยะสั้นบา ง ระยะยาวบา ง อยางนีก้ เ็ รยี กวาเบยี ดเบียนตน การไมเ บียดเบียนตนในแงน ี้ หมายถึง การบรโิ ภคดวยปญญาที่สนองความตอ งการของชีวิต ใหม สี ขุ ภาพดเี ปน ตน ดงั เคยกลาวแลว การเบยี ดเบยี นตนอีกอยางหนง่ึ สาํ คัญมาก เพราะสัมพนั ธกบั ธรรมชาตขิ องมนุษย และการทีจ่ ะมีชวี ติ ที่ดี ซ่งึ เปนจดุ หมายท่แี ทของกิจกรรมเศรษฐกิจ กลา วคือ มนุษยน้เี ปน สตั วพเิ ศษทีฝ่ ก ศึกษาได และจะมชี ีวิตทดี่ ีงาม เปนสัตวป ระเสรฐิ ได ดว ยการฝก ศกึ ษานน้ั มนษุ ยจ ะมีชวี ิตที่ดงี ามยง่ิ ขึ้นๆ ดวยการฝกศกึ ษาใหม พี ฤติกรรม กาย วาจา ที่ประณตี งดงาม ชํานิชาํ นาญ ทาํ การไดผ ลดียงิ่ ข้ึนจติ ใจมีคุณธรรม มสี มรรถภาพเขมแขง็ มน่ั คง มีความสุขสดชืน่ มากข้นึ มปี ญญารเู ขา ใจความจรงิ ของส่ิงตางๆ สามารถสรางสรรคศิลป-วัฒนธรรมและผลงานรังสรรคท างปญญา ตลอดจนนาํ ชีวิตจติ ใจเขาถงึ สนั ติสุขและอสิ รภาพท่แี ทจ ริงได การบริโภคปจจัย ๔ เปน ตน เปน ปจจยั เกอื้ หนนุ ใหม นุษยสามารถพฒั นาศกั ยภาพที่กลา วนี้ แตถ า มนษุ ยปลอ ยตวั ใหขาดแคลนสิง่ บรโิ ภคนีก้ ด็ ี บรโิ ภคดว ยโมหะ เกิดความลมุ หลงมัวเมา จมอยกู บั การเสพบรโิ ภคหา

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๖๙ความสุขทางอามสิ ตดั โอกาสของตนเองจากการฝก ศกึ ษาพฒั นาศักยภาพนัน้ กช็ ่อื วา เปนการเบียดเบยี นตน ในยคุ ปจจบุ นั น้ี สังคมมนษุ ยบ างสว นมวี ัตถเุ สพบรโิ ภคนบัวาพรง่ั พรอ ม แตแทนที่จะใชส งิ่ เหลานเ้ี ปนโอกาสในการทจ่ี ะพัฒนาศักยภาพของตนใหช ีวติ เขาถึงสิง่ ดงี ามสขุ ประเสรฐิ สงู ข้นึ ไป มนุษยจํานวนมากกลบั หลงระเริงมวั เมา จมอยูก บั การเสพบรโิ ภคอยางฟุงเฟอฟุมเฟอ ย ตกอยใู นความประมาท ทิ้งศกั ยภาพแหง ชวี ิตของตนใหส ญู ส้ินไปเปลาอยา งนา เสยี ดาย จึงจะตองใหม นุษยด ําเนินชีวิตอยูบนฐานของเศรษฐกจิ ที่นอกจากไมเบยี ดเบียนผูอน่ื แลว ก็ไมเ บียดเบยี นตนเองในความหมายที่กลา วมานีด้ วย๓. เศรษฐกิจเปน ปจ จยั การสรางความเจริญสมัยใหมไดเนนความขยายตัวเติบโตทางเศรษฐกิจ คือ มุง ความมั่งคง่ั พรั่งพรอมทางวตั ถหุ รือส่ิงเสพบริโภค ตลอดมา จนกระทั่งถึงชวงระยะ พ.ศ. ๒๕๓๐ จึงไดยอมรับกันอยา งกวา งขวางชดั เจนและเปนทางการท่ัวโลก โดยประกาศขององคการสหประชาชาติ วา การพฒั นาทไี่ ดท าํ กนั มานนั้ เปน การพฒั นาทไี่ มย ง่ั ยนื เปนท่ยี อมรบั กันดวยวา การพัฒนาท่ไี มย ั่งยืนน้ันมสี าเหตุหลกั คือการพัฒนาเศรษฐกิจทผี่ ิดพลาด โดยไมค าํ นงึ ถงึ ผลกระทบตอ ส่ิงแวดลอม และเปนการพัฒนาอยางไมสมดุล มไิ ดบ รู ณาการเขากับการพฒั นาคน

๗๐ เศรษฐศาสตรแนวพุทธ อยา งไรก็ตาม ทงั้ ท่ียอมรบั ความผดิ พลาดแลว แตการแกไ ขที่จริงจงั ตามทีย่ อมรับน้นั ก็ยงั ไมมี การพฒั นาท่ีเนน ความม่ังคั่งพรง่ัพรอมทางเศรษฐกิจ อยางขาดบูรณาการ โดยไมส มดุล กย็ ังดาํ เนินตอ มา การพัฒนาทยี่ ่ังยืน และการพัฒนาทสี่ มดลุ มีบรู ณาการ ยังเปนเพียงคาํ พูดสาํ หรับไวอ างองิ หรอื อวดอา งกันตอไป สาเหตุทที่ ําใหยงั แกป ญหาไมไ ดน ั้น อาจพูดไดวา เพราะหลักการทจี่ ะแกไ ขยังไมชดั เจน และไมมคี วามม่นั ใจในทางออก แตก ็ยงั ไมใ ชตวั เหตทุ ่ีแท สาเหตใุ หญท่ีแทจ ริงก็คือ การแกไขปญหาน้ัน ขัดตอสภาพจิตใจ หรือฝนความปรารถนาของคน การพฒั นาเศรษฐกิจในยคุ ท่ผี านมา ไดส รา งความเคยชินทางจติ ใจหรอื จิตนิสัยขึ้นมา ใหคนมองความม่งั คง่ั พร่งั พรอมทางวตั ถุ หรอื ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ น้นั วา เปน จุดหมายของชีวติ และของสงั คม และฝากความหวังในความสขุ ไวก บั การมีส่งิ เสพบริโภคบํารุงบาํ เรอใหม ากทีส่ ดุ พูดงายๆ วา แนวคิดความเชือ่ กระแสหลักของคนยุคนี้ คอืการมองเศรษฐกจิ หรือความพร่ังพรอ มทางวัตถเุ ปน จดุ หมาย เราตองยอมรับวา เรอ่ื งเศรษฐกจิ หรอื วตั ถุเสพบรโิ ภคนั้นมีความสาํ คัญและจําเปนทจ่ี ะทาํ ใหมนุษยมีชีวิตอยไู ด แตไมใ ชเทา นน้ัเศรษฐกิจหรอื การมีวัตถุยงั มคี วามสาํ คญั เหนือข้ึนไปกวานั้นอกี ถาเศรษฐกจิ ขัดขอ ง เร่ิมแตขาดแคลนปจจัย ๔ มนษุ ยจ ะไมสามารถพัฒนาและทําการสรางสรรคทางจิตใจและทางปญญาที่สูงขึ้นไป ซงึ่ เปน สาระทแ่ี ทจ รงิ ของวฒั นธรรมและอารยธรรม และเปนคุณคา ท่ีแทจริงของความเปนมนษุ ย

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๗๑ ตรงนี้หมายความวา เศรษฐกิจหรือความมีวตั ถุเสพบริโภคพรง่ั พรอ มนนั้ มใิ ชเ ปน จดุ หมายของมนษุ ย แตเ ปน ปจ จยั ทง้ั ในแงท จ่ี ะใหม นษุ ยม ชี วี ติ อยไู ด และทจี่ ะใหส ามารถสรา งสรรคแ ละเขา ถงึ สง่ิ ดีงามประเสรฐิ ทสี่ งู ข้นึ ไปเทาที่มนุษยมีศกั ยภาพซ่ึงจะพฒั นาขน้ึ ไปได ท้ังนี้เหมือนในเรื่องที่พระพุทธเจาทรงใหจัดอาหารใหคนเลยี้ งโคผหู วิ รับประทานใหกายอ่มิ กอ น เพ่อื ใหเขามีกําลงั พรอมท่ีจะฟงธรรม และกา วสคู วามเจริญงอกงามทางจติ ปญญาสงู ขึ้นไป ถา มนุษยม องเศรษฐกิจเปนจุดหมาย เขาก็จะฝากความหวงัและความสขุ ไวกับวตั ถุเสพบรโิ ภค พรอ มท้งั สาละวนวุน วายกับการแสวงหาวัตถุ ทาํ ชวี ติ และสงั คมใหจมอยูก ับความลมุ หลงหมกมุนในสง่ิ เสพบรโิ ภคเหลาน้ัน และทวีการเบียดเบียนในโลก กลายเปน วาเงินสะพัดเพ่ือใหค วามชว่ั สะพรงั่ อยา งทพ่ี ดู แลว ในหวั ขอ กอ นวา นาเสยี ดายที่คนเหลา น้นั เอาชวี ติ ไปตดิ จมอยูเพยี งแคนนั้ ไมไดพ ฒั นาศักยภาพท่ีเขามอี ยูใหก าวขึ้นสคู ุณคา ดีงามประเสรฐิ ทสี่ ูงขึ้นไป ปลอ ยศกั ยภาพทต่ี นมีอยูใหสูญไปเสียเปลา กลายเปน ความเจรญิ ท่ีไรคณุ ภาพ ภาวะอยางนี้ กเ็ หมือนกรณพี ระเจามนั ธาตุ ท่วี า บุคคลโลภคนเดยี วมีอายุยืนยาวออกไป วตั ถเุ สพบริโภคมากเทา ไรกไ็ มสามารถสนองความตองการใหเ พียงพอ (สว นในกรณีของมลั ธัส เม่ือจํานวนประชากรเพิม่ มากข้ึนไปวตั ถเุ สพบรโิ ภคกเ็ พม่ิ ไมท นั ทจ่ี ะสนองความตอ งการใหเ พยี งพอ) ถาเศรษฐศาสตรจะมีบทบาทชวยสรางสรรคอารยธรรมมนษุ ย กจ็ ะตอ งมองเศรษฐกิจหรือความเจริญทางวัตถเุ ปน ปจ จยั ท่ีจะเก้ือหนุนใหมนษุ ยพรอมหรอื มโี อกาสดียง่ิ ข้ึนๆ ในการทจ่ี ะพัฒนา

๗๒ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธศกั ยภาพของตน ใหสามารถทําการสรางสรรคและบรรลถุ งึ ความเจริญงอกงามทางจิตใจและทางปญญาท่สี งู ขน้ึ ไป อันสมกบั คณุ คาแหงความเปน มนษุ ยข องตน และทําใหวัฒนธรรม-อารยธรรมงอกงามประณตี ยิ่งขึน้ เศรษฐศาสตรอาจจะพูดตัดบทตามแบบของวิชาการในยุคแยกสว นชํานาญพิเศษวา การทาํ อยางน้ันเกนิ หรืออยนู อกขอบเขตของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรเกี่ยวของเพียงแคพยายามทําใหมนษุ ยม ีวัตถุเสพบรโิ ภคสนองความตองการทางเศรษฐกิจเทานั้น แตก ารตัดบทแยกตวั เชน นน้ั เปน ไปไมได เพราะกจิ กรรมทางเศรษฐกิจทุกอยางจะเปนอยางไร ยอมไมพ น อิทธพิ ลของชวี ทัศนและโลกทัศนใ นตัวคน และการแยกตวั เชนนน้ั ก็พน สมัยไปแลว ดงั ท่ีเศรษฐศาสตรไดยอมรับเอาเรื่องสิ่งแวดลอมเขามาอยูในขอบเขตของตนดวย เมื่อยอมรับความสําคัญของระบบนิเวศทางฝายธรรมชาติภายนอกแลว เศรษฐศาสตรก็หนีไมพ นท่ีจะตองสนใจเรอ่ื งของชวี ติตอไป และจะตอ งสัมพนั ธกับแดนสวนอน่ื ของสงั คมศาสตรและมนุษยศาสตรดวย การบริโภคเปนจุดหมายปลายทางของกระบวนกิจกรรมทางเศรษฐกิจแลว กม็ าเปน จุดเร่ิมของปญหาในความสมั พันธกับธรรมชาติอกี ฉันใด การบริโภคทเ่ี ปน จุดจบของการสนองความตอ งการใหเกิดความพอใจแกบุคคลแลว กม็ าเปนจดุ เริ่มของการท่ชี วี ิตจะพัฒนาสูความงอกงามและการสรางสรรคตางๆ ฉันน้ัน เมอ่ื ประมาณ ๖๐ ปก อ นโนน มนี กั เศรษฐศาสตรไ ทยทา นหนงึ่เขียนไวใ นหนังสอื ของทานตอนหนึง่ มใี จความวา เมือ่ พจิ ารณาในแง

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๗๓เศรษฐศาสตร พระพทุ ธรปู องคห นง่ึ กบั ปยุ หนง่ึ เขง ก(็ มคี า )ไมต า งกนั ขอ ความน้ไี มไดย กมาพดู เพอ่ื วากลา วกนั แตใหร ูวา นนั่ คือทัศนะในยุคที่แนวคิดแยกสวนชํานาญพิเศษทางวิชาการกําลังเฟองเต็มท่ี และเปนตัวอยางคาํ กลาวเพือ่ แสดงใหเหน็ วา เศรษฐศาสตรเปน วิทยาศาสตร จึงเปน ศาสตรที่ปลอดคณุ คา คอื value-free ไมต องพูดถงึ แงทีว่ าในคาํ พดู นัน้ เอง มีเรอ่ื งของคณุ คาแฝงอยดู วยหรอื ไม แตเวลานีต้ องพูดเลยไปกวา นนั้ แลว วา ยคุ ของวทิ ยา-ศาสตรตามแนวคิดแยกสวนและวิทยาศาสตรที่มองธรรมชาติเฉพาะดานวัตถุ กาํ ลังจะหมดส้ินหรอื พน สมัย วชิ าการกา วหนา มาถึงยคุ ที่มนษุ ยส าํ นกึ ในการท่ีจะโยงความสมั พนั ธม องถงึ บูรณาการ ในการที่เศรษฐศาสตรจะทําหนาที่ไดผลตามวัตถุประสงคของเศรษฐศาสตรเ องก็ดี โดยความสอดคลอ งของโอกาสแหงยุคสมัยก็ดี สงิ่ สําคญั ทีจ่ ะทาํ เวลานี้ คงมใิ ชการพยายามแสดงตนวาปลอดคณุ คา/value-free แต ภารกิจสาํ คัญทนี่ า จะทาํ ก็คอื การแยกและโยงใหเหน็ วา สาระสวนทีป่ ลอดคุณคา จะไปโยงประสานกับสว นทเ่ี ปน เร่อื งของคุณคา ไดอ ยา งไร ทีว่ า นีม้ ใิ ชห มายความวา เศรษฐศาสตรจะตอ งไปศึกษาทกุเรื่องท่วั ไปหมดจนพรา เศรษฐศาสตรก็ยงั คงดาํ รงความเปนศาสตรเฉพาะสาขาหรอื ชํานาญพิเศษเฉพาะทางอยูนน่ั เอง แตหมายถึงการท่ีเศรษฐศาสตรนั้นจะตองจับจุดประสานสัมพันธสงตอ เปน ตนใหถ กู ตอง เช่อื มโยงกบั แดนดา นอืน่ แหงปญ ญาของมนุษย โดยมีจดุ หมายเพื่อรวมกนั หนุนนาํ ใหม นุษยม ชี ีวติ ทด่ี ีงามอยใู นสังคมท่ีสันติสขุ และในโลกท่ีร่นื รมยนา อยูอาศัย ถามนุษยมีวัตถุพร่ังพรอมดวยภาวะฟูข้ึนของเศรษฐกิจแลว

๗๔ เศรษฐศาสตรแนวพทุ ธลมุ หลงมวั เมาจมอยแู คน ้นั ปลอยศกั ยภาพใหส ญู ไปเปลา มชี วี ิตและสังคมท่ตี าํ่ ทรามลงไป เปน ความเจริญทไ่ี รคณุ ภาพ ซึง่ คนไดวตั ถุเพอ่ื สูญเสียความเปน มนษุ ย เศรษฐศาสตรก ็จะไมพ น ถูกเรียกอกี วาเปน dismal science ในความหมายซึง่ ลึกกวาที่ฝรั่งเคยเรียกแตเดมิ แตถาเศรษฐศาสตรใหมนุษยจัดการกับเศรษฐกิจอยางเปนปจ จยั ตามนัยท่ีกลาวมา เศรษฐศาสตรก็ - จะไมต ดิ จมอยกู บั การพยายามทาํ ให เศรษฐกิจพรง่ั พรอ ม สาํ หรบั สนองการบาํ รงุ บาํ เรอตนของบางคนบางกลมุ แต - จะมงุ ทาํ ให เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทจี่ ะใหท กุ คนพรอ มสาํ หรบั การกาวไปสรา งสรรคช ีวติ สังคมและโลกทีด่ ีงามผาสุก เศรษฐกิจทว่ี า นี้ ไมใ ชเสรนี ิยมที่จมอยกู บั ความลุม หลงมวัเมาเอาแตต วั จะเสพ และไมใชส ังคมนิยมเสมอภาคทฝี่ น ใจจํายอมอยูกบั ภาวะเขมงวดกดดันอยา งเทา เทียมกนั แตเปน ความพอเพียงท่ีจะสนองความตองการของคนหลากหลาย ทก่ี าํ ลงั พฒั นาตนทา มกลางความพร่งั พรอ มแหงองคป ระกอบทุกสว นของอารยธรรม ถา เศรษฐศาสตรมองเศรษฐกจิ เปน ปจจยั อยา งน้ี เศรษฐศาสตรก็จะมีบทบาทสําคญั อยา งย่งิ ในการสรา งสรรคอารยธรรมของมนษุ ย สมตามจุดหมายทค่ี วรจะเปน และท้งั จะสมกบั ช่ือทเี่ รียกในภาษาไทยวา เศรษฐศาสตร ซ่ึงแปลวา “ศาสตรอ นั ประเสริฐ”๔. สอดคลองกบั ธรรมชาติของมนุษย สภาพจิตหรือแรงจูงใจอยางหน่ึงที่เก่ียวของอยางมากกับเรอ่ื งเศรษฐกจิ ก็คือความอยากได ทีเ่ รยี กวา ความโลภ (greed)

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๗๕ นกั เศรษฐศาสตรบางทานถือวา ความโลภเปนธรรมชาติของมนุษย ดังนัน้ จงึ ไมเปนความเสยี หายอยา งใดท่จี ะใหคนทาํ กิจกรรมเศรษฐกิจดวยความโลภ ยิ่งกวา นัน้ บางทา นก็เห็นวา ควรสนับสนนุ ความโลภ เพราะจะเปน เครอื่ งกระตุนเราใหคนขยนั ขนั แข็ง มกี ารแขงขนั อยา งแรงเขมทาํ ใหกจิ กรรมเศรษฐกิจดาํ เนนิ ไปอยางมีพลงั เชน เพ่มิ ผลผลิตไดมาก เปนตน ทว่ี า ความโลภเปน ธรรมชาติของมนษุ ยนน้ั ก็ถูกตอง แตบ กพรอ ง คอื ขาดการจาํ แนกแยกแยะ และเปน การมองดา นเดยี ว เปนความเขาใจในธรรมชาตขิ องมนุษยท ไ่ี มเพยี งพอ เปน ไดเพยี งการทกึ ทกั ในทางการพูดและการคิดเหน็ โดยมไิ ดมีการศกึ ษาอยา งแทจริง ซึ่งเปน จุดออนสําคัญอยา งหนงึ่ ท่ที ําใหเศรษฐศาสตรยากท่ีจะแกปญ หาของมนษุ ยไ ด ขอสังเกตบางอยางเกี่ยวกับความบกพรองของคํากลาววา“ความโลภเปน ธรรมชาติของมนุษย” นั้น คือ ก) ความโลภเปน ธรรมชาติของมนษุ ยก็จรงิ แตเ ปนเพยี งธรรมชาตอิ ยางหนง่ึ ของมนุษยนัน้ มนุษยย งั มีคุณสมบัติอยางอนื่ อกีมาก รวมท้ังคุณสมบตั ทิ ่ีตรงขามกบั ความโลภนั้น เชน ความมีเมตตากรุณา ความเอือ้ เฟอ เผ่อื แผ ตลอดจนเสียสละ ซึง่ ก็เปน ธรรมชาติของมนุษยด ว ยเชนกนั ข) บางคนมองความโลภท่ีวาเปนธรรมชาติของมนุษยน้ันเหมือนอยางท่ีเห็นวาความโลภเปนธรรมชาติของสัตวท้ังหลายอื่นท่วั ๆ ไป เชน ชา ง มา วัว ควาย สนุ ขั หนู หมู แมว เปนตน แตค วาม

