Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_ในเด็กวัย_13-18_ปี_สำหรับพ่อแม่และครู

คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_ในเด็กวัย_13-18_ปี_สำหรับพ่อแม่และครู

Published by Chalermkiat Deesom, 2020-05-25 03:42:51

Description: คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_ในเด็กวัย_13-18_ปี_สำหรับพ่อแม่และครู

Search

Read the Text Version

Attention ความจ�ำเพื่อใช้งาน (working memory) ท�ำหน้าท่ีจ�ำข้อมูลจากการได้รับ ประสบการณต์ า่ งๆ ทหี่ ลากหลายผา่ นประสาทสมั ผสั ทงั้ หา้ จดั ระบบแลว้ เกบ็ รกั ษา IQ ข้อมูลไว้ในคลังสมอง เมื่อถึงเวลาที่ต้องการใช้งานก็สามารถน�ำข้อมูลในสมองออก มาใช้คิดเปรียบเทียบเพื่อแก้ปัญหาได้โดยอัตโนมัติ เป็นความจ�ำท่ีเรียกข้อมูลกลับ working memory มาเพอ่ื ใชอ้ ย่างถูกทีถ่ ูกเวลา ตลอดเวลาทเ่ี ราตนื่ working memory จะทำ� งาน ชว่ ยใหเ้ ราจำ� ไดเ้ มอ่ื ลมื ตาตนื่ ว่า เช้านี้จะต้องท�ำอะไรบ้าง เมนูอาหารเช้าท่ีเคยท�ำท�ำอย่างไร เวลาอ่านหนังสือ working memory จะช่วยให้เราจ�ำและเชื่อมโยงข้อมูลจากย่อหน้าหน่ึงไปยังย่อ หนา้ อน่ื ๆ สามารถแก้โจทยเ์ ลขคณิตหลายข้นั ตอนได้ คิดเลขในใจได้ เป็นตน้ working memory ตา่ งจากการจดจำ� แบบทอ่ งจำ� เพราะการทอ่ งจำ� นน้ั เปน็ การ จดจ�ำข้อมูลที่ไม่เคลื่อนไหวแล้ว เช่น ท่องจ�ำช่ือบุคคลในประวัติศาสตร์ ท่องจ�ำ ชื่อเมืองฯลฯ เพ่ือตอบข้อสอบ ซ่ึงข้อมูลเหล่านี้อาจจะไม่เกี่ยวข้องหรือไม่ได้ใช้ใน ชีวิตจริง ท�ำให้สิ่งที่ท่องจ�ำไว้นั้นในที่สุดก็ลืมไป แต่ working memory เป็น การจดจ�ำข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์ที่มีความหมายในชีวิต เป็นข้อมูลที่มี การเคลอ่ื นไหวและเช่อื มโยงสัมพันธก์ ัน ส�ำหรับเด็กๆ working memory เกี่ยวข้องกับทักษะทางวิชาการหลายด้าน ทั้งภาษา การอ่านเอาเรื่อง การเขียน การคิดค�ำนวณแก้โจทย์คณิตศาสตร์ ถ้า working memory ไม่ดีก็จะวางแผนหรือจัดระบบจัดการข้อมูลหรือติดตาม งานท่ีครูมอบหมายให้ได้ไม่ดี อาจประสบปัญหาในการเรียนวิชาการ เช่นเดียวกับ ที่อาจประสบปัญหาในการก�ำกับพฤติกรรมตนเอง เด็กจะจ�ำไม่ได้ว่ากฎ กติกา มารยาทในสังคมเป็นอย่างไร หรอื ควรปฏิบตั ิตนในสังคมอย่างไร 50

working memory ท�ำงานเชื่อมโยงกับ attention หรือการมีสมาธิจดจ่อ ซึ่งเป็นหน่ึงในทักษะสมอง EF ท่ีก�ำกับตนเอง เวลาเราฟังใครพูดอะไร จ�ำได้ว่า เร่ืองเป็นอย่างไร สิ่งใดเกี่ยวพันกัน ในเวลานั้น working memory ก�ำลังท�ำงาน หากเราใจลอยไม่มีสมาธิ สิ่งที่ฟังไม่ได้เข้าหูเวลานั้น หมายถึงไม่มีสมาธิจดจ่อ working memory ก็ไม่สามารถท�ำงานได้ working memory มีส่วนส�ำคัญต่อ IQ เด็กท่ีมี working memory ดี IQ จะดีตามไปด้วย อีกท้ังเด็กท่ีมีปัญหาเรื่องนี้มักจ�ำขั้นตอนท่ีครูสั่งงานหลายอย่างได้ บา้ งไมไ่ ดบ้ า้ ง ทำ� อะไรผดิ ซำ�้ ๆ ลมื ไปวา่ กำ� ลงั ทำ� อะไร ทำ� อยา่ งหนง่ึ อยกู่ ไ็ ปทำ� อกี อยา่ ง หนึ่ง หรือลืมโนน่ ลมื นเ่ี ปน็ ประจำ� เป็นตน้ ท้ังน้ีมีงานวิจัยที่ชี้ว่าการพัฒนา working memory รวมทั้งทักษะการใส่ใจ จดจ่อในช่วงเป็นเด็กเล็กก่อนเข้าอนุบาล ส่งผลต่อความส�ำเร็จในด้านการอ่าน และคณิตศาสตร์ในชว่ งอนุบาลและชว่ งอ่นื ๆ ต่อไปอยา่ งเห็นได้ชดั ค�ำส�ำคัญ “มีคจว�ำาขม้อหมมูลาทยี่ ” (key word) ของ working memory กับปคริดะสเชบ่ือกมาโรยณง ์เดิม ข้อมมูลปานรใ้ันะชมเ้งพวาลน่ือผนตล�ำ่อออก หรือความจ�ำ เพ่ือใช้งาน ได้แก่ 51

2. การย้งั คดิ ไตร่ตรอง : Inhibitory Control คอื ความสามารถของสมองในการหยุด ยับยัง้ ควบคมุ กล่ันกรองความคิดและ แรงอยาก จนสามารถตา้ นทานหรอื ยบั ยง้ั สงิ่ ยวั่ ยุ ความวา้ วนุ่ นสิ ยั ความเคยชนิ หยดุ คดิ กอ่ นทำ� ทำ� ใหเ้ ราสามารถคดั เลอื ก มคี วามจดจอ่ รกั ษาระดบั ความใสใ่ จ จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั และกำ� กบั การกระทำ� ของตนได้ ความสามารถดา้ นนที้ ำ� ใหเ้ ราเปน็ สตั วโ์ ลก ที่ไม่ท�ำอะไรตามสัญชาตญาณหรือท�ำทุกอย่างตามความอยากเท่าน้ัน inhibitory control เปน็ ทกั ษะการหยดุ 3 อยา่ ง หยุดอารมณ์ หยุดความคดิ หยุดพฤติกรรม Inเปh็iนbทit3ักoษrอyะยก่าCางรoหnยtุดrol หยดุ อารมณ์ เช่น คนท่ีอารมณ์เสีย หงุดหงิด ก�ำลังโกรธ เศร้า หรือเกิดอารมณ์อยาก สามารถปรับอารมณ์ มาเป็นปกติได้ (ด้วยวิธีการใด ก็ตาม) คือคนที่หยุดเป็น ยับยั้งชั่งใจได้ หยดุ หยดุ ทหคคเคฟริิืดอด่ียเุ้ง่ือกซมทุดงิดสใา่ี่หานขกนา“ล้ึมนเมเุดวกโใาหลนลนินรอาร”สถยทือหมคคหอ�ำยอิดวงอยาุงาดฝกุดนมคันไกเควชปเาิฟสาด่นนรมทาื่คออคมี่ งิดคกิดารวร้าาถยม พฤตกิ รรม ความคิด หอหอัตยมยโาุาดนกยไมตดถัตึี้งไสิเปเรชิ่งทาใ่นัดสนทาทโมี่ทีมแา�ำโตรหเ่หปถเพย็นุดื่อไนว้ได้ 52

ทักษะในการหยุดหรือ inhibitory control ท�ำให้คนไม่ออกนอกลู่นอกทาง สามารถจดจ่ออยู่กับเป้าหมายท่ีจะท�ำให้ส�ำเร็จ เพราะถ้าไม่สามารถหยุดท�ำสิ่งเดิม กจ็ ะปรับหรือเปลยี่ น (shift) ไปท�ำส่ิงใหมไ่ มไ่ ด้ เมือ่ สามารถหยดุ คดิ จากมมุ เดมิ ของ ตนได้ ก็จะเปล่ียนไปมองจากมุมของคนอื่นเป็น ไม่ยึดติดอยู่กับความคิดเดียวหรือ ยึดติดกับปัญหาจนเดินหน้าต่อไปไม่ได้ คิดนอกกรอบเป็น สามารถฝ่าฟันอุปสรรค เปล่ยี นวกิ ฤติให้เป็นโอกาสได้ ล้มแลว้ ลกุ ได้ inhibitory control เป็นการเอาชนะความอยากจากข้างใน ไม่ใช่การถูก บังคับจากภายนอก ในชีวิตจริงของผู้ใหญ่ การยับย้ังชั่งใจเพื่อท�ำในสิ่งท่ีถูก ท่ีควร (แม้มีสิ่งย่ัวยวนจากภายนอกรบกวนมากเพียงใด) น้ันส่งผลไปถึงคุณธรรม และจริยธรรม inhibitory control ท�ำให้เด็กสามารถหยุดร้องไห้ได้ด้วยตนเอง ไมใ่ ช่เพราะผู้ใหญบ่ อกให้หยุด คนท่ีมีปัญหาเร่ือง inhibitory control มักท�ำอะไรไม่เสร็จ ส่งงานไม่ทันตาม กำ� หนด มาสาย ไมร่ บั ผดิ ชอบการงาน วอกแวกงา่ ย หนุ หนั พลนั แลน่ หยดุ พฤตกิ รรม inhibitory control ของตนไม่ได้ ท้ังหมดนีเ้ ปน็ ตวั อยา่ งสะท้อนว่าทกั ษะเรือ่ งนี้มีปัญหา 3. การยืดหย่นุ ความคิด : Shift/Cognitive Flexibility เป็นทักษะท่ีธรรมชาติให้สมองมีความสามารถในการเปล่ียนความคิด เมื่อเง่ือนไขเปลี่ยน เป็นความสามารถท่ีจะ“เปลี่ยนเกียร์” ให้อยู่ในจังหวะท่ี เหมาะสม ปรับตัวเข้ากับข้อเรียกร้องของสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนไป ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเวลาที่เปลี่ยนไป เป้าหมายท่ีจะต้องไปถึงก็เปล่ียนไป หรือเรื่องความส�ำคัญ ของเร่ืองทท่ี �ำเปลย่ี นไป 53

เป็นความสามารถของสมองท่ีช่วยให้คนปรับเปล่ียนความเคยชิน หรือ น�ำความรู้เดิมไปใช้ในสถานการณ์ที่แตกต่างได้ เม่ือเห็นจุดผิดพลาดแล้วแก้ไข ด้วยวิธีการใหม่ๆ ช่วยให้เราพิจารณาส่ิงต่างๆ จากมุมมองที่สด มีความสามารถ คิดจากมุมทต่ี ่างไปจากเดมิ การยืดหยุ่นความคิดเป็นทักษะท่ีพัฒนาต่อมาจากทักษะ working memory ท่ีเกิดข้ึนในขวบปีแรก และ inhibitory control ท่ีพัฒนาในช่วงสามขวบคร่ึง การยืดหยุ่นหรือเปล่ียนความคิดพัฒนาขึ้นเป็นข้ันเป็นตอนหลังจากที่มี working memory และ inhibitory control ดี หากเด็กไม่สามารถยับยั้งตนเองได้ เกดิ อารมณห์ รือความคิดอยา่ งไรกแ็ สดงออกทนั ที จะไม่สามารถเปลี่ยนความคิดได้ เมอ่ื มีความสามารถในการยับย้งั และหยดุ เป็น จึงจะพัฒนาต่อ ความสามารถเปลี่ยนความคิดได้เหมือนการเปล่ียนเกียร์รถเพ่ือปรับความเร็ว ใหส้ อดคล้องกับสภาพการจราจร คนที่สมองส่วนหน้ามี shift หรือทักษะการยืดหยุ่นความคิดดี เวลาเจอปัญหา อปุ สรรคจะสามารถหาวธิ กี ารแตกตา่ งหลากหลายมาใชแ้ กป้ ญั หาไปจนประสบความ ส�ำเร็จได้ เปลี่ยนมุมมองของตนเองไปมองจากมุมของคนอื่นเป็น ไม่ยึดติดอยู่กับ ความคดิ เดยี วหรอื ยดึ ตดิ กบั ปญั หาจนเดนิ หนา้ ตอ่ ไปไมไ่ ด้ คดิ นอกกรอบเปน็ สามารถ ฝา่ ฟันอปุ สรรค เปล่ยี นวกิ ฤติให้เปน็ โอกาสได้ ลม้ แลว้ ลุกได้ คนทป่ี รบั ตวั ยาก เมอ่ื เปลยี่ นสงิ่ แวดลอ้ ม เปลย่ี นกจิ กรรม เปลยี่ นสถานท่ี เปลยี่ น ตารางเวลา สะทอ้ นวา่ มปี ัญหาเร่อื ง shift ความสามารถเปลี่ยนมุมมองส่งผลให้มีความเข้าใจคนอื่นและมีความคิด สรา้ งสรรค์ ซึ่งเปน็ ทกั ษะสำ� คัญของศตวรรษท่ี 21 54

directed EF ในกลมุ่ ทักษะ ก�ำกบั ตนเอง มี 3 ดา้ นคือ การจดจ่อใส่ใจ : Focus/Attention การติดตามประเมนิ ตนเอง : การควบคุมอารมณ์ : Self–Monitoring Emotional Control 55

4. การจดจ่อใสใ่ จ : Focus/Attention คือทักษะของสมองส่วนหน้าที่ท�ำให้จดจ่ออยู่กับส่ิงที่ก�ำลังท�ำ ก�ำลังคิด ไม่วอกแวก สามารถรักษาความตื่นตัว รักษาความสนใจในทิศทางที่ควรเพื่อให้ บรรลุส่ิงท่ีต้องการ มีสติรู้ตัวต่อเน่ืองในระยะเวลาท่ีเหมาะสมตามวัยและตาม ความยากง่ายของภารกิจนั้นๆ การจดจ่อใส่ใจเป็นอีกคุณสมบัติพ้ืนฐานที่จ�ำเป็น ต่อการเรียนรู้และท�ำงาน ท�ำให้สิ่งเร้าภายนอกหรือส่ิงเร้าท่ีเกิดขึ้นภายในตนเอง ไม่สามารถเข้ามารบกวนได้ง่าย เด็กท่ีมีความตั้งใจจดจ่อกับสิ่งท่ีก�ำลังท�ำจะเป็น หนทางท่ีปูไปส่คู วามมุง่ มนั่ สูเ่ ปา้ หมาย การจดจ่อใส่ใจเกดิ ข้ึนได้จากทกั ษะ EF พ้ืนฐาน คือยับยัง้ หยุดความวอกแวกได้ และมี working memory จ�ำได้ว่าตนเองก�ำลังท�ำอะไร ท�ำไมต้องท�ำ ท�ำให้ อยนู่ ่งิ กับสิง่ นนั้ ตอ่ ไปได้ 56

5. การควบคมุ อารมณ์ : Emotional Control คอื ความสามารถของสมองสว่ นหนา้ ในการจดั การกบั อารมณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ มาในสมอง ส่วนกลางหรือส่วนลิมบิก เป็นความตระหนักรู้ว่าตนก�ำลังอยู่ในภาวะอารมณ์ ความรู้สึกอย่างไร สามารถปรับอารมณ์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ควบคุม การแสดงออกทงั้ อารมณแ์ ละพฤตกิ รรมไดเ้ หมาะสม คนทไี่ มส่ ามารถควบคมุ อารมณ์ ไดอ้ าจกลายเปน็ คนทฉี่ นุ เฉยี ว โมโหงา่ ย ขหี้ งดุ หงดิ ขร้ี ำ� คาญเกนิ เหตุ ระเบดิ อารมณ์ ง่าย ท�ำให้เรื่องเล็กกลายเป็นเรื่องใหญ่ หรืออาจกลายเป็นคนขี้กังวล อารมณ์ แปรปรวน ซึมเศร้าง่าย เด็กเล็กที่เริ่มพัฒนา working memory, inhibitory control, shift ได้ดีก่อนจะเข้าสู่ชั้นประถม จะสามารถควบคุมอารมณ์หรือ emotional control ได้ หมายความว่าเมอื่ เกดิ ความรสู้ ึกท่ไี มด่ ี เดก็ สามารถหยดุ แล้วเปลี่ยนความคิดได้ ท�ำให้อารมณ์เปลี่ยนไปในทางบวกได้ เวลาโกรธ ผิดหวัง เสียใจ รู้จักแสดงออกอย่างเหมาะสม ไม่เสียใจหรือโกรธนานเกินไป คืนอารมณ์สู่ สภาวะปกติ ท�ำงานต่อไปได้ คนที่มีปัญหาเร่ืองน้ีมักโกรธแล้วแสดงอารมณ์รุนแรง โกรธด้วยเหตุเล็กน้อยขณะที่คนอื่นไม่โกรธ โกรธแล้วกว่าจะคุมอารมณ์ได้ใช้เวลา นาน ไปต่อไม่ได้ เพราะตดิ กับอารมณต์ นเอง ตัวอย่างการควบคุมตนเอง เชน่ ควบคุมอารมณ์โกรธ ควบคมุ พฤติกรรม จะชก แต่ไม่ชก เทา่ กบั ยับยงั้ อารมณโ์ กรธได้ ยังโกรธอยแู่ ต่รูจ้ กั จดั การใหเ้ หมาะสม 6. การประเมินตนเอง : Self-Monitoring คือทักษะท่ีสมองส่วนหน้าสามารถตรวจสอบความรู้สึก ความคิดหรือการ กระทำ� ของตน ทั้งในระหว่างทางหรอื เม่อื ถงึ ปลายทางแลว้ เพอื่ ใหม้ ่นั ใจว่าจะน�ำไป สู่ผลดีต่อเป้าหมายท่ีวางไว้ หรือต้องปรับปรุงให้ดีข้ึน เป็นการท�ำความรู้จักตนเอง ทง้ั ในดา้ นความตอ้ งการ จดุ แขง็ และจดุ ออ่ นไดช้ ดั เจน รวมไปถงึ การตรวจสอบความ คิดความรู้สึกหรือตัวตนของตนเอง ก�ำกับติดตามปฏิกิริยาของตนเองและดูผลจาก พฤติกรรมของตนท่ีกระทบถงึ ผูอ้ นื่ ความสามารถนีช้ ่วยใหค้ นเราทบทวนส่งิ ท่ที �ำไป ร้สู กึ สำ� นึกผิดแล้วปรับปรุงตนเองใหม่ เพือ่ พฒั นาตนใหด้ ขี ้นึ 57

directed EF ในกลุม่ การรInเิ รiิ่มtiลatงiมnอืgทำ� : ทักษะปฏิบตั ิ มี 3 ด้านคือ การวางแผนและจดั การงานใหส้ ำ� เรจ็ : การมงุ่ เปา้ หมาย : Goal-directed Planning and Organizing Persistence 58

7. การรเิ รมิ่ ลงมือท�ำ : Initiating คือทักษะที่สมองสามารถตัดสินใจว่าจะท�ำสิ่งใดส่ิงหน่ึงและน�ำไปสู่การลงมือ ปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล โดยธรรมชาติมนษุ ย์มีความรเิ ร่ิมอยากท�ำอะไรมาต้งั แต่เล็ก เด็กๆ ต้องการท�ำส่ิงท่ีตนสนใจใคร่รู้ด้วยตนเองโดยไม่มีใครมาส่ังอยู่แล้ว น่ันคือการใช้ ทักษะริเริ่มลงมือท�ำ (initiating) ทักษะน้ีสะท้อนออกมาเป็นพฤติกรรมท่ีดี หลายอย่าง เช่น ไม่ผัดวันประกันพรุ่ง ลงมือโดยไม่ต้องมีใครเตือน มีความเพียร อุตสาหะมีความคิดริเริ่ม คิดนอกกรอบ เป็นต้น ทักษะน้ีเป็นพ้ืนฐานของความคิด ริเริม่ สรา้ งสรรคแ์ ละน�ำไปสู่การพฒั นาให้สิ่งใหมๆ่ เกิดขึ้น ทักษะ EF พน้ื ฐานทเ่ี ปน็ ตน้ กำ� เนิดของทกั ษะนค้ี ือ ความสามารถในการยืดหยุ่น ความคิดน่นั เอง 59

8. การวางแผนและจดั การงานใหส้ �ำเร็จ : Planning and Organizing คือทักษะท่ีสมองส่วนหน้าสามารถท�ำให้สิ่งที่คิดเกิดเป็นจริงในทางปฏิบัติ เปน็ การนำ� ความคาดหวงั ทม่ี ตี อ่ เหตกุ ารณใ์ นอนาคตมาทำ� ใหเ้ ปน็ รปู ธรรม เรมิ่ ตง้ั แต่ การน�ำเอาส่วนประกอบท่ีส�ำคัญมาเชื่อมต่อกันเป็นการตั้งเป้าหมาย การเห็นภาพ รวมทั้งหมดของงาน จัดล�ำดับความส�ำคัญ จัดระบบด�ำเนินการ บริหารเวลาและ ทรัพยากร ก�ำหนดกิจกรรมฯลฯ เพื่อน�ำไปสู่ความส�ำเร็จตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ planning and organizing เป็นทักษะ meta cognitive (การรู้คิด) เรือ่ งแรกท่เี กิด ข้ึนมาในช่วงชีวิตปฐมวัยเมื่อจ�ำได้ว่าเป้าหมายคืออะไร อดใจได้ไม่เถลไถลท�ำอย่าง อ่ืน ตั้งใจทำ� งาน (ง่ายๆ ตามพัฒนาการ) ได้เสร็จ ปรบั เปล่ยี นความคิด แก้ปญั หาได้ ด้วยตนเอง พบอุปสรรคก็มุมานะพยายามหาวิธีการต่างๆ ท�ำงานจนส�ำเร็จ ไม่ท้อ ง่าย เด็กทมี่ ปี ัญหาเรอื่ งนจี้ ะทำ� อะไรไมเ่ ป็นระเบียบ หาของไม่เจอ เปน็ ตน้ เมือ่ เดก็ ได้พฒั นาทักษะสมอง EF สอดคลอ้ งเต็มศักยภาพ เมือ่ จบชนั้ อนุบาลโดยพนื้ ฐานเดก็ ควรจะมีทักษะสมอง EF 5 เร่ืองคือ สามารถจ�ำเพ่ือใช้งาน หยุดตัวเองได้ เปล่ียนความคิดเป็น ควบคุมอารมณ์ตนเองได้ วางแผนและจัดการเรื่องง่ายๆ ตามวัย สะท้อนออกมาเป็นเด็กนิสัยดี เฉลียวฉลาด ท่ีเกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ฝึกฝนด้วยตนเอง จากโอกาสและการสนับสนุน ของครแู ละผปู้ กครอง จากนนั้ เรอื่ งความสามารถในการอา่ นเขยี นและทกั ษะทางวชิ าการกจ็ ะเปน็ เรือ่ งง่ายทจี่ ะเรียนรตู้ อ่ ไป เดก็ เล็กทมี่ ปี ัญหาเร่ืองทักษะสมอง EF นนั้ ปัญหาจะไมห่ ายไปเอง เมอื่ เติบโตขึ้นต้องเรียนและรับผิดชอบสูงข้ึน ความบกพร่องจะยิ่งส่งผลต่อตนเองมากข้ึนต้ังแต่เร่ือง ไม่มีสมาธิ เรียนไม่ดี ติดบุหรี่ เหล้า การพนัน ยาเสพติด ได้ง่าย รวมท้ังโรคจิตเภท ไม่ว่าโรค ซึมเศรา้ ยำ้� คิดย�้ำทำ� 60

9. การม่งุ เปา้ หมาย : Goal-directed Persistance เป็นความพากเพียรเพ่ือบรรลุเป้าหมายและจดจ�ำข้อมูลนี้ไว้ในใจตลอดเวลาท่ี ท�ำงานตามแผนจนกว่าจะไปถึงเป้าหมาย ทักษะน้ียังรวมหมายถึงการมีความใส่ใจ ในเรื่องเวลา (sense of time) กับความสามารถในการสร้างแรงจงู ใจให้ตนเองและ ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของเปา้ หมายอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง นนั่ หมายความถงึ การกอ่ รปู นสิ ยั ทเ่ี มอื่ ตง้ั ใจและลงมอื ทำ� สง่ิ ใดแลว้ จะมงุ่ มน่ั อดทนฝา่ ฟนั อปุ สรรคใดๆ ไปสคู่ วามสำ� เรจ็ ความสามารถนเ้ี หน็ ไดต้ ง้ั แต่เล็กๆ เชน่ ความพยายามผูกเชือกรองเทา้ กลดั กระดมุ เส้อื จนส�ำเร็จ ความพยายามท่ีจะปนี บนั ไดโค้งใหไ้ ด้ เปน็ ตน้ ทักษะสมอง EF ใช้เม่ือไหร่ ในระบบชีวิต การท�ำงานของสมองเป็นระบบท่ีซับซ้อนมากที่สุด ทักษะสมอง EF จะเข้ามาท�ำงาน ในเวลาที่เราอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่คุ้นเคย ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้เรื่องใหม่ๆ อยู่ในที่ใหม่ๆ อยู่ใน สถานการณ์ท่ีไม่เป็นไปตามคาด ซึ่งในชีวิตจริงมีสถานการณ์เช่นน้ีเกิดข้ึนตลอดเวลา ทักษะสมอง EF จะเข้ามามีบทบาทบริหารจัดการวงจรประสาทส่วนต่างๆ ที่เก่ียวข้องให้ประสานท�ำงานร่วมกัน แลว้ ตอบสนองออกไปเปน็ การคดิ เลอื กตดั สนิ ใจวา่ ในสถานการณเ์ ชน่ นน้ั เราจะทำ� อยา่ งไร ซง่ึ จะสง่ ผลถงึ เปา้ หมายทีต่ งั้ ไว้หรือต้องการไปให้ถงึ ในขณะเดียวกันก็บริหารจัดการใหเ้ กดิ วงจรประสาทใหม่ๆ ในการ เรียนรู้ข้ึนมา เมอื่ สถานการณเ์ รมิ่ เป็นท่คี ุน้ เคย ทกั ษะสมอง EF จะท�ำงานน้อยลง สมองส่วนอืน่ จะเข้ามารับหนา้ ท่ี แทน การจดั การเรยี นรใู้ นโรงเรยี นนนั้ หากเดก็ ไดท้ ำ� แตเ่ รอื่ งทท่ี ำ� เปน็ ประจำ� ซำ้� ๆ โอกาสไดฝ้ กึ ทกั ษะสมอง EF กจ็ ะนอ้ ยลงไป 61

EF กับมิตดิ ้านต่างๆ ของชีวิต รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านทักษะสมอง EF จากศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะท�ำงานวิชาการ สถาบัน RLG ได้รวบรวม ข้อมลู วิจัยจากตา่ งประเทศ เพื่อสรปุ ใหเ้ หน็ ความเกี่ยวขอ้ งของทกั ษะสมอง EF ท่มี ตี อ่ พฒั นาการมิตติ ่างๆ ของชีวติ ไมว่ ่าดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม สตปิ ญั ญา ไวด้ งั น้ี ด้านสติ ปัญญา ดา้ นร่างกาย ดา้ นสงั คม EF ทไ่ี ม่แข็งแรงจะเก่ยี วขอ้ งกบั โรคอว้ น ดา้ นอารมณ์ การกินอาหารมากไป การเสพติดสารต่างๆ จติ ใจ และเม่ือเจ็บปว่ ยกไ็ มร่ ักษาตวั ต่อเนื่อง อัตราการบกพร่องใน EF สัมพันธ์กับ Crescioni et al.2011, Miller et al.2011, การมีงานท�ำและอาชีพการงาน การเรียน Riggs et al.2010 ต่อเน่ือง ความส�ำเร็จในการเรียน รายได้ ครอบครวั ความพงึ พอใจในชวี ติ คู่ การเปน็ คนที่มีความยับยง้ั ช่งั ใจตำ�่ พ่อแม่ สุขภาวะทางจติ ของลูก ความเสี่ยง ขาดส�ำนกึ รตู้ ัวในวัยเด็ก ในการขบั รถ ปญั หาการเงนิ และการไดร้ บั จะมีอายุส้ันกวา่ ด้วยโรคเลอื ด ความเช่ือถือทางการเงิน พฤติกรรมผิด ในหัวใจหรอื มะเร็ง เพราะใช้ชวี ติ กฎหมาย อัตราการถูกจับ ความใส่ใจต่อ ไปตามความอยากหรอื แรงเรา้ มกั มี สุขภาพและภาวะจิตเภท (รวมเป็นการ พฤตกิ รรมติดเหล้า สูบบุหรี่ ไม่คมุ น้ำ� หนกั ศกึ ษาความบกพร่องในชวี ิต 15 ดา้ น) ไมอ่ อกกำ� ลังกาย ไมจ่ ัดการกับ คลอเรสโตรอล เปน็ ต้น Barkley, 2011a; Barkley & Fischer, 2011; Barkley & Murphy,2010,2011) งานวจิ ยั ระยะยาว ของ Friedman et al.,1995 สุขภาวะ องค์รวมตลอด ชว่ งชวี ติ 62

ความพรอ้ มแรกเข้าเรยี น : EF ส�ำคัญตอ่ ความพร้อมในการ EF เป็นเครื่องท�ำนายความส�ำเร็จในการ เรยี นยงิ่ กวา่ IQ หรอื ความสามารถในการอา่ นและคดิ คำ� นวณ เรียน การเข้ารว่ มกจิ กรรมกบั โรงเรียน และ ในระดบั แรกเขา้ เรยี นในช้นั ประถม สุขภาวะ EF เป็นเคร่ืองท�ำนายทักษะทาง สังคม ความสัมพันธ์กับครูและเพ่ือนๆ Blair &Razza 2007, Morrison et al.2010 ทำ� นายฐานะการเงิน รายได้ในอนาคต และ อตั ราการทำ� ผดิ กฎหมาย ความส�ำเร็จในการเรียน : EF พยากรณ์ความสามารถท้ัง คณติ ศาสตรแ์ ละการอ่าน ตลอดชว่ งการศึกษาในระดบั ตา่ งๆ Moffitt TE, Arseneault L, Belsky D, et al. 2011 Borella et al.2010, Duncan et al.2007, Gathercole et al.2004 สัมพันธภาพในชีวิตคู่ คู่สมรสท่ีมี EF ไม่ดีจะอยู่ด้วยกันยากกว่า พ่ึงพิงไม่ค่อยได้ มหี ลกั ฐานมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ ชช้ี ดั วา่ ความจำ� เพอ่ื ใชง้ าน (working ใช้อารมณ์ หนุ หนั พลันแลน่ memory) กับการย้ังคิดไตร่ตรอง (inhibitory control) เป็นส่ิงท่ีบอกถึงความส�ำเร็จหลังจบจากโรงเรียนแล้ว ได้ดียิ่ง Eakin et al. 2004 กว่าการทดสอบ IQ Diamonds,A.(2008) คนท่ี EF อ่อนแอ น�ำไปสู่ปัญหาสังคม อาชญากรรม พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว รนุ แรง และ ระเบดิ อารมณ์ Broidy et al.2003, Denson et al.2011  พบ EF บกพรอ่ งในความผดิ ปกติ EF ทไ่ี มด่ ี น�ำไปสู่ผลิตผล (productivity) ทางจติ หลายดา้ น ท่ีไม่ดี หางานยากและรักษางานไว้ได้ยาก • การเสพตดิ • ADHD (สมาธสิ น้ั ) Bailey 2007 • Conduct Disorder (พฤตกิ รรมเกเร) • Depression (ซึมเศรา้ ) จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นว่าทักษะสมอง EF มีความส�ำคัญต่อ • Obsessive Compulsive (ยำ�้ คดิ ย้�ำทำ� ) การอยรู่ อดปลอดภยั และความสำ� เรจ็ ในชวี ติ EF จงึ เปน็ ทกั ษะทผี่ ใู้ หญ่ • Schizophrenia (ความผดิ ปกติทาง ต้องให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาเด็กของเรา เพ่ือให้ ความคิดและการรบั ร)ู้ มนั่ ใจวา่ เดก็ ๆ จะไปถงึ ปลายทางของการเปน็ คนคณุ ภาพดงั ทคี่ าดหวงั ฐานของทักษะสมอง EF ที่แข็งแกร่งจงึ มีความส�ำคัญยิ่งกว่าการ Baler&Volkow 2006 รู้จักตัวเลขหรือตัวหนังสือ แต่เป็นท่ีน่ากังวลใจว่า ในขณะท่ีผู้ใหญ่ • Diamond2005, Lui&Tannock, 2007, ต่างก็ต้ังความคาดหวังอยากให้เด็กๆ มีพัฒนาการดี ครบรอบด้าน Fairchild et al, 2009, Taylor&Tavares et al, ต้ังแต่เล็กจนโต และประสบความส�ำเร็จ คิดเป็นท�ำเป็น แก้ปัญหา 2007, Penadeset al, 2007, Barch, 2005 เป็น แต่ในวันน้ี ทิศทางในการพัฒนาเด็กไทยทุกช่วงวัย กลับหันเห เบี่ยงเบนไปสู่การเร่งรัดการเรียนวิชาการ เน้นการแข่งขันเพ่ือเอา การสง่ เสรมิ EF ทุกด้านช่วยให้เด็กมีทักษะการ คะแนน ไมใ่ ชเ่ พอ่ื สรา้ งสมประสบการณ์ เพอ่ื การคดิ เปน็ ทำ� เปน็ และ ปรบั ตวั และฟน้ื ตวั เมอื่ เผชญิ กบั เหตกุ ารณว์ กิ ฤต แกป้ ญั หาเป็น แต่อยา่ งใด สามารถกลบั มาเข้มแขง็ ได้ใหม=่ ลม้ แล้วลุก Greenberg M.2007 63

EF Executive Functions vs IQ มีนักวชิ าการจำ� นวนไมน่ ้อยทไ่ี ดศ้ ึกษาหาความสัมพันธร์ ะหว่าง EF กับ IQ และ พบว่ามีความสัมพันธ์กัน แต่ก็มีความแตกต่างกัน เช่น Joyce Cooper-Kahn & Laurie Dietzel, 2008 ช้วี ่า “คนจ�ำนวนมากมักคาดเอาว่า บุคคลที่มีปัญญาดี (intelligence) มักจะมี ทักษะสมอง EF ดี โดยธรรมชาติเรามักจะคาดหวังว่าเด็กที่เรียนดีจะมีนิสัย การทำ� งานทดี่ ี และมคี วามสามารถในการจดั การกบั การงานทง้ั ทบ่ี า้ นและทโี่ รงเรยี น ได้ดี แต่ในความเปน็ จริง ความสามารถทางปญั ญากบั ทักษะสมอง EF ไปดว้ ยกนั ได้ ในบางระดับเท่านั้น นั่นหมายความว่า เด็กที่มีปัญญาเลิศอาจจะมีความสามารถ ต่�ำในการยับยั้งแรงกระตุ้น ขาดทักษะการวางแผน หรือจัดการกับชีวิตประจ�ำวัน ได้ไม่ดี นอกจากนี้ การที่เด็กมีความสามารถในการใช้ปัญญาวิเคราะห์และเข้าใจ การงาน ก็ไม่ได้หมายความว่าเด็กเหล่านั้นจะลงมือท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมคี วามมงุ่ ม่นั ท�ำงานจนสำ� เรจ็ ในทางตรงกันข้าม เด็กที่มีทักษะสมอง EF ดี มักจะเรียนดีไปด้วย แม้กระทั่ง คนท่ีมีความบกพร่องทางสมองซึ่งโดยปกติมักจะมี EF อ่อนแอไปด้วย แต่ก็พบว่า เดก็ ท่ี IQ ต�่ำจำ� นวนมาก หากไดร้ ับการฝึกฝนทักษะสมอง EF มาดี กจ็ ะพัฒนาขึ้น จนมีความสามารถทด่ี ีในการเรยี นร้แู ละดำ� เนินงานในกิจวตั รประจ�ำวันได้ดี” 64

เช่นเดียวกับนักวิชาการชั้นน�ำอย่างศาสตราจารย์ ดร. Adele Diamond แห่งมหาวทิ ยาลยั British Columbia ประเทศแคนาดา ได้ชชี้ ดั เจนวา่ “EF แตกต่างจาก IQ การทดสอบ IQ แบบดั้งเดิมเป็นการวัดความสามารถ ทางปัญญาท่ีตกผลึกแล้ว (crystallized intelligence) ซ่ึงเป็นการดึงข้อมูล ทเี่ รียนไปแลว้ เช่น ค�ำนี้หมายความวา่ อยา่ งไร เมอื งหลวงของประเทศน้ีชื่ออะไร แต่ Executive Functions คือความสามารถในการใชส้ งิ่ ที่เรารูแ้ ลว้ น�ำมาสร้าง สรรค์ใหม่หรือน�ำมาแก้ปัญหา ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับความสามารถทางปัญญา ทเ่ี ลอ่ื นไหล (fluid intelligence) ทกั ษะความสามารถชนดิ น้ี ตอ้ งการการใหเ้ หตผุ ล และการหยิบใชข้ อ้ มูล ปัญญาท่ีเล่ือนไหล (fluid intelligence) กับ EF มีความทับซ้อนกันอย่างมาก มีหลักฐานจ�ำนวนมากที่ระบุว่าความจ�ำเพื่อใช้งาน (working memory) กับการ ย้ังคิดไตร่ตรอง (inhibitory control) คือสิ่งท่ีบอกถึงความส�ำเร็จของเด็ก หลงั จบจากโรงเรยี นแล้วไดด้ มี ากกว่าการทดสอบ IQ” ดังน้ัน เราคงจะพอมองเห็นได้ว่า การส่งเสริมให้เด็กได้ฝึกฝนทักษะสมอง EF น้ันไม่ใช่การเน้นการท่องจ�ำสิ่งท่ีเขียนไว้ในต�ำรา หากแต่ส่งเสริมเด็กให้มี ประสบการณ์ที่จะบันทึกความทรงจ�ำอย่างมีความหมาย แล้วน�ำประสบการณ์ และทักษะเหล่าน้นั มาใช้แกป้ ัญหาต่างๆ ทเ่ี กิดขนึ้ ในชีวติ ประจ�ำวันอย่างเหมาะสม ทส่ี ำ� คญั เดก็ ทมี่ ที กั ษะสมอง EF ดจี ะเรยี นดีไปดว้ ย เพราะไมเ่ พยี งสตปิ ญั ญา ได้รับการฝึกฝน แต่จะได้ทักษะอื่นๆ ท่ีส�ำคัญพร้อมกันไปด้วย เช่น ความรเู้ หมาะรู้ควร ความรบั ผิดชอบ วนิ ยั การยั้งคิด ไตร่ตรอง เปน็ ต้น 65

3 ทกั ษะสมอง EF กบั พฒั นาการเด็ก วัย 13-18 ปี 66

67

มนุษย์เรียนรู้ปรับตัวและพัฒนาจากการมีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอกผ่าน ประสาทสัมผัสในการรับข้อมูล และตีความโดยเซลล์ประสาทหลายล้านตัว ในสมองท�ำงานร่วมกันเพื่อประมวลผล และแสดงออกมาเป็นความคิด การกระท�ำหรอื อารมณ์ การท�ำงานร่วมกันของเซลล์ประสาทมีลักษณะเป็นวงจรสมอง (brain circuits) แต่ละวงจรท�ำหน้าท่ีควบคุมการท�ำงานในแต่ละกิจกรรม วงจรสมองหลายๆ วงจรท่ี ท�ำงานร่วมกันก่อเกิดระบบการท�ำงานที่เชี่ยวชาญของสมอง (specialized brain systems) แต่ละระบบจนเปน็ ทกั ษะของสมองติดตวั มนษุ ยแ์ ต่ละคน ข้อมูลที่ได้รับจากสิ่งแวดล้อมและคุณภาพความสัมพันธ์ที่ได้เรียนรู้ จึงมี ความส�ำคัญอย่างมากต่อการสร้างวงจรสมอง จนเกิดเป็น “ทักษะสมอง” ก�ำกับ ความคิด อารมณ์และพฤติกรรม เพ่ือบรรลุเป้าหมายในบริเวณสมองส่วนหน้าที่ เรยี กว่า Executive Functions หรอื ทกั ษะสมอง EF ทกุ ครงั้ ในแตล่ ะวนั ทเ่ี จอสถานการณใ์ หมท่ ตี่ อ้ งใชค้ วามคดิ ตง้ั แตเ่ รอ่ื งเลก็ ๆ จนถงึ เรื่องใหญ่ ทกั ษะสมอง EF จะท�ำหน้าทป่ี ระมวลประสบการณเ์ ดมิ ทไ่ี ด้เรียนรมู้ าปรับใช้ กับสถานการณ์ใหม่ที่พบในปัจจุบัน แล้วตัดสินใจแสดงพฤติกรรมออกมาจนบรรลุ เป้าหมายที่ต้องการ ตั้งแต่ตื่นมาจะท�ำอะไรก่อน จะใส่เส้ือผ้าชุดไหน จะกินอะไร ไปจนถงึ การตดั สินใจส�ำคญั ๆ ในชวี ติ บทบาทความสำ� คญั ของทกั ษะสมอง EF เรมิ่ มาตงั้ แตช่ ว่ งปฐมวยั และทวคี วามสำ� คญั มากขนึ้ เรอ่ื ยๆ ในเดก็ วยั รนุ่ อนั เปน็ วยั เรยี นในระดบั มธั ยมตน้ และมธั ยมปลาย ซง่ึ มชี วี ติ สว่ นใหญอ่ ยู่ในห้องเรยี น ทักษะมาตรฐานทีว่ ัยรุ่นในหอ้ งเรยี นถกู เรยี กรอ้ งว่าตอ้ งมี คือ ความสามารถฟังสิ่งท่ีครูสอนรู้เร่ือง จดบันทึกเป็น จดจ�ำเน้ือหาท่ีเรียนได้ สรุปความรู้ ได้ เขียนงานเป็น สามารถวางแผน รู้ว่าต้องท�ำอะไรก่อนหลัง ยืดหยุ่นเป็น มีความ สามารถประเมินตนเอง แยกความคดิ หลกั (concept) ออกจากรายละเอยี ดได้ ฯลฯ 68

ความสามารถท้ังหมดท่ีว่ามานี้คือความสามารถของทักษะสมอง EF ที่เกิดข้ึน ในสมองส่วนหน้าทั้งส้ิน หากความสามารถของทักษะสมอง EF ดังท่ีกล่าวมาท้ังหมด ออ่ นแอ เดก็ จะตกไปอย“ู่ หลงั หอ้ ง”เรอื่ ยๆ สง่ั สมความกงั วล ความเครยี ด เกดิ เปน็ วงจร ของความรู้สึกไม่มั่นคงในการเรียน เด็กจะกลายเป็นคนที่ท�ำอะไรไม่ได้ หรือท�ำอะไร ไมถ่ กู ไปหมด เมื่อเข้าสู่วงจรน้ีเด็กก็จะกลายเป็นคนแพ้ที่ถูกคัดออก นั่นหมายถึงปัญหา ท่ีตามมาในเร่ืองการมองไม่เห็นคุณค่าของตนเองในช่วงชีวิตที่ก�ำลังแสวงหา “ตัวตน” และ “คุณคา่ ” ของตนเอง เราจงึ พบวัยร่นุ มากมายที่มีปญั หาพฤติกรรม วยั รนุ่ เปน็ ชว่ งวกิ ฤตชิ ว่ งหนง่ึ ของชวี ติ เปน็ ชว่ งทม่ี นษุ ยม์ คี วามสบั สนทางจติ ใจมาก ท่ีสุดเพราะเป็นช่วงระยะคาบเก่ียวระหว่างความเป็นเด็กต่อเน่ืองกับความเป็นผู้ใหญ่ ซึง่ มกี ารเปลีย่ นแปลงมากและรวดเร็วในทกุ ดา้ นของพฒั นาการ วัยรุ่นเป็นวัยที่ต้องการค้นหาตนเองและเข้าใจตนเองว่า “ฉันเป็นใคร” มีความ สามารถและมีคณุ คา่ อย่างไรในครอบครวั ตอ่ สังคมและโลกใบนี้ ในช่วงของการค้นหาน้ี ดูจากภายนอกวัยรุ่นมีร่างกายเติบโตเป็นผู้ใหญ่เกือบ เต็มที่ทุกส่วน พัฒนาข้ันตอนความคิดต่างๆ ถึงระดับสูงสุด แตกต่างจากวัยเด็ก ที่ผ่านมา แต่ยังมีวุฒิภาวะและการควบคุมอารมณ์ไม่เท่าผู้ใหญ่ จึงเป็นเด็กก็ไม่ใช่ ผู้ใหญก่ ไ็ มเ่ ชงิ เพ่ือเช่ือมโยงความรู้หลายด้านท่ีมีมาก่อนให้เกิดความเข้าใจลึกถึงการท�ำงาน ของทักษะสมอง EF เรามาเข้าใจวัยรุ่นจากพัฒนาการ 4 ด้าน ซึ่งสามารถมองเห็น ได้ด้วยตาวา่ มีอะไรบ้างและมคี วามเชอื่ มโยงกบั ทกั ษะสมอง EF อย่างไร 69

พฒั นาการ 4 ดา้ นของวยั รนุ่ ด้านร่างกาย • การเจริญเติบโตเป็นไปอย่างรวดเร็ว (growth spurt) เห็นชัดเจนท้ัง Physical ส่วนสูงและน้�ำหนัก • สัดส่วนของร่างกายเปลยี่ นแปลง อัตราการเติบโตของอวยั วะแต่ละส่วนถงึ จุดสูงสดุ ของพฒั นาการในเวลาทีแ่ ตกต่างกัน รูปรา่ งจงึ ยังไมไ่ ดส้ ัดสว่ น • ชว่ งตน้ ของวยั ทอี่ ตั ราเรว็ ในการเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกายแตกตา่ งกนั รปู หนา้ รูปร่างยังไม่ได้สัดส่วน เป็นช่วง awkward age กิริยาท่าทางจึงเคอะเขิน งุม่ งา่ ม ไมเ่ รยี บรอ้ ย • เปน็ วัยที่มีพัฒนาการทางเพศขนั้ ปฐมภมู ิ อวัยวะทท่ี ำ� หนา้ ที่ในการสืบพันธุ์ โดยตรงพัฒนาท้ังเพศชายและเพศหญงิ • ขั้นทุติยภูมิเปล่ียนแปลงลักษณะทางร่างกายแตกต่างชัดเจนระหว่างเพศ ชายและหญิง • ระบบไหลเวยี นโลหติ และหายใจเปล่ียนแปลง นำ้� หนกั ของหวั ใจเพ่มิ ทำ� ให้ ความดันโลหิตสูงกว่าวัยเด็ก ปอดมีขนาดและน้�ำหนักเพิ่ม อัตราการเต้น ของหวั ใจช้ากวา่ วยั เดก็ Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al • มีอารมณร์ ุนแรง ไม่มั่นคง • ระดับอารมณ์ไม่คงที่ แปรปรวน แปรเปล่ียนจากอารมณ์หน่ึงไปยังอีก อารมณ์ที่แตกต่างกันมากได้อย่างรวดเร็ว แสดงออกเป็นความสับสน ออ่ นไหว • นอกจากสภาพสังคมในปัจจุบัน ช่วงวัยน้ีเป็นหัวเล้ียวหัวต่อของชีวิตต้อง ปรับตัวเรียนรู้บทบาทหน้าที่เป็นผู้ใหญ่ ต้องเร่ิมตัดสินใจที่จะเลือกอาชีพ เพ่ือเตรียมตัวส�ำหรับอนาคต ขณะเดียวกันเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง ร่างกาย ท้ังภายในและภายนอก และการท�ำงานของต่อมฮอร์โมนต่างๆ ในรา่ งกายที่ส่งผลกระทบตอ่ อารมณท์ ั้งทางตรงและทางอ้อม • วยั รนุ่ บางกลมุ่ ทไ่ี มเ่ กดิ วกิ ฤตกิ ารณท์ างอารมณ์ มกั เปน็ วยั รนุ่ ทม่ี พี อ่ แมเ่ ขา้ ใจ และคอยใหก้ ำ� ลงั ใจ หรือเป็นวัยร่นุ ท่ไี ด้เรียนรู้พฒั นาการของตนเองจงึ รจู้ กั การปรบั ตัว สามารถยอมรับขอ้ ดีและข้อดอ้ ยของตัวเอง 70

• เปน็ วยั ของการเขา้ สงั คมทก่ี วา้ งออกไปจากครอบครวั จบั กลมุ่ เพอ่ื นและผกู พนั กบั เพอื่ นในกลมุ่ อยา่ งแนน่ แฟน้ ดS้านoสcังiaคlม • มีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพและบทบาททางสังคม ต้องการให้ตนเป็นที่รู้จักใน ฐานะบคุ คลคนหนงึ่ พยายามประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑแ์ ละคา่ นยิ มของสงั คม • แสวงหา “idol” หรอื คนท่ีอยากเปน็ เพื่อเปน็ ต้นแบบให้เดนิ ตาม • การเปลี่ยนแปลงทางสังคมของวัยรุ่นเกิดจากอิทธิพลของกลุ่มเพ่ือนร่วมวัย การเรียนรู้บทบาททางเพศและพัฒนาการทางสังคมระหว่างเพศ การรวมกลุ่ม ทางสงั คม คา่ นยิ มใหมใ่ นการคบเพอื่ นและการยอมรบั ทางสงั คม การนบั ถอื วรี บรุ ษุ ด้Cานoสgตnิปitัญivญe า • สามารถพัฒนาความคิดถึงระดับสูงสุด คือขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (formal operational stage) ซึ่งมลี ักษณะสำ� คัญ 7 ประการคอื 1. การคดิ แบบใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะจากขอ้ เสนอ (proportional logics) สามารถสรปุ ผลเชิงตรรกะจากการพจิ ารณาเงือ่ นไขต่างๆ ท่กี �ำหนด 2. การคิดแบบใช้เหตุผลเชิงตรรกศาสตร์ในการรวมกลุ่ม (combinational logics) คือการคิดถึงความเป็นไปได้ในการรวมกลุ่มตัวแปรต่างๆ เพื่อค้นหา ทางเลือกต่างๆ ทตี่ ้องการ 3. การแยกความจริงกับความเป็นไปได้ (seperating the real and the possible) สามารถแยกตัวเองออกจากโลกแห่งความจริง ยอมรับค�ำถาม ที่ไมต่ รงกับความจริงได้ จงึ สามารถต้ังสมมตฐิ านและทดสอบสมมตฐิ านได้ 4. การคิดเชิงนามธรรม (abstract thought) สามารถเข้าใจความคิดรวบยอด เชงิ นามธรรมตา่ งๆ ไดก้ วา้ งขวางลึกซึ้ง 5. ทกั ษะการแกป้ ญั หา (probelm -solving skill) สามารถใชว้ ธิ ตี า่ งๆ แกป้ ญั หา ต้ังและทดสอบสมมมติฐานอย่างเป็นระบบได้ 6. สามารถคิดเกี่ยวกับการคิด (thinking about thinking) มีความสามารถ ในการคดิ เกีย่ วกบั กระบวนการคดิ และความคิดของตนได้ 7. การหยั่งลึกด้านวรรณกรรม (literacy insight) สามารถเข้าใจความหมาย ของภาษาในหลายแงม่ มุ และความหมายแฝงของภาษาได้ 71

การเชอื่ มโยงความรดู้ า้ นการพฒั นาการของสมอง ทกั ษะสมอง EF และพฒั นาการทงั้ 4 ดา้ น ทำ� ใหเ้ ราเขา้ ใจสภาวะของวยั รนุ่ มากขนึ้ แตเ่ ราจำ� เปน็ ตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจวยั รนุ่ มากกวา่ นนั้ อยา่ งจรงิ จงั และแม่นย�ำวา่ ธรรมชาติมอบเปา้ หมายอะไรของการมีชีวิตอยใู่ หค้ นในวยั น้ี เปา้ หมายชวี ิตช่วงวยั รุ่น “เขามชี วี ติ อยเู่ พอ่ื อะไร อะไรท่ที ำ� ให้ในแตล่ ะวันนน้ั มีความหมายที่จะมชี วี ิต อยู่ต่อไป” นายแพทยป์ ระเสริฐ ผลิตผลการพมิ พ์ จิตแพทย์ผู้มีประสบการณ์เรื่องเด็กและวัยรุ่นชี้ว่า ในแง่จิตวิทยา เป้าหมายของชีวิตช่วง วัยรนุ่ มี 3 ประการคอื คน้ หาอตั ลักษณ์ ท�ำหนา้ ท่ที างสงั คม และหน้าท่ที างชวี วิทยา 1. ค้นหาอัตลักษณ์ (identity) ของตนเอง ค�ำว่าอัตลักษณ์ หมายถึงการเป็นคนที่ ไม่เหมือนใครในโลกน้ี เขาอาจเลียนแบบพ่อแม่ ครู ดาราหนัง นักร้อง นักกีฬาคนโปรด แต่ก็จะไม่เหมือนท้ัง 6 คนที่มีอิทธิพลต่อชีวิตทั้งร้อยเปอร์เซ็นต์ หากแต่ว่าเขาจะเป็นคน ท่ีมีบุคลิกภาพรวมๆ แล้วเป็น “คนใหม่” ที่มีอัตลักษณ์เฉพาะตัวซ่ึงแม้แต่ตัวเองก็ยังไม่รู้ แนช่ ัดว่าใน “อนาคต” นั้นเปน็ เชน่ ไรกันแน่ เขากำ� ลังแสวงหา “ตวั เอง” ซ่งึ ยังไมป่ รากฏ “คน” ในอนาคตสักคนท่ีเขาต้องการจะเป็น ซ่ึงก็ยังไม่รู้ว่าเป็นใคร จะได้พบ “ตัวเอง” ไหม จะได้เป็น “ตัวเอง” ไหม หรือชวี ิตทเี่ กิดมานี้จะไม่มีโอกาสไดพ้ บตัวเองเลย 72

เพ่ือช่วยให้ “วัยรุ่น” วัยรุ่นจ�ำเป็นต้อง น่ีคือสิ่งที่ผู้ใหญ่ บรรลุถึงเป้าหมาย มี “พ้ืนท่ี” กว้างขวาง และสังคม และ “โอกาส” มากพอ ต้องเข้าใจ ชีวิตช่วงน้ี ท่ีจะให้ “แสวงหา” เร่ืองหนึ่งที่ส�ำคัญยิ่ง เทรพี่ียม(ื้นกาfกทวrพe่ี่าแeลอ“ะdเโสoคอรืmอกีภสา)าิ่สงพท”่ี คือ ตน่ื เช้ามาธรรมชาติของวัยจะขับให้ “ด้นิ รน” เพ่ือจะมี “เสรภี าพ” ได้ “ลอง” ได้ “เลียน” เพื่อแสวงหาการเป็นตัวของตัวเองแบบท่ีอยากเป็น เราจึงเห็นปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นเสมอว่ากฎระเบียบจะมากจะน้อยส�ำหรับวัยรุ่นก็มีไว้เพ่ือแหก ย่ิง “ห้าม” เหมือนยิ่ง “ยุ” หากผูใ้ หญ่ไม่เขา้ ใจเป้าหมายตามธรรมชาตขิ องวัยทีช่ ีวติ ให้มา 2. ท�ำหน้าที่ทางสังคม หน้าที่ทางสังคมเรื่องท่ีหน่ึงคือหน้าที่“หาเพื่อน”รวมตัวกัน เปน็ กลมุ่ กอ้ น ซึง่ เปน็ ไปตามพฒั นาการของชว่ งวัยทต่ี ้องหา “แกง๊ ” เพ่ือน และพรอ้ ม ทจี่ ะทำ� ทกุ อยา่ งตามเพอื่ น เพราะวยั นคี้ วามเปน็ เพอื่ นสามารถพฒั นาสายสมั พนั ธไ์ ดล้ กึ ซงึ้ กว่าวัยอืน่ อาจตายแทนกัน ใกลช้ ิดแน่นแฟน้ ยาวนานตลอดชวั่ อายุขัยของชีวิต ซงึ่ เป็นหน้าท่ีทางสังคมท่ีสูงขึ้นไปจากการหาเพื่อนในช้ันประถมท่ีหาเพ่ือนเพื่อไปต่อรอง แลว้ ท�ำงานร่วมกบั คนอ่นื หน้าที่ทางสังคมเรื่องที่สองคือ “การหาอาชีพ” ท่ีอยากจะเป็นอะไรหรือท�ำอะไร ในอนาคตตามความชอบความหลงใหลใฝ่ฝัน เร่ืองนี้มีประเด็นที่ผู้ใหญ่ต้องท�ำ ความเข้าใจเพ่ือส่งเสริมให้เด็กประสบความส�ำเร็จและมีความสุขในการหาเลี้ยงชีพ นน่ั คือการส่งเสรมิ ให้วัยร่นุ มคี วามสามารถในการมองเหน็ อนาคต 73

การมองเหน็ อนาคตเปน็ พฒั นาการทค่ี วรเขา้ ใจ วา่ มรี ากฐานเรม่ิ มาตงั้ แตอ่ ยอู่ นบุ าล ก่อนเข้าประถม เด็กเรยี นรู้วา่ วตั ถนุ ้ันมีจรงิ ในโลก (เข้าใจความถาวรของวัตถุ-object permanence - วัตถุยังอยู่แม้มองไม่เห็น) ได้ต้ังแต่อายุประมาณ 9-12 เดือน รู้จัก การจดั วางตำ� แหนง่ และการเปลยี่ นต�ำแหนง่ เม่ือเรียนรู้เร่ืองน้ีแล้วเด็กเล็กจะเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนย้ายของวัตถุรอบตัว รู้ว่า อะไรอยหู่ นา้ อยหู่ ลงั จากนั้นเด็กเล็กจะเคล่ือนย้ายตัวเองเป็นซ่ึงเป็นพัฒนาการข้ึนมาอีกข้ัน ในเด็กท่ี เล็กกว่าน้ันจะไม่รู้ว่ารถก�ำลังถอยหลังเข้ามาหาตนเอง เพราะยังไม่เข้าใจชัดเจนเร่ือง การเปลย่ี นตำ� แหนง่ ของวตั ถุ นจ่ี งึ เปน็ ปรากฏการณท์ เี่ รามกั พบวา่ หนา้ โรงเรยี นอนบุ าล มีเร่อื งรถถอยชนเด็กไดง้ า่ ยๆ เพราะเดก็ ไม่หลบรถ จากการท่พี ฒั นาการทางสมองยงั ไปไมถ่ ึงความสามารถในการเข้าใจการเปลีย่ นตำ� แหน่งของวัตถุ ท้ังหมดนีเ้ ปน็ สิง่ ที่ชวี ิตๆ หนึ่งตอ้ งเรียนรูแ้ ละพัฒนาเปน็ ขั้นเป็นตอน เด็กประถม มีวธิ ีมองพ้นื ท่ี (space) ทีก่ ว้างข้ึน รูว้ ธิ เี ปลีย่ นตำ� แหน่งตวั เอง ยา้ ยท่ีตนเอง สามารถ เหน็ สถานทต่ี ่างๆได้โดยไมต่ อ้ งไปถึงที่ เปลย่ี นจากการเห็นดว้ ยตาเปน็ การเหน็ ด้วยใจ ต่อมาเม่ือเป็นวัยรุ่นก็จะเข้าใจเร่ืองที่เป็นนามธรรมได้สมบูรณ์ สามารถเข้าใจเร่ือง ของพ้ืนที่ (space) สัมพันธ์กับเวลา (time) ก่อรูปเป็นการมองเห็นอนาคต โดยท่ี อนาคตน้ันยังไมต่ อ้ งมาถงึ จรงิ การมองหาอาชีพในอนาคตนน้ั เมื่อมองอยา่ งเขา้ ใจจติ วทิ ยาพฒั นาการ จะเห็นวา่ ต้องปูพ้ืนฐานมาต้ังแต่เด็กยังเล็ก ถ้าเด็กอนุบาลไม่ได้เล่นมากพอ ความสามารถ ในการมอง space และ time การเขา้ ใจการเปล่ยี นต�ำแหนง่ ก็จะไม่ได้รบั การพัฒนา ดีเท่าที่ควร พอข้ึนชั้นประถม ไม่ได้มีกิจกรรมส�ำรวจ ออกไปท้องนา ทุ่งหญ้า หาด ทราย ป่าเขา เอาแต่นั่งเรยี นหนังสอื อยู่ในห้อง ทกั ษะดา้ นนใ้ี นสมองจงึ ไม่ไปไหน เม่ือ เตบิ โตไปถงึ วยั รนุ่ จะไมม่ คี วามสามารถพอทจี่ ะมองเหน็ อนาคตทตี่ อ้ งมองเหน็ ทง้ั พนื้ ท่ี ทางภูมศิ าสตร์ (space) และกาลเวลา (time) 74

สมองสว่ นทีม่ ีความสามารถมองเหน็ อนาคต คอื สมองส่วนหนา้ ทีม่ นุษยม์ มี ากกว่าสัตว์ ทุกชนิดบนโลก การมองอนาคตเปรยี บเทยี บไดก้ ับรถทเี่ ปิดไฟหนา้ มองไปข้างหน้า กำ� หนดเปา้ หมาย วางแผนจะขบั รถไปเสน้ ทางไหนใหถ้ งึ เรว็ ทสี่ ดุ ใชเ้ สน้ ทางไหนจงึ ปลอดภยั สูงสดุ การเลือกเปา้ หมายอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ขนึ้ มาในใจ ไมว่ า่ จะเปน็ เปา้ หมายทด่ี หี รอื ร้าย พฤตกิ รรมทกุ อยา่ งทสี่ มองบัญชาการจะเป็นไปเพอื่ ตอบเป้าหมายน้นั ๆ ทงั้ ส้นิ ปัญหาของเด็กวัยรุ่นทุกวันน้ีคือเด็กเก่งเอาแต่ท่องหนังสือ เรียนพิเศษเพ่ือสอบ ซงึ่ ไมส่ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายและพฒั นาการของวยั ทต่ี อ้ งการความสามารถในการวางแผน ทซ่ี บั ซอ้ น (complex planning) และสถานการณท์ ่ที า้ ทาย (challenge situation) ส่วนเด็กท่ีไม่เก่งก็จะตั้งเป้าหมายไปในเรื่องบิดรถมอเตอร์ไซค์ เซ็กส์ หรือ ยาเสพติด เพราะเป็นไปตามธรรมชาติท่ีก�ำหนดเป้าหมายไปตามสมองส่วนอารมณ์ เมอ่ื เปา้ หมายทกี่ ำ� หนดขนึ้ มาไมไ่ ดเ้ รอ่ื งไดร้ าว สมองสว่ นหนา้ กใ็ ชไ้ ปในการคดิ ตอบสนอง เป้าหมายท่เี ลื่อนลอย เชน่ จะเสพยาอยา่ งไรไมใ่ หถ้ ูกจบั ได้ หรือจะนอนกับใครดี วัยรุ่นท่ีไม่มีโอกาสได้รับการส่งเสริมพัฒนาการตามวัยนั้น แม้แต่คนที่เป็นเด็กดี ตงั้ ใจเรยี นจบออกมาแลว้ กพ็ บวา่ สว่ นใหญไ่ มม่ เี ปา้ หมายชวี ติ ทช่ี ดั เจน พอไมร่ วู้ า่ ตวั เอง ต้องการท�ำอะไรก็จะกลายเป็นคนไม่มีคุณภาพ น่ีคือปัญหาที่เกิดจากการท่ีความรู้ ความเข้าใจของสงั คมต่อเรอื่ งวยั รุ่นไมม่ ากพอ 3. หน้าท่ีทางชีววิทยา เป็นหน้าท่ีซึ่งถูกโปรแกรมไว้ในรหัสทางพันธุกรรม (genetic code) มาแต่ดึกด�ำบรรพ์เพื่อให้เผ่าพันธุ์แข็งแรง เม่ือถึงชีวิตช่วงวัยรุ่นจึงเป็นวัยท่ีเร่ิม เสาะแสวงหาคู่กับพันธุกรรมอ่ืนท่ีต่างครอบครัวออกไป เป็นแรงขับดันตามธรรมชาติ เพื่อสืบเผ่าพันธุ์ วัยรุ่นจึงเร่ิมมีความสนใจเพศตรงข้าม รักสวยรักงาม ต้องการเป็นท่ี สนใจของเพศตรงขา้ ม การสรา้ งการเรียนรูใ้ ห้วยั รุ่นเข้าใจตนเองและมีทักษะสมอง EF ท่ียับยั้งชั่งใจ รู้จักจัดการควบคุมอารมณ์ หันเหความสนใจไปเร่ืองอ่ืนท่ีส�ำคัญกว่า ย่อมดีกวา่ การหา้ มหรอื บอกวธิ ีใชถ้ งุ ยางเทา่ นน้ั การศกึ ษาเพอื่ เขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแทถ้ งึ เปา้ หมายของชวี ติ ชว่ งวยั น้ี จะชว่ ยใหเ้ ราจดั การ ศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงของวัยได้ดีข้ึน ส่ิงที่เรียนรู้จะเช่ือมโยงกับ 75

ชวี ติ มากขน้ึ เดก็ จะเหน็ คณุ คา่ ของสง่ิ ทเ่ี รยี น สนกุ และนำ� ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ปัญหาใหญ่ๆ หลายเร่ืองจะได้รับการแก้ไขไปโดยปริยาย เราสามารถน�ำเรื่องการหา อัตลักษณ์ การหาแก๊งเพอื่ น การหาอาชพี และการหาพันธุกรรมอน่ื เพ่อื สืบพนั ธ์ุมาเปน็ ประเด็นในการพัฒนาทักษะสมอง EF หรือท่ีเราอาจจะเรียกกันในภาษาด้ังเดิมว่า “สนั ดาน” ซ่ึงคือการควบคุมอารมณ์ ความคดิ และการกระท�ำ เพอ่ื ไปใหถ้ ึงเป้าหมาย ได้ เพราะ 3 เรอ่ื งท่ีกลา่ วมานีค้ อื เปา้ หมายตามธรรมชาติของชว่ งชวี ิตวัยร่นุ ความรทู้ ี่จ�ำเป็นสำ� หรบั วยั รนุ่ ในศตวรรษที่ 21 ดังนั้นในโลกศตวรรษที่ 21 เม่ือแปลความเข้าใจทักษะสมอง EF ทฤษฎีด้าน พัฒนาการ เป้าหมายของวัย และการเตรียมคนมาท�ำหน้าท่ีผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ในบริบท ปจั จุบันของโลก ออกมาเปน็ เป้าหมายรปู ธรรมในการจดั การศกึ ษา การศกึ ษาทส่ี ำ� คัญ และจ�ำเป็นต่อชีวติ ควรจะเหลือเนือ้ หาวิชาพ้ืนฐานท่ีจำ� เป็นต้องเรยี นเพยี ง 4 วิชาคือ 1 2 3 4 วิชาว่าด้วยสุขภาพ วิชาว่าด้วยการบริหาร วิชาว่าด้วย วิชาว่าด้วย การเงิน/เศรษฐศาสตร์ ส่ิงแวดล้อมที่ดี สังคมพลเมือง (health) (environment) (civil society) (economics) โดยผ่านการเรยี นรแู้ บบ active learning ไมว่ า่ จะเป็นการ เรยี นแบบ problem - based learning หรอื project - based learning ใหไ้ ดใ้ ช้ทักษะสมอง EF โดยมีหลกั การวา่ การเรยี นรคู้ วรจะ 1. ต้องมีความสมั พนั ธก์ บั ชีวิตเดก็ โจทยท์ ่เี รยี นตอ้ งมีความหมายกับชีวติ 2. ส่งิ ที่เรยี นต้องมคี วามสัมพนั ธก์ บั ชมุ ชนคือบา้ นและโรงเรยี น 3. ตอ้ งเปน็ การทำ� งานกลมุ่ ทส่ี มาชกิ มคี วามหลากหลายคละกนั ไป เชน่ มที งั้ คนเกง่ ไมเ่ กง่ รวยจนตา่ งศาสนา เปน็ ตน้ 4. เปน็ การเรียนรขู้ องกลมุ่ ท่มี ีการลงมือทำ� มโี จทย์ท่ตี อ้ งแก้และลงมอื ทำ� จริง 76

การเรียนร้แู บบ Active Learning สง่ เสรมิ EF ในวัยรุน่ หัวใจของการเรียนรู้แบบ active learning คือการออกแบบการเรียนรู้มาเพื่อให้ สมาชกิ “ทกุ คน” ในกลมุ่ ทำ� บางอยา่ ง เมอื่ ทำ� สำ� เรจ็ แลว้ ตอ้ งมี after action review (AAR) คือหลังจากการเรยี นรู้เสรจ็ ส้นิ ลง เดก็ ทกุ คนทัง้ เกง่ และไม่เกง่ ได้มีโอกาสพดู วา่ เม่ือจบ การเรยี นรเู้ รอื่ งนแ้ี ลว้ ตน “รสู้ กึ ”อยา่ งไร ไดเ้ รยี นรอู้ ะไร อะไรทที่ ำ� ไดด้ ี และอะไรทตี่ อ้ งการ การพัฒนา เพอื่ ให้เด็กทุกคนได้ “เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง” (self- esteem) ทกุ วัน การเห็นคุณค่าตนเองนี้เป็นแรงผลักส�ำคัญในการน�ำพามนุษย์สู่ความส�ำเร็จ เด็ก ทารกปนี บนั ไดสำ� เรจ็ ดีใจ ปีนอกี ส�ำเร็จอกี ก็ดีใจ นีค่ อื แรงผลกั เด็กทกุ คนกต็ อ้ งการทำ� อะไรส�ำเร็จทกุ วนั เช่นกนั เมอื่ ไมส่ ามารถเรียนเกง่ ได้ พวกเขาจงึ มแี นวโนม้ ทจ่ี ะท�ำส่ิงท่ี สำ� เรจ็ ไดง้ า่ ย เชน่ การตกี นั การใชย้ าเสพตดิ การหลอกเพอื่ นมานอนดว้ ย นนั่ เปน็ ความ สำ� เรจ็ อยา่ งหนง่ึ แตไ่ ปผดิ ทาง เนอ่ื งจากธรรมชาตขิ องมนษุ ยน์ น้ั เลอื กทางทง่ี า่ ยกวา่ เสมอ เมอ่ื เรยี นวชิ าการยากมากแตต่ กี นั งา่ ยกวา่ เยอะ เราคงเขา้ ใจไดไ้ มย่ ากวา่ ทำ� ไมเดก็ จงึ หา ทางออกไปเชน่ นัน้ การออกแบบการเรยี นรแู้ บบactivelearningตอ้ งการครทู มี่ คี วามรู้และประสบการณ์ ที่ส�ำคัญครูต้องมี “เสรีภาพ” ในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้และต้องมา ประชุมกัน สร้างชุมชนการเรียนรู้ (PLC-Professional Learning Community) ของครูข้ึนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีท�ำมาเป็นอย่างไร จะออกแบบการเรียนรอู้ ย่างไรใหด้ ขี ึ้นเพือ่ ให้เดก็ ได้เหน็ “คุณค่าของตนเอง” ทกุ วนั เด็กได้ท�ำงานกันเป็นกลุ่ม ได้ท�ำบางอย่างส�ำเร็จ ให้ทุกคนในกลุ่มได้ช่ืนใจว่า “ฉันเป็นคนมีคุณค่า” วัยรุ่นแต่ละคนจึงจะสามารถก้าวไปเป็นพลเมืองคุณภาพ กา้ วข้ามพ้นไปจากวงจรปัญหาความรุนแรง ยาเสพตดิ และการท้องก่อนวัยอันควร 77

ความออ่ นไหวต่อการเกิดปญั หาพฤติกรรมในวยั รุ่น เกิดขนึ้ มาจากสาเหตอุ ะไร วัยรุ่นเป็นช่วงของวัยเปล่ียนแปลง สมองของวัยรุ่นยังอยู่ในกระบวนการ work in progress ทว่ี งจรประสาทเชอื่ มตอ่ กนั ขณะเดยี วกนั กม็ กี ารตดั แตง่ กง่ิ ประสาททเ่ี กนิ ออกไปและสรา้ งไมอลิ นิ (myelin) หรอื เยอื่ ไขมนั หมุ้ ใยประสาท เพอ่ื ทำ� ใหว้ งจรประสาท ทีส่ �ำคัญทำ� งานไดร้ วดเร็วฉบั ไวและมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น วัยรนุ่ เป็นวยั ที่เปราะบาง รา่ งกายเปน็ ผูใ้ หญแ่ ตส่ มองส่วนหน้ายงั พฒั นาไม่เตม็ ที่ การเปล่ียนแปลงท่ียังไม่ลงตัวนี้ท�ำให้วัยรุ่นอ่อนไหวและแปรปรวนง่าย ในช่วงวัยรุ่น สมองส่วนควบคุมอารมณ์และความอยาก ไวต่อการกระตุ้น ต้องการการตอบสนอง ความพงึ พอใจ ทง้ั ยงั กำ� กบั และบริหารจดั การตนเองได้ไม่ดี จึงงา่ ยท่ีคนวัยนจี้ ะเสพติด ความพึงพอใจที่มาจากภายนอก เช่น ติดเกม ติดพนัน มีเพศสัมพันธ์ และเน่ืองจาก อยใู่ นธรรมชาตขิ องวยั เจรญิ พนั ธ์ุ จงึ ตอ้ งการดงึ ดดู เพศตรงขา้ ม และเปน็ หว่ งภาพลกั ษณ์ ตนเอง หากรู้สึกว่าภาพลักษณ์ของตนไม่น่าสนใจ ไม่เป็นที่ยอมรับในหมู่เพ่ือนก็จะเร่ิม มองว่าคุณค่าตนเองต่�ำลง อารมณ์แปรปรวนง่าย และอาจบานปลายไปมีพฤติกรรม ก้าวร้าวจนถึงการคิดฆ่าตัวตาย ในขณะเดียวกันก็เป็นวัยที่ต้องการโอกาสท่ีจะ เปลี่ยนผ่านพัฒนาตนเองเป็นผู้ใหญ่ที่พึ่งตนเองได้ จึงต้องการเป็นท่ียอมรับ และเป็นอสิ ระจากผใู้ หญ่ วัยรุ่นไม่เหมือนเด็กเล็กที่พ่อแม่ต้องมาก�ำกับการกิน อยู่ หลับนอน ตารางเรียน ชีวิตประจ�ำวัน เด็กมัธยมถึงมหาวิทยาลัยเป็นวัยท่ีส่ิงแวดล้อมและการเปล่ียนแปลง อยา่ งรวดเร็ว เกดิ ข้ึนภายในตวั เอง ทา้ ทายให้ต้องใช้ทักษะสมอง EF รับมอื กบั ทกุ เรอื่ ง มากกว่าวัยที่ผ่านมา ท้ังที่ความเป็นจริงแล้วทักษะสมอง EF ก็ยังอยู่ในขั้นฝึกฝน ยังไม่ช�ำนาญ จึงเป็นช่วงท่ีชีวิตมีปัญหาพฤติกรรมได้ง่าย โดยเฉพาะวัยรุ่นท่ีไม่ได้รับ การฝกึ ทกั ษะสมอง EF ต่อเน่อื งมาต้งั แต่ช่วงปฐมวัยดพี อ 78

ทกั ษะสมอง EF ทบี่ กพรอ่ งจะสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมตา่ งๆ ในการกำ� กบั ควบคมุ ตนเอง หลายด้าน เพราะทักษะการยั้งคิดไตร่ตรอง (inhibit) และทักษะการจดจ่อใส่ใจ (attention) เป็นสองทักษะท่ีต้องใช้ร่วมกันในการเกาะติดการเปล่ียนแปลงของ ส่งิ แวดลอ้ ม แลว้ ยดื หย่นุ (shift) ปรบั ตวั ไปตามสภาพท่ีเปลย่ี นไป แต่เมอ่ื เกดิ ความบกพร่อง สมองสว่ นหน้าจะไม่สามารถหยุด อดทนรอคอยไม่ได้ ไม่จดจ่อ วางแผนท�ำอะไรเป็นชิ้นเป็นอนั ไมไ่ ด้ เด็กท่ีทักษะสมอง EF ไม่แข็งแรง จะมีปัญหาเมื่อเผชิญสภาพแวดล้อมท่ีต้องใช้ ทักษะสมอง EF เข้าไปบริหารจัดการ จะก�ำกับตัวเองได้น้อยกว่าปกติ ต่างจากเด็ก ท่ีได้รับการฝึกทักษะเหล่านี้มาอย่างดี เมื่อเผชิญสภาพแวดล้อมท่ีท้าทายก็สามารถ ปรับตัวแล้วไปต่อได้ เด็กที่มีปัญหาควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้ต้ังแต่ยังเล็กและ ไมไ่ ดร้ บั การแกไ้ ข เมอื่ โตไปกจ็ ะมอี ปุ นสิ ยั เชน่ นน้ั เดก็ ทไี่ มไ่ ดร้ บั การฝกึ ฝนใหม้ เี ปา้ หมาย มักจับจดท�ำอะไรไม่เสร็จ เด็กที่ไม่ถูกฝึกให้รับผิดชอบงานหรือหน้าที่บางอย่างจะไม่ สามารถรบั ผดิ ชอบงานทม่ี ากขนึ้ ไดด้ ี นอกจากการควบคุมอารมณ์ไม่ได้ ปัญหาที่พบมากอีกปัญหาในวัยรุ่นท่ีไม่ได้ รับการฝึกทักษะสมอง EF มาดีพอคือ การไม่มีสมาธิจดจ่อ (focus/attention) อยา่ งต่อเนือ่ ง ไม่สามารถท�ำงานที่ยากๆ ให้เสรจ็ ได้ สง่ ผลตอ่ การเรยี น ปัญหาตอ่ มาคือ ปัญหาควบคุมตนเองไม่ได้ สะท้อนออกมาเป็นพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง หุนหันพลันแล่น และมักต้องหาอะไรมากระตุ้นท�ำให้ตนรู้สึกพึงพอใจ (reward seeking) ซึ่งเป็นการ หาความพึงพอใจจากภายนอกและยังมีปัญหา “รอคอยไม่ได้” (delay of gratification) หากต้องท�ำสิ่งใดท่ีมีเป้าหมายยาวขึ้นจะรู้สึกว่ายากเกินจะท�ำได้ สะท้อนออกมาเป็นพวกท่ีท้อถอยง่าย เจออะไรยากจะไม่ท�ำ ไม่มีแรงจูงใจ จึงยาก ที่จะประสบความส�ำเร็จไม่ว่าเรื่องใดๆ ก็ตาม เนื่องจากวงจรประสาทท่ีส�ำคัญ ในวัยน้ีคือ delayed reward circuits ที่ท�ำหน้าท่ีหยุดรอเพ่ือประสบความส�ำเร็จ ในระยะยาวไดไ้ มแ่ ขง็ แรงน่ันเอง 79

เน้ือหาวิชาเรียนในระดับมัธยมศึกษาและมหาวิทยาลัยท่ีสูงข้ึนไป เป็นเร่ือง ความเข้าใจถึงแก่นของความรู้ (concept) และนามธรรม ย่ิงต้องใช้การท�ำงาน จากทักษะสมอง EF มากขึ้นไปอีก หากพื้นฐานสมองส่วนน้ีไม่แข็งแรงก็ยากจะเรียน ต่อไปได้ดี นอกจากน้ีการเรียนในระดับสูงข้ึนไปต้องจัดการตนเองต้ังแต่การไปอยู่ หอพกั อาหารการกนิ การเงนิ ไปเรยี นใหท้ นั ตารางเรยี น งานทต่ี อ้ งสง่ หากไมม่ พี นื้ ฐาน การฝึกฝนทักษะสมอง EF มามากพอ จะไม่สามารถจดจ่อใส่ใจต่อเนื่อง ไม่สามารถ วางแผนและทำ� งานไปจนเสรจ็ ในเด็กเล็กน้ันการร้องไห้คือสัญญาณบ่งบอกว่าต้องการความช่วยเหลือ สว่ นวยั รนุ่ น้ันการมีอารมณพ์ ล่งุ พลา่ น มพี ฤตกิ รรมบางอยา่ งทผี่ ดิ ปกตไิ ป คอื สญั ญาณ แสดงความต้องการความช่วยเหลอื เช่นกัน สิง่ ทเี่ ราต้องเข้าใจคือสมองของวัยรุ่นยงั พัฒนาไมเ่ ต็มที่ การเลย้ี งดู ในวัยเดก็ ลว้ นส่งผลท�ำใหว้ ยั รุน่ แตล่ ะคนมคี วามแตกตา่ งกัน วัยรุน่ ท่ี สมองสว่ นหนา้ คือทักษะสมอง EF ดี ไดร้ บั การฝกึ มาอยา่ งดี เมอ่ื เผชญิ ปญั หาก็จะผา่ นไปได้ แตห่ ากพื้นฐานไม่ไดร้ ับการพัฒนา จะเป็นเรื่อง ทย่ี ากมากท่ีจะผา่ นพน้ วยั นี้ไปได้อยา่ งปลอดภยั มคี วามสขุ มีความส�ำเร็จรออยูเ่ บ้ืองหนา้ สิ่งที่ท้าทายการท�ำงานของทักษะสมอง EF ในวัยรุ่นคือความสามารถในการ ควบคุมความคิด อารมณ์และการกระท�ำเพ่ือไปสู่เป้าหมาย ในขณะท่ีในวัยรุ่นนี้มี ตัวกวนตามธรรมชาติอยู่ 3 ตัวคือความคิดวอกแวก อารมณ์อ่อนไหวและการ กระท�ำบุ่มบ่าม การได้รับการฝึกฝนทักษะสมอง EF ตามพัฒนาการตั้งแต่เด็ก ในโรงเรียน สามารถเร่ิมได้ต้ังแต่ pre-school หรืออนุบาลก่อนเข้าเรียนช้ัน ประถม 1 โดยท�ำกจิ กรรมหลายๆ อย่างทสี่ ามารถฝึกทกั ษะสมอง EF ให้ท�ำหน้าท่ี ควบคุมความคิด อารมณ์ การกระท�ำเพ่ือไปให้ถึงเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการเล่น กีฬา การละเลน่ เกมกระดาน เลน่ หมากเกบ็ ฯลฯ 80

ในภาพเราจะเห็นว่าเด็กๆ ได้ใช้ทักษะสมอง EF แน่นอน เป้าหมายคือจุดสูงสุด ทต่ี อ้ งปนี ใหถ้ งึ เดก็ ๆ ตอ้ งควบคมุ การกระทำ� คอื มอื เทา้ และตา การทำ� งานของอวยั วะ ทั้งหมดต้องประสานกันดีจึงจะสามารถปีนไปให้ถึงเป้าหมาย ต้องควบคุมความคิด จดจ่ออยู่ที่เป้าหมายตลอดเวลา ทั้งต้องควบคุมอารมณ์ระหว่างทาง ส�ำคัญท่ีสุดคือ การควบคมุ ความกลวั ในสถานการณเ์ สย่ี ง (หนงึ่ ในสถานการณท์ บี่ รหิ ารทกั ษะสมอง EF คอื สถานการณท์ ่ีเสย่ี งเล็กน้อยพอควบคุมได้ ทกุ ครั้งท่ผี า่ นสถานการณเ์ ชน่ นั้น เดก็ จะ บรหิ ารทักษะสมอง EF ไดด้ ขี ึ้น) 81

การเรียนรู้แบบ Problem-Based Learning ส่งเสริม EF ในวยั รนุ่ ถดั ข้ึนไปในการเรียนช้ันประถม หากโรงเรียนใดมี problem - based learning มี โจทยใ์ หเ้ ดก็ แกป้ ญั หาไดล้ งมอื ทำ� ขณะลงมอื ทำ� เดก็ ตอ้ งใชค้ วามคดิ ทำ� การสำ� รวจคน้ ควา้ มีการท�ำงานเป็นทีม มีอารมณ์เกิดขึ้นผสมปนเป ต้องคอยก�ำกับควบคุมทุกอย่างที่ ซบั ซอ้ นและยากกวา่ เพอ่ื ไปใหถ้ งึ เปา้ หมาย ทำ� ใหเ้ ดก็ มที กั ษะจดั การชะลอความตอ้ งการ หรอื ความอยาก อดทน ไม่เลอื กเอาความสุขเฉพาะหน้า แต่รจู้ ักอดเปร้ียวไวก้ นิ หวาน สถานการณ์ 1. สถานการณ์ ที่บริหารทักษะสมอง ท่ีต้องการการวางแผน EF ได้ดีเมื่อเด็ก อย่างซับซ้อน เข้าสู่วัยรุ่นคือ (complex planning) (ch2ตa.้อlleงสมnถีคgาวeนากมsาทiรt้าณuทa์นาtยั้นion) ตง้ั แตก่ ารตงั้ เปา้ หมายในแตล่ ะวนั ฝกึ ฝนทกั ษะการวางแผน ลงมอื ทำ� ตามแผน จนส�ำเรจ็ และยอมรบั ผลลพั ธท์ ี่เกดิ ข้ึน ทกั ษะสมอง EF พนื้ ฐานก็จะได้รบั โอกาสใน การฝึกฝนทุกวัน ต้ังแต่การจดจ�ำเพ่ือใช้งาน ความยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ท่ี เปล่ยี นแปลงไป ความหลากหลายของคนท่ีแวดล้อม การยบั ยั้งชัง่ ใจตอ่ ส่ิงเร้า เพอ่ื เติบโตข้ึนไปเป็นผู้ใหญ่ที่เป็นตัวของตัวเอง สามารถจัดการชีวิตตนเอง รับผิดชอบ ต่อการงานอาชีพและครอบครัวทต่ี นจะสรา้ งขน้ึ ต่อไปในอนาคต 82

ในหลายประเทศได้มีการน�ำความรู้เรื่องพัฒนาการตามวัยและทักษะสมอง EF ไปใช้ในยุทธศาสตร์การพัฒนาคนในประเทศอย่างจริงจัง เช่น การจัดการศึกษา ในประเทศฟินแลนด์ท่ียืดหยุ่นให้โอกาสเด็กหลายครั้งในการตัดสินใจ วางแผน และเปล่ียนเป้าหมายในเรื่องอาชีพ ร่วมมือกันในสังคมเปิดโอกาสให้เด็กได้มีโอกาส ไปคลุกคลี ฝึกงานในอาชีพที่ตนสนใจอย่างหลากหลายและยืดหยุ่นตั้งแต่มัธยมต้น หรือในทฤษฎี “สร้างคนสรา้ งชาติ” ของประเทศญปี่ ่นุ ที่ถอื วา่ ครอบครัวคอื รากฐานของชีวติ เด็ก ช่วงปฐมวยั คอื ชว่ งการเพาะตน้ กล้าแห่งชวี ติ ช่วงมัธยมตน้ คอื ช่วงการค้นหาตนเอง ช่วงมัธยมปลายคือช่วงการเรยี นรู้ส่อู นาคต และชว่ งมหาวทิ ยาลยั คอื ชว่ งของการพรอ้ มเปน็ ผใู้ หญ่ ในหลกั สตู รการเรยี นการสอนของประเทศญปี่ นุ่ จงึ มกี ารฝกึ ทกั ษะใหเ้ ดก็ ลงมอื ทำ� ฝึกปฏิบัติท�ำงานที่ต้องรับผิดชอบตามวัย และการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างจริงจัง มากกว่าการเรยี นท่องตำ� ราอยา่ งเดียว การจะท�ำให้ทกั ษะสมอง EF แข็งแรงตอ้ งเอาพฒั นาการของสมอง เป็นตัวต้งั โดยเด็กควรได้พบประสบการณ์ท่หี ลากหลายก่อนช่วง อายุ 13-14 ปี ทส่ี มองเกดิ กระบวนการ pruning หรอื การตัดแตง่ กิ่ง สมองส่วนที่ไม่ใช้ออกไป อยากให้เดก็ วัยรนุ่ เปน็ เชน่ ไร เราต้องสรา้ ง ประสบการณ์เชน่ น้นั ให้กบั เขา 83

ภาคท่ี 2 84

ปจั จยั ที่พัฒนา ทักษะสมอง EF 85

4 องคป์ ระกอบสำ� คญั และสภาพแวดลอ้ มทีส่ ง่ เสรมิ ทักษะสมอง EF 86

87

งานวิจัยจ�ำนวนมากของนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยด้านประสาทวิทยาพบว่า สิ่งแวดล้อมส่งผลมากท่ีสุดต่อความฉลาดและพฤติกรรม ซึ่งก่อรูปเป็นนิสัยและ ตวั ตนของมนษุ ยแ์ ตล่ ะคน การเตบิ โตและกระบวนการเชอ่ื มตอ่ กนั ของเซลลป์ ระสาท จะเกดิ ขน้ึ ต่อเมอื่ มนษุ ย์มปี ฏิสมั พนั ธก์ ับสงิ่ แวดลอ้ มจนเกิดเป็น “ประสบการณ”์ ที่ ทำ� ให้วงจรประสาทท่ีเกยี่ วขอ้ งแขง็ แรง “ส่ิงแวดล้อม” จึงมีผลอย่างมากต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF หลายๆ ด้าน เพ่ือมงุ่ สคู่ วามสำ� เร็จ แตเ่ ดมิ นน้ั เราคดิ วา่ การมโี อควิ สงู ทำ� ใหค้ นประสบความสำ� เรจ็ แตผ่ ลการวจิ ยั ท่ี พบกลับไมไ่ ดเ้ ปน็ เช่นนน้ั ลิวอิส เทอร์แมน (Lewis Terman) บิดาแหง่ จิตวทิ ยาการ ศึกษาได้ติดตามวิจัยเด็กที่มีไอคิวสูงกว่า 140 ซ่ึงเป็นไอคิวระดับอัจฉริยะจ�ำนวน 1,500 คน เป็นระยะเวลา 20 ปี พบว่าเดก็ เหล่าน้มี ีเพยี ง 3-4% เทา่ นน้ั ท่เี ติบโตขึ้น มาเป็นผู้ใหญ่ท่ีประสบความส�ำเร็จสูงกว่ามาตรฐาน ซึ่งนับว่าเป็นอัตราการประสบ ความสำ� เรจ็ ทน่ี ้อยกว่าเดก็ ปกติเสียอีก ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าไอคิวหรือความฉลาดในการจ�ำไม่ใช่ปัจจัยส�ำคัญ ต่อความสำ� เร็จในชวี ติ ยงั มกี ารศึกษาต่อๆ มาอีกท่พี บว่าความส�ำเรจ็ ของคนมาจาก ความฉลาดท่ีเกิดจากประสบการณ์ถึง 90% และความส�ำเร็จจากความฉลาดใน การจำ� มีเพยี ง 10% เท่านน้ั คำ� ถามคอื เราจะสรา้ งสภาพแวดลอ้ มอยา่ งไรทส่ี ง่ เสรมิ สรา้ งสมประสบการณ์ ทพ่ี ฒั นาทกั ษะสมอง EF เพอื่ นำ� พาวยั รนุ่ ไปสคู่ วามสำ� เรจ็ และอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ ดว้ ย ความผาสุกได้ 88

Microsystem Mesosystem สภาพแวดล้อมท่ีใกล้ตัวเด็กท่ีสุด ความสัมพันธ์ระหว่าง ส่งผลต่อเด็กโดยตรง ปัจจัยใน Microsystem ซ่ึงส่งผลกระทบต่อเด็ก ระบบเศรษฐกิจ ระบบการ ึศกษาครขอยบาคยรัว ส่ือมวลชน ัวฒนธรรมพ่อแม่ครู ระบบการเมือง ภาวะสังคมครอบครัว โรงเรียน พ่อแม่ Microsystem ครู กขาอรงพท�ำ่องแามน่ Mesosystem ระบบกฎหมาย พี่น้อง เพ่ือน พี่น้อง เพื่อนบ้าน Exosystem Exosystem Macrosystem Macrosystem สภาพแวดล้อมท่ีไกลออกมา สภาพแวดล้อมภาพรวมระบบ แต่ก็ส่งผลกระทบต่อเด็ก ของสังคมท่ีกระทบต่อเด็ก The Ecological Systems Theory Urie Bronfenbrenner 89

Urie Bronfenbrenner นักจิตวิทยาพัฒนาการชาวอเมริกันเช้ือสายรัสเซียซ่ึง เปน็ ท่ีรู้จกั มากที่สดุ ในเรอ่ื ง Ecological Systems Theory of Child Development ได้ให้ภาพรวมท่ีท�ำให้เราเข้าใจว่า มีสภาพแวดล้อมถึง 4 ระบบด้วยกันที่ส่งผล ตอ่ พัฒนาการของเด็กให้เตบิ โตมาเป็นคนเชน่ ไร 1. Microsystem สภาพแวดล้อมที่ใกล้ตัวเด็กมากท่ีสุด ซ่ึงส่งผลกระทบต่อเด็กโดยตรง คอื ครอบครวั พอ่ แม่ พ่ีนอ้ ง เพื่อน ครูหรือผูใ้ หญ่ทีใ่ กล้ชดิ โรงเรยี น 2. Mesosystem 3. Exosystem สภาพความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยหรือ สภาพแวดล้อมท่ีไกลออกมา แต่ส่ง บุคคลต่างๆ ใน Microsystem การจัด ผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็ก เช่น การความสัมพันธ์ได้ดีหรือไม่ดี ใกล้ชิดหรือ ครอบครัวขยาย การท�ำงานของพ่อแม่ หา่ งเหนิ ในระหวา่ งบา้ น โรงเรยี น พนี่ อ้ งและ เพื่อนบา้ น สือ่ มวลชน บุคคลต่างๆ ที่ใกล้ตัวเด็กมากท่ีสุด ล้วนส่ง ผลต่อพฒั นาการของเดก็ 4. Macrosystem สภาพแวดล้อมในภาพรวม ระบบของสังคมท่ีกระทบต่อพัฒนาการ ของเด็ก ตั้งแต่ภาวะสังคมสงบสุข สงคราม ระบบเศรษฐกิจ การกระจาย ความมั่งค่ัง การเมืองแบบประชาธิปไตยหรือเผด็จการ วัฒนธรรม ระบบการศกึ ษาที่ล้าหลงั หรือกา้ วหน้า กฎหมายทเ่ี ปน็ ธรรม ฯลฯ 90

การเห็นภาพรวมเชิงระบบเช่นนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจลึกซ้ึงข้ึนว่า การแก้ปัญหาต้อง กระท�ำไปอย่างเป็นระบบ การแก้ปัญหาเชิงเดี่ยวหรือแก้เพียงระบบใดระบบหน่ึงไม่สามารถ หรอื ยากท่ีจะอ�ำนวยใหเ้ ด็กเติบโตไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพเตม็ ที่ ภายใต้ระบบของสภาพแวดล้อมท่ีส่งผลต่อพัฒนาการของเด็กข้างต้น การพัฒนาทักษะ สมอง EF ต้องการปัจจัยในการสร้างเสริมและสนับสนุนให้สมองมีสุขภาพดีและมีคุณภาพ สามารถท�ำงานสอดประสานกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยองค์ประกอบส�ำคัญ 5 ประการ ท่ีต้อง “ฝึก” อย่างต่อเน่ืองสม่�ำเสมอภายใต้สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริม (enriched environment) คือ 1. ความผูกพนั ไว้ใจ (attachment) 2. สขุ ภาพของสมองจากการนอน กินอาหารและออกก�ำลงั กายอย่างเหมาะสม 3. สภาพแวดลอ้ มทเี่ ออื้ ตอ่ การพัฒนาทางรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจและความคิด 4. การสร้างประสบการณ์ active learning 5. การเรยี นรสู้ งั คม เขา้ ใจอารมณค์ วามรสู้ กึ ของผอู้ นื่ (social emotional learning) 91

5 องคป์ ระกอบสำ� คญั ในการสง่ เสรมิ EF “ ฝึก” สตม่อ่�ำเเนส่ือมงอ 92

1. สร้างความผูกพันไว้ใจ (attachment) ความผกู พนั ไวใ้ จเปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ทส่ี ดุ ทเ่ี ปน็ ฐานลอ้ มรอบองคป์ ระกอบอน่ื ธรรมชาตไิ ด้ใหค้ วามผูกพันเปน็ “สายสมั พนั ธ์” ทเ่ี หนยี วแนน่ เหนย่ี วร้งั มนษุ ย์ทุกคนไว้ เหมอื นสายโซท่ ม่ี องไมเ่ หน็ เพอื่ ดำ� รงครอบครวั กลมุ่ กอ้ นสงั คมของสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนม ทตี่ ้องการการพง่ึ พาอาศัยเกือ้ กูลกัน จงึ จะสามารถอยู่รอดปลอดภยั มนษุ ยใ์ ชเ้ วลานานทส่ี ดุ เมอื่ เทยี บกบั สตั วอ์ น่ื ในการพง่ึ พงิ การดแู ลจากคนอนื่ กวา่ ท่ี จะสามารถด�ำเนินชีวิตได้ด้วยตนเอง ความผูกพันอย่างชัดเจนจะเกิดข้ึนประมาณช่วง วยั 6 เดอื นถงึ 2 ขวบ เปา้ หมายเพอื่ ใหอ้ ยไู่ ดใ้ นสถานการณท์ ต่ี นรสู้ กึ ปลอดภยั ในระยะ แรกของชีวิตที่ยังไม่สามารถมีชีวิตได้โดยปราศจากผู้อื่น ทารกต้องสร้างความสัมพันธ์ หลกั กบั ใครสกั คนใหส้ ำ� เรจ็ จงึ จะสามารถเกดิ พฒั นาการทางสงั คมและอารมณต์ อ่ ไปได้ นั่นหมายถึงในเวลาน้ันมีใครสักคนเป็นหลักในการตอบสนองความต้องการของตน อย่างจริงจัง เร็วบ้างช้าบ้างตามสถานการณ์ แต่มีความสม่�ำเสมอพอที่ทารกแรกเกิด และยังช่วยตัวเองไม่ได้จะเกิดความมั่นใจว่า ความต้องการของตนได้รับการเอาใจใส่ ไมว่ ่าจะร้องเพราะหิว ไมส่ บายตวั ปวดทอ้ ง ฯลฯ จากประสบการณท์ ไ่ี ดร้ บั การตอบสนอง ทารกจะเกดิ การเรยี นรทู้ จ่ี ะยบั ยงั้ ตนเอง เช่น หยุดรอ้ งเพ่ือรอได้ ทักษะสมอง EF ในเร่ืองน้ีจะได้รับการกระตุ้นให้ท�ำงานมีประสิทธิภาพเพียงไร อยทู่ ก่ี ารเลย้ี งดซู ง่ึ จะยากดมี จี นไมส่ ำ� คญั เพราะความรกั เอาใจใสเ่ ปน็ เรอ่ื งทย่ี งิ่ ใหญก่ วา่ เรื่องใดท้ังหมดที่จะก่อสานความผูกพันไว้ใจโลกใบนี้ โดยเร่ิมจากความผูกพัน กับวัตถุ (object) ท่ีถูกเรียกว่าแม่ในตอนต้นของชีวิต และพัฒนาไปจนเกิดเป็น ความผกู พันไวใ้ จกับมนษุ ย์ผู้อ่ืนและสรรพสง่ิ ความรกั และความอบอนุ่ ทไี่ ดร้ บั ในวยั ทารกและวยั เดก็ ผา่ นการกอดและปลอบโยน สร้างความแข็งแกร่งให้แกน HPA (Hypothalamus-Pituitary-Adrenal) ในสมอง ไม่ให้หลั่งสารความเครียดมากเกินจนท�ำลายพัฒนาการของทักษะสมอง EF ในสมอง 93

ส่วนหน้าอันเป็นรากฐานของพัฒนาการการเรียนรู้ การวิจัยในหนูท�ำให้รู้ว่าลูกหนู ทแี่ มเ่ ลยี นอ้ ย (ความผกู พันต่ำ� ) กบั ลูกหนูทแี่ มเ่ ลียบ่อย (ความผกู พนั สูง) มกี ารปิดเปิด สวติ ชข์ องยนี ในไฮโปธาลามสั แตกตา่ งกนั และสภาพเชน่ นจี้ ะจารกึ ไปตลอดชวี ติ เทา่ กบั ว่าหนูที่มีความผูกพันต�่ำ แกน HPA จะอ่อนแอไปตลอดชีวิต ความแข็งแรงของแกน HPA ท�ำให้คนเราอดทนต่อความเครียด โดยเฉพาะเมื่อถูกกระตุ้นให้เกิดนิสัยหุนหัน พลนั แลน่ (impulsive behavior) ซ่ึงจะรนุ แรงในชีวติ 2 ช่วงคอื ชว่ งวยั เดก็ กบั วยั รนุ่ และชว่ งวัยรนุ่ จะเปน็ ช่วงทก่ี อ่ ให้เกิดผลอนั รุนแรงตอ่ ชวี ิต ความผูกพัน (attachment) จะวางรากฐานความเข้มแข็งของทักษะสมอง EF “ความรู้สึกม่ันคงในสัมพันธภาพ” ท�ำให้เด็กเล็กเรียนรู้โลกภายนอกได้ดี รู้สึกอิสระ ท่ีจะออกส�ำรวจ มีความมั่นใจว่าตนเองรู้สึกปลอดภัยจากการมี “แม่” อยู่ใกล้ เด็กท่ี ไม่ได้รับการดูแลในช่วงท่ีชีวิตต้องการ จะมีปัญหาทางใจ ปัญหาการเรียนรู้ ปัญหา พฤติกรรม สมองส่วนหน้าไม่พร้อมที่จะท�ำงานหรือท�ำได้ไม่ดี เน่ืองจากความต้องการ ของสมองส่วนกลางยังไม่ “อ่ิม” พอ การท่ีคนในครอบครัวไทยต้องแยกแตกกัน จากสภาพการท�ำงานและระบบเศรษฐกิจท่ีไม่เอ้ือให้แม่ได้ดูเด็กเล็กด้วยตนเอง เดก็ ถกู สง่ ไปสถานรับเลีย้ งเลก็ ในอายุทีน่ ้อยลงเรอ่ื ยๆ เปน็ ปัญหาระดบั กวา้ งที่เกิดเป็น ผลรา้ ยมากมายเมอ่ื เดก็ ยา่ งเข้าสูว่ ัยร่นุ อยา่ งทีเ่ ห็นอยใู่ นปัจจบุ ัน วัยรุ่นเป็นวัยที่มีความต้องการทั้งอิสรภาพ (autonomy) และความผูกพัน (attachment) เพื่อเตรียมพร้อมท่ีจะเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ เป็นวัยของการเรียนรู้ การพึ่งพาตนเอง (independence) กับการพึ่งพาระหว่างกัน (interdependence) วัยรุ่นที่พ่อแม่ยอมรับ คลายการควบคุมดูแล เพียงเข้มงวดกับกฎเกณฑ์ท่ีชอบด้วย เหตุผลและอย่างสม�่ำเสมอ คงเส้นคงวา จะปรบั ตวั ไดด้ ี การให้ลูกวัยรุ่นมีส่วนร่วมในการถกเถียงและตัดสินใจในประเด็นของการจัดการ ปกครองตนเอง (self-governance) โดยเสนอทางเลือกท่ีหลากหลายและช่วยลูก วยั รนุ่ สำ� รวจ แนะนำ� และใหก้ ารสนบั สนนุ ในเรอื่ งทล่ี กู ตอ้ งการ แลว้ คอ่ ยใหล้ กู ตดั สนิ ใจ 94

ด้วยตนเองตามแนวทางของความสนใจ จุดมุ่งหมายและค่านิยมของตนเอง การกระท�ำที่หนุนเสริมลูกเช่นที่ว่านี้เป็นเหมือน “นั่งร้าน” (scaffold) ท่ีคอยค�้ำจุน เป็นการ “ส่งเสริมการท�ำงานของการตัดสินใจ” จะท�ำให้ลูกวัยรุ่นได้ “ประสบการณ์ ความรูส้ กึ ” ของการกำ� หนดตนเอง (self-determination) ในการแกป้ ญั หาสว่ นตัว การยอมรับของพ่อแม่และผู้ปกครอง การเฝ้าติดตาม (monitor) เช่น การออก จากบ้าน-กลับเข้าบ้านท่ีไม่ตึงหรือหย่อนเกิน จะช่วยให้วัยรุ่นแปลผล (interpret) คำ� ถามของพอ่ แมเ่ กยี่ วกบั กจิ กรรมทตี่ นทำ� อยไู่ ปในทางทเ่ี ปน็ สญั ญาณของความหว่ งใย (care) ซง่ึ ท�ำให้ไม่รูส้ ึกร�ำคาญใจหรือรสู้ ึกว่ากำ� ลังถูกสอดแนมดว้ ยความไมไ่ ว้วางใจ อย่างไรก็ตามถ้าพ่อแม่เข้มงวดหรือตามใจ (permissive) เกินไปโดยมิได้ให้ลูก มีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจมักสร้างความทุกข์ให้ลูก และวัยรุ่นก็มักจะลงเอย ด้วยการต่อต้าน ไม่บอกเรื่อง/กิจกรรมท่ีตนเองท�ำอยู่ ซึ่งในท่ีสุดอาจมีปัญหา พฤตกิ รรมตามมาได้ “วนิ ยั เชงิ บวก” พัฒนาวยั รุ่นบนความผูกพันไว้ใจ เราทุกคนเป็นสิ่งแวดล้อมของวัยรุ่นคนหนึ่งเสมอ โดยเฉพาะพ่อแม่และครูท่ี ใกล้ชิด ดังเช่นค�ำกล่าวของดร.ปิยวลี และดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร นักวิชาการด้าน ทักษะสมอง EF ได้กล่าวว่า “คุณและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างไร เด็กมีแนวโน้มจะเป็น อย่างน้ัน” และการที่วัยรุ่นคนหน่ึงซึ่งเป็นเด็กท่ีโตมากแล้วจะเข้าใจและคิดได้ดี เพียงใด ว่าตนควร “เป็น” หรือมี“พฤติกรรม” อย่างไร ขึ้นอยู่กับว่าวัยรุ่นคนน้ัน ได้รับการตอบสนองความต้องการทางใจหรือความต้องการของสมองส่วนลิมบิก เพียงพอแค่ไหน เมื่อความต้องการทางใจอ่ิม สมองส่วนหน้าจึงจะเปิดรับการเรียนรู้ นั่นหมายความว่าการสร้างและรักษาสัมพันธภาพท่ีดีต่อกันเป็นเรื่องที่มาก่อน สมั พันธภาพเปน็ อยา่ งไรจะเปน็ ตวั บง่ บอกวา่ วัยรุ่นพร้อมกับการเรยี นร้ไู ดด้ ีแคไ่ หน 95

ความตอ้ งการพื้นฐานของวยั รนุ่ ทุกคนคือชวี ติ ทส่ี งบสุข มีความสม�่ำเสมอ ด�ำเนิน ไปบนแบบแผนทส่ี อดคล้องกัน มีความเปน็ มิตร ใสใ่ จการยอมรับ มเี หตผุ ล และไดร้ บั การปกป้อง ร้สู กึ ปลอดภยั และไดร้ ับการฝึกฝนพฒั นาอยา่ งเข้าอกเขา้ ใจ วนิ ยั เชงิ บวกใหค้ วามสำ� คญั กบั การสอ่ื สารและการสรา้ งสมั พนั ธภาพทเี่ ขา้ อกเขา้ ใจ พฒั นาการของวัยรนุ่ ไม่ใชค้ วามรนุ แรง เคารพศักดิศ์ รีความเปน็ มนุษย์ สนับสนนุ การ เติบโตของวยั รุน่ แต่ละคนดว้ ยการให้ความรัก ข้อมูลความรแู้ ละทางเลือก การใช้วินัยเชิงบวกท�ำให้ความสัมพันธ์ระหว่างบ้าน โรงเรียนกับวัยรุ่นดีขึ้น และ การปฏิบัติของผู้ใหญ่จะเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่วัยรุ่นอีกทางหนึ่ง ทั้งหมดนี้ส่งผล ต่อการเรียนรู้และพัฒนาการ ท�ำให้วัยรุ่นมีความรู้สึกดีต่อตนเอง เรียนรู้ที่จะเคารพ ผู้อื่นและตนเอง ซ่ึงเป็นผลโดยตรงต่อความส�ำเร็จในชีวิตและความสัมพันธ์อันดี กับผูอ้ นื่ และเชื่อมั่นในตนอง การสร้างวินยั เชงิ บวกจึงมเี ปา้ หมายสูงสดุ อยู่ที่การสรา้ งวนิ ัยในตนเอง เคารพ ตนเองโดยไม่ต้องมีใครบังคับใหท้ ำ� และต้องทำ� ไปบนฐานความสัมพันธ์ทีด่ ี การสร้างวินัยเชิงบวก 1. มุ่งรักษาความสัมพันธ์เป็นหลัก มีน้�ำใจ มุ่งไปที่ 4 เร่ืองคือ 2. มุ่งสร้างวินัยในตนเอง สร้างคุณค่าในตนเอง (self-esteem, self-worth) 3. มุ่งสร้างทักษะชีวิต (life skills) ความรับผิดชอบ 4. มุ่งสร้างการเรียนรู้ กระบวนการคิด การตัดสินใจ การประเมินตนเอง 96

วินัยเชิงลบมุ่งไป 1. การท�ำร้ายร่างกาย จิตใจ เช่น ลงโทษ เปรียบเทียบ ที่ 4 เร่ืองคือ ด่าว่า ประชด 2. ควบคุมจากภายนอก เช่น ให้รางวัล ข่มขู่ ต้ังข้อแม้ ส่ัง บังคับ ใช้อ�ำนาจ 3. ไม่สนใจสร้างทักษะ ต้องการให้แค่ปฏิบัติตาม 4. ไม่สนใจการเรียนรู้ กระบวนการคิด ไม่ต้องตัดสินใจ ผู้อื่นเป็นคนประเมิน การสร้างวินัยเชิงบวกคือการฝึกทักษะสมอง EF เมื่อได้รับการฝึกอย่างต่อเนื่อง จะกลายเป็นนิสัยติดตัวไปเป็น “กมลสันดาน” ท�ำให้เด็กไทยมีนิสัยดี หรือเรียกว่า มีสันดานสร้างสรรค์ ท�ำใหค้ ิดเป็น ทำ� เปน็ เรยี นรเู้ ป็น แก้ปญั หาเปน็ อยกู่ ับคนอ่ืนเป็น และมีความสุขเป็น ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีท�ำแทนกันไม่ได้ เป็นเร่ืองท่ี “ใครท�ำใครได้” การสร้างวินัยเชิงบวกไม่ใช่เรื่องยาก เทคนิคต่อไปน้ีเป็นวิธีการสร้างวินัยเชิงบวก ให้เดก็ เล็กทส่ี ามารถปรับมาใช้กบั วัยรุ่นไดเ้ ช่นกัน ดังนี้ 1. ท�ำให้ “เร่ืองดีๆ” ท่ีวัยรุ่นท�ำได้ให้เป็นเร่ืองใหญ่ ชื่นชมอย่างเฉพาะเจาะจง ในเรอ่ื งนั้นแบบตัวตอ่ ตวั ขอบคุณเมื่อทำ� สิ่งที่ผใู้ หญ่คาดหวงั ได้ดี 2. มองตากนั เม่อื คยุ กัน ท�ำใหเ้ ดก็ ร้สู ึกไดร้ บั ความใส่ใจ มีคณุ ค่าและเชื่อใจ ซ่งึ จะ ทำ� ให้ทกั ษะสมอง EF ทำ� งานไดด้ ี 3. ให้ทางเลือกเชิงบวก ไม่สั่งหรือบังคับ ท�ำให้เด็กคิดเป็น ฝึกทักษะให้เด็ก ตัดสินใจ มีความคิดยืดหยุ่น ใช้ชีวิตกับส่ิงที่มีอยู่ได้ ใช้สถานการณ์ให้เด็ก รบั ผดิ ชอบในส่งิ ทเี่ ลอื ก 4. “หา้ ม ไม่ อยา่ หยุด” ถือเป็นคำ� ต้องห้าม 5. ให้ความส�ำคัญ มอบหน้าท่ใี ห้รับผิดชอบ และชืน่ ชม 6. กระซิบ ไม่ตะโกนใส่ มนุษย์มีสัญชาตญาณในการปกป้องตัวเอง เด็กจะตัด ความสมั พันธ์ แตถ่ ้าเปน็ เสียงกระซบิ จะใสใ่ จฟงั 97

7. กำ� หนดความสำ� คัญก่อนหลงั เช่น ทำ� งานเสร็จแลว้ ไปขา้ งนอกได้ 8. กำ� หนดและตกลงกนั เรื่องเวลา ฝึกการวางแผน 9. บอกความรู้สึกของผใู้ หญ่ใหเ้ กิดการเรยี นรวู้ า่ ทุกการกระท�ำของลกู วัยรุ่น สง่ ผลตอ่ คนอ่นื เสมอ ไมใ่ ชว้ ธิ ีบ่นหรอื ตำ� หนิ 10. สงั เกต ใสใ่ จ และแสดงความเขา้ ใจในความรสู้ กึ ของลกู วยั รนุ่ ทมี่ หี ลายอารมณ์ ในแตล่ ะวนั ให้รู้ตัววา่ ก�ำลงั มีอารมณ์อะไร ใหร้ บั รู้อารมณต์ วั เองและรู้ว่าต้อง จัดการอะไรกับอารมณ์ของตัวเอง สามารถก�ำกับตัวเองได้และมีเวลาเฉพาะ ทเ่ี ปน็ “ส่วนตวั ” กบั เดก็ 10 การสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวกในห้องเรียนอยา่ งง่าย ที่ครสู ามารถน�ำไปปรับใช้กับนักเรียนระดบั มัธยมได้ 1. พุ่งเป้าไปท่ีแผนการสอน กิจกรรม กระบวนการ บรรยากาศ (ไม่พุ่งเป้าไปท่ีปัญหาพฤติกรรม) 2. มีกฎใหญ่ๆ สั้นๆ สามข้อคือ เคารพสิทธิผู้อื่น มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม (ไม่สร้างกฎมากเกิน) 3. เป็นแบบอย่างพฤติกรรมท่ีเหมาะสม (ไม่ท�ำตัวเป็นตัวอย่างท่ีไม่ดี) 4. เม่ือเด็กมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม นั่งคุยกันเป็นการส่วนตัว (ไม่ประจาน) 5. ให้ก�ำลังใจและให้ค�ำแนะน�ำ (ไม่ท�ำให้เด็กรู้สึกผิด) 6. ให้ความส�ำคัญในเร่ืองท่ีสอนหรือที่เด็กประพฤติดี (ไม่หยุดการสอนเพื่อดุเด็ก) 7. ให้เด็กมีส่วนร่วม (ไม่สอนแบบน่าเบื่อ) 8. รับมือกับปัญหาโดยเป็นพวกเดียวกับเด็กเสมอ (ไม่ขี้ฟ้อง) 9. สร้างมิตรภาพ แสดงออกซึ่งความสนใจ (ไม่ข่มเด็ก) 10. วางตัวเป็นผู้ใหญ่ รู้ตัวว่าตนเองเป็น “ครู” อยู่เสมอ (ไม่เอาเร่ืองส่วนตัวมาเป็นปัญหา) 98

2. ดแู ลสขุ ภาพของสมอง จากการนอน อาหารการกนิ และออกกำ� ลงั กายอยา่ งเหมาะสม การนอน การนอนเป็นอาหารสมอง การนอนไม่ใช่แค่เพียงท�ำให้ร่างกายได้พักผ่อน และผลิต growth hormone เพื่อการเจริญเติบโตทางร่างกายของวัยรุ่นเท่าน้ัน แตย่ งั เปน็ ชว่ งเวลาทสี่ มองจะไดจ้ ดั ระเบยี บขอ้ มลู แปลงความจำ� ระยะสนั้ และเหตกุ ารณ์ ล่าสุดลงไปในหน่วยความจ�ำระยะยาว และช่วยสร้างข้อมูลใหม่ลงในสมองเพ่ือ เรียกคืนในภายหลัง จากการวิจัยของซานดรีน ธูเร (Sandrine Thuret) และโจนัส ไฟรเซน (Jonas Frisén) จากสถาบันคาโรลินสกา (Karolinaska Institute) ในประเทศสวีเดน ได้ค้นพบเม่ือไม่นานมานี้ว่า ปกติในสมองส่วนฮิปโปแคมปัส ซ่ึงท�ำงานเกี่ยวกับ ความจำ� การเรียนรแู้ ละอารมณ์นั้น สร้างเซลลป์ ระสาทใหม่ประมาณ 700 เซลลต์ อ่ วนั การอดนอนและความเครียดท�ำให้การสร้างเซลล์ประสาทเหล่าน้ีลดลง มีการวิจัย ในเด็กเล็กพบว่า การนอนในเวลากลางคืนไม่เพียงพอแม้จะชดเชยด้วยการนอน ชว่ งกลางวนั จะท�ำใหท้ ักษะย้ังคดิ ในสมองสว่ นหนา้ ทำ� งานไดไ้ ม่ด ี ในช่วงวัยรุ่น การนอนไม่พอก่อให้เกิดผลหลายประการ ตั้งแต่ปัญหาร่างกาย ไม่สามารถเติบโตเต็มท่ี ความสูงน้อยกว่าท่ีควร ลดประสิทธิภาพการท�ำงานของ ระบบต่างๆ ท�ำให้เจ็บป่วยง่าย ติดเชื้อง่าย มีปัญหาความสามารถในการเรียนรู้ ไม่มี สมาธิในการเรียน ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า มึนงง ง่วง หลับใน นอกจากน้ัน การนอนไม่พอยังส่งผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนควบคุมการเคลื่อนไหวของ ร่างกาย ท�ำให้ซุม่ ซา่ ม สง่ ผลตอ่ อารมณ์ท�ำใหห้ งุดหงิดงา่ ย ฉนุ เฉยี วบ่อย การตดั สินใจ หุนหันพลันแล่น ในระยะยาวมีความเส่ียงต่อการเป็นโรคอ้วน เบาหวาน โรคหัวใจ ความดนั โลหติ สงู หรอื อลั ไซเมอรไ์ ด้ ปญั หาทรี่ า้ ยแรงเกยี่ วกบั การอดนอนเรอื้ รงั อกี อยา่ ง หนงึ่ คอื การบาดเจบ็ และการตายจากอบุ ตั เิ หตทุ างจราจรและการทำ� งาน พบวา่ ครงึ่ หนงึ่ 99