Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_สำหรับครูปฐมวัย

คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_สำหรับครูปฐมวัย

Published by Chalermkiat Deesom, 2020-05-10 02:08:16

Description: คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_สำหรับครูปฐมวัย

Search

Read the Text Version

เล่นบทบาทสมมติและเล่นละคร อาจารยภ์ วู ฤทธ์ิ ภูวภิรมย์ขวัญ การเล่นสมมติเป็นกิจกรรมที่เด็กสามารถท�ำได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องสอนหรือ สาธิตให้ดู เพราะมีความฝันและจินตนาการท่ีพร้อมจะถ่ายทอดออกมาอย่าง เบิกบานใจ เพราะการเล่นสมมติจะตอบสนองความต้องการทางอารมณ์ท่ีต้องการ ถา่ ยทอด หรอื สอื่ สารความรสู้ กึ นกึ คดิ ของเดก็ ทมี่ ตี อ่ โลกรอบตวั ไดร้ ะบายความรสู้ กึ ที่มีอยู่ในใจ ได้น�ำความรู้ความเข้าใจต่อสิ่งที่เรียนรู้มา ไม่ว่าจะเป็นประสบการณ์ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั ความรู้รอบตวั ปฏิสัมพันธ์และบทบาทของคนในครอบครวั ในสงั คม มาเล่นสมมติด้วยความรู้สึกเป็นอิสระ ปราศจากความกดดัน การเล่นสมมติจึงมี ประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ตอ่ การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในทกุ ดา้ น โดยเฉพาะดา้ นอารมณ์ สงั คม และส่งผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF ได้เป็นอย่างดี การเล่นสมมติมีหลายๆ ลกั ษณะ ไม่วา่ จะเล่นบทบาทสมมต ิ เชิดหนุ่ เล่นละครสร้างสรรค์ เลน่ ละครเวที 201

เล่นบทบาทสมมติ การเล่นบทบาทสมมติเป็นการแสดงบทบาทตามจินตนาการของเด็ก เด็กจะ สมมติและแสดงบทบาทที่ตนเองต้องการ เช่น สมมติว่าตวั เองกำ� ลงั ทำ� กบั ขา้ ว หรือ เลน่ บทเปน็ ครกู บั นกั เรยี น เปน็ กปั ตนั ขบั เครอื่ งบนิ เปน็ ตน้ การเลน่ สมมตนิ ไ้ี มม่ กี าร วางแผนไว้ล่วงหน้า แต่จะเกิดข้ึนได้อย่างฉับพลัน และเล่นต่อเน่ืองอย่างเป็น ธรรมชาติ การเล่นสมมติจะท�ำให้เด็กสนุกสนาน เพราะได้น�ำสิ่งที่อยู่ภายใน ทั้งประสบการณ์เดมิ อารมณค์ วามรูส้ ึก ความตอ้ งการ มาแสดงออกไดอ้ ยา่ งอิสระ เดก็ จะรสู้ ึกผอ่ นคลาย ไดค้ ิดและลงมือท�ำ โดยเกิดจากการรเิ ร่ิมของเด็กเอง เมือ่ เด็ก เล่นสมมติบ่อยๆ เด็กจะมีทักษะในการสวมบทบาทเป็นส่ิงท่ีตนต้องการ รู้จักท่ีจะ สลบั บทบาทกนั เล่น ซ่งึ เป็นทกั ษะก่อนทีจ่ ะน�ำไปส่กู ารเลน่ ละคร เลน่ ละครหนุ่ การเล่นละครหุ่น เป็นการเล่นสมมติผ่านตัวละครท่ีเป็นหุ่นเชิด การเล่นละคร หุ่นเรม่ิ มีเน้อื เร่ือง มีการแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั ละคร มบี ทสนทนา มเี พอื่ น รว่ มเล่นด้วย โดยผลดั กันแสดงบทบาท การท�ำเสยี งให้สมบทบาท การเล่น การคดิ เน้อื เรือ่ งอาจจะเปน็ เร่อื งทเ่ี ด็กคิดอยา่ งฉบั พลัน โดยดงึ จากประสบการณ์ ประกอบ กับจินตนาการ หรืออาจจะเป็นเร่ืองท่ีน�ำมาจากนิทานเรื่องที่เด็กคุ้นเคย การเล่น ละครหุ่นจะทำ� ใหเ้ ดก็ เร่มิ มีโครงเรือ่ ง มีเริม่ ตน้ มจี ดุ หักเห และมีตอนจบของเรื่อง เล่นละครสร้างสรรค์ ละครสรา้ งสรรคน์ นั้ เดก็ ๆ จะผกู เรอื่ ง เนอ้ื เรอ่ื งจะรอ้ ยเรยี งกนั คลา้ ยๆ กบั นทิ าน ที่เด็กเคยได้ยินได้ฟังมา มีการตกลงกันทั้งการเลือกตัวละคร การเลือกอุปกรณ์ ประกอบการเล่น ในการเล่นละครสร้างสรรค์ เด็กจะรู้สึกเป็นอิสระจะให้เน้ือเร่ือง เปน็ อยา่ งไรก็ได ้ ขน้ึ กบั ผู้เลน่ ปรับเปล่ยี นไดต้ ลอดเวลา และไม่จ�ำเป็นต้องมผี ชู้ ม เน้ือเร่ืองจะปรบั เปลยี่ นไปในแต่ละครั้งของการเลน่ 202

การเลน่ ละครเวที การเล่นละครเวทีส�ำหรับเด็กปฐมวัยน้ัน เป็นการเล่นบทบาทสมมติ ที่ผ่านการวางแผน และก�ำหนดข้ันตอนไว้ล่วงหน้า มุ่งเน้นให้เด็กได้น�ำ ความสนุกสนานจากเร่ืองเล่าจากนิทานท่ีเด็กๆ ประทับใจมาสร้างสรรค์เป็น ละคร โดยเด็กเป็นผู้คิด ตัดสินใจ และลงมือท�ำ ครูเป็นผู้ท่ีคอยสนับสนุน และเอ้ืออ�ำนวยให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้จากการลงมือท�ำให้มากที่สุด สิ่งที่เป็น ผลลัพธ์จากละครท่ีเด็กแสดงนั้น อาจจะด�ำเนินเร่ืองไม่ราบรื่นนัก เม่ือเพื่อน ลืมบทก็บอกบทกันบนเวที ฉากเด็กๆ ก็ท�ำกันเอง ทั้งฉากและชุดการแสดง ก็เกิดจากเด็กๆ ชว่ ยกนั ออกแบบ นนั่ คือ ผดู้ ตู ้องเข้าใจและไมว่ างเป้าหมายวา่ จะ พบกบั ความสมบรู ณแ์ บบจากละครเดก็ เพราะอาจจะทำ� ใหผ้ ดิ หวงั และตำ� หนเิ ดก็ ดว้ ยความไมเ่ ขา้ ใจ การเล่นละครของเด็ก ไม่ได้อยู่ที่ละครนั้นจะเล่นได้ดีหรือไม่ แต่ส�ำคัญ ทีก่ ระบวนการเรียนร้ขู องเดก็ กอ่ นท่ีจะถงึ วันแสดงจรงิ การเรยี นรู้และการพฒั นา ทักษะระหว่างทาง ประสบการณ์ในวันแสดง และบทสรุปของเด็กๆ ต่อละครที่ เดก็ ๆ แสดงรว่ มกนั จะเห็นว่าละครเป็นส่ือน�ำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อันหลากหลาย เน่ืองจากละครมีองค์ประกอบหลายอย่างที่เด็กต้องคิดและลงมือท�ำ จึงเป็น การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง การเล่นละคร หรือการสมมติบทบาทจาก เรอ่ื งราวในนิทาน ท�ำให้เด็กตอ้ งฝึกคดิ เชื่อมโยง นำ� ขอ้ มูลตา่ งๆ ที่รบั รู้กบั ความรู้ เดิมที่มี แล้วสังเคราะห์ส่งผ่านออกมาเป็นการกระท�ำ การเล่นละครหรือ การแสดงออกมา ช่วยให้เด็กเกิดความเข้าใจในสิ่งท่ีก�ำลังเรียนรู้ได้ชัดเจน แมน่ ยำ� ข้นึ การเล่นละครน�ำพาเด็กเข้าสู่การจ�ำลองสถานการณ์ท่ีคล้ายจริง ช่วงเวลา ที่สร้างสรรค์จะเปิดโอกาสให้เด็กได้ส�ำรวจตรวจสอบความคิดของตัวเอง อย่างจริงจังโดยไม่รู้ตัว บทสนทนาท่ีเด็กพูดขณะ “สวมบท” จะสะท้อนว่าเด็ก “ส่ือสาร”อย่างไร และเด็ก “คิด” อะไร เกี่ยวกับตัวละครนั้น ประเด็นส�ำคัญ 203

ของการเล่นละคร คือ เด็กสามารถท�ำได้อย่างเต็มที่ ไม่มี “แรงกดดัน” และ “ไมก่ ลวั ผิด” การเลน่ ละครยงั ชว่ ยสง่ เสรมิ วธิ กี ารเรยี นรแู้ ละทกั ษะการทำ� งานรว่ มกนั สง่ เสรมิ จินตนาการ และการแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ เรยี นรูว้ ิธีอยูร่ ่วมกนั โดยการเอาใจเขามา ใส่ใจเรา (Empathy) ส่งเสริมเทคนคิ การใชร้ ่างกายอย่างถูกตอ้ ง เพิ่มทักษะการใช้ภาษาได้อย่างลุ่มลึก สร้างความม่ันใจ กล้าแสดงออกอย่าง สร้างสรรค์ และเกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง 204

การเลน่ บทบาทสมมตแิ ละการเล่นละคร กบั การพัฒนาทกั ษะสมอง EF การเล่นสมมติ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นบทบาทสมมติ หรือเล่นละครสร้างสรรค์ มีความส�ำคัญอย่างย่ิงต่อ การพฒั นาทกั ษะสมอง EF ในหลายทักษะดว้ ยกัน ดงั นี้ โอกาสทเ่ี ดก็ ไดร้ บั จากการเลน่ บทบาทสมมตแิ ละการเลน่ ละคร ทักษะสมอง EF • เดก็ สนกุ กบั การไดใ้ ชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ ไดร้ เิ ร่มิ และได้ • รเิ ริ่ม ลงมอื ทำ� เลือก ไดต้ ัดสนิ ใจที่จะเลือกว่าจะเปน็ ตวั ละครใด หรือจะ (Initiating) แสดงบทบาทใด • มงุ่ เปา้ หมาย และเพียรพยายาม • เด็กมีเป้าหมายในการเล่นหรือแสดง และพยายาม (Goal-Directed Persistence) ไปสเู่ ปา้ หมายดว้ ยความมุ่งมั่น • จำ� เพ่ือใช้งาน • เด็กมีการเช่ือมโยงความรู้และประสบการณ์เก่า น�ำมาสู่ (Working Memory) การเลน่ ทง้ั การตง้ั เปา้ หมาย วธิ กี ารเลน่ และการเลอื กใช้ • ยดื หย่นุ ความคิด อปุ กรณป์ ระกอบการเลน่ การจดั ทำ� ฉากประกอบการแสดง (Shifting / Cognitive Flexibility) • การเล่นหรือจัดแสดงท่ีต้องร่วมเล่นกับเพื่อน เด็กจะได้ ฝึกทักษะความยืดหยุ่น ปรับเปล่ียนไปตามสถานการณ์ • วางแผนและจัดระบบดำ� เนินการ ท่ีอาจเกดิ ข้นึ และอาจไม่เปน็ ไปตามที่ตง้ั ใจไว้ เพราะเหตุ (Planning and Organizing) ทไี่ มค่ าดคดิ เกดิ ขนึ้ ไดเ้ สมอบนเวที แตก่ ารแสดงละครตอ้ ง • ควบคมุ อารมณ์ ดำ� เนนิ ตอ่ ไป (Emotional Control) • เด็กมีการวางแผนว่าจะเล่นหรือแสดงอะไร ต้อง ตระเตรยี มอะไรบ้าง • ในระหว่างการเล่นสมมติย่อมต้องเกิดอุปสรรคระหว่าง ทางท่ีอาจท�ำให้เด็กรู้สึกผิดหวัง ล้มเหลว หรือ มีความ ขัดแย้งกับเพ่ือน แต่เด็กจะพยายามอดทนอดกล้ันและ หาวิธีการท่ีจะผ่านอุปสรรคเพื่อให้การเล่นด้วยกันยังคง ด�ำเนินตอ่ ไปได้ 205

206

WHO กจิ กรรมเพอื่ สง่ เสรมิ ทกั ษะสมอง EF บนฐานพฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น อาจารย์กรองทอง บุญประคอง • จดั วางวัสดุธรรมชาติ • สำ� รวจเครือ่ งมอื และสสี นั บนพืน้ ท่ี • บรู ณาการระหวา่ งคณติ ศาสตรแ์ ละการฟงั รวมกันกบั เพอื่ น คำ� สง่ั ทม่ี ลี ำ� ดบั ขนั้ ตอน(InstructionGame) • เลน่ รถ เลน่ สี มีความสขุ กบั เพ่ือนๆ • พลงั กาย พลังใจ กบั พลงั ธรรมชาติ • การจดั ร่างกายกบั ลีลาเสน้ เชือก • ปะตดิ ปะตอ่ ความคิด • การเคล่อื นไหวไปกบั เสียงเพลง • กจิ วัตรประจ�ำวัน • ความมหศั จรรย์ของสใี นน้�ำเปลา่ • เลน่ กบั ดนิ ก้อนใหญ่ • ความมหัศจรรย์ของสใี นนำ้� เช่ือม • ปนั้ สตั ว์ประหลาดกบั การเรยี นรทู้ มี่ า • การเปลย่ี นแปลงของเงา ของอารมณ์ • เกมเมยี้ ว เมย้ี ว มา มา จะพาไปหาแม่ • วเิ คราะหภ์ าพถา่ ย เพอื่ ฝกึ การคดิ วางแผน • เกมต้นกล้า อยา่ งมีเหตผุ ล • เกมหมากขา้ ม • วเิ คราะห์ภาพถ่าย เพ่ือการเรยี นรู้ • บรู ณาการระหวา่ งศลิ ปะ เรอื่ งอารมณ์ และคณิตศาสตร์ “เส้นกบั จดุ ” • วเิ คราะห์ภาพถ่าย เพอื่ ฝึกการนกึ ถงึ ผู้อนื่ • “ความหลากหลายของพ้ืนท่ีที่คงท่ี” และรจู้ กั แบง่ ปนั (คณติ ศาสตรแ์ ละมติ สิ มั พนั ธ)์ 207