๗๖ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธจริงหาเหมือนกันไม ความอยากไดข องสัตวอ น่ื (ดริ ัจฉาน) เหลา นั้น เปน ไปตามสัญชาตญาณ เมือ่ ไดส นองความตองการในการกนิ อยู สบื พันธุ ขั้นพ้ืนฐานแลว กจ็ บ แตค วามโลภของมนษุ ย มกี ารปรงุ แตง ดว ยศกั ยภาพในการคดิทําใหขยายขอบเขต ทั้งดา นปริมาณ และขดี ระดบั เชน ทําใหเกดิความรนุ แรงอยางไมจ าํ กัด ดงั ท่คี วามโลภของคนคนเดียว อาจเปนเหตุใหฆาคนอนื่ เปนจาํ นวนลา น อาจทําใหเกดิ การทาํ ลายลา ง กอความพนิ าศแกเ พ่ือนมนษุ ย แกส ังคม และแกธรรมชาติ หรอื โลกน้ีอยา งคาํ นวณนับมไิ ด ยงิ่ กวาน้ัน ในการทจี่ ะสนองความโลภ มนุษยอาจใชความพลกิ แพลงยกั เยอ้ื งดว ยวิธกี ารตา งๆ ในทางทุจรติ ไดซับซอ นพิสดารอยา งท่ีไมม ใี นสัตวอ ่ืนทั้งหลาย ความโลภถา จดั การไมถ ูกตอง จงึ กอปญ หาใหญยง่ิ ค) นักเศรษฐศาสตรบางทา นถึงกบั เขา ใจวา ความโลภเปน ส่ิงที่ดี โดยเขาใจวาทาํ ใหข ยนั ขันแขง็ อยางที่กลาวแลว เปน ตน บางทีพาลไปนกึ วาวงการเศรษฐศาสตรเหน็ อยา งนน้ั แตน กั เศรษฐศาสตรใหญๆ ที่สําคญั แมแ ตใ นกระแสหลักเองกร็ วู า ความโลภเปนความชั่ว ดงั เชน เคนส (John Maynard Keynes) มองวา ความโลภเปน ความชัว่ อยางหนงึ่ เพยี งแตมนุษยยงั ตอ งอาศยั ใชประโยชนจ ากมันไปกอนอกี สักระยะหนึง่ (“อยา งนอย อีก ๑๐๐ ป”) โดยเขาเขาใจวา ความโลภ อยากไดเ งนิ ทองนี้ จะตองมตี อไปกอน จนกวา

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๗๗เศรษฐกจิ จะเติบโต สนองความตองการของมนุษยไ ดเ พยี งพอ และทาํ ใหมีศกั ยภาพทจี่ ะกาํ จดั ความยากไรใหหมดไป[\"For at least another hundred years we must pretendto ourselves and to every one that fair is foul and foul is fair;for foul is useful and fair is not. Avarice and usury andprecaution must be our gods for a little longer still.\" -Persuasion, ch. 5, “The Future” (1931)] Essays in(หลายคนคงบอกวา สาํ หรบั เศรษฐกจิ แบบที่เปนอยู ถา จะรออยางเคนสวา น้ี ใหเวลาอีก ๕๐๐ ป หรอื ใหเ ศรษฐกจิ โตอกี ๕๐๐เทา กไ็ มม ที างขจดั ความยากไรไ ดส าํ เร็จ) แตท่ีสาํ คัญท่สี ุดคอื ๒ ขอ ตอ ไป ไดแ ก ง) นักเศรษฐศาสตรเหลา น้นั ไมเ ขาใจธรรมชาตขิ องความโลภ ไมร ูจักความหมายของมันจรงิ มองเหน็ คลุมเครอื และพรามวัเร่ิมแตไ มรูวา ความตองการ ที่เรียกวาความอยาก มคี วามแตกตา งกัน แยกในระดบั พน้ื ฐานกม็ ี ๒ ประเภท ซ่งึ จะเห็นไดจ ากตัวอยา ง ” เด็กชาย ก. กวาดเช็ดถบู าน เพราะอยากใหบ านสะอาด  แตเ ด็กชาย ข. กวาดเชด็ ถูบา น เพราะอยากไดข นมเปน รางวัล ” คนในวงวิชาการคนหนึ่ง เขยี นหนงั สือหรอื ทํางานวจิ ัยขึ้น มาเรอื่ งหนง่ึ เพราะอยากใหค นรูเขาใจเรื่องนัน้ จะไดชว ย กันแกปญหาหรือทําการสรางสรรคแกสังคมอยางใด อยางหน่งึ  แตค นในวงวชิ าการอีกคนหนง่ึ เขยี นหนงั สอื หรอื ทํางาน วิจัยขนึ้ มาเรอ่ื งหน่ึง เพราะอยากไดคะแนนมาเลือ่ นข้ัน

๗๘ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธ หรือไดคาตอบแทนจาํ นวนหนงึ่ ในตัวอยา ง ๒ แบบ ๒ ขอ นี้ ๑. ความอยากแบบแรก เปนความตอ งการทําใหส งิ่ ใดสง่ิหนึ่งเกดิ มขี ึน้ ซ่งึ เปนความตองการผลโดยตรงของการกระทํา ความตองการนเ้ี มือ่ เกิดขนึ้ แลว กเ็ ปนเหตใุ หเ กดิ การกระทาํโดยตรง ไดแ กค วามอยากทาํ (ในที่น้หี มายเอาการทาํ เพอ่ื ผลทีด่ ี หรือทําใหดี ทีเ่ รยี กวาการสรางสรรค = ใฝส รา งสรรค) ดวยความตองการผลของการกระทาํ นน้ั ๒. ความอยากแบบท่สี อง เปนความตองการไดสิง่ สาํ เรจ็ แลวอยา งหน่ึงมาครอบครอง หรอื เพือ่ เสพบรโิ ภค แตต นยังไมมสี ทิ ธใิ นสง่ินนั้ และมเี งอ่ื นไขวา จะตอ งทาํ อะไร (อกี อยางหน่งึ ตางหาก) จึงจะไดรบั ส่ิงทีต่ นตองการ ความตอ งการนเี้ ม่อื เกิดข้ึนแลว ไมเ ปนเหตใุ หเกิดการกระทํา(สรางสรรค) โดยตรง แตท าํ ใหห าทางดน้ิ รนขวนขวายอยา งใดอยา งหนง่ึ เพอ่ื ใหไ ดม า โดยเฉพาะถกู กาํ หนดดว ยเงอ่ื นไข ใหต อ งทาํ (งานน)้ีจึงจะได (สง่ิ น้นั ) เรยี กวา ความอยากได ซึ่งจะทาํ เพราะถูกกาํ หนดโดยเงือ่ นไข เพราะไมต องการผลของการกระทาํ นั้นโดยตรง (เชน ไมตอ งการความสะอาด) แตตองการผลตามเงอื่ นไข (เชน อยากไดขนมรางวลั ) ความอยากทเ่ี รยี กวา ความโลภ หรอื โลภะ นั้น ไดแกค วามอยากในขอ ที่ ๒ คอื ความอยากได สว นความอยากในขอ ท่ี ๑ มีช่ือเรียกตา งหากวา ฉนั ทะ แปลวา ความอยากทาํ หมายถงึ อยากทาํ ใหเ กิดผลดอี ยา งใดอยา งหน่ึง

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๗๙บางทีจึงเรยี กวาอยากสรางสรรค (รวมทั้งอยากทําใหร ูดวย)* เนือ่ งจากความโลภเปน เพียงความอยากได คนท่โี ลภน้นั เขามไิ ดอ ยากทํา และมิไดตอ งการผลของการกระทํานั้น เขาจะทําตอเมอ่ื มี เงอ่ื นไข วา “ตองทําจงึ จะได” ถา ไดโดยไมตอ งทาํ ยอ มจะตรงกบั ความตอ งการมากทส่ี ุด ดงั นั้น เม่อื ตองทํา เขาจงึ ทําดวยความจําใจหรือไมเต็มใจคือทาํ ดว ยความทกุ ข และไมเตม็ ใจทํา ทาํ ใหต องจดั ตง้ั ระบบการบงั คบั ควบคมุ ซง่ึ อาจจะซบั ซอนและฟอนเฟะ นอกจากนน้ั ถาหลีกเล่ียงไดเขาจะไมทํา แตจะหาทางไดโดยไมตองทํา จงึ เปน เหตใุ หเ กิดการทจุ รติ และการเบียดเบยี นตางๆ ในสังคมไดท กุ รปู แบบ ในเมอ่ื ความโลภ คอื ความอยากได (และความอยากทาํ ท่ีเรียกวา ฉันทะ) มบี ทบาทสําคญั มากในชีวติ ของมนษุ ย โดยเฉพาะเปน ตวั นาํ และขบั ดนั กจิ กรรมเศรษฐกจิ จงึ มคี วามสาํ คญั ตอ เศรษฐกจิอยา งมาก ถาเศรษฐศาสตรจ ะใหเ ศรษฐกจิ กอ ผลดแี กชวี ิตและสังคมมนษุ ย กจ็ ะตอ งทาํ ความรูจักและจัดการกับมันใหถูกตอ ง ซึ่งในข้นั นี้จะสัมพนั ธก บั ขอตอไปดว ย จ) แนวคิดตะวนั ตกมองธรรมชาติของมนุษยแบบนิ่ง หรือตายตวั (static) เศรษฐศาสตรป จจบุ นั ซง่ึ เจริญมาตามแนวคดิ ตะวันตกนนั้ จึงมองความโลภ และความตองการตา งๆ เปน แบบเดยี วหรอื เหมือนวา จะตอ งเปนอยางนั้นตลอดไป และมงุ แตจะสนองความตอ งการในแบบหนึ่งแบบเดียวนั้นดงิ่ ไป* ในท่นี ้ียงั ไมไดพูดถงึ ความตอ งการ คือความจําเปน ท่ีพึงตอ งมตี องได ทฝี่ รงั่ เรยี กวา need

๘๐ เศรษฐศาสตรแนวพทุ ธ แตท ี่จรงิ ธรรมชาติของมนุษยน นั้ เปลย่ี นแปลงได และตรงน้ีเปนประเด็นสาํ คัญทีส่ ุด ธรรมชาตขิ องมนุษย คอื เปนสัตวพ เิ ศษทฝี่ ก ศึกษาพฒั นาไดและการฝก ศึกษานีเ้ ปน หนา ทีข่ องทุกชวี ติ พรอ มกบั เปน ภารกจิ ของสงั คม การฝกศกึ ษา เปนหัวใจของการจัดการเก่ยี วกบั ชีวติ และสังคมมนุษยทงั้ หมด ในการท่จี ะใหม ีชีวติ ทด่ี ี และใหสังคมมสี นั ตสิ ุข เปนคณุสมบตั พิ เิ ศษทที่ าํ ใหม นษุ ยส ามารถเปน สตั วป ระเสรฐิ และมวี ฒั นธรรมมอี ารยธรรมเจรญิ งอกงามได โดยเฉพาะจดุ ทีส่ ําคญั ยงิ่ ซง่ึ เกย่ี วของกับเศรษฐศาสตรม ากคือ เร่อื งความตอ งการ รวมท้ังความอยาก ๒ แบบขา งตน ซง่ึ ปรับเปลยี่ นพัฒนาได ความตอ งการน้ี เมื่อพัฒนาปรับเปลยี่ นไป นอกจากทําใหเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซงึ่ รวมท้งั พฤติกรรมทางเศรษฐกจิ แลว กเ็ ปนปจ จัยนําการเปลยี่ นแปลงอยา งอ่นื อีกมากมาย รวมทั้งการพฒั นาความสขุ ดวย การพฒั นาคณุ สมบตั เิ ชน วานแ้ี หละ คอื การพัฒนาคุณภาพคน ซงึ่ สัมพันธสอดคลอ งไปดว ยกนั กับการพฒั นาเศรษฐกจิ ชนิดท่ีเปน ปจจยั แกกันและกนั กบั การพฒั นามนุษยในความหมายทถี่ กู ตอ ง ขอยกตวั อยางเล็กนอ ย เชน ในเร่ืองการทํางาน เม่อื เราพฒั นาความตอ งการโดยมฉี ันทะในการทํางาน หรอื เปลย่ี นจากความอยากแบบโลภะ มาเปนความอยากแบบฉนั ทะ ความหมายของงานและทา ทตี องานกเ็ ปล่ียนไป

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๘๑อยากได (โลภะ) อยากทาํ (ฉันทะ)• การทํางานเปน เงอ่ื นไข เพ่ือให • การทํางานเปนการทําใหเกิดผลท่ีไดสิ่งท่ตี อ งการ ตอ งการ• ทํางานดวยจาํ ใจทุกข รอเวลาไป • ทํางานเปนความสุขเสร็จไปในตวัหาความสุข• ทาํ งานดว ยทุกข เพ่ือใหไดเ งนิ • ทาํ งานเปนความสขุ ไดเงินมายงิ่ไปซื้อความสขุ (วิธอี อม) เพิม่ ความสุข (วธิ ีตรง)• งานเปนการตอบแทนกันใน • งานเปนการสรางสรรคและแกระบบผลประโยชน ปญหาเพอ่ื ชีวติ และสังคม เรือ่ งน้ีขอพดู ไวเ ปนหลักการท่วั ไปกอน ยงั ไมล งไปในรายละเอียด แตเ พียงเทา ทีพ่ ดู มานี้ กบ็ ง ช้ถี งึ การปฏิบตั ิในการบริหารจัดการในทางเศรษฐกจิ วา ผบู รหิ ารเศรษฐกิจ และผูปกครองบา นเมอื งเร่ิมตน ก็ตอ งมอง และยอมรับความจริงวา: ในเวลาหนงึ่ เวลาใดกต็ าม มนษุ ยใ นสังคมนี้ อยูในระดับการพฒั นาท่ีแตกตาง ไมเทา กัน มีพฤตกิ รรม มีสภาพจติ ใจ มปี ญ ญาความรูความเขาใจ มีความตอ งการ และระดบั ความสามารถในการมคี วามสุขไมเทากัน ซงึ่ ผูบริหารหรือผปู กครอง ๑. จะตอ งจัดสรรเศรษฐกิจ เอื้ออํานวยบรกิ ารและสิ่งเกื้อหนนุ ตา งๆ ใหเหมาะกับระดับการพฒั นาท่ีตา งกันของคนเหลา นน้ัโดยสนองความตองการของคนทีต่ างกันเหลานัน้ เทา ท่ไี มก อ ความเบียดเบียนเสียหาย ไมเ สียความชอบธรรม

๘๒ เศรษฐศาสตรแ นวพุทธ ๒. กบั ทง้ั พรอ มกนั นน้ั กเ็ กอ้ื หนนุ ใหท กุ คนกา วขน้ึ สกู ารพฒั นาในระดบั ทส่ี งู ขน้ึ ไป ไมใ ชถ อยหลงั หรอื ยาํ่ อยกู บั ที่ แนนอนวา ตามหลักการนี้ ผูบ ริหารผปู กครองยอ มรูเ ขา ใจดวยวา ในเวลาหน่ึงๆ นนั้ คนที่พัฒนาในระดบั สูงข้นึ ไปมีจาํ นวนนอ ยกวา แตคนทีพ่ ัฒนาในระดบั ต่าํ มจี ํานวนมากกวา ยกตัวอยาง เชนในเรอ่ื งความโลภ ผบู รหิ ารยอ มรูเขา ใจวา ในสังคมนี้มคี นอยสู วนหน่งึ ซง่ึ มีจาํ นวนนอ ย ท่เี ปน ผูมคี วามใฝร ูใฝส รางสรรค มีความอยากทําแบบฉันทะแรงเขม และมคี วามสุขอยกู บั การคนควาหาความรูแ สวงปญญา และการทํางานสรางสรรค คนกลุมน้แี มจ ะมีจาํ นวนนอ ย แตเ ปน ผสู รางความเจริญงอกงามแกช ีวติ และสงั คม เปนผพู ัฒนาอารยธรรมทีแ่ ทจริง แตค นสว นมาก ซง่ึ ยงั พฒั นาคุณภาพนอย ยังขาดฉันทะ มีความใฝรใู ฝส รา งสรรคน อย มงุ หาความสขุ จากสงิ่ เสพบรโิ ภค มีโลภะคอื ความอยากไดเปนแรงขบั นํา ซ่งึ ทําใหโ นมเอียงไปในการที่จะหลกี เลย่ี งการทาํ คืออยากไดโดยไมตองทํา เม่อื มีความรูความเขา ใจอยา งน้ี ผบู ริหารท่ฉี ลาด กจ็ ะจดั สรรตั้งวางระบบและดําเนินการจัดการสงั คม ใหสอดคลองกบั ความจรงิแหงความแตกตา งกันนี้ ใหไดผ ลดี ๑.คนจาํ นวนมากหรอื สว นมาก อยูด วยความโลภ กจ็ ะอยากได แตไ มอยากทาํ และหาทางใหไ ดโดยไมต อ งทํา ดว ยวธิ ตี างๆ เชน ก. บนบานออ นวอน รอผลดลบนั ดาล ข. หวังผลจากลาภลอยคอยโชค เชนการพนัน ค. เปน นักขอ รอรับความชว ยเหลือหยบิ ยื่นใหจากผอู ่ืน

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๘๓ ง. ทาํ การทุจรติ หาทางใหไดมาดวยการหลอกลวงฉอฉล ตลอดจนลกั ขโมย จ. ใชอ าํ นาจครอบงาํ ขม เหง เบยี ดเบยี น บบี คน้ั เอาจากผอู นื่ ฉ. ดําเนินชีวิตแบบฟุงเฟอฟุมเฟอย ลุมหลงมัวเมาในการ เสพบรโิ ภค สาํ หรบั คนจาํ นวนมากทเี่ ปน อยา งน้ี ผบู รหิ ารจะดาํ เนนิ การ โดย ก. จัดตั้งระบบเง่ือนไข เพอื่ ใหทุกคนจะไดตอ เม่อื ทํา หรอืตองทํางานจึงจะไดเ งิน ข. วางมาตรการเสริมประกอบ เชน - จัดวางระบบตรวจสอบบงั คับควบคมุ ลงโทษ ตอ ผู ละเมดิ กตกิ าในระบบเงอ่ื นไขนัน้ - ปองกันแกไ ขการทจุ ริตอยา งจรงิ จัง และมิใหม ีการ บงั คบั ขมเหงคกุ คามกัน - กําจดั แหลงอบายมุข แหลง การหลอกลวงและลอเรา ใหคนหวงั ผลไดโดยไมต องทํา - ดาํ เนนิ กลวธิ ตี า งๆ ทจี่ ะกระตนุ เรา ปลกุ คนใหไ มเ ฉอ่ื ยชา ไมตกอยูในความประมาท กลไกสาํ คญั ยงิ่ ทจี่ ะใหร ะบบเงอ่ื นไขนดี้ าํ เนนิ ไปอยา งไดผ ลคอื ๑) กฎกตกิ าหรือกฎหมายจะตองศกั ดิส์ ิทธิ์ มีการบงั คบั ใชอยา งมีประสทิ ธิภาพ ใหไ ดผ ลจริงจงั ๒) เงอ่ื นไขนนั้ จะตอ งจดั วางอยา งฉลาด เพอื่ คมุ และเบนความโลภ ใหเปนเงอื่ นไขใหเ กดิ ผลงานในทางสรางสรรคม ากทสี่ ุด อยา งชนิดทว่ี า ถา ยิ่งโลภ กย็ ิ่งตองเกิดการทํางานทเี่ ปน เปาหมายมากทส่ี ุด

๘๔ เศรษฐศาสตรแนวพทุ ธ ๒. คนทม่ี ฉี นั ทะ ทาํ งานดว ยความใฝรใู ฝสรางสรรค มคี วามสขุ ดว ยการคน ควา หาความรแู สวงปญ ญา และทาํ งานสรา งสรรคอ ยา งอทุ ศิ ตวั แมจ ะมจี าํ นวนนอ ย แตเ ปน กาํ ลงั สรา งสรรคส งั คมทแี่ ทจ รงิ ผบู ริหารจะตอ งใสใ จ สนใจ คน หาคนประเภทน้ี และสง เสรมิเก้อื หนนุ อยางจรงิ จงั ๓. ดงั ไดก ลาวแลววา ธรรมชาตขิ องมนุษยเ ปน สัตวท ่ฝี กศกึ ษาพัฒนาได และคนทั่วไปยอมมธี รรมชาตแิ หง ศกั ยภาพทงั้ ฝา ยดีและฝายรา ยปะปนกันอยูใ นตวั โดยเฉพาะความอยาก หรือความตองการ ๒ ประการน้ี ซ่ึงมผี ลตอ เศรษฐกิจอยา งมาก ถา คนมีความอยากทาํ คอื ฉนั ทะ กจ็ ะพฒั นาความรกั งานและนสิ ัยนักผลติ พรอมท้ังความเขมแขง็ และมวี นิ ยั เปน ตน แตถ า คนมคี วามอยากได คอื โลภะ กนั มาก สังคมกจ็ ะประสบปญหาจากคานิยมเสพบริโภค ความฟุงเฟอ การทจุ ริต ความออนแอ ความขาดระเบียบวินยั ความผิวเผนิ ฉาบฉวย และความเส่อื มเสยี ทุกอยา ง ถา คนขาดฉันทะ และมีโลภะกันมากแลว หากกฏหมายก็ยังไมศกั ดิสทิ ธิ์ มรี ะบบเงอ่ื นไขทข่ี าดประสิทธิภาพอีกดวย สังคมนนั้ ก็จะงอ นแงนอยา งมาก ดงั น้ัน รฐั หรอื ผบู รหิ ารจะตอ งสงเสริมเออื้ อํานวยโอกาสและจัดสรรปจ จัยเกื้อหนนุ ใหประชาชนมกี ารศกึ ษา ทจ่ี ะกระตนุ โลภะใหเปนปจจยั แกฉนั ทะบาง ใหล ดละโลภะเพิม่ กาํ ลังฉนั ทะบา ง โดยเฉพาะสง เสริมฉันทะ คือความใฝร ูใฝสรา งสรรค ใหแรงเขม และมีระบบเงอื่ นไขอนั รัดกุมศกั ดิ์สิทธิ์ ทจ่ี ะกอ เกิดผลในการพัฒนาชีวิตและสังคมอยา งแทจ รงิ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๘๕ ลักษณะคืบเคลื่อนคล่ขี ยาย (dynamic) ของธรรมชาติมนุษย ทีเ่ ปนสัตวผ ูศึกษาพัฒนาไดน ี้ ยังมีท่คี วรกลา วถึงอกี มาก ตัวอยางเชน เม่ือมนุษยย งั หยอ นการพฒั นา ความสุขของเขาขึน้ ตอการเสพบริโภควัตถุมาก แตมนษุ ยย ิง่ มพี ฒั นาการทางจติปญญาสูงขึน้ ไป ความสขุ ของเขากพ็ ่งึ พาข้นึ ตอวัตถเุ สพบรโิ ภคนอยลง เปน อสิ ระมากขนึ้ การบริหารจัดการสงั คมจะตองดําเนนิ การใหสอดคลองกบั ความเปน จรงิ ของธรรมชาตมิ นุษยท ี่เปนเชน น้ี ขอ ทค่ี วรยาํ้ อกี อยางหนึง่ คอื โดยธรรมชาติของมนุษย เมือ่ไมมที กุ ขบ บี ค้นั ภัยคกุ คาม ถา อยสู ขุ สบาย มนุษยจ ะมคี วามโนมเอยี งที่จะเฉอ่ื ยชา ลมุ หลงระเรงิ มัวเมาประมาท จึงถือเปนหนาท่ีของผูบริหารที่จะจัดวางมาตรการกระตนุ เราใหส งั คมต้ังอยใู นความไมป ระมาท ซง่ึ เปนปจ จยั ตวั เอกในการปอ งกนั ความเสือ่ ม และสรา งสรรคความเจริญ ที่กลา วมานี้ เปน เพียงตัวอยา งของการบรหิ ารจดั การในทางสังคม ใหสอดคลองกบั ความเปน จรงิ แหง ธรรมชาติของมนษุ ย๕. บรู ณาการในระบบสมั พันธของธรรมชาติ หวั ขอ นี้ มคี วามหมายกวา งขวางครอบคลมุ แมย งั มใิ ชโ อกาสที่จะอธิบายอยางจรงิ จงั ในทนี่ ้ี แตเ มอ่ื มีเรื่องเกย่ี วของหรือโยงถึง ก็ไดพดู แทรกไวใ นหัวขออน่ื ๆ ท่ีผา นมาบางแลวหลายแหง ในทนี่ จี้ ึงจะพดู ไวเ พยี งเปนแนว สาระสาํ คัญในเรือ่ งนกี้ ็คอื พุทธศาสนามองเหน็ วา ทกุ สิ่งทุกอยางดาํ รงอยูและดําเนนิ ไป ในระบบสัมพันธข องธรรมชาติ

๘๖ เศรษฐศาสตรแ นวพทุ ธ แมแตเรื่องราวดานภาวะทางจติ ใจ ที่เปนอัตวิสยั ความคิดคํานงึ และจินตนาการของคน กด็ ี เร่อื งราวและกิจกรรมทางสังคมของมนษุ ย กด็ ี ทป่ี จจุบันถือวาไมใชเ รื่องของธรรมชาติ ไมเปน เร่ืองของวทิ ยาศาสตร และแยกออกมาศกึ ษาตางหาก เปนมนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตรน นั้ พุทธศาสนากม็ องเหน็ วา เปนเรอ่ื งในขอบเขตของธรรมชาตินัน่ เอง เพียงแตมีความซับซอ นในอีกระดบั หน่ึง ขอสําคญั ก็คอื เรื่องของคนและสงั คมนน้ั ในทีส่ ดุ เราจะตอ งรูเขาใจมองเหน็ ความสมั พันธเปนเหตปุ จ จัยตอ กนั ที่โยงเปน ระบบอนัเดยี วกับธรรมชาตสิ ว นอน่ื ทั้งหมด ถา รูเ ขา ใจมองเหน็ ไมถงึ ข้ันนี้ ความรูและวิทยาการทั้งหลายของมนุษย นอกจากจะเปนศาสตรท ีแ่ ยกสว นจากกันแลว แตล ะอยางกจ็ ะบกพรอง ไมส มบูรณ เชน อยางวิทยาศาสตร ทเ่ี ปน การศกึ ษาธรรมชาตดิ า นวตั ถเุ พยี งอยา งเดยี ว โดยพรากจากองคป ระกอบดา นอื่นท่อี ิงสมั พันธกบั มนั อยู ทาํ ใหแมแตความเขา ใจทางวัตถุเองก็พลอยไมเพยี งพอและไมช ดั เจนจนบัดน้ี เมอ่ื พูดอยา งน้ี กเ็ หมอื นกับบอกใหร ูด วยวา เศรษฐศาสตรแนวพทุ ธมลี กั ษณะเปน องคร วม โดยบรู ณาการกบั สรรพวทิ ยาการและกจิ กรรมดา นอนื่ ๆ ของมนษุ ย ตรงนจ้ี ะถอื เปน คาํ สรปุ กไ็ ด จุดโยงท่ีวาเรื่องของคนและสังคมของมนุษยรวมอยูในระบบสัมพันธของธรรมชาตนิ น้ั กอ็ ยทู ่ีตวั คนน่นั เอง กลาวคือ มนษุ ยเองนี้ก็เปนธรรมชาติอยางหนึง่ หรอื สวนหน่งึ แตเ ปนธรรมชาตสิ ว นทมี่ ีคุณสมบตั ิพิเศษ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๘๗ คณุ สมบตั พิ เิ ศษของมนษุ ยน น้ั มีมาก แตท ี่สาํ คญั อยางย่งิ ก็คือ เจตจาํ นง (เจตนา) และปญ ญา (บางทีบางขั้นถงึ กับเรียกกนั วาปรชี าญาณ และแมก ระท่ังเปน โพธิญาณ แตก ็คือปญ ญานั่นแหละ)และคุณสมบตั ิพเิ ศษเหลา น้ี กเ็ ปน ธรรมชาติทง้ั นน้ั โลกมนษุ ยห รอื สงั คมท่เี ปนไปตางๆ ก็มาจากคุณสมบัติพเิ ศษเหลานขี้ องมนษุ ย ท่สี ัมพันธเปนเหตปุ จ จยั กบั องคประกอบอยา งอ่นื ในระบบสัมพันธท้ังหมดของธรรมชาติ มนุษยจะตองรูเขาใจธรรมชาติสวนท่ีเปนคุณสมบัติพิเศษเหลา นขี้ องมนษุ ย และมองทะลุปจจยาการของมันในระบบสมั พันธของธรรมชาติทง้ั หมด แลวศาสตรทัง้ หลายก็จะบรรจบประสานกันไดพรอมกบั ท่ีการแกประดาปญ หาของมนษุ ยจ งึ จะสาํ เรจ็ แทจ รงิ และการสรา งสรรคต า งๆ รวมทง้ั อารยธรรมของมนษุ ยจ งึ จะบรรลจุ ดุ หมาย เศรษฐกิจก็เปนสวนรวมหรือเปนองครวมอยางหนึ่งในระบบสมั พนั ธแ หง ปจ จยาการ อนั เปน องคร วมทว่ี า นนั้ ดงั นน้ั เศรษฐศาสตรจ ะตอ งหยง่ั เหน็ ปจ จยาการของเศรษฐกจิในระบบสมั พนั ธน ัน้ อยางนอยใน ๒ ระดับ หรอื ๒ ขอบเขต คอื ๑. ความสมั พนั ธเ ปน เหตปุ จ จยั ตอ กนั ระหวา งเศรษฐกจิ กบักจิ กรรมและความเปน ไปดา นอน่ื ๆ ในสงั คมมนษุ ย เชน คา นยิ ม วฒั น-ธรรม ศลี ธรรม สขุ ภาวะ การเมอื ง การศกึ ษา (ทผ่ี า นมา เอาใจใสก ารเมอื งมาก แตม องขา มเรอื่ งอนื่ ๆ สว นใหญ) ใหเ ศรษฐกจิ กลมกลนื เขาไปในวถิ ชี วี ติ และเกอ้ื กลู แกช วี ติ ทด่ี งี ามมคี วามสขุ ทเ่ี ปน อสิ ระมากขน้ึ

๘๘ เศรษฐศาสตรแนวพุทธ ๒. ความสัมพันธเปนเหตุปจจัยตอกันระหวางเศรษฐกิจกับองคร ว มใหญท ง้ั ๓ แหง การดาํ รงอยขู องมนษุ ย คอื ชวี ติ บคุ คล สงั คมและสงิ่ แวดลอ ม หรอื พดู อกี สาํ นวนหนง่ึ กค็ อื การทเ่ี ศรษฐกจิ จะตอ งเกอ้ื หนนุ ใหม นษุ ยม ี ชวี ติ ทเ่ี ปน สขุ ดงี าม ทา มกลางธรรมชาตแิ วดลอ มท่ีรนื่ รมย ในสงั คมทเี่ กษมศานต อนั จะเปน การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ไดแ ทจ รงิ เศรษฐศาสตรจะตองมองเห็นและสามารถชวยเก้ือหนุนใหระบบสมั พนั ธใ นระดบั ตา งๆ ประสานปจ จยั ทง้ั หลายสคู วามพอดที จ่ี ะบรู ณาการใหเ กดิ ภาวะแหง จดุ หมายทก่ี ลา วมานน้ั และนก่ี ค็ อื หลกัการสาํ คญั ของเศรษฐศาสตรท เ่ี รยี กวา เปน มชั ฌมิ า หลกั ทวั่ ไปของเศรษฐศาสตรม ชั ฌมิ า ยงั มอี กี เชน การประสานใหเ กอื้ หนนุ กนั ระหวา งความเจรญิ แบบปลายเปด ของสงั คม กบั ความเจรญิ แบบปลายปด ของชวี ติ บคุ คล แตเ หน็ วา ควรกลา วไวเ ทา นกี้ อนหมายเหต:ุ บทพิเศษนี้ เปนการเขยี นสรปุ รวบรัด จงึ ไมไดเนน การแสดงหลกั ฐานอา งอิง

Buddhist Economics by P.A. Payutto Translated by J.B. Dhammavijaya


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook