Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_ในเด็กวัย_13-18_ปี_สำหรับพ่อแม่และครู

คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_ในเด็กวัย_13-18_ปี_สำหรับพ่อแม่และครู

Published by Chalermkiat Deesom, 2020-05-25 03:42:51

Description: คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_ในเด็กวัย_13-18_ปี_สำหรับพ่อแม่และครู

Search

Read the Text Version

คมู่ อื ExพeัฒcuนtาiทvกัeษFะสuมnอcงtiEoFns ในเดก็ วยั 13-18 ปี สำ� หรบั พ่อแมแ่ ละครู สนับสนนุ โดย สรา้ งสรรคโ์ ดย

คมู่ อื พฒั นาทกั ษะสมอง EF Executive Functions ในเดก็ วยั 13-18 ปี สำ� หรบั พอ่ แมแ่ ละครู ISBN 978-616-8045-26-8 ลิขสทิ ธ์ริ ่วม ส�ำนักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) และ สถาบนั RLG (รักลูก เลริ ์นนงิ่ กรุ๊ป) บริษัท รักลกู กรุป๊ จ�ำกดั สงวนลิขสทิ ธิต์ ามพระราชบัญญตั ิลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. 2537 พิมพ์คร้งั ที่ 1 ตุลาคม 2561 จ�ำนวนพมิ พ์ 2,000 เลม่ บรรณาธกิ าร สภุ าวดี หาญเมธี เรยี บเรยี ง ปรารถนา หาญเมธี วชิ าการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วริ ยิ าภรณ์ อุดมระต ิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปนดั ดา ธนเศรษฐกร อาจารยว์ เิ ชษฐ์ โพธวิ สิ ุทธพิ์ าที ประสานงาน ภาวนา อร่ามฤทธิ์ / ธิดา มหาเปารยะ บรมานันท์ การตลาด ธนรร หาญวรโยธนิ ออกแบบรูปเลม่ และภาพประกอบ ฉัตรทิพย์ โลหจ์ รัสศริ ิ / สุธินนั ท์ เชยโต จดั ท�ำโดย บรษิ ัท รักลูกกรปุ๊ จำ� กดั 932 ถนนประชาช่ืน แขวงวงศส์ วา่ ง เขตบางซือ่ กรงุ เทพมหานคร 10800 โทรศัพท์ 0 2913 7555 โทรสาร 0 2428 7499 แยกสี/พมิ พท์ ่ี โรงพิมพ์ ไอดี ออล ดิจติ อล พริน้ ท์ จำ� กัด เลขท่ ี 52 ซอยเอกชัย 69 แขวงบางบอน เขตบางบอน กรงุ เทพมหานคร 10150 โทรศพั ท์ 02-899-5429-35 โทรสาร 02-416-4097 เพ่อื การคน้ คว้า Executive Functions เว็บไซต:์ www.rlg-ef.com เฟซบุค๊ : www.facebook.com/พฒั นาทกั ษะสมอง EF รายช่ือนกั วชิ าการเขา้ รว่ มจดั การความรูท้ กั ษะสมอง EF วยั 13-18 ปี • นพ.ประเสรฐิ ผลิตผลการพิมพ์ • รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจนั ทร์ จุฑาภกั ดีกลุ • ดร.ปิยวลี ธนเศรษฐกร • ผชู้ ่วยศาสตราจารย์วริ ิยาภรณ์ อุดมระติ • นพ.ดุสติ ลิขนะพิชติ กลุ • ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปนดั ดา ธนเศรษฐกร • สภุ าวดี หาญเมธี • พญ.อัมพร เบญจพลพทิ กั ษ์ • อาจารย์วเิ ชษฐ ์ โพธิวสิ ทุ ธ์วิ าที • อาจารยภ์ ูรทิ ัติ ชัยวัฒนกุล • อาจารย์พชั นา มหพนั ธ์ • ดร.บรรเจอดพร สแู่ สนสุข สงวนลขิ สิทธ์ิ Copyright©2018 RLG Institute : กรณนี �ำไปใชเ้ พือ่ ประโยชนท์ างการศกึ ษา ตอ้ งได้รบั อนญุ าตอยา่ งเปน็ ทางการจากเจ้าของลขิ สิทธิ์ ไมอ่ นญุ าตใหล้ อกเลียนแบบ ส่วนใดส่วนหน่ึงของหนงั สอื เลม่ น้ี รวมทงั้ การจัดเก็บ ถ่ายทอด ไมว่ า่ รูปแบบหรอื วิธกี ารใดๆ ในกระบวนการทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ การถา่ ยภาพ การบนั ทึก หรือวธิ ีการใดๆ โดยไมไ่ ด้ รบั อนญุ าตจากเจ้าของลขิ สิทธ์ิ

ค�ำน�ำ รู้กันมานานท้ังจากการสังเกตของคนธรรมดาๆ และจากนักวิชาการว่าวัยรุ่นเป็นวัยที่มี พัฒนาการแบบเฉพาะตัวซับซ้อน เข้าใจยากมาก มีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนพร้อมๆ กันหลายด้าน ท้ัง สรีระ ฮอรโ์ มน สภาวะจิตใจ ความสมั พันธท์ างสังคม ฯลฯ เมอ่ื ครงั้ ทโ่ี ลกยงั เปลย่ี นแปลงไมม่ าก วยั รนุ่ กเ็ ปน็ วยั นา่ ใจหายใจควำ�่ อยแู่ ลว้ ในสายตาผใู้ หญ่ แตเ่ มอื่ โลกกา้ วเขา้ สยู่ คุ ทถี่ กู ทำ� ลายลา้ งดว้ ย disruptive technology ความปน่ั ปว่ นหนกั หนว่ งเกดิ ขนึ้ ในทกุ มติ ิ วัยรุ่นไทยท่ีใจหายและใจคว่�ำไปแล้วมีจ�ำนวนเพิ่มมากข้ึนเร่ือยๆ จนคิดยากว่า ในอนาคต ประเทศชาตจิ ะมปี ระชากรคณุ ภาพทส่ี ามารถดแู ลสงั คมผสู้ งู อายขุ องไทยตอ่ ไปไดจ้ รงิ หรอื ไม่ อยา่ งไร แต่โลกปั่นป่วนก็มีด้านดีไม่แพ้ด้านร้าย สร้างโอกาสพอๆ กับสร้างวิกฤติ ความรู้ด้านประสาท วทิ ยาศาสตร์ (neuroscience) ทม่ี ากบั เทคโนโลยี ไดเ้ ขา้ มาหนนุ เสรมิ ทำ� ใหโ้ ลกรจู้ กั สมองของวยั รนุ่ (และวัยอนื่ ๆ) ละเอียดลออขนึ้ ซง่ึ นน่ั ยอ่ มหมายถงึ โอกาสของผ้ใู หญ่ ; พ่อแม่ผ้ปู กครอง ครอบครัว โรงเรยี น สงั คม ทจี่ ะดแู ล พฒั นาและจดั การเรยี นรเู้ พอื่ ตอบสนองภาวะวยั รนุ่ อยา่ งเขา้ อกเขา้ ใจยงิ่ ขน้ึ ความรู้เร่อื งทักษะสมองสว่ นหน้า Executive Functions - EF เป็นหนง่ึ สายธารความรู้ส�ำคญั ยุคใหม่ ที่ก�ำลังหล่อเลี้ยงวงวิชาการด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนท่ัวโลก สถาบัน RLG (รักลูก เลิร์นนง่ิ กรปุ๊ ) ในฐานะผูบ้ รหิ ารโครงการพัฒนาทกั ษะสมอง Executive Functions เพอื่ สุขภาวะ ของเด็กและเยาวชน ภายใต้การสนับสนุนของ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำ� นกั 4 ไดจ้ ดั ใหม้ เี วทจี ดั การความรทู้ กั ษะสมอง EF ของแตล่ ะวยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื รวบรวม นกั วชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ้ งหลากหลายสาขา ทงั้ นกั ประสาทวทิ ยาศาสตร์ จติ แพทยเ์ ดก็ และวยั รนุ่ นกั การ ศกึ ษา นกั จติ วทิ ยาพัฒนาการ ครอู าจารย์ และนกั สือ่ สาร มาร่วมกันวเิ คราะห์ ย่อย-แยกถอดรหัส และสงั เคราะห์ เชอื่ มโยงบรรดาความรทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ทกั ษะสมอง Executive Functions (EF) เขา้ กับพัฒนาการและธรรมชาติของวัยต่างๆ เพ่ือแปลงสารในองค์ความรู้ให้เป็นท่ีเข้าใจง่ายและ สอดคล้องตอบโจทย์ในบริบทไทย นำ� ไปส่กู ารใชไ้ ดจ้ รงิ ในชวี ิตประจำ� วัน

ในเวทีจดั การความรู้ EF อันอดุ มสมบูรณข์ องช่วงวยั รุน่ ท่สี ถาบนั ฯ จดั ต่อเน่อื งกนั มานบั สิบ คร้ัง สมาชิกผู้เช่ียวชาญแต่ละสาขาศึกษาค้นคว้ามาอย่างดี พกพาองค์ความรู้มาแลกเปลี่ยน น�ำเสนอ ถกอภิปรายและค้นหาข้อสรุปกันอย่างกัลยาณมิตร หลายทฤษฎีแตะเชื่อมเข้าหากัน ประสบการณ์ถักทอเข้ากับทฤษฎี ท�ำให้ได้พบข้อเรียนรู้มากมายที่จะเอ้ือต่อการพัฒนาหรือแก้ ปัญหาใจหายใจคว�่ำของวัยรุ่นไทยโดยครอบครัว ชุมชนและสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงจะเป็น ประโยชน์ย่งิ ยวดตอ่ การปฏริ ูปการศึกษาเพ่ือผลักดันให้เดก็ ครูอาจารย์ โรงเรยี น หลุดออกไปจาก คุกขังสมอง(...ถ้าผู้เกี่ยวข้องยอมรับความจริงกันเสียทีว่า วิธีจัดการเรียนการสอนแบบเดิมๆ น้ัน ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติของพัฒนาการและสมอง และไม่ส่งเสริมทักษะเพื่อการอยู่รอดได้ใน ศตวรรษที่ 21 แต่อย่างใด) สถาบันฯ ขอขอบคุณนักวิชาการและคณะท�ำงานท่ีมีรายนามปรากฏทุกท่าน ท่ีได้ร่วมกัน อุทิศเวลา แรงกาย แรงใจและแรงปัญญา ถักทอก่อรูปชุดความรู้นี้เพื่อจะน�ำไปสู่การเผยแพร่ ความรู้ความเขา้ ใจทปี่ ฏบิ ตั ไิ ด้ ให้แกผ่ เู้ กย่ี วขอ้ งกบั วัยรนุ่ ทุกคน หวงั วา่ หนงั สอื เล่มน้จี ะเปน็ คู่มือท่มี ีสว่ นชว่ ยใหผ้ ู้ใหญ่ โดยเฉพาะพอ่ แม่ ครู ทุกทา่ นสามารถ น�ำไปใช้เป็น ‘นั่งร้าน’ ในการเสริมสร้างต่อเติมชีวิตวัยรุ่นไทย ช่วยให้เกิดบุคลิกภาพของการ ‘คิดเปน็ ท�ำเปน็ เรียนรเู้ ปน็ แก้ปญั หาเปน็ อยู่กับคนอน่ื เป็น และมคี วามสขุ เปน็ ’ เพื่อให้พวกเขา เติบโตไปเปน็ พลเมอื งคณุ ภาพ เปน็ มนุษย์ทีส่ มบูรณ์ และรบั ช่วงดแู ลสังคมไทยใหแ้ ข็งแรงตอ่ ไป ไมม่ เี ด็กคนใดโง่หรอื เลว มแี ต่ระบบและสภาพแวดล้อมทม่ี ดื บอดและไม่เอาไหน สุภาวดี หาญเมธี สถาบัน RLG (รักลกู เลริ น์ นิ่ง กรุ๊ป)

สารบัญ ภาคท่ี 1 ความรูเ้ ร่อื งทักษะสมอง EF ปฐมบท ท�ำไมต้อง EF และวยั รุ่นแบบไหนท่ีสงั คมต้องการ 6 บทท่ี 1 พัฒนาการสมองด้านการคดิ ในเดก็ วัย 13-18 ป ี 22 บทที่ 2 รู้จกั ทักษะสมอง Executive Functions- EF 36 บทท่ี 3 ทักษะสมอง EF กบั พฒั นาการเด็กวัย 13-18 ป ี 66 ภ าค ท่ี 2 ปัจจยั ท่พี ฒั นาทกั ษะสมอง EF 84 บทที่ 4 องค์ประกอบส�ำคญั และสภาพแวดล้อมที่สง่ เสรมิ ทักษะสมอง EF 86 ภาคท่ี 3 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรูท้ ่ีพฒั นาทักษะสมอง EF 128 บทที่ 5 กระบวนการจัดการเรียนรู้และการเสริมสรา้ งทกั ษะสมอง EF 130 ในเดก็ วัย 13-18 ปี 160 196 กรณีศกึ ษา : โรงเรยี นปญั ญาประทปี บทที่ 6 กระบวนการจดั การเรียนรู้และการเสริมสรา้ งทกั ษะสมอง EF ในเด็กวัย 13-18 ปี กรณศี กึ ษา : โรงเรยี นลำ� ปลายมาศพัฒนา บทที่ 7 Q & A

ภาคท่ี 1

เรอ่ื งทกัคษวาะสมมรอู้ ง EF

ปฐมบท ท�ำไมต้องเข้าใจ เรื่อง EF - Executive Functions ในเด็กวัย 13-18 ปี 8

โลกเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งคาดไม่ถึง ตลอดสายธารการก่อกำ� เนิดสายพันธ์ุมนุษยชาติ (โฮโมเซเปียน) มนุษย์ถกู ทา้ ทายอยู่ตลอดเสน้ ทางการวิวฒั นาการมาถึงทกุ วนั นวี้ ่า 1. จะสามารถมีทกั ษะ (skill) ทส่ี อดคล้องกับบริบทความต้องการของโลกในเวลานัน้ หรอื ไมอ่ ยา่ งไร 2. จะสามารถมสี ตปิ ญั ญาเพียงพอทจ่ี ะสรา้ ง “คุณค่า” อะไรและอย่างไรให้สงั คม 3. จะสามารถมหี ัวใจท่สี ามารถรัก เมตตาผู้อ่ืน จนก่อเกิดเปน็ คณุ ธรรมอะไร แบบไหน ที่เปน็ ฐานทำ� ให้ แต่ละสงั คมพัฒนาสบื มาจนปจั จุบนั ได้ และนั่นคือเป้าหมายของทุกสังคมว่าจะสร้างคนคุณภาพท่ีมีทั้งหัวใจที่ดีงาม (heart) มีสติปัญญา (head) และมีทกั ษะ (hand) ทีส่ ามารถพฒั นาชวี ิตตนและสังคมใหอ้ ย่รู อดและผาสุกอยา่ งไร เป้าหมาย heart หัวใจที่ดีงาม สามารถพัฒนา ชีวิตตนและสังคม head ให้อยู่รอดและ hand มีสติปัญญา ผาสุก มีทักษะ 9

ambiguity เหตผุ ลสามประการ ทำ� ไมตอ้ งเขา้ ใจทกั ษะสมอง EF VUCA เหตผุ ลประการท่ี 1 แต่โลกทุกวันน้ีไม่เหมือนเช่นท่ีผ่านมา เป็นยุคท่ีถูกเรียกว่า “VUCA” volatility ท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างไม่มีกฎเกณฑ์ เป็นยุคสมัยของความพลิกผัน (volatility) อย่างรวดเร็วรุนแรง เอาแน่นอนอะไรไม่ได้ (uncertainty) uncertainty แถมยังซับซ้อน (complexity) และมีความคลุมเครือก�ำกวม มองได้หลายมุม (ambiguity) ท�ำใหค้ าดการณ์ยาก complexity ศตวรรษที่ 21 จึงเรียกร้องให้คนมีความสามารถใหม่ เพื่อรับมือกับ ความทา้ ทายและปัญหาทต่ี า่ งไปจากยุคกอ่ น ทกั ษะทีจ่ ำ� เป็นต่อการมีชวี ติ รอด และอยู่ได้อย่างคนท่ีประสบความส�ำเร็จ คือสุขภาพดี มีความสุข มีงานท�ำ อยู่ในสังคมที่ปลอดภัย ชีวิตมีความม่ันคงและอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างมี ความสุข แต่ “21st Century Skills” หรือทักษะศตวรรษที่ 21 เรียกร้อง ความสามารถจากคนรุ่นนี้มากกว่าปู่ย่าตายายและพ่อแม่ นอกจาก ทักษะพ้ืนฐาน คือการอ่านออก เขียนได้ ค�ำนวณเป็น (3R : Read, Write, Arithmatic) แล้ว คนในยุคนี้ยังต้องมีทักษะท่ีลึกและกว้างกว่านั้นคือ ทักษะการคดิ วิเคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ สื่อสารเป็น และสามารถทำ� งานเป็นทมี กับผู้อื่นได้ อันเป็นทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรม ทั้งยังต้องการ ความสามารถในการเท่าทันต่อสื่อสารสนเทศ (ICT) ท่ีมีอิทธิพลในทุกมิติ ย่ิงไปกว่าน้ันยังเรียกร้องทักษะชีวิตที่เข้มข้นย้อนแย้ง ท้ังความสามารถในการ ปรบั ตวั กล้ารเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ กำ� หนดชวี ิตตนเองได้ มีภาวะผนู้ �ำและเปน็ ผู้ตาม ท่ีดไี ด้ อย่กู ับความแตกต่างอยา่ งฉันมิตร สามารถทำ� งานเป็นทีมได้ 10

ทักษะศตวรรษที่ 21 ยืดหยุ่น ปรับตัว อยู่กับความแตกต่าง ทักษะชีวิต & อาชีพ กล้าคิดริเริ่มและ ทางวัฒนธรรมและสังคมได้ ก�ำหนดชีวิตตนเอง ทักษะ เทคโนโลยี มีภาวะผู้น�ำและ สร้างงาน ท�ำงานเป็น มีความรับผิดชอบ มีประสิทธิภาพ เรียนรู้ & รู้และเข้าใจเรื่องส่ือ ไอซีที และสารสนเทศ นวัตกรรม คิดวิเคราะห์ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ ท�ำงานเป็นทีม สื่อสารได้ อ่านออก เขียนได้ ค�ำนวณเป็น ทักษะสมอง EF คือ ฐานรากสุดที่จะท�ำให้ได้มาซึ่งคุณลักษณะข้างบน การเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยแี ละความผนั ผวนทางเศรษฐกจิ การเมอื งและสงั คม กวาดลา้ ง งานท่ีอาศัยความสามารถและทักษะเดิมในยุคอุตสาหกรรม อาชีพการงานซ่ึงเคยเป็นที่ต้องการ ถกู แทนทีด่ ว้ ยเทคโนโลยี และในขณะเดียวกนั มีโอกาสมากมายทม่ี องไมเ่ ห็นและมคี วามต้องการ ใหม่เกิดข้ึนตลอดเวลา ในภาวะเช่นท่ีกล่าวมานี้ รัฐบาลพยายามก้าวตามความผันผวนเพื่อพา ประเทศหลุดพ้นจากการเป็นประเทศที่ก�ำลังพัฒนา จากปัญหาการติดกับดักรายได้ปานกลาง (middle income trap) และความเหล่ือมล�้ำระหว่างคนรวยกับคนจนที่ถ่างกว้างขน้ึ รฐั บาลจึง ประกาศนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ ‘Thailand 4.0’ มุ่งใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิด สร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสอดรับกับความ เปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วของโลก นั่นหมายถึงประเทศของเราก�ำลังพยายามก้าวเข้าไปสู่การ สรา้ งสรรคเ์ ศรษฐกจิ ทส่ี รา้ งมลู คา่ อยา่ งทไ่ี มเ่ คยทำ� มากอ่ น ทา่ มกลางโอกาสใหมๆ่ ทไ่ี มเ่ คยมมี ากอ่ น ขณะเดียวกันก็มีภัยคุกคามท้ังภัยธรรมชาติ สภาพแวดล้อม ปัญหายาเสพติด ปัญหาการก่อการ ร้ายและภัยสงครามระอุกร่นุ อยู่ทัง้ โลก 11

เหตผุ ลประการท่ี 2 สังคมไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) อย่างรวดเร็ว ในปี 2564 ประเทศไทยจะก้าวเขา้ สูส่ ังคมผ้สู งู อายุอยา่ งสมบรู ณ์ โดยสัดสว่ นคนวยั ทำ� งานกบั คน เกษียณอยู่ท่ี 4:1 ขณะที่ประเทศเพ่ือนบ้านในอาเซียนมีสัดส่วนอยู่ท่ี 8:1 และมีการ พยากรณ์ว่าภายใน 25 ปีข้างหน้า สัดส่วนคนวัยท�ำงานกับคนวัยเกษียณ ของประเทศไทยจะอยู่ท่ี 2:1 เยาวชนที่จะต้องเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ในเวลาอันใกล้ มีภาระที่ต้องแบกรับดูแลสังคมท่ีเต็มไปด้วยคนสูงอายุ จึงต้องมีความสามารถ ในการสร้างผลผลิต (productivity) มากกว่าคนรุ่นพ่อแม่เป็นเท่าตัวเป็นอย่างน้อย จงึ จะพาสงั คมเดินหน้าตอ่ ไปได้ เราตอ้ งสร้างคนอย่างไรจึงจะเผชิญหนา้ กับสถานการณเ์ ช่นวา่ น้ีได้ เหตุผลประการท่ี 3 เยาวชนไทยในปจั จบุ ันอยู่ในภาวะวกิ ฤตหิ นกั หนว่ งทกุ ช่วงวัย 1 ใน 3 ของเด็กปฐมวัยมีพฒั นาการล่าช้า โดยเฉพาะด้านภาษาต่อเน่อื งมานานถงึ 15 ปี 28% IQ ตค่า�่ำเกฉวล่าย่ี ที่ 901 เดอ็กาปยรุ ะ6ถ-ม1ศ2ึกปษี า EQ 2เตก่ำ� 6ณก%วฑา่์ปก2ต“ิจำ� เปน็ ” ต้องไดร้ ับการพัฒนา 46%3 “ควร” ดา้ นการปรับตวั ตอ่ ปญั หาการควบคมุ อารมณ์ การยอมรบั ผดิ -ถูกและความมุ่งมั่น พยายาม 1 กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2554) 2 กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2558) 3 กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข (2558) 12

ประเทศไทยเป็นประเทศอันดับต้นๆ ของโลกท่ีใช้ งบประมาณด้านการศึกษาสูงสุดประมาณปีละ 500,000 ล้านบาท โดยเด็กไทยมีจ�ำนวนชั่วโมงเรียนมากกว่า เดก็ ทกุ ชาตใิ นโลกนี้ แตผ่ ลสอบ O-Net เฉลยี่ ทกุ วชิ า ต่�ำกว่า 50 คะแนน ผลการทดสอบ PISA (Programme for International Student Assessment) จัดโดยองค์กร ความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือที่เรียกว่า OECD (Organization for Economic Cooperation and Development) พบว่า ในวิชาที่เป็นหัวใจของการพัฒนา 3 วิชา คือ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และการอา่ น ปี 2559 เดก็ ไทยห่างจากประเทศที่พฒั นาแลว้ โดยเฉลีย่ เกือบ 3 ปีการศึกษา หรือยังคงอยู่ห่างจากคุณภาพของเด็กสิงคโปร์ 5 ปีการศึกษา ยิ่งกว่าน้ัน เด็กไทยท่ีได้คะแนนในกลุ่มสูงสุดกับกลุ่มต�่ำสุดมีความเหล่ือมล�้ำกันเองภายในประเทศถึง  7 ปีการศกึ ษา เด็กไทยในวัยเรียนและวัยรุ่นจ�ำนวนมากมีปัญหาพฤติกรรมติดเทคโนโลยี ติดยาเสพติด และทีน่ า่ ตกใจคือต้งั ครรภ์กอ่ นวยั อันควร ถงึ ปลี ะ 120,000 คน การพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยในสภาพการณ์เช่นท่ีกล่าวมาข้างต้นจึงต้องการความเข้าใจ ในระดบั ทลี่ กึ ลงไปถงึ กลไกการทำ� งานของสมอง เพอื่ ใหท้ กุ ฝา่ ยทกุ คนทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การดแู ลพฒั นา และสร้างการเรียนรู้ให้อนาคตของชาติ ได้เข้าใจถึงศักยภาพที่ธรรมชาติมอบเป็นของขวัญพิเศษ สดุ แก่มนษุ ยชาติ นน่ั คือทกั ษะสมอง EF (Executive Functions) ในสมองสว่ นหนา้ ซึง่ เม่อื ได้ 13

พทป้ืน่ีแรโคทขะส็รงี่แแงิทลสระธงรกิภ้าลาทงไพี่มกี รับความเข้าใจอย่างแจ่มชัดและสามารถส่งเสริมการพัฒนาอย่าง เหมาะสมสอดคล้องไปกับธรรมชาติ ก็จะช่วยส่งเสริมให้เกิดโครงสร้าง hardware พ้ืนที่และกลไกท่ีแข็งแรง (hardware) ในสมอง ในขณะเดียวกัน สมองท่ีมีทักษะ EF ดีก็จะเป็นระบบปฏิบัติการ (software) ท่ีมี ประสิทธิภาพ ก�ำกับความรู้สึก ความคิด พฤติกรรมจนก่อรูปเป็น นิสัยฝังแน่นเป็นสันดาน แสดงออกเป็นความสามารถในการใช้ชีวิต ร่วมกับผู้อ่ืน โดยเข้าใจและเห็นคุณค่าของท้ังตนเองและผู้อ่ืนด้วย (peopleware) ซ่ึงในท่ีสุดจะส่งผลดีต่อเด็กและเยาวชนทั้งในปัจจุบัน และอนาคตตลอดชีวิต software “Executive Functions เป็นการพัฒนา ทักษะของสมองทสี่ ่งผลส�ำคัญรอบดา้ น ปปทดฏรีเักะิบปสษัต็นิทะิกรธาะิภEรบาทบFพี่มี เปน็ ท้ังการสรา้ ง hardware เป็นการป้อน software และเปน็ การเสริมพลัง peopleware” peopleware รศ.ดร.นัยพินิจ คชภักดี คเุณแขล้าคะใ่าผจขแู้ออล่ืนงะตดเน้หวยเ็นอง 14

ความท้าทายในการพฒั นาสมองวยั รุ่น กอ่ นเขา้ สเู่ นอ้ื หาการจดั การความรเู้ รอื่ งการพฒั นาทกั ษะสมอง EF ของเดก็ วยั 13-18 ปี มีความจ�ำเป็นท่ีจะต้องท�ำความเข้าใจร่วมกันก่อนว่า ในกระบวนการ และการหาเคร่ืองมือในการพัฒนาทักษะสมอง EF ของเด็กไทยในโลก VUCA มีความท้าทายอยู่ 3 เร่ืองคือ 1. การคิดเช่ือมโยง 2. การคิดใหม่ 3. การท�ำงาน หลายระนาบในเวลาเดียวกัน ทกัากรษหะใาสนใเอมนมคกยีคโอรรลู่ื่วองะกาบ3งมมEวืVอทนเFรใ้กาU่ืนอทขางกCอรคาางแยือAเรลดพะ็กัฒไทนยา 1. การคิดเชื่อมโยง 2. การคิดใหม่ ใ3นห.เลวกาลยาารรเดทะียน�ำวงาากบนัน 15

1. การคิดเชื่อมโยง ท�ำอย่างไรให้คนในสังคมเรามีความสามารถ คดิ เช่อื มโยงไดอ้ ยา่ งรอบดา้ น • สามารถคิดเชื่อมโยง เห็นความโยงใยของสรรพส่ิง สามารถมองเห็นและ เขา้ ใจองคร์ วมของปรากฏการณแ์ ละปญั หา และลงมอื ทำ� งานเชอื่ มโยงเนอื่ งหนนุ กนั ผลักดนั ทั้งระบบ ไมต่ ่างคนต่างท�ำ แยกส่วนใครส่วนมนั • สามารถเข้าใจความเชื่อมโยงของการท�ำงานของสมอง 3 ส่วน คือสมอง ส่วนแกน สมองส่วนลิมบิก (ส่วนอารมณ์) และสมองส่วนหน้าว่ามีผลก�ำหนด พฤตกิ รรม คุณธรรม ทีน่ ำ� พาไปสู่ชะตากรรมของมนษุ ย์แต่ละคนและสังคมอย่างไร • เข้าใจและสามารถเชื่อมโยงรากเหง้าของตนกับบริบทโลกท่ีเปล่ียนแปลง ไป เช่อื มโยงปญั ญาญาณของตะวนั ตกและตะวนั ออกทสี่ ง่ั สมมา น�ำมาปรับใชอ้ ยา่ ง เหมาะสมทนั การณ์ • สามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้แต่ละศาสตร์ แต่ละสาขาเข้าแลกเปล่ียน และท�ำงานบูรณาการกนั จนสามารถนำ� ไปใชไ้ ดจ้ รงิ ทง้ั ในชวี ติ การทำ� งานพฒั นาเดก็ เยาวชนและการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ และสงั คม 16

2. การคิดใหม่ ท�ำอย่างไรให้ผู้คนในสังคมเรามีความสามารถปรับเปลี่ยน วิธีคดิ ไม่ยดึ ติดกบั วธิ คี ิดหรือกระบวนทศั นแ์ บบเกา่ ๆ วธิ กี าร เกา่ ๆ ทแี่ กป้ ญั หาไมไ่ ด้ แตเ่ ลอื กสรรสง่ิ ทม่ี มี าแตเ่ ดมิ ทย่ี งั ใชไ้ ด้ น�ำมาปรับเข้ากับความคิดจินตนาการและวิธีการแก้ปัญหา ใหม่ๆ • สามารถเขา้ ใจสิ่งที่เคยทำ� มาไดล้ กึ ซงึ้ ข้ึน • สามารถเขา้ ใจสิง่ ที่จะท�ำตอ่ ไปได้ลึกซึง้ ขึน้ • สามารถท�ำความเข้าใจและรู้ว่าจะจัดการอย่างไรด้วยวิธีการใหม่ กับเรื่องตา่ งๆ ในบริบทใหม่ของสงั คมทเี่ ปลีย่ นไป ใ3นห.เลวกาลยาารรเดทะียน�ำวงาากบนัน ดว้ ยเหตทุ ปี่ ญั หาการพฒั นามนษุ ยเ์ ปน็ ปญั หาแบบองคร์ วม ทจ่ี ะตอ้ งปรบั แกม้ ติ ติ า่ งๆ ไปพรอ้ มๆ กนั ไมส่ ามารถคดิ และ ท�ำไปทลี ะอย่างๆ แบบเสน้ ตรง (linear thinking) ได้ หาก ต้องเป็นแบบองค์รวมที่ขยับเขย้ือนไปได้ทุกส่วนพร้อมๆ กันอย่างมีพลัง ท้ังการท�ำงานลงลึกระดับบุคคล โรงเรียน ชมุ ชน เขตการศกึ ษา จงั หวดั กระทรวง และผลกั ดนั ทศิ ทาง กฎหมาย ยทุ ธศาสตร