วัย 3-5 ปี จดั วางวสั ดธุ รรมชาติ วตั ถปุ ระสงค์ • เพื่อให้เด็กได้ลองคิด เลือกวัสดุ ลองท�ำ วางแผนจัดการและ แก้ปญั หาทเี่ กิดขึน้ เพ่อื ตอบสนองความคดิ และจินตนาการ • เพ่อื ใหม้ สี มาธจิ ดจอ่ กบั การทำ� งาน • เพ่อื ให้มคี วามเพลิดเพลินกบั การทำ� งาน • เพ่ือใหเ้ ห็นความคดิ ทหี่ ลากหลายและแตกต่างกันไปของเพ่ือนๆ กระบวนการ/วธิ กี าร • ครชู วนเด็กสร้างทีอ่ ยอู่ าศยั ใหก้ ับสตั ว์ • ให้เด็กๆ ไดส้ ำ� รวจสงิ่ ของทเ่ี ตรยี มไวใ้ ห้วา่ มอี ะไรบ้าง • เดก็ ๆ เลือกวสั ดอุ ุปกรณ์เพื่อนำ� มาสรา้ งสรรคต์ ามจนิ ตนาการของ ตนเองอยา่ งอิสระ • เม่ือทุกคนสร้างเสร็จ ครูชวนทุกคนเดินชมผลงาน พร้อมทั้งให้ เจา้ ของผลงานบอกเล่าใหเ้ พ่ือนๆ ฟัง สอ่ื /อุปกรณ์ • วัสดธุ รรมชาตทิ ีห่ ลากหลาย เชน่ ทอ่ นไม้ กงิ่ ไม้ กะลา กอ้ นกรวด กอ้ นหนิ • ตกุ๊ ตารูปสตั วช์ นดิ ต่างๆ 208

โอกาสท่ีเดก็ ไดร้ บั จากการท�ำกจิ กรรม ทักษะสมอง EF • ได้สร้างท่ีอยู่ให้กับสัตว์ตามความคิดและ • ม่งุ เป้าหมาย (Goal-Directed Persistence) จนิ ตนาการของแตล่ ะคน วางแผน จดั ระบบดำ� เนนิ การ (Planning and Organizing) • ได้ท�ำการส�ำรวจ เลือก และตัดสินใจ จ�ำเพื่อใชง้ าน (Working Memory) หยิบใชว้ ัสดุ • จำ� เพื่อใช้งาน (Working Memory) • ได้ลงมือจัดวางตามความคิดของตนเอง รเิ ร่มิ ลงมอื ท�ำ (Initiating) ดว้ ยตนเอง ยง้ั คิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ยืดหยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) • ไดจ้ ดั วางดงั ทต่ี ง้ั ใจเพอื่ ใหท้ นั ในกรอบเวลา • รเิ ริ่ม ลงมือท�ำ (Initiating) ที่ตกลงกันไว้ (โดยครูจะให้สัญญาณก่อน จำ� เพ่ือใช้งาน (Working Memory) หมดเวลา 5 นาท)ี ยดื หยุ่นความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) • ได้เดินชมผลงานของกันและกัน โดย จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) เจ้าของบอกเล่าผลงานให้เพือ่ นฟงั ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) • จ�ำเพือ่ ใช้งาน (Working Memory) วางแผน จดั ระบบดำ� เนนิ การ (Planning and Organizing) ยืดหยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) ยง้ั คิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) • ยืดหยุน่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ติดตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) กิจกรรมเพมิ่ เติม • ท�ำซำ�้ กิจกรรมแต่อาจเปลยี่ นวัสดุ เชน่ วสั ดุเหลอื ใช้ตา่ งๆ • การเลือกจัดวางวัสดุรูปทรงเรขาคณติ เพือ่ ให้เปน็ รูปร่างตา่ งๆ ตามจินตนาการ 209

วยั 3-5 ปี บูรณาการระหว่างคณิตศาสตร์และการฟังค�ำสั่ง ท่มี ีล�ำดบั ขนั้ ตอน (Instruction Game) 210 วัตถปุ ระสงค์ • เพอ่ื ให้เดก็ มสี มาธิในการฟงั • เพอื่ ให้ได้จดจำ� คำ� สั่งอยา่ งเป็นลำ� ดบั ขั้นตอนเพอื่ น�ำไปปฏิบตั ไิ ด้ • เพ่ือให้ได้คิดวิเคราะห์ค�ำส่ังท่ีมีลักษณะท้ังเป็นค�ำสั่งปลายเปิดและ ค�ำสง่ั ปลายปิด • เพือ่ ใหม้ ีความกล้าทจ่ี ะทำ� ตามสง่ิ ที่ตนเองคิด (วเิ คราะหต์ ามคำ� ส่งั ) • เพอื่ ใหเ้ ดก็ เขา้ ใจเรอ่ื งจำ� นวนขนาดตำ� แหนง่ และความหมายของคำ� บพุ บท • เพอื่ ใหเ้ ดก็ รสู้ กึ สนกุ กบั การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ภาษาและมติ สิ มั พนั ธ์ กระบวนการ/วธิ กี าร • ครใู หเ้ ดก็ ๆ สำ� รวจสงิ่ ของทคี่ รจู ดั เตรยี มมาวา่ มอี ะไรบา้ ง (การจดั เตรยี ม จะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ คำ� สง่ั ทจี่ ะใช้ เชน่ ถา้ มคี ำ� สง่ั วา่ “หยบิ หมตู วั ทใี่ หญท่ สี่ ดุ ” แสดงวา่ จะตอ้ งจดั เตรียมหมูท่ีมขี นาดไมน่ อ้ ยกวา่ สองขนาด หรือถ้า มคี ำ� สงั่ ใหห้ ยบิ ไข่ 5 ฟอง แสดงวา่ ครคู วรจดั เตรยี มไขใ่ นจำ� นวนทต่ี อ้ ง มากกว่า 5 ฟอง เปน็ ต้น) • ครูชวนให้เด็กเล่นเกมฟังค�ำสั่ง โดยมีค�ำส่ังทีละข้ันตอนดังน้ี (ตัวอย่างคำ� ส่ังนีเ้ หมาะสำ� หรบั เดก็ 3 – 5 ปี) 1. หยิบไข่ 5 ฟองไปวางในตะกร้า 2. หยบิ หมตู วั ใหญท่ ส่ี ุดวางขา้ งนอกตะกร้า 3. หยบิ หมตู ัวเลก็ ทสี่ ุดวางบนหลังชา้ งตวั ใหญ่ 4. หยิบฮิปโป 2 ตัววางตรงไหนก็ได้ สือ่ /อปุ กรณ์ • ไข่ 10 ฟอง พร้อมถาดเกบ็ ไข่ • ตะกรา้ เปลา่ • ตวั สัตวจ์ ำ� ลอง (ชนดิ ขนาด และจ�ำนวนมากกวา่ ท่ีมใี นค�ำสั่ง) • โจทย์ค�ำสั่ง

โอกาสท่เี ดก็ ได้รับจากการทำ� กจิ กรรม ทักษะสมอง EF • เด็กได้ส�ำรวจส่ิงต่างๆที่ครูเตรียมมาไว้ให้ • จำ� เพอ่ื ใชง้ าน (Working Memory) ก่อนท่จี ะเลน่ เกมกับครู • เด็กต้องใช้ความต้ังใจจดจ่อและจดจ�ำใน • จดจอ่ ใส่ใจ (Focus/Attention) การฟงั คำ� สง่ั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนจบ เพอ่ื ทจ่ี ะ จำ� เพ่ือใชง้ าน (Working Memory) ปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างถูกตอ้ ง ยั้งคิดไตรต่ รอง (Inhibitory Control) • เด็กได้ปฏิบัติตามโดยอาศัยทั้งความจ�ำ • จ�ำเพื่อใช้งาน (Working Memory) การตคี วาม และตดั สนิ ใจปฏบิ ตั อิ ยา่ งอสิ ระ ยืดหยนุ่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) ผา่ นคำ� ถามทงั้ ปลายปดิ และปลายเปดิ เชน่ ยงั้ คดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) “หยบิ หมตู วั ใหญท่ สี่ ดุ วางขา้ งนอกตะกรา้ ” จดจ่อ ใสใ่ จ(Focus/Attention) ข้อควรระวัง • ตอ้ งมั่นใจว่าเด็กมปี ระสบการณห์ รือเขา้ ใจในค�ำคุณศัพทห์ รือค�ำวเิ ศษณ์ตา่ งๆ ท่ใี ชเ้ ป็นคำ� สงั่ • ส�ำหรับเด็กเล็กให้เริ่มต้นจากค�ำสั่งที่ยังไม่ซับซ้อน แต่เม่ือมีประสบการณ์และมีความพร้อม มากขนึ้ กส็ ามารถเพมิ่ ความทา้ ทายได้ เช่น เริม่ ต้นจาก “หยิบหมูวางไวใ้ นตะกรา้ ” เป็น “หยบิ หมูตัวใหญ่ท่ีสุดวางไว้ในตะกร้า” หรือ “หยิบหมูตัวท่ีใหญ่ท่ีสุดวางไว้ในตะกร้าและหยิบหมู ตวั เลก็ 2 ตัววางไว้นอกตะกรา้ ” • หากเด็กยังไม่สามารถปฏิบัติได้ตามค�ำสั่ง ให้ครูพูดทวนค�ำส่ังให้ฟังอย่างชัดเจนอีกคร้ัง หรือ หากปฏิบัติไม่ตรงกับค�ำส่ัง เช่น หยิบไข่ไม่ตรงตามจ�ำนวนที่ครูบอก ให้ครูชวนเด็กนับจ�ำนวน ไข่ด้วยตัวเองอีกครั้ง เพื่อจะได้รู้สาเหตุที่แท้จริงว่าอุปสรรคคือการฟัง หรือการนับจ�ำนวนที่ ยังไม่แม่นยำ� กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ • ครูสามารถน�ำลักษณะของเกมฝึกการฟังค�ำสั่งไปใช้กับการทบทวนในเรื่องอื่นๆ เช่น เรื่อง ของสี รปู ทรง คณุ ลกั ษณะ หรอื การล�ำดบั เหตกุ ารณ์จากในนิทาน เป็นต้น • กิจกรรมที่ได้ประโยชน์เช่นเดียวกัน : เกมลมเพลมพัด เกมปลาเล็กปลาใหญ่ เกม Simon Says เป็นต้น 211

วยั 3-6 ปี พลังกาย พลังใจ กับพลงั ธรรมชาติ 212 วตั ถปุ ระสงค์ • เพอื่ ใหเ้ ดก็ ไดใ้ ชร้ า่ งกายในการปนี ปา่ ยและทรงตวั ไดอ้ ยา่ งมนั่ คงดว้ ย ตนเอง • เพอื่ ใหไ้ ดว้ างแผน จดั การ ตัดสนิ ใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองเพ่ือจะ เคลื่อนไปส่เู ปา้ หมายท่ีตวั เองก�ำหนด • เพ่ือให้ได้สัมผัส รับและสะสมประสบการณ์เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ การใชร้ า่ งกายอยา่ งเหมาะสมตามวัย • เพอ่ื ใหเ้ ด็กคน้ พบว่าตวั เองสามารถทำ� สิง่ ต่างๆ ไดด้ ว้ ยตวั เอง กระบวนการ / วิธีการ • ครสู ำ� รวจและจดั เตรยี มสถานท่ี เพอื่ ใหเ้ ดก็ ไดใ้ ชร้ า่ งกายทงั้ กลา้ มเนอ้ื เล็กและใหญ่ การทรงตัวและการบูรณาการระบบประสาทสัมผัส (Sensory Integration) โดยอสิ ระอย่างเต็มที่ และเหมาะสมกบั วัย • ครูพาเด็กๆ เดินส�ำรวจโดยรอบบริเวณเพ่ือท�ำความรู้จักกับพื้นที่ พร้อมกับบอกเงื่อนไขกติกา เพื่อให้เด็กๆ สามารถท่ีจะดูแลตนเอง ในการเล่นและใช้พ้ืนที่อย่างปลอดภัย เช่น ในเร่ืองขอบเขตพื้นท่ี ที่เด็กๆสามารถเล่นได้โดยอิสระ หรือต้องใช้ความระมัดระวัง เปน็ พิเศษ • ให้เด็กๆ เลือกเล่นหรือชมธรรมชาติได้ตามความสนใจ โดยครูเป็น ผู้สังเกตการเล่น วิธีเล่น ความคิดสร้างสรรค์ วิธีเผชิญปัญหา พัฒนาการในการใช้ร่างกายและความพร้อมทางใจ รวมถึงดูแล ในเรอื่ งความปลอดภยั • เมื่อหมดเวลาท่ีก�ำหนด ครูชวนเด็กน่ังล้อมวงคุยเป็นกลุ่มย่อยเพ่ือ บอกเลา่ ความรูส้ ึกและประสบการณจ์ ากการเลน่

สอื่ และอปุ กรณ์ • สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่เหมาะแก่การปีนปา่ ย • อปุ กรณป์ ระกอบ เช่น เชอื ก ไม้ไผ่ 213

โอกาสทเี่ ด็กไดร้ ับจากการทำ� กิจกรรม ทักษะสมอง EF • เด็กได้ส�ำรวจ ท�ำความรู้จักกับธรรมชาติที่ • จำ� เพอื่ ใช้งาน (Working Memory) หลากหลาย • เด็กได้เลือก ตัดสินใจ ออกแบบการเล่น • มงุ่ เป้าหมาย (Goal-Directed Persistence) วางแผน จัดการ ว่าจะเล่นอะไรกับใครท่ีไหน วางแผนจดั ระบบดำ� เนนิ การ (Planning and Organizing) ด้วยตนเอง จัดกลุ่ม เจรจาตกลงในการเล่น ยดื หยุน่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) รว่ มกนั เองอย่างเปน็ ธรรมชาติ ยงั้ คดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) จำ� เพ่อื ใชง้ าน (Working Memory) ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) รเิ ริ่มลงมือท�ำ (Initiating) • เด็กวางเป้าหมาย ท้าทายความสามารถของ • มุ่งเปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) ตนเอง โดยอาศัยการประเมินความสามารถ ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) ของตนเอง และประเมินติดตามผลจากการ จ�ำเพ่ือใช้งาน (Working Memory) ลองผิดลองถูกจนเข้าใจ และสามารถพัฒนา ยดื หยนุ่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) วธิ กี ารเลน่ ทเี่ หมาะกบั ตนดว้ ยตนเองได้ การวาง การยงั้ คิดไตรต่ รอง (Inhibitory Control) เป้าหมายในการเล่นของแต่ละคนจึงเป็นการ ริเริ่มลงมอื ทำ� (Initiating) วางแผนที่มีความเหมาะสมเฉพาะตนโดย จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) แทจ้ รงิ วางแผน จดั ระบบ ดำ� เนนิ การ (PlanningandOrganizing) • เด็กพูดคุยแลกเปล่ียนถ่ายทอดความรู้สึกและ • จำ� เพื่อใชง้ าน (Working Memory) ประสบการณ์หลังจากจบกิจกรรมให้กับครู ยดื หยุน่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) และเพอ่ื นๆ ฟงั ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) 214

กิจกรรมเพิ่มเตมิ • ให้เด็กได้รับประสบการณ์การใช้ร่างกายในบรรยากาศและสภาพแวดล้อม ที่เปน็ ธรรมชาติอยา่ งสม่�ำเสมอ • ใหเ้ ด็กไดเ้ ล่นเครือ่ งเลน่ สนามท่เี ดก็ จะได้ปนี ป่ายห้อยโหนอย่างสม�่ำเสมอ คำ� อธบิ ายเพม่ิ เตมิ กิจกรรม Sensory Integration (SI) คือกระบวนการทจี่ ะเพ่มิ พูนความสามารถ ของสมอง ในการจดั ระเบยี บข้อมลู จากส่ิงท่ีมากระต้นุ ระบบการรบั ความรสู้ ึกตา่ งๆ เพื่อให้เกิดการตอบสนองต่อส่ิงกระตุ้นน้ันได้อย่างเหมาะสม เกิดการเรียนรู้เพื่อให้ เป็นประโยชน์ในการด�ำเนินชีวิตได้ตามวัย ตามบทบาท และตามบริบทท่ีด�ำรงอยู่ อยา่ งเหมาะสม ระบบการรับความรสู้ กึ 3 ระบบ คอื 1. ระบบการทรงตัวหรอื การรกั ษาสมดุลของรา่ งกาย (Vestibular System) 2. ระบบการรับรู้ต�ำแหน่งและการเคลื่อนไหวผ่านกล้ามเนื้อ เอ็นและข้อต่อ (Proprioceptive System) 3. ระบบความรู้สกึ สัมผสั (Touch or Tactile System) 215

วยั 3-6 ปี ปะตดิ ปะต่อความคิด วตั ถปุ ระสงค์ • เพ่ือให้เด็กมีความมุ่งม่ันในการท�ำงานให้ส�ำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมาย ถึงแม้ต้องใช้ เวลาในการท�ำงานทตี่ อ่ เนือ่ งยาวนาน • เพอื่ ใหไ้ ดพ้ ฒั นาความแขง็ เรงของกลา้ มเนอื้ มอื ขณะทำ� งานผา่ นการคดิ สรา้ งสรรค์ • เพื่อให้เด็กได้วาดภาพและเลือกกระดาษที่มีสีสันต่างๆ มาปะติดได้อย่างอิสระ ตามความคิด • เพื่อสร้างโอกาสให้เด็กได้คิดสร้างสรรค์ ได้เลือก ได้ตัดสินใจ ได้ท�ำอย่างอิสระ ผ่านการวาดภาพ เลอื กกระดาษสี มาปะติดตามท่แี ตล่ ะคนคิด กระบวนการ / วิธกี าร • ครูชวนเด็กฉีกกระดาษสีหรือกระดาษนิตยสารเป็นชิ้นเล็กๆ และแยกจัดกลุ่ม เป็นโทนสีไว้ 216

• ครชู วนเดก็ วาดรปู บา้ นตามจนิ ตนาการ หรอื รปู อสิ ระ ตามจติ นาการของแตล่ ะคน • ใหเ้ ดก็ เลือกกระดาษสีท่ีฉีกไวม้ าปะติดตกแต่งตามความคดิ ของแตล่ ะคน • นำ� ผลงานของแต่ละคนมาวางเรยี ง เพ่ือไดช้ มผลงานของกนั และกนั สือ่ และอุปกรณ์ • กระดาษ A4 • ดนิ สอหรอื ปากกาด�ำ • เศษกระดาษสีหรอื กระดาษนติ ยสาร โอกาสทีเ่ ดก็ ไดร้ ับจากการทำ� กจิ กรรม ทกั ษะสมอง EF • เดก็ เพลดิ เพลนิ กบั การใชก้ ลา้ มเนอื้ มอื และตาท่ี • ริเริ่ม ลงมอื ท�ำ (Initiating) ประสานสมั พันธ์ในการฉกี และคดั แยกโทนสี จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) • เด็กไดว้ าดบ้านตามจินตนาการของแตล่ ะคน • ความจำ� เพือ่ ใช้งาน (Working Memory) • เด็กเลือกสีของกระดาษที่ฉีกไว้มาปะติดใน ริเรมิ่ ลงมอื ท�ำ (Initiating) ต�ำแหน่งตา่ งๆ ตามความคดิ ของแต่ละคน • ริเรม่ิ ลงมอื ท�ำ (Initiating) • เด็กได้ชมผลงานที่มีความหลากหลายของกัน ย้ังคดิ ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) และกัน ยดื หยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) จดจ่อ ใสใ่ จ (Focus/Attention) วางแผน จดั ระบบดำ� เนนิ การ (Planning and Organizing) ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) • ยืดหย่นุ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ตดิ ตามประเมนิ ตนเอง (Self - Monitoring) กิจกรรมเพิม่ เตมิ ให้เดก็ ๆ ฉีกกระดาษเป็นรูปรา่ งๆ ตามท่ตี อ้ งการและวาดภาพต่อเตมิ 217

วัย 3-6 ปี กิจวตั รประจ�ำวนั วัตถปุ ระสงค์ • เพ่ือให้เด็กได้เข้าใจและคุ้นเคยกับล�ำดับกิจวัตร รู้หน้าที่ที่เด็กต้อง รับผิดชอบ และสามารถท�ำได้ด้วยตัวเอง (รู้ว่าต้องท�ำอะไร อย่างไร เมื่อไร) กระบวนการ/วธิ ีการ • ครูจัดโอกาสให้เด็กๆ ได้ช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจ�ำวันท่ี เหมาะสมกบั วัยและประสบการณข์ องเด็ก • ครจู ดั ระบบการดำ� เนนิ กจิ วตั รประจำ� วนั ในชน้ั เรยี นใหม้ คี วามชดั เจน เป็นลำ� ดบั มคี วามสม่ำ� เสมอทง้ั เวลา พื้นท่ี วธิ ีและวถิ ปี ฏบิ ตั ิ สอื่ /อุปกรณ์ • ข้าวของ เคร่ืองใช้ หรือส่ือ อุปกรณ์ที่เด็กใช้มีความเหมาะสมทั้งใน เร่ืองของขนาด ส่วนสูง น�้ำหนัก ท่ีเอ้ือต่อการช่วยเหลือตัวเอง ของเด็ก 218

โอกาสทเ่ี ด็กไดร้ ับจากการท�ำกิจกรรม ทกั ษะสมอง EF • เด็กเคยชินกับการรับผิดชอบต่อตนเอง • จำ� เพื่อใช้งาน (Working Memory) ในสิ่งที่เหมาะสม และรู้จักการล�ำดับ มุง่ เปา้ หมาย (Goal-directed Persistence) ความคิดและการกระท�ำ รู้ว่าจะต้องท�ำ วางแผนจดั ระบบดำ� เนินการ (Planning and Organizing) อะไร อยา่ งไร เม่ือไร ท่ีไหน ริเร่มิ ลงมือท�ำ (Initiating) ย้งั คิดไตรต่ รอง (Inhibitory Control) • เด็กได้ค้นพบความสามารถของตนเองท่ี ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) เพ่มิ พนู ขึน้ ทุกวัน (ยิ่งทำ� ย่ิงช�ำนาญ) ทำ� ได้ ใสใ่ จจดจ่อ (Focus/Attention) คลอ่ งแคล่วมากข้ึน • จำ� เพือ่ ใช้งาน (Working Memory) • เด็กพบว่าสามารถท่ีจะดูแลตนเองได้ ไม่ ตดิ ตามประเมินส่ิงทีท่ �ำเพอื่ ปรับและพัฒนา ติดการพ่ึงพงิ มีความม่นั ใจในตนเอง (Self - Monitoring) ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ • เพิม่ กิจกรรมใหเ้ ด็กไดม้ สี ่วนรว่ มในการวางแผนจัดการและเลอื ก เช่น กจิ กรรมจิตอาสา 219

วยั 3-6 ปี เล่นกบั ดนิ กอ้ นใหญ่ วัตถปุ ระสงค์ • เพอื่ ใหเ้ ดก็ ได้ใช้กล้ามเน้ือมืออย่างอิสระ • เพอื่ ใหไ้ ดใ้ ชค้ วามมงุ่ มนั่ พยายามทจี่ ะดงึ ดนิ มาใชต้ ามตอ้ งการดว้ ยตวั เอง • เพ่ือให้ได้ใช้กล้ามเน้ือมือเปลี่ยนรูปร่างของดินไปตามความคิด ตามความอยากทจี่ ะลองดว้ ยตัวเอง • เพือ่ ใหไ้ ด้คน้ หาวิธีในการปน้ั ดินด้วยตวั เอง • เพ่อื ใหร้ ู้จักการแบง่ ปันดินทีต่ อ้ งใช้รว่ มกบั เพ่ือน กระบวนการ/วธิ กี าร • ครูจัดเตรียมดินก้อนใหญ่วางไว้บนโต๊ะแต่ละตัว และมีเก้าอี้วางไว้ ประมาณ 4 ตวั • ครจู ัดแบง่ กลุ่มเดก็ ประมาณ 4 คนตอ่ ดิน 1 กอ้ น (ถ้าเป็นเด็กระดับ อนุบาล 2 - 3 สามารถให้เด็กเลือกเข้ากลุ่มได้โดยอิสระ) ภายใต้ เงื่อนไขจ�ำนวนคนและเวลาที่ครูก�ำหนดโดยครูจะให้สัญญาณก่อน หมดเวลาเพอ่ื ใหเ้ ดก็ ๆ รวู้ า่ เหลอื เวลาอกี ประมาณ 5 นาทจี ะหมดเวลา • เด็กส�ำรวจ เล่น ทดลองป้ันดนิ โดยอิสระ • เม่ือหมดเวลา ให้เด็กๆ ช่วยกันเก็บดินกลับท่ีเดิมและเช็ดท�ำ ความสะอาดโต๊ะ สือ่ /อุปกรณ์ • ดินเหนียวก้อนใหญ่ 220

โอกาสท่ีเดก็ ได้รบั จากการทำ� กจิ กรรม ทักษะสมอง EF • เด็กเลือกเข้ากลุ่มด้วยตนเอง และเรียนรู้ • วางแผน จัดระบบด�ำเนนิ การ (Planning and Organizing) ทจี่ ะแบง่ ปนั ทงั้ ดนิ และพน้ื ทบ่ี นโตะ๊ รว่ มกบั ยดื หยนุ่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) เพอื่ นในกล่มุ ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) • เดก็ จะไดโ้ อกาสในการเจรจาสรา้ งขอ้ ตกลง ยง้ั คดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) หรือรจู้ กั ประนปี ระนอมกนั เอง • ย้ังคิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ยืดหยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) • เด็กแต่ละคนมีอิสระในการทดลองหรือ ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) สร้างสรรค์ผลงานตามความคิด หรืออาจ ตดิ ตามประเมนิ ตนเอง (Self - Monitoring) เป็นการต้ังเป้าหมายร่วม ใช้จินตนาการ • ม่งุ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) รว่ มกบั เพอื่ น ภายใตก้ รอบเวลาทก่ี ำ� หนด ริเรม่ิ ลงมือท�ำ (Initiating) • เดนิ ชมผลงานของกนั และกนั โดยเจา้ ของ วางแผน จัดระบบดำ� เนนิ การ (Planning and Organizing) บอกเลา่ ผลงานใหเ้ พอื่ นฟงั กอ่ นทจี่ ะชว่ ยกนั จำ� เพอ่ื ใช้งาน (Working Memory) รบั ผิดชอบในการเกบ็ ดนิ และเชด็ โตะ๊ จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) • ยืดหยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ • ให้เด็กปั้นดินโดยมีวสั ดุธรรมชาติ เช่น กงิ่ ไม้ เพือ่ นำ� มาประกอบการปัน้ • สำ� หรบั เดก็ วัย 5-6 ปี สามารถให้สรา้ งสรรค์งานดนิ ร่วมกนั ได้ 221

วยั 3-6 ปี ปน้ั สตั วป์ ระหลาดกับการเรียนรู้ทม่ี าของอารมณ์ วัตถปุ ระสงค์ • ไดเ้ รียนร้เู ร่อื งของอารมณ์ • มสี มาธจิ ดจ่อกบั การทำ� งาน • ได้ใช้กล้ามเน้ือมือเปลี่ยนแปลงรูปร่างของดินไปตามความคิด จินตนาการ • ได้ค้นหาวธิ กี ารในการปัน้ ดว้ ยตนเอง • ไดใ้ ชจ้ นิ ตนาการทมี่ คี วามเชอื่ มโยงกบั ประสบการณเ์ ดมิ ของเดก็ ๆ เอง • เด็กได้บอกเล่าในส่ิงที่คิดและทำ� กระบวนการ/วิธีการ • ครูน�ำดินเหนียวมาให้เด็กได้ลองสัมผัสและชวนให้เด็กปั้นสัตว์ ประหลาดตามจินตนาการ • เมอ่ื ปน้ั เสรจ็ ใหเ้ ดก็ เลา่ วา่ สตั วป์ ระหลาดทปี่ น้ั นนั้ ชอ่ื อะไร อายเุ ทา่ ไร มีนิสัยอย่างไร ชอบกินอะไร อาศัยอยู่ท่ีไหน มีคุณสมบัติพิเศษ อะไรบา้ ง ส่ิงที่ทำ� ให้สตั วป์ ระหลาดตวั นี้มีความสุข ไมช่ อบ หรือเศร้า เสียใจ คืออะไร ส่ือ/อปุ กรณ์ • ดนิ เหนยี ว 222

โอกาสทเ่ี ดก็ ไดร้ บั จากการทำ� กจิ กรรม ทักษะสมอง EF • เดก็ ปน้ั ดนิ อยา่ งเพลดิ เพลนิ และอสิ ระทงั้ ใน • มุง่ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) รูปแบบของวิธีปั้นและจินตนาการ แต่มี วางแผน จดั ระบบด�ำเนินการ (Planning and Organizing) เป้าหมายให้เป็นสัตว์ประหลาดตามความ ริเริม่ ลงมือทำ� (Initiating) คิดของแต่ละคนโดยปราศจากความกังวล จ�ำเพ่อื ใช้งาน (Working Memory) ในเรือ่ งความเสมอื นจรงิ ของผลงาน จดจอ่ ใส่ใจ (Focus/Attention) • เป็นโอกาสที่เด็กได้เผชิญปัญหาท่ีอาจเกิด • ริเรมิ่ ลงมอื ทำ� (Initiating) ข้ึน เช่น ไม่เป็นดังที่คิดหรือต้ังใจ และใช้ จ�ำเพ่อื ใช้งาน (Working Memory) ความพยายามในการแกไ้ ขหรอื ปรบั เปลยี่ น ยืดหยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) จนไดผ้ ลงานทต่ี นเองพงึ พอใจในท่สี ุด ติดตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) • เดก็ ไดบ้ อกเลา่ สง่ิ ทคี่ ดิ สง่ิ ทท่ี ำ� ดว้ ยจนิ ตนาการ ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) ของแต่ละคนจากค�ำถามเกี่ยวกับสัตว์ ยั้งคิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ประหลาดในเรื่องราวของ ช่ือ อายุ นิสัย • จำ� เพอ่ื ใชง้ าน (Working Memory) ทอ่ี ยอู่ าศยั และคณุ สมบตั พิ เิ ศษ โดยอาศยั ยดื หยุ่นความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ประสบการณ์เดมิ และความน่าจะเป็น • เด็กได้ดึงประสบการณ์ด้านอารมณ์ของ • จำ� เพื่อใชง้ าน (Working Memory) ตนเองหรือจากคนใกล้ตัวท่ีมีผลต่อความ ยง้ั คดิ ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) รสู้ กึ ของตนเองมาตอบคำ� ถามทวี่ า่ สง่ิ ทที่ ำ� ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) ให้สัตว์ประหลาดตัวนี้มีความสุขคืออะไร ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) อะไรคอื สิ่งทีส่ ัตวป์ ระหลาดตัวนี้ชอบ และ สงิ่ ทที่ ำ� ใหส้ ตั วป์ ระหลาดตวั นเ้ี ศรา้ หรอื เสยี ใจ กิจกรรมเพ่มิ เติม • ปน้ั ครอบครวั สตั วป์ ระหลาด และใหเ้ ดก็ บอกเลา่ ถงึ ความสมั พนั ธข์ องครอบครวั สตั วป์ ระหลาดและลกั ษณะนสิ ยั ของแต่ละตัว เป็นตน้ • เด็กแต่ละคนปัน้ สตั วป์ ระหลาดแล้วรว่ มกันสร้างที่อย่แู ละสภาพแวดล้อมทีส่ ตั วท์ กุ ตัวจะอยูร่ ว่ มกนั 223

วยั 3-6 ปี วิเคราะห์ภาพถ่าย เพื่อฝึกการคิดวางแผนอย่างมี เหตผุ ล 224 “ถ้ามีกระเป๋าหน้าท้องเหมือนจิงโจ้ เด็กๆ จะเอาอะไรใส่ใน กระเปา๋ หนา้ ท้อง เพราะอะไร” วัตถุประสงค์ • ได้คิดวิเคราะห์และเช่ือมโยงอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความทรงจ�ำ ในประสบการณ์เดิมของแตล่ ะคนในการตอบคำ� ถาม • มีความกล้าทจี่ ะแสดงความคดิ เห็นของตัวเอง • ไดเ้ หน็ ความคดิ เหน็ ทมี่ หี ลากหลายมมุ มองของเพอื่ นๆ ทอี่ าจแตกตา่ ง จากตัวเอง • เกิดการยืดหย่นุ ทางความคิด กระบวนการ/วธิ กี าร • ครนู �ำรูปมาให้เดก็ ดู (กลุม่ เดก็ 4-8 คน) • ชวนเดก็ คดิ ดว้ ยคำ� ถามปลายเปดิ “ถา้ มกี ระเปา๋ หนา้ ทอ้ งเหมอื นจงิ โจ้ เดก็ ๆ จะเอาอะไรใส่ในกระเปา๋ หน้าท้อง เพราะอะไร” • ใหเ้ ดก็ ยกมอื ตอบทลี ะคน (ครตู ง้ั ใจฟงั คำ� ตอบของเดก็ แตล่ ะคนพรอ้ ม จดบันทึกด้วยท่าทที ่ยี อมรบั ในค�ำตอบของแตล่ ะคนทีไ่ ม่เหมือนกัน) • เวียนเด็กๆ เข้ามาทำ� กจิ กรรมจนครบทงั้ หอ้ ง • ตดิ ภาพและค�ำพูดของเดก็ ลงบนบอร์ดและอา่ นใหเ้ ด็กท้ังหอ้ งฟงั สอื่ /อุปกรณ์ • รปู ภาพ • สมุดจดบันทึกคำ� พดู ของเดก็

โอกาสทเี่ ดก็ ไดร้ ับจากการท�ำกจิ กรรม ทักษะสมอง EF • เด็กได้คิดวิเคราะห์เพื่อตอบค�ำถามปลาย • ริเรมิ่ ลงมือทำ� (Initiating) เปิด โดยน�ำประสบการณ์เดิมมาเป็นฐาน จำ� เพอื่ ใชง้ าน (Working Memory) คดิ ในการตอบ และไมก่ งั วลวา่ สงิ่ ทต่ี อบจะ ยั้งคิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ถูกต้องหรอื ไม่ (กล้าคิดกลา้ ตอบ) • เดก็ ไดค้ ดิ ไตรต่ รองถงึ ความนา่ จะเปน็ ไปได้ • ยั้งคิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) อยา่ งมเี หตผุ ลประกอบวา่ เลอื กอะไรเพอื่ อะไร วางแผน จดั ระบบดำ� เนนิ การ (Planning and Organizing) • ไดร้ บั รถู้ งึ ความคดิ ทแี่ ตกตา่ งหลากหลายของ • ยืดหยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) เพื่อนๆ เพราะถึงแม้จะเป็นการตอบจาก คำ� ถามเดยี วกนั จากภาพเดยี วกนั แตค่ ำ� ตอบ ของแตล่ ะคนอาจไมต่ รงกนั กไ็ ด้ กิจกรรมเพิ่มเตมิ • หาภาพอนื่ ๆ และคำ� ถามปลายเปดิ มาใหเ้ ดก็ ๆ ทำ� กจิ กรรมนอ้ี ยา่ งสมำ�่ เสมอ โดยการเลอื กภาพและการตงั้ คำ� ถามในแตล่ ะครง้ั อาจมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการเรยี นรแู้ ตกตา่ งกนั ไป เชน่ การเรยี นรทู้ จ่ี ะแบง่ ปนั การเรยี นรใู้ นการ คดิ แกป้ ญั หา การเรยี นรใู้ นเรอื่ งอารมณแ์ ละการจดั การกบั อารมณ์ เปน็ ตน้ ตวั อยา่ งค�ำตอบจากเด็กวยั 4 ขวบครง่ึ ถงึ 5 ขวบ กาย : “ถา้ กายมนี อ้ งจะเอานอ้ งใส่ เพราะปาปา๊ กบั หมา่ มา้ จะไดไ้ มเ่ มอ่ื ยมอื ” ปกรณ์ : “ของเลน่ เพราะจะไดเ้ อาของเลน่ มาเลน่ ตอนเยน็ ตอนเชา้ กไ็ ด้ แตไ่ มเ่ ลน่ ตอนดกึ ” กนิ ใจ : “นมกลอ่ ง เพราะเวลาหวิ จะไดก้ นิ นม” ฌวั : “สชี อลก์ เพราะเราอยากวาดรปู ทไ่ี หนกเ็ อามาใชไ้ ด”้ จนิ นี่ : “ขนม เพราะเวลาไปเทยี่ วจะไดแ้ บง่ นอ้ งกนิ ” ขา้ วโพด : “ลกู บอล เพราะเอาไวเ้ ลน่ ลกู บอลกบั เพอื่ น” มนิ น่ี : “กระตกิ นำ�้ เพราะเวลาหวิ จะไดก้ นิ นำ้� ” มวิ : “นทิ าน เพราะเวลาไปทไ่ี หน ไมร่ จู้ ะทำ� อะไร พอ่ แมก่ อ็ า่ นนทิ านใหฟ้ งั ได”้ เอเต้ : “ของเลน่ จกิ๊ ซอว์ เพราะเวลาเหงาจะไดเ้ ลน่ ” 225

วัย 3-6 ปี วิเคราะหภ์ าพถ่าย เพื่อการเรียนรู้ เร่อื งอารมณ์ 226 “เดก็ ๆ คดิ วา่ เดก็ คนนเ้ี ขากำ� ลงั รสู้ กึ อยา่ งไร. . . เพราะอะไร เขาถงึ มอี ารมณ์แบบน”้ี วัตถุประสงค์ • ไดค้ ดิ วเิ คราะหแ์ ละเชอ่ื มโยงอยา่ งมเี หตผุ ล โดยอาศยั ความทรงจำ� ใน ประสบการณเ์ ดมิ ของแตล่ ะคนในการตอบคำ� ถาม • มีความกลา้ ท่จี ะแสดงความคิดเห็นของตัวเอง • ไดเ้ หน็ ความคดิ เหน็ ทม่ี หี ลากหลายมมุ มองของเพอื่ นๆ ทอ่ี าจแตกตา่ ง จากตัวเอง • เกิดการยืดหย่นุ ทางความคดิ กระบวนการ/วิธีการ • ครูน�ำรปู มาให้เดก็ ดู (กล่มุ เดก็ 4-8 คน) • ชวนเด็กคิดด้วยค�ำถามปลายเปิด “เด็กคนนี้เขาก�ำลังรู้สึกอย่างไร.. เพราะอะไรเขาถึงมีอารมณ์แบบน้ี” ให้เด็กยกมือตอบทีละคน (ครูต้ังใจฟังค�ำตอบของเด็กแต่ละคนพร้อมจดบันทึกด้วยท่าทีที่ ยอมรับในค�ำตอบของแต่ละคนทไ่ี ม่เหมอื นกัน) • เวียนเด็กๆ เข้ามาทำ� กจิ กรรมจนครบทัง้ หอ้ ง • ติดภาพและค�ำพูดของเด็กลงบนบอรด์ และอา่ นใหเ้ ดก็ ทง้ั หอ้ งฟัง ส่ือ/อุปกรณ์ • รปู ภาพ • สมุดจดบันทึกค�ำพดู ของเด็ก

โอกาสทเ่ี ด็กได้รับจากการท�ำกจิ กรรม ทกั ษะสมอง EF • เดก็ ไดค้ ดิ วเิ คราะหเ์ พอื่ ตอบคำ� ถามปลายเปดิ • ริเร่ิม ลงมอื ทำ� (Initiating) โดยนำ� ประสบการณเ์ ดมิ มาเปน็ ฐานคดิ ใน ยงั้ คดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) การตอบและไม่กังวลว่าสิ่งที่ตอบจะถูก ตอ้ งหรอื ไม(่ กล้าคิด กลา้ ตอบ) • เด็กได้เรียนรู้และทบทวนอารมณ์ความ • จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) รู้สึกของตนที่เคยเกิดขึ้น เข้าใจสาเหตุ จำ� เพ่อื ใชง้ าน (Working Memory) ท่ีมาของอารมณ์ ซึ่งเป็นพ้ืนฐานให้เด็กมี ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) ความสามารถในการควบคมุ อารมณไ์ ดด้ ี ติดตามประเมนิ ตนเอง (Self - Monitoring) • เดก็ ไดร้ บั รถู้ งึ ความคดิ ทแ่ี ตกตา่ งหลากหลาย • ยดื หยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ของเพอ่ื นๆ เพราะถงึ แมจ้ ะเปน็ การตอบจาก คำ� ถามเดยี วกนั จากภาพเดยี วกนั แตค่ ำ� ตอบ ของแตล่ ะคนอาจไมต่ รงกนั กไ็ ด้ กจิ กรรมเพิ่มเติม • ชวนเดก็ ๆ พดู คยุ แลกเปลยี่ นวา่ เวลาทเ่ี รารสู้ กึ โกรธ เราทำ� อยา่ งไรใหอ้ ารมณก์ ลบั มาดเี ปน็ ปกตเิ หมอื นเดมิ หรอื หากเราเหน็ เพอ่ื นกำ� ลงั มอี ารมณโ์ กรธหรอื เศรา้ เราจะชว่ ยเพอ่ื นไดอ้ ยา่ งไร ตวั อย่างคำ� ตอบจากเด็กวัย 4 ขวบครง่ึ ถึง 5 ขวบ มนิ น่ี : “อารมณโ์ กรธ เพราะเพอื่ นไมใ่ หเ้ ลน่ ดว้ ย” เฟย : “อารมณโ์ กรธ เพราะเพอ่ื นหลอกผ”ี ทกิ เกอร์ : “อารมณโ์ กรธ เพราะเขาเดนิ ไปชนเพอื่ นแลว้ เขากข็ อโทษ แตเ่ พอ่ื นกม็ าตี มาวา่ เขา” แพทตน้ั : “อารมณโ์ กรธ เพราะเขาอยากไปนงั่ แตไ่ มม่ ที นี่ ง่ั ” พรว้ิ : “อารมณเ์ ศรา้ เพราะมคี นมาแกลง้ แบบเจบ็ ๆ” 227

วัย 3-6 ปี วิเคราะห์ภาพถา่ ย เพ่ือฝกึ การนึกถึงผูอ้ น่ื และรจู้ ักแบ่งปนั ถ้าเดก็ ๆ มเี คก้ อยู่ 1 กอ้ น เดก็ ๆ จะแบ่งให้ใคร วัตถุประสงค์ • รู้จักแบ่งปัน • ได้คิดทบทวนถึงคนรอบข้างอยา่ งมีความหมาย • มคี วามกล้าที่จะแสดงความคดิ เห็นของตัวเอง • ไดเ้ หน็ ความคดิ เหน็ ทมี่ หี ลากหลายมมุ มองของเพอื่ นๆ ทอ่ี าจแตกตา่ ง จากตวั เอง • เกิดการยืดหยุ่นทางความคิด กระบวนการ/วธิ กี าร • ครนู �ำรปู มาให้เด็กดู (กลุ่มเดก็ 4-8 คน) • ชวนเด็กคดิ ดว้ ยคำ� ถามปลายเปิด “ถา้ เดก็ ๆ มีเคก้ อยู่ 1 ก้อน เดก็ ๆ จะแบง่ ใหใ้ คร” • ใหเ้ ดก็ ยกมอื ตอบทลี ะคน (ครตู ง้ั ใจฟงั คำ� ตอบของเดก็ แตล่ ะคนพรอ้ ม จดบันทึกด้วยทา่ ทีที่ยอมรับในคำ� ตอบของแตล่ ะคนทีไ่ มเ่ หมือนกนั ) • เวียนเด็กๆ เข้ามาทำ� กจิ กรรมจนครบทั้งห้อง • ตดิ ภาพและคำ� พดู ของเดก็ ลงบนบอร์ดและอา่ นให้เดก็ ทง้ั หอ้ งฟงั ส่ือ/อุปกรณ์ • รปู ภาพ • สมุดจดบันทกึ ค�ำพดู ของเด็ก 228

โอกาสทีเ่ ดก็ ไดร้ บั จากการทำ� กจิ กรรม ทกั ษะสมอง EF • เดก็ ไดค้ ดิ วเิ คราะหเ์ พอื่ ตอบคำ� ถามปลายเปดิ • รเิ รม่ิ ลงมอื ท�ำ (Initiating) โดยไมต่ อ้ งกงั วลความถกู ผดิ แตม่ อี สิ ระใน การตอบ (กลา้ คดิ กลา้ ตอบ) • ระหว่างท่ีเด็กๆคิดว่าจะแบ่งเค้กให้ใคร • ความจ�ำเพื่อใชง้ าน (Working Memory) ท�ำให้เกิดการคิดทบทวนประสบการณ์ดีๆ การย้ังคดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ท่ีเคยได้รับจากผู้อื่นและความรู้สึกดีๆที่มี ติดตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) ต่อผู้อืน่ • เดก็ ๆไดร้ บั รถู้ งึ ความคดิ ทแี่ ตกตา่ งหลากหลาย • การยืดหย่นุ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ของเพอื่ นๆ เพราะถงึ แมจ้ ะเปน็ การตอบจาก คำ� ถามเดยี วกนั จากภาพเดยี วกนั แตค่ ำ� ตอบ ของแตล่ ะคนอาจไมต่ รงกนั กไ็ ด้ กิจกรรมเพม่ิ เติม • ชวนเดก็ ๆ คดิ สรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะอสิ ระ เชน่ ประดษิ ฐ์ หรอื วาดภาพระบายสี ทำ� การด์ เพอ่ื นำ� ไปมอบใหเ้ พอ่ื น หรอื คนในบา้ นของเดก็ ๆ โดยใหร้ ะบวุ า่ จะนำ� ไปมอบใหใ้ คร จากนน้ั ใหเ้ ดก็ ๆ ไดท้ ำ� และนำ� ไปมอบใหจ้ รงิ ๆ (ทำ� กจิ กรรมซำ�้ อกี แตเ่ ปลยี่ นผทู้ เี่ ราจะมอบให)้ ตัวอย่างคำ� ตอบจากเด็กวยั 4 ขวบครึง่ ถึง 5 ขวบ คนิ คนิ : “แบง่ ใหม้ ามา้ เพราะมามา้ ชอบใหค้ นิ กนิ นม” แพทตน้ั : “แบง่ ใหช้ ตี า้ ร์ เพราะแพทตนั้ รกั ชตี า้ ร”์ เฟย : “แบง่ ใหก้ อหญา้ และทกุ ๆ คน” เปา๋ เปา๋ : “ใหเ้ อเต้ เพราะอยากใหเ้ อเตไ้ ดก้ นิ ของอรอ่ ย” อายะ : “ใหเ้ อเต้ เพราะเอเตเ้ ศรา้ ” ธาม : “ใหก้ าย เพราะรกั กาย กายนสิ ยั ดี ใจดมี ากเลย” 229

วยั 3-6 ปี ส�ำรวจเครื่องมือและสสี นั บนพื้นทรี่ วมกันกับเพื่อน 230 วัตถุประสงค์ • ใหเ้ ด็กไดส้ �ำรวจ ท�ำความรู้จักกับคุณลกั ษณะและคณุ สมบัติของ เครอ่ื งมอื ท่จี ะใช้ในการระบายสีท่ีมคี วามหลากหลาย • ได้เพลิดเพลนิ กับการทดลองระบายสี • ได้เห็นความแตกต่างทั้งทางด้านความรู้สึกและสิ่งท่ีปรากฏเม่ือใช้ อปุ กรณท์ ่ตี า่ งชนดิ กนั • ไดเ้ หน็ การเปลยี่ นแปลงของสีทเี่ กดิ ขึน้ เมอื่ มีการผสมกนั • ไดร้ ู้จักการใช้พน้ื ทแี่ ละอุปกรณ์รว่ มกันกบั เพ่ือน กระบวนการ/วธิ กี าร • ครูจัดเตรียมกระดาษปรู๊ฟขนาดใหญ่มาติดต่อกัน (อาจใช้พ้ืนท่ีที่ พื้นหรือติดบนผนังก็ได้) จัดเตรีมอุปกรณ์ท่ีจะระบายสีหลากหลาย ชนดิ และจัดเตรียมสใี สถ่ าดไว้ใหเ้ ด็กๆ เลอื กใช้ • ครูน�ำอุปกรณ์ระบายสีหลากชนิดมาให้เด็กๆ ดู ทดลองสัมผัส และ เม่ือครูน�ำแปรงหรือลูกกล้ิงมาสัมผัสส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกาย เดก็ คนใด เดก็ คนนนั้ จะเดนิ ไปเลอื กหยบิ อปุ กรณแ์ ละเรม่ิ ทำ� กจิ กรรม • เมอื่ ทำ� งานเสรจ็ เดก็ ๆ ชว่ ยกนั เกบ็ ลา้ งอปุ กรณแ์ ละทำ� ความสะอาดพน้ื ที่ สือ่ /อุปกรณ์ • แปรงทาสแี ละแปรงชนิดตา่ งๆ • พ่กู ันแบนและกลมขนาดต่างๆ • พู่กนั ฟองน�ำ้ • ลูกกล้ิงทาสี หมายเหตุ เด็กมอี สิ ระในการเลือกทัง้ สี อุปกรณ์ และพนื้ ที่ เพอื่ ทดลองระบายสี ด้วยตัวเอง

โอกาสทีเ่ ดก็ ไดร้ ับจากการทำ� กจิ กรรม ทกั ษะสมอง EF • เด็กได้ท�ำความรู้จักแปรงและอุปกรณ์ชนิด • จ�ำเพอื่ ใช้งาน (Working Memory) ต่างๆ ผ่านการสัมผัส ท�ำให้ได้ข้อมูลเร่ือง ความออ่ นนมุ่ /แขง็ ความหยาบ/ละเอยี ด และ คณุ ลกั ษณะตา่ งๆ ของอปุ กรณ์ • เด็กจะลุกข้ึนเพื่อไปเลือกอุปกรณ์และพื้นท่ี • ยง้ั คิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ในการท�ำงานก็ต่อเมื่อครูได้ใช้แปรงมา ยืดหย่นุ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) สมั ผัสทีร่ า่ งกายสว่ นใดสว่ นหนึง่ ก่อน ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) • เด็กได้เลือกอุปกรณ์ สี และพ้ืนที่กระดาษ • รเิ รม่ิ ลงมอื ทำ� (Initiating) ในการท�ำงานด้วยตนเอง ซึ่งบางคร้ังอาจ ยั้งคิด ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) ไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปดงั ทตี่ งั้ ใจกต็ อ้ งรจู้ กั ยดื หยนุ่ และ ยืดหยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) ควบคมุ อารมณ์ เชน่ อปุ กรณบ์ างอนั ทหี่ มายตา ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) ไวอ้ าจมเี พอ่ื นเลอื กหยบิ ไปกอ่ นกเ็ ปน็ ได้ • เดก็ ไดท้ ดลองทงั้ การใชอ้ ปุ กรณ์ สี และวธิ กี าร • รเิ รม่ิ ลงมือท�ำ (Initiating) ที่หลากหลายอย่างอิสระ ท�ำให้ได้รับรู้และ จดจ่อ ใสใ่ จ (Focus/Attention) เรยี นรคู้ วามแตกตา่ งทเ่ี กดิ ขนึ้ และเกบ็ ไวเ้ ปน็ จำ� เพื่อใช้งาน (Working Memory) ข้อมูลเพ่ือจ�ำไปเลือกใช้ให้เหมาะสมกับส่ิงท่ี ยดื หยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) คดิ /จนิ ตนาการในครงั้ ตอ่ ๆ ไป • เด็กได้มีส่วนร่วมในการเก็บและท�ำความ • มงุ่ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) สะอาดท้ังอุปกรณ์และพ้ืนท่ี ซ่ึงมีความ วางแผน จัดระบบด�ำเนินการ (Planning and Organizing) สอดคลอ้ งกบั การฝกึ รบั ผดิ ชอบและชว่ ยเหลอื ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) ตนเองในกจิ วตั รประจำ� วนั อนั กอ่ ใหเ้ กดิ การ จำ� เพอื่ ใชง้ าน (Working Memory) ฝงั แนน่ จนกลายเปน็ นสิ ยั กิจกรรมเพมิ่ เตมิ • ใหเ้ ดก็ ไดส้ ำ� รวจและคน้ หาวธิ กี บั อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการปน้ั ดนิ 231

วัย 3-6 ปี เลน่ รถ เลน่ สี มีความสุขกบั เพอ่ื นๆ 232 วตั ถุประสงค์ • ไดแ้ บ่งปนั การใชพ้ น้ื ท่ีในการทำ� กิจกรรมร่วมกับเพือ่ นๆ • ได้ทดลองการพารถไปในทิศทางต่างๆ และสังเกตตดิ ตามผลที่เกดิ ขน้ึ • รู้หลบ รหู้ ลีก ไม่ใหร้ ถชนกนั • สนุกและเพลิดเพลิน และรู้สึกดีทไ่ี ดท้ ำ� กิจกรรมร่วมกบั เพื่อนๆ กระบวนการ/วิธีการ • ครแู บง่ กลมุ่ เดก็ ประมาณกลมุ่ ละ 3 – 4 คน หรอื หากเปน็ โตะ๊ ขนาดใหญ่ ก็สามารถเพิม่ จำ� นวนเด็กได้ตามความเหมาะสม • ครใู หเ้ ดก็ เลอื กรถ (จำ� ลอง) คนละ 1 คนั ทดลองเลน่ บนโตะ๊ ทป่ี ดู ว้ ยกระดาษ โดยมกี ตกิ าวา่ จะขบั รถไปทางไหนกไ็ ดบ้ นโตะ๊ แตต่ อ้ งระวงั ไมใ่ หร้ ถชนกนั • ครหู ยดสโี ปสเตอรล์ งบนกระดาษ โดยสมมตวิ า่ เป็นโคลนและชวนเด็ก จินตนาการว่าเราจะขับรถลุยโคลนกัน แต่ยังคงรักษากติกาคือขับรถ ไม่ให้ชนกัน และก่อนท่ีจะหมดเวลาครูจะให้สัญญาณเตือนเพ่ือให้เด็ก นำ� รถที่เล่นสีไปลา้ ง • ครทู ำ� หน้าที่เปน็ ผู้สังเกตการเล่นและคอยเตมิ สตี ามสมควร หมายเหตุ การทำ� งานกลมุ่ ควรเรม่ิ หลงั จากทเ่ี ดก็ ไดม้ โี อกาสทำ� งานอยา่ งอสิ ระคนเดยี ว และไดท้ ำ� เปน็ คู่ โดยครบู อกกลา่ วลว่ งหนา้ วา่ วนั นเ้ี ดก็ ๆ จะไดท้ ำ� งานรว่ มกนั กบั เพอ่ื นบนกระดาษแผน่ เดยี วกนั จากนน้ั จงึ เพม่ิ จำ� นวนคนในการทำ� งานเปน็ กลมุ่ สอ่ื /อุปกรณ์ • สีโปสเตอร์ พู่กนั ฟองน�ำ้ และลกู กลงิ้ ทาสี • กระดาษแผน่ ใหญ่สำ� หรบั ปูโต๊ะ • รถของเล่น (มีปริมาณมากกวา่ จ�ำนวนเด็ก เพ่อื เปิดโอกาสใหเ้ ดก็ มีสทิ ธิ ในการเลอื ก)

โอกาสท่เี ด็กไดร้ บั จากการทำ� กจิ กรรม ทักษะสมอง EF • เดก็ ไดเ้ ลอื กรถของตวั เองอยา่ งอสิ ระ • ริเรมิ่ ลงมอื ทำ� (Initiating) ยดื หย่นุ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) • เด็กได้เรียนรู้การใช้พ้ืนที่ร่วมกันกับเพื่อน • จำ� เพื่อใช้งาน (Working Memory) และเรียนรู้ท่ีจะดูแลกันและกันผ่านการ ยดื หยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ยอมรับและดูแลการเล่นให้เป็นไปตาม จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) กตกิ าขอ้ ตกลง โดยเรม่ิ จากการเลน่ บนโตะ๊ ยัง้ คดิ ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) โดยท่ียังไม่มีสี จนมีการเพิ่มสีเข้ามา ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) ขณะเล่นเด็กได้มีโอกาสเห็นทิศทางของ ติดตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) เส้นสีทปี่ รากฏขนึ้ จากการทีเ่ ด็กแลน่ รถ • เดก็ ไดอ้ สิ ระในการเลน่ และดแู ลกำ� กบั ตวั เอง • รเิ ร่มิ ลงมอื ท�ำ (Initiating) ใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ ตกลง โดยไมม่ กี ารแทรกแซง จ�ำเพอ่ื ใช้งาน (Working Memory) จากครู ย้ังคดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ยืดหยนุ่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) จดจ่อ ใสใ่ จ (Focus/Attention) ติดตามประเมนิ ตนเอง (Self - Monitoring) วางแผนจัดระบบดำ� เนนิ การ (Planning and Organizing) ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) • เดก็ รจู้ กั ทจ่ี ะยตุ กิ ารเลน่ เมอ่ื ไดย้ นิ สญั ญาณ • จ�ำเพื่อใชง้ าน (Working Memory) พร้อมกับรับผิดชอบที่จะน�ำรถไปล้างเพ่ือ ยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) เป็นการเตรียมพร้อมให้กับเพื่อนกลุ่มอื่น ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) ทจ่ี ะมาเลน่ ตอ่ ไป ยืดหยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) กจิ กรรมเพิ่มเตมิ • การทำ� งานศิลปะ เชน่ ระบายสี วาดบนกระดาษแผน่ เดียวกนั ทั้งท่ีไมไ่ ด้มีเปา้ หมายในผลงานรว่ มกนั เชน่ การทดลองระบายสดี ว้ ยแปรงชนดิ ตา่ งๆ รว่ มกนั หรอื การทำ� งานอยา่ งมเี ปา้ หมายรว่ มกนั เชน่ วาดตอ่ เตมิ สัตว์ประหลาดร่วมกนั 233

วัย 4-6 ปี การจดั รา่ งกายกับลีลาเสน้ เชือก วตั ถุประสงค์ • เด็กฝึกใช้สมาธิในการฟัง และได้ควบคุมการเคลื่อนไหวให้เป็นไปตาม เงื่อนไข กติกา ท่ีมลี ำ� ดับขนั้ ตอน • ไดส้ รา้ งสรรคก์ ารจดั วางเสน้ เชอื ก ใหเ้ กดิ เปน็ เสน้ เปน็ รปู รา่ งทห่ี ลากหลาย • ไดส้ ังเกตลักษณะของเสน้ เชอื กและรจู้ ักจดั ร่างกายเลียนแบบ • เรียนรใู้ นเร่อื งของขนาดทมี่ คี วามยาว สน้ั กว่า ยาวกวา่ หรอื เท่ากนั กระบวนการ/วธิ กี าร • ครนู ำ� เชอื กสามเสน้ ทมี่ คี วามยาวแตกตา่ งกนั มาใหเ้ ดก็ ๆ ดู และชวนเดก็ ๆ สงั เกต เปรยี บเทยี บและบอกวา่ เสน้ ไหนสน้ั เสน้ ไหนยาวกวา่ เสน้ ไหน อยา่ งไร • ครูใหเ้ ดก็ ๆ เลอื กหยบิ เชือกท่ีอยู่ในกลอ่ งคนละ 1 เสน้ • ครูให้เด็กจินตนาการว่าเราจะพาเส้นเชือกออกเดินทาง/เต้นร�ำไปกับ เสียงเพลง เม่ือใดที่เสียงเพลงหยุดให้เด็กจับคู่กับเพื่อนที่อยู่ใกล้ท่ีสุด ลองเปรียบเทียบขนาดความยาวของเส้นเชือก ถ้าเชือกมีความยาว เท่ากันให้น่ังลง แต่ถ้าคู่ไหนท่ีความยาวเชือกไม่เท่ากัน เม่ือได้ยินเสียง เพลง ใหพ้ าเชอื กออกเดนิ ทางเพอื่ หาเพอ่ื นทม่ี เี สน้ เชอื กขนาดยาวเทา่ กนั จนไดค้ คู่ รบทกุ คน โดยระหวา่ งเดนิ มเี งอ่ื นไขวา่ “เดนิ อยา่ งไร ดว้ ยทา่ ทาง อยา่ งไรกไ็ ด้ แตจ่ ะตอ้ งไมใ่ หช้ นกับเพือ่ น” • ใหเ้ วลาเดก็ ทกุ คน ตา่ งคนตา่ งทดลองจดั วางเสน้ เชอื กใหเ้ ปน็ รปู ลกั ษณะตา่ งๆ • เดก็ เลอื กจดั วางเสน้ เชอื กในแบบทค่ี ดิ วา่ ชอบทสี่ ดุ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แบบในการจดั รา่ งกายเลยี นแบบเสน้ เชอื กนนั้ สื่อ/อปุ กรณ์ • เชอื กยาว 70, 80 และ 90 เซนตเิ มตร ในจำ� นวนเทา่ ๆ กนั และเพยี งพอ สำ� หรับทกุ คน 234

โอกาสทเี่ ด็กได้รับจากการท�ำกิจกรรม ทกั ษะสมอง EF • เด็กได้ฝึกการจัดกลุ่มแยกประเภทของเชือก • จดจ่อ ใสใ่ จ (Focus/Attention) โดยใช้การสังเกตความยาวของเชือกที่มี จ�ำเพ่ือใชง้ าน (Working Memory) ความยาวไมเ่ ท่ากนั สามกลุม่ ยั้งคดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) • เดก็ ไดฝ้ กึ บรหิ ารจดั การพน้ื ทท่ี ใ่ี ชร้ ว่ มกบั เพอื่ นๆ • มุ่งเปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) เป็นการฝึกการใช้พื้นท่ีร่วมกันในสังคมอย่าง วางแผน จดั ระบบดำ� เนนิ การ (Planning and Organizing) เปน็ สขุ ในขณะเคลอ่ื นทพี่ าเชอื กออกเดนิ ทาง ยืดหย่นุ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) อยา่ งมเี ปา้ หมายเพอื่ หาเสน้ เชอื กทมี่ ขี นาดเทา่ กนั • เดก็ ไดฝ้ กึ การมวี นิ ยั ในตนเอง เรยี นรทู้ จี่ ะดแู ล • ย้ังคิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) กำ� กบั ตนเองวา่ จะตอ้ งทำ� อะไร เมอื่ ไร อยา่ งไร ยดื หยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) ตามกตกิ าข้อตกลงดว้ ยความเพลดิ เพลิน (ไม่ จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) ตอ้ งเครง่ เครยี ด) มสี มาธจิ ดจอ่ ฟงั เสยี งเพลงท่ี ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) เปน็ เสมอื นสญั ญาณตามเงอ่ื นไข เรยี นรทู้ จี่ ะฟงั ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) จ�ำได้ และปฏิบัติอย่างสนุกสนานร่วมกันกับ เพอื่ นอยา่ งเขา้ ใจในกตกิ า (ในการเคลอ่ื นไหวไป กบั เชอื ก เมอ่ื ไดย้ นิ เสยี งเพลงหยดุ ลงกต็ อ้ งจบั คู่กับเพื่อนท่ีอยู่ใกล้ๆ เพ่ือเปรียบเทียบความ ยาวของเชอื ก) • เด็กใช้ความคดิ สร้างสรรคอ์ ยา่ งหลากหลาย • ริเร่มิ ลงมือท�ำ (Initiating) ทงั้ ในการพาเชอื กเคลอ่ื นไหวไปกบั เสยี งเพลง จดจอ่ ใส่ใจ (Focus/Attention) ในการทดลองจดั วางเสน้ เชอื ก และในทสี่ ดุ ได้ ยืดหยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) ตัดสินใจเลือกผลงานการวางเส้นเชือกท่ีชอบ วางแผน จัดระบบดำ� เนินการ (Planning and Organizing) ท่ีสดุ เพือ่ จดั ร่างกายเลียนแบบด้วยตนเอง ติดตามประเมนิ ตนเอง (Self - Monitoring) กจิ กรรมเพ่มิ เติม • จับค่หู รอื จบั กลุ่มกับเพอ่ื น น�ำเชือกมาจัดวางตอ่ กนั และจดั ร่างกายเลยี นแบบเส้นเชือก 235

วยั 4-6 ปี การเคล่ือนไหวไปกับเสียงเพลง วตั ถปุ ระสงค์ • ใหม้ สี มาธใิ นการฟงั จงั หวะและควบคมุ การหยดุ การเคลอ่ื นไหวและการ เคลอื่ นทใี่ ห้เป็นไปตามเงื่อนไขทีต่ กลง • สรา้ งสรรคว์ ธิ กี ารเคลอ่ื นไหว การเคลอื่ นที่ การจดั รา่ งกาย และการหยดุ น่ิงได้อยา่ งหลากหลาย • รู้จกั การใชพ้ ื้นทรี่ ว่ มกับผอู้ น่ื • เรยี นรูเ้ รือ่ งการมวี ินยั และการคิดสร้างสรรค์อย่างมคี วามสุข กระบวนการ/วธิ ีการ • ครูชวนเดก็ ๆ เดนิ ตามสัญญาณกลอง ถา้ ครตู กี ลองในจงั หวะที่ช้ากต็ ้อง เคล่ือนไหวช้าๆ ถ้าตีเร็วก็เคลื่อนไหวเร็วอย่างสัมพันธ์กัน แต่ถ้า สัญญาณกลองหยุด ให้เด็กหยุดน่ิงไม่ขยับตัวเคล่ือนไหว และให้คิด สรา้ งสรรค์ในการจดั ทา่ ทางขณะทีห่ ยุดใหไ้ มซ่ �ำ้ กันในแต่ละครัง้ • ครชู วนเด็กๆ เลน่ สมมติวา่ เปน็ ตุ๊กตาไขลานทีเ่ คลื่อนไหวเต้นรำ� ไดเ้ มือ่ มี เสยี งเพลง แตเ่ ปน็ การเคลือ่ นไหวโดยไม่เคล่อื นที่ • หลงั จากเลน่ ตามกตกิ าไดแ้ ลว้ ครใู หเ้ ดก็ จบั คกู่ บั เพอื่ น สมมตวิ า่ เปน็ ตกุ๊ ตา สองตัวที่จะเต้นร�ำเมื่อได้ยินเสียงเพลงโดยต้องมีส่วนใดส่วนหน่ึงของ รา่ งกายทีต่ ิดกัน 236

โอกาสทีเ่ ด็กไดร้ ับจากการทำ� กจิ กรรม ทกั ษะสมอง EF • เด็กร่วมท�ำกิจกรรมตามกติกาข้อตกลงกับ • จำ� เพอื่ ใชง้ าน (Working Memory) เพ่ือนด้วยความเพลิดเพลินในการเดินและ จดจอ่ ใส่ใจ (Focus/Attention) หยดุ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สญั ญาณกลองหรอื เพลง ติดตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) ที่ต้องอาศัยการฟังอย่างต้ังใจไปพร้อมๆ กัน ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) (ฝึกการมวี นิ ัยในตนเอง) ย้งั คิด ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) • ในขณะเคลอื่ นที่ เดก็ ไดฝ้ กึ บรหิ ารจดั การพนื้ ที่ • วางแผน จดั ระบบด�ำเนินการ (Planning and Organizing) ทใ่ี ช้รว่ มกบั เพื่อนๆ เสมือนเปน็ การฝกึ การใช้ ยดื หยนุ่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) พน้ื ท่ีร่วมกนั ในสังคมอยา่ งเปน็ สขุ • เด็กใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างหลากหลาย • ริเรมิ่ ลงมอื ท�ำ (Initiating) ในการสร้างลีลาท่าทางในการเคล่ือนไหวไป จดจอ่ ใสใ่ จ (Focus/Attention) กบั เสียงเพลงและจัดร่างกายขณะทีห่ ยุดนิ่ง ยดื หยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) วางแผน จดั ระบบด�ำเนินการ (Planning and Organizing) ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) • เด็กได้ฝึกการรอคอย ดูแลก�ำกับตนเองท่ีจะ • ยืดหย่นุ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) เคลื่อนไหวได้ต่อเม่ือได้ยินเสียงเพลงเท่าน้ัน จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) และเมื่อที่ได้ยินเสียงเพลงขณะท่ีเคลื่อนไหว ตดิ ตามประเมนิ ตนเอง (Self - Monitoring) ยังต้องก�ำกับตนเองให้เคลื่อนไหวอย่างอิสระ ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) แตไ่ ม่เคลื่อนที่ • เพิ่มกติกาให้ซับซ้อนขึ้นเม่ือต้องจับคู่กับ • ริเรม่ิ ลงมือทำ� (Initiating) เพ่ือน ท�ำให้ต้องอาศัยการวางแผนอย่าง ยง้ั คดิ ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) ฉับพลัน เพ่ือให้เคล่ือนไหวไปพร้อมๆ กัน ยดื หยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) ประสบความส�ำเร็จ (เป็นการท�ำงานร่วมกับ จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) ผู้อ่ืนอยา่ งอสิ ระแต่รกั ษากติกา) ติดตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) วางแผน จดั ระบบดำ� เนินการ (Planning and Organizing) ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) มงุ่ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) 237

วัย 3-6 ปี ความมหศั จรรยข์ องสีในน�ำ้ เปล่า วัตถุประสงค์ • ให้เดก็ เกิดความสนใจ อยากเรยี น อยากรู้ อยากทดลอง • ให้เด็กเกิดความจดจ่อ เฝ้าติดตามการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับสี เมอื่ หยดลงไปในน�ำ้ กระบวนการ/วิธกี าร • ครูจัดเตรียมอุปกรณ์พร้อมท้ังสาธิตให้เด็กดู (ครูเตรียมสีผสมอาหาร ไมน่ อ้ ยกว่า 3 สีเพ่อื ใหเ้ ด็กไดเ้ ลือกใช)้ • เด็กได้เลือกใช้สีเพื่อทดลองหยดลงในแก้วน้�ำอย่างอิสระ และสามารถ เปล่ยี นนำ�้ เพือ่ ทดลองหยดสีได้ตามความสนใจจนกว่าจะหมดเวลา • เด็กช่วยกันล้างแก้วและเปลี่ยนน�้ำเตรียมให้เพื่อนกลุ่มถัดไป โดยครูจะ ให้สัญญาณเตือนก่อนหมดเวลา 5 นาที (กิจกรรมใช้เวลาประมาณ 30 – 40 นาท)ี สื่อ/อปุ กรณ์ • แกว้ น�ำ้ (ไมค่ วรมีสีหรือลวดลาย) • นำ้� เปลา่ • สผี สมอาหารพร้อมภาชนะทมี่ ขี นาดพอเหมาะกับการใชค้ ูก่ บั หลอดบบี • หลอดบีบส�ำหรบั หยดสี 238

โอกาสที่เด็กได้รับจากการท�ำกจิ กรรม ทกั ษะสมอง EF • เดก็ ไดแ้ รงบนั ดาลใจ อยากทดลองดว้ ยตนเอง • จำ� เพื่อใชง้ าน (Working Memory) หลังจากได้ชมการสาธิตของครู • เด็กมีโอกาสเลือกสีที่จะใช้ในการทดลอง • ยืดหยุ่นความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) อย่างอิสระ ด้วยตนเอง • เด็กได้ทดลองตามความคิดของตนเอง โดย • มุง่ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) สามารถกำ� หนดไดด้ ว้ ยตนเองวา่ จะทดลองใช้ รเิ ริ่มลงมอื ทำ� (Initiating) สอี ะไร กสี่ ี หรอื แมก้ ระทง่ั จะเลอื กเพยี งสเี ดยี ว จ�ำเพอื่ ใชง้ าน (Working Memory) ปริมาณเท่าไหร่ และเฝ้าติดตามผลท่ีเกิดข้ึน ยง้ั คดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) สามารถทดลองได้หลายครั้งเท่าท่ีมีความ ยืดหยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) สนใจและอย่ใู นเวลาท่กี ำ� หนด จดจอ่ ใสใ่ จ (Focus/Attention) ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) วางแผนจดั ระบบด�ำเนินการ (Planning and Organizing) ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) • เด็กๆ รูจ้ กั ทจ่ี ะยุติการเลน่ เมื่อไดย้ ินสญั ญาณ • จำ� เพ่ือใช้งาน (Working Memory) พร้อมกับรับผิดชอบท่ีจะน�ำแก้วไปล้างเพื่อ ยั้งคดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) เปน็ การเตรยี มพรอ้ มใหก้ บั เพอื่ นกลมุ่ อนื่ ทจ่ี ะ ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) มาเลน่ ต่อไป ยืดหยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) วางแผนจัดระบบด�ำเนนิ การ (Planning and Organizing) 239

วัย 4-6 ปี ความมหัศจรรย์ของสีในนำ�้ เชื่อม วัตถุประสงค์ • ใหเ้ กิดความสนใจ อยากเรียน อยากรู้ อยากทดลอง • ให้เกิดความจดจ่อ (เฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนกับสีเม่ือหยด ลงไปในน้�ำเชื่อม และตามดูผลท่ีเกิดข้ึนเม่ือทดลองใช้ไม้เขี่ยเพื่อให้เกิด การเปล่ียนแปลงและการเคล่อื นไหวของสี) • ให้ได้เหน็ การซึมซับของกระดาษทิชชเู ม่ือสีหยดใส่ กระบวนการ/วิธีการ • ครูจัดเตรียมอุปกรณ์และบอกเล่าให้เด็กฟังว่าวันน้ีจะได้ท�ำ ได้ทดลอง อะไรบ้าง • ให้เด็กเลือกใช้สีเพื่อทดลองหยดลงในจานน�้ำเชื่อมอย่างอิสระ และ สามารถเปลีย่ นน�้ำเช่ือมเพอ่ื ทดลองหยดสีได้ ตามความสนใจจนกว่าจะ หมดเวลา • เม่ือพอใจในลวดลายของสที ป่ี รากฏในจานนำ�้ เชอื่ ม ให้นำ� กระดาษทิชชู แผน่ ใหญว่ างลงบนผวิ นำ�้ เชอ่ื มเพอ่ื พมิ พผ์ า่ นการซมึ ซบั ของกระดาษทชิ ชู แล้วจึงนำ� ไปตากให้แหง้ • เด็กช่วยกันล้างจานเตรียมไว้ให้เพ่ือนกลุ่มถัดไป โดยครูจะให้สัญญาณ เตือนก่อนหมดเวลา 5 นาที (กจิ กรรมใช้เวลาประมาณ 30 – 40 นาที) ส่อื /อปุ กรณ์ • จานกลมสขี าว (ไมค่ วรใช้จานทม่ี สี อี น่ื หรือลวดลาย) • นำ�้ เชื่อมทมี่ ีความเหนยี วข้นพอประมาณ • สผี สมอาหารพรอ้ มขวดทมี่ ขี นาดพอเหมาะกับการใชค้ ูก่ บั หลอดบีบ • หลอดบีบส�ำหรบั หยดสี 240

โอกาสที่เด็กไดร้ บั จากการทำ� กิจกรรม ทักษะสมอง EF • เด็กมีโอกาสเลือกสีที่จะใช้ในการทดลอง • ยดื หยุน่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) อย่างอสิ ระดว้ ยตนเอง • เด็กได้ทดลองตามความคิดของตนเอง โดย • มงุ่ เป้าหมาย (Goal-Directed Persistence) สามารถก�ำหนดด้วยตนเองว่าจะทดลองใช้สี ริเรมิ่ ลงมือท�ำ (Initiating) อะไร กสี่ ี หรอื แมก้ ระทงั่ จะเลอื กเพยี งสเี ดยี ว จำ� เพื่อใชง้ าน (Working Memory) ปรมิ าณเทา่ ไหร่ หยดตรงไหน หยดอยา่ งไร และ ยัง้ คิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) เฝ้าติดตามผลที่เกิดขึ้น สามารถทดลองได้ ยดื หยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) หลายครั้งเท่าที่มีความสนใจและอยู่ในเวลา จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) ทกี่ ำ� หนด ตดิ ตามประเมนิ ตนเอง (Self - Monitoring) วางแผนจดั ระบบด�ำเนนิ การ (Planning and Organizing) ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) • เดก็ ไดท้ ดลองใชไ้ มล้ ากสที อ่ี ยใู่ นนำ้� เชอ่ื มเพอ่ื ให้ • ริเร่ิมลงมือทำ� (Initiating) เกดิ ลวดลายตา่ งๆ ได้ ยืดหยนุ่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) • เดก็ ๆ รจู้ กั ทจ่ี ะยตุ กิ ารเลน่ เมอ่ื ไดย้ นิ สญั ญาณ • จ�ำเพอื่ ใช้งาน (Working Memory) พร้อมกับรับผิดชอบท่ีจะน�ำอุปกรณ์ต่างๆ ยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ไปล้างเพื่อเป็นการเตรียมพร้อมให้กับเพื่อน ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) กลุ่มอ่ืนที่จะมาเล่นต่อไป ยดื หยุน่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) วางแผนจดั ระบบด�ำเนนิ การ (Planning and Organizing) กิจกรรมเพิม่ เติม • ทดลองการไหลของสบี นจานกระดาษ 241

วัย 4-6 ปี การเปลี่ยนแปลงของเงา วัตถปุ ระสงค์ • ใหเ้ กิดความสนใจ อยากเรียน อยากรู้ อยากทดลอง • ได้เห็นการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ข้ึนกับเงาเมือ่ เวลาเปลยี่ นแปลงไป • ได้รูจ้ กั การบนั ทกึ สิง่ ทีเ่ รียนรู้ กระบวนการ/วิธกี าร • ครูชวนเด็กเล่นเงาด้านร่างกายตนเองกับแสงธรรมชาติ โดยให้ทดลอง เปล่ยี นท่าทางไปพรอ้ มๆ กับสงั เกตเงาท่เี กิดขน้ึ • ชวนเด็กปั้นหุ่นกระดาษฟอยล์เป็นตัวเด็กเอง (หรือวาดรูปตัวเองบน กระดาษแลว้ ตดั ออกมา) แลว้ ทำ� ขาตงั้ เพอื่ จะนำ� ไปทดลองเรอ่ื งเงาทเี่ กดิ ขน้ึ ว่าจะมีการเปล่ียนแปลงหรือไม่ เมอื่ เวลาผ่านไป) • น�ำหุ่นกระดาษฟอยล์ไปทดลองเล่นกับแสงเงา พร้อมทั้งบันทึกเงา ครง้ั ที่ 1 ทเ่ี กิดข้ึนและเวลาดว้ ยดนิ สอดำ� • ทง้ิ ชว่ งเวลาพอประมาณ จากนนั้ ชวนเดก็ ๆ กลบั มาสงั เกตและบนั ทกึ เงา คร้งั ที่ 2 และเวลาทเี่ ปลีย่ นแปลงไปอกี ครัง้ หนงึ่ ดว้ ยดินสอสี สือ่ /อุปกรณ์ • กระดาษฟอยล์ (หรือกระดาษปอนด์ 100) • กระดาษ A4 • ดนิ สอด�ำและดนิ สอสี 242

โอกาสท่เี ด็กไดร้ ับจากการทำ� กจิ กรรม ทักษะสมอง EF • เด็กได้ทดลองจัดร่างกาย ท�ำท่าทางต่างๆ • รเิ ร่มิ ลงมอื ทำ� (Initiating) เปล่ียนไปเร่ือยๆ พร้อมทั้งติดตามสังเกต ยืดหยุ่นความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ผลท่ีเกิดขึ้นซึ่งปรากฏเป็นเงาท่ีมีรูปร่าง จดจ่อ ใสใ่ จ (Focus/Attention) เปล่ยี นไปเช่นกัน ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) • เด็กได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการปั้น • ม่งุ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) กระดาษฟอยล์เป็นหุ่นแทนตัวเด็กท่ีท�ำ วางแผน จดั ระบบดำ� เนินการ (Planning and Organizing) ทา่ ทางตามจินตนาการ เพอ่ื จะน�ำไปตง้ั กลาง รเิ ริ่ม ลงมือท�ำ (Initiating) แสงแดด สังเกตและบันทึกผลของเงาท่ี จำ� เพ่อื ใชง้ าน (Working Memory) เกดิ ขึน้ ในเวลาท่ีตา่ งกนั จดจ่อ ใสใ่ จ (Focus/Attention) ติดตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) กิจกรรมเพ่มิ เติม • เดก็ ทดลองทำ� เงาทเ่ี กดิ ขน้ึ จากแสงทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ เชน่ ไฟฉาย เครอื่ งฉายชนดิ ตา่ งๆ 243

วัย 4-6 ปี เกมเมี้ยว เม้ียว มา มา จะพาไปหาแม่ วัตถปุ ระสงค์ • ไดร้ จู้ กั การยอมรบั ในกตกิ า ขอ้ ตกลงรว่ ม และสามารถปฏบิ ตั ติ ามเงอ่ื นไข ท่ตี ง้ั ไวไ้ ด้ • ได้ฝึกการวิเคราะหไ์ ตรต่ รองกอ่ นตดั สินใจและลงมือทำ� • ไดฝ้ กึ การวางแผนการเลน่ โดยมเี ปา้ หมายรว่ มกนั ทจ่ี ะพาลกู แมวกลบั ไป หาแม่จนครบ • ไดต้ ิดตามประเมินผลท่เี กดิ ขึ้น • ไดร้ บั ประสบการณท์ งั้ ทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ และลม้ เหลว เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ไว้ใชพ้ ัฒนาการเลน่ ในครั้งต่อไป กระบวนการ/วิธีการ • ครูอธบิ ายวิธีเลน่ /กติกาด้วยการสาธติ การเล่น • ครูชวนเด็ก 3-4 คน มาเล่นเกมกับครูเพื่อสร้างความเข้าใจในกติกา การเล่นที่ชัดเจนข้ึน ส่วนเด็กคนอื่นๆ เปิดโอกาสให้เข้าเล่นตามมุม การเรยี นรู้อ่ืนๆ ทีเ่ ดก็ สามารถเลน่ ดว้ ยตัวเองได้ จากนัน้ สลบั หมุนเวียน เขา้ มาเลน่ กบั ครูจนครบท้งั ห้อง • เม่ือเด็กเข้าใจวิธีและสามารถเล่นได้ด้วยตนเองแล้ว ครูปล่อยให้เด็กจับ กลุ่มเล่นเองอย่างอิสระ โดยครูคอยเฝ้าสังเกตการเล่นของเด็กและ ตดิ ตามพัฒนาการในการเล่นของเดก็ ๆ ในครง้ั ต่อๆ ไป สือ่ /อุปกรณ์ • เกมเมยี้ ว เม้ียว มา มา จะพาไปหาแม่ จากชุดเล่นล้อมรัก 244

โอกาสท่เี ด็กไดร้ ับจากการทำ� กจิ กรรม ทกั ษะสมอง EF • เด็กได้เรียนรู้วิธีเล่นจากการเฝ้าติดตามดูการ • จดจอ่ ใสใ่ จ (Focus/Attention) สาธติ การเลน่ ของคุณครู จำ� เพือ่ ใช้งาน (Working Memory) • เด็กได้ร่วมเล่นเกมกับเพื่อน โดยมีเงื่อนไข • มุง่ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) กตกิ าทีท่ กุ คนยอมรับ จำ� เพอื่ ใช้งาน (Working Memory) • เด็กใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์สถานการณ์ ยืดหยุ่นความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) คิดวางแผน คิดแก้ปญั หา เลือกและตัดสนิ ใจ • มุ่งเปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) ติดตามผลท่ีเกิดข้ึน เพ่ือน�ำไปสู่เป้าหมายท่ี รเิ รมิ่ ลงมือท�ำ (Initiating) ทุกคนจะช่วยน�ำพาลูกแมวกลับไปหาแม่ จำ� เพอื่ ใช้งาน (Working Memory) ใหท้ ันกอ่ นทีเ่ กมจะจบลง ยงั้ คิด ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) ยืดหยนุ่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) • เด็กได้สังเกตการเล่นของเพื่อนในขณะเล่น • จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) และยังได้เรียนรู้วิธีคิดของเพ่ือนแต่ละคนที่ ตดิ ตามประเมนิ ตนเอง (Self - Monitoring) อาจมีวิธีคิด วิธีเลือก หรือมีการตัดสินใจที่ วางแผน จดั ระบบด�ำเนินการ (Planning and Organizing) แตกตา่ งกนั ไป ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) ยืดหยุน่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) จ�ำเพือ่ ใชง้ าน (Working Memory) • เด็กได้ฝึกการยอมรับในผลท่ีเกิดขึ้นจากการ • ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) เล่นเกมหากไม่เปน็ ไปดังทีค่ ิดหรอื ต้งั ใจไว้ กิจกรรมเพม่ิ เตมิ • เปิดโอกาสให้เด็กได้มีเวลาเล่นเกมต่างๆ ท่ีมีเงื่อนไขกติกาในการเล่น ท้ังท่ีเป็นการเล่นคนเดียว เล่น รวมกับเพ่อื นเป็นคู่ เป็นกลุม่ อย่างสม�ำ่ เสมอ โดยไม่เนน้ การแขง่ ขนั ระหว่างกัน 245

วยั 4-6 ปี เกมต้นกลา้ 246 วัตถปุ ระสงค์ • ได้รู้จักการยอมรับกติกา ข้อตกลงร่วม และสามารถปฏิบัติตามเง่ือนไข ที่ตง้ั ไว้ได้ • ไดฝ้ ึกการคดิ วิเคราะห์ก่อนตดั สนิ ใจเลอื กเดิน • ได้รู้จักวางแผนการเล่นท้ังของตนเองและการเล่นร่วมกับเพ่ือน เพ่ือให้ เปน็ ไปตามเป้าหมาย คอื ชว่ ยเหลอื เพ่อื นของต้นกล้าให้ไดค้ รบทกุ คน • เด็กไดต้ ดิ ตามประเมนิ ผลทเี่ กิดขน้ึ • เด็กได้รับประสบการณ์ทั้งท่ีประสบความส�ำเร็จและล้มเหลว เพ่ือเป็น ขอ้ มูลไว้ใชพ้ ัฒนาการเล่นในครงั้ ต่อไป กระบวนการ/วิธีการ • ครูอธบิ ายวิธเี ลน่ /กตกิ า ดว้ ยการสาธติ การเล่น • ครูชวนเด็ก 3-4 คน มาเล่นเกมเพ่ือสร้างความเข้าใจในกติกาการเลน่ สว่ นเดก็ คนอนื่ ๆ เปดิ โอกาสใหเ้ ขา้ เลน่ ตามมมุ การเรยี นรอู้ นื่ ๆ ทเี่ ดก็ สามารถ เลน่ ดว้ ยตวั เองได้ จากนน้ั สลบั หมนุ เวยี นเขา้ มาเลน่ กบั ครจู นครบทง้ั หอ้ ง • เมอื่ เดก็ เข้าใจวธิ ีและสามารถเล่นได้ด้วยตนเอง ครูปลอ่ ยใหเ้ ด็กจับกลุม่ เลน่ อยา่ งอสิ ระ โดยครเู ฝา้ สงั เกตการเลน่ ของเดก็ และตดิ ตามพฒั นาการ ในการเลน่ ของเด็กๆ ในครง้ั ต่อๆ ไป กตกิ าการเล่น • ผ้เู ล่นตงั้ แต่ 1-4 คน • เดก็ ชว่ ยกนั วางการด์ เพอ่ื นของตน้ กลา้ โดยควำ�่ การด์ จนครบแลว้ จงึ คอ่ ย เปิดดา้ นหนา้ ข้ึน และวางการด์ โอกาสของต้นกลา้ จนครบ • เด็กเลือกท่ีจะช่วยเพื่อนของต้นกล้าโดยสามารถพาเพ่ือนของต้นกล้า ออกไดท้ างเดยี วตามลกู ศร โดยมีกตกิ าวา่ จะเลอื่ นการด์ ออกไดม้ ากกวา่ 1 ใบท่ีเหมือนกัน แต่ตอ้ งไม่มีการ์ดอน่ื บังหนา้ ในทศิ ทางเดียวกัน • ทกุ ครัง้ ทีเ่ ล่นจะต้องหยิบการด์ โอกาสของต้นกล้าออก 1 ใบ

สือ่ /อปุ กรณ์ • เกมต้นกลา้ จากชุดเลน่ ล้อมรัก โอกาสทเี่ ดก็ ไดร้ บั จากการท�ำกิจกรรม ทกั ษะสมอง EF • เด็กได้เรียนรู้วิธีเล่นจากการเฝ้าติดตามดู • จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) การสาธติ การเลน่ ของคุณครู จำ� เพ่ือใชง้ าน (Working Memory) • เด็กได้ร่วมเล่นเกมกับเพ่ือน โดยมีเงื่อนไข • ม่งุ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) กติกาที่ทุกคนยอมรับ ได้ฝึกการรอคอยท่ีจะ จ�ำเพ่อื ใช้งาน (Working Memory) เลน่ เมอ่ื ถึงตาของตัวเองเท่าน้นั ยดื หยุน่ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) • เด็กใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์สถานการณ์ ยั้งคิด ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) โดยตอ้ งสงั เกตใหล้ ะเอยี ดกอ่ นทจ่ี ะเลอื กและ • มุง่ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) ตดั สนิ ใจหยบิ การด์ ใบไหนเพอื่ ทจ่ี ะชว่ ยเพอื่ น รเิ ร่มิ ลงมือทำ� (Initiating) ของต้นกล้าได้มากที่สุดและเร็วท่ีสุด เพ่ือน�ำ จำ� เพอื่ ใช้งาน (Working Memory) ไปสู่เป้าหมายร่วมที่ทุกคนจะช่วยเพ่ือนของ ย้งั คิด ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) ต้นกลา้ ใหไ้ ด้จนหมด กอ่ นทีเ่ กมจะจบลง ยืดหยนุ่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) • เดก็ ไดส้ งั เกตการเลน่ ของเพอ่ื นในขณะเลน่ และ จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) ไดเ้ รยี นรวู้ ธิ คี ดิ ของเพอ่ื นแตล่ ะคนทอ่ี าจมวี ธิ คี ดิ ตดิ ตามประเมินตนเอง (Self - Monitoring) วิธีเลือก หรือมีการตัดสินใจทีแ่ ตกตา่ งกันไป วางแผน จัดระบบด�ำเนนิ การ (Planning and Organizing) ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) • เด็กได้ฝึกการยอมรับในผลที่เกิดข้ึนจากการ • ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) เล่นเกมหากไมเ่ ปน็ ไปดงั ท่ีคิดหรอื ตั้งใจไว้ กิจกรรมเพ่ิมเติม • เปดิ โอกาสให้เดก็ ได้มีเวลาเลน่ เกมต่างๆ ที่มเี ง่อื นไขกติกาในการเลน่ ท้ังทเ่ี ป็นการเล่นคนเดยี ว เลน่ รวม กบั เพือ่ นเป็นคู่ เปน็ กลุ่ม อย่างสม�ำ่ เสมอ โดยไมเ่ นน้ การแขง่ ขันระหวา่ งกนั 247

วยั 4-6 ปี เกมหมากขา้ ม 248 วัตถุประสงค์ • ไดร้ จู้ กั การยอมรบั ในกตกิ า ขอ้ ตกลงรว่ ม และสามารถปฏบิ ตั ติ ามเงอ่ื นไข ท่ีต้งั ไวไ้ ด้ • ไดฝ้ ึกการคิดวเิ คราะห์กอ่ นตดั สินใจเลอื กเดนิ • ได้รู้จักวางแผนการเล่นทั้งของตนเองและการเล่นร่วมกับเพื่อน เพื่อให้ เปน็ ไปตามเปา้ หมาย คอื ชว่ ยกนั ทำ� ใหเ้ หลอื ตวั เดนิ นอ้ ยทสี่ ดุ เมอื่ เกมจบลง • เดก็ ไดต้ ดิ ตามประเมนิ ผลทีเ่ กดิ ขึน้ • เด็กได้รับประสบการณ์ทั้งท่ีประสบความส�ำเร็จและล้มเหลว เพื่อเป็น ขอ้ มลู ไวใ้ ชพ้ ัฒนาการเล่นในครงั้ ตอ่ ไป กระบวนการ/วิธีการ • ครอู ธิบายวิธีเล่น/กติกาดว้ ยการสาธิตการเลน่ • ครูชวนเด็ก 3-4 คน มาเล่นเกมเพื่อสร้างความเข้าใจในกติกาการเล่น สว่ นเดก็ คนอน่ื ๆ เปดิ โอกาสใหเ้ ขา้ เลน่ ตามมมุ การเรยี นรอู้ นื่ ๆ ทเี่ ดก็ สามารถ เล่นด้วยตวั เองได้ จากนั้นสลบั หมนุ เวียนมาเล่นกบั ครจู นจบท้งั หอ้ ง • เม่ือเด็กเข้าใจวิธีและสามารถเล่นได้ด้วยตนเองแล้ว ครูปล่อยให้เด็กจับ กลุ่มเล่นเองอย่างอิสระ โดยครูคอยเฝ้าสังเกตการเล่นของเด็กและ ตดิ ตามพฒั นาการในการเล่นของเดก็ ๆ ในครง้ั ต่อๆ ไป กติกาการเลน่ • ผ้เู ล่นตงั้ แต่ 1-4 คน • เรียงตัวเดิน (ลูกกลม) ลงในกระดานจนเตม็ ยกเวน้ หลุมตรงกลาง • ผลัดเวียนกันเป็นผู้เล่นตามล�ำดับไป โดยผู้เล่นเลือกตัวเดินตัวไหนก็ได้ เพอ่ื ขา้ มลกู กลมอืน่ (จะข้ามได้ตอ้ งมหี ลมุ วา่ งขา้ งหน้าตวั ท่ีจะขา้ ม) • เม่ือขา้ มลกู กลมใดได้ให้หยบิ ลกู กลมน้นั ออก • สามารถข้ามลูกกลมหลายตอ่ ได้ • เกมจบลง ถา้ ไมม่ ีตวั ท่ีจะสามารถข้ามได้

สือ่ /อปุ กรณ์ • เกมกระดานหมากข้าม โอกาสทเี่ ด็กได้รับจากการท�ำกิจกรรม ทกั ษะสมอง EF • เด็กได้เรียนรู้วิธีเล่นจากการเฝ้าติดตามดู • จดจ่อ ใส่ใจ (Focus/Attention) การสาธติ การเลน่ ของคุณครู จำ� เพ่อื ใชง้ าน (Working Memory) • เด็กได้ร่วมเล่นเกมกับเพ่ือน โดยมีเง่ือนไข • ม่งุ เปา้ หมาย(Goal-Directed Persistence) กติกาที่ทุกคน ยอมรับได้ฝึกการรอคอยท่ีจะ จำ� เพื่อใชง้ าน (Working Memory) เล่นเมอ่ื ถึงตาของตวั เอง เท่านน้ั ยืดหยุ่นความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) • เดก็ ใชก้ ระบวนการคดิ วเิ คราะหท์ ม่ี คี วามทา้ ทาย • มุ่งเปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) โดยต้องสังเกตให้ละเอียดก่อนท่ีจะเลอื กและ รเิ ร่ิมลงมือท�ำ (Initiating) ตดั สนิ ใจวา่ จะเดนิ หมากตวั ไหนขา้ มไปในทศิ ทาง จ�ำเพ่ือใช้งาน (Working Memory) ไหน เพอื่ ทจี่ ะทำ� ใหส้ ามารถขา้ มและเกบ็ หมาก ยง้ั คดิ ไตรต่ รอง (Inhibitory Control) ออกได้มากท่ีสุด เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมายร่วมที่ ยดื หย่นุ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ทุกคนจะชว่ ยเดินหมาก จนกระท่ังเกมจบลง แลว้ เหลอื หมากเดนิ ใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะทำ� ได้ • เด็กได้สังเกตการเล่นของเพ่ือนในขณะเล่น • จดจ่อ ใสใ่ จ (Focus/Attention) และยังได้เรียนรู้วิธีคิดของเพ่ือนแต่ละคนท่ี ตดิ ตามประเมนิ ตนเอง (Self - Monitoring) อาจมีวิธีคิด วิธีเลือก หรือมีการตัดสินใจที่ วางแผนจัดระบบด�ำเนินการ (Planning and Organizing) แตกต่างกนั ไป ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) จำ� เพอ่ื ใช้งาน (Working Memory) ยืดหยนุ่ ความคดิ (Shift/Cognitive Flexibility) • เดก็ ไดฝ้ กึ การยอมรบั ในผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการเลน่ • ควบคมุ อารมณ์ (Emotional Control) เกมหากไมเ่ ปน็ ไปดงั ทค่ี ดิ หรอื ตง้ั ใจไว้ กิจกรรมเพิ่มเตมิ • เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดม้ เี วลาเลน่ เกมตา่ งๆ ทมี่ เี งอื่ นไขกตกิ าในการเลน่ ทง้ั ทเี่ ปน็ การเลน่ คนเดยี ว เลน่ รวมกบั เพือ่ นเปน็ คู่ เปน็ กลมุ่ อย่างสมำ�่ เสมอ โดยไมเ่ นน้ การแข่งขันระหวา่ งกนั 249

วยั 5-6 ปี บูรณาการระหว่างศิลปะและคณติ ศาสตร์ “เสน้ กบั จุด” วตั ถปุ ระสงค์ • ไดม้ ีสมาธจิ ดจอ่ อยา่ งตอ่ เน่อื ง • ได้วางแผน ตดั สนิ ใจในการลากเสน้ • ไดฝ้ ึกความกลา้ ในการรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ตามความคิดของตวั เอง • ได้มคี วามคิดทห่ี ลากหลาย • ได้รจู้ ักรูปสเ่ี หลยี่ ม กระบวนการ/วิธกี าร • สาธิตกิจกรรมด้วยการชวนกันเล่นเกมจุดต่อเส้น โดยครูท�ำจุดบน กระดานไว้ให้และให้เด็กอาสาออกมาลากเส้นต่อเช่ือมระหว่างจุด ทีละคน เพ่อื ใหเ้ กดิ เปน็ รูปส่ีเหล่ยี ม • แจกกระดาษใหเ้ ด็กจุดลงบนกระดาษให้ทวั่ ทงั้ แผน่ ด้วยตนเอง • ใหเ้ ด็กลากเส้นเชอ่ื มจุดตอ่ จุดเพ่ือให้เกิดเปน็ รูปสเี่ หลีย่ มด้วยตนเอง • ใหอ้ สิ ระเดก็ ในการระบายสหี รอื วาดลวดลายโดยมเี งอื่ นไขวา่ การระบาย สหี รอื ลวดลายในแต่ละชอ่ งน้ันตอ้ งไม่ใหซ้ �้ำกัน สือ่ /อปุ กรณ์ • กระดาษขนาด A4 • ปากกาเมจิกดำ� หรอื ดนิ สอดำ� • สไี ม้ (12 สี) 250


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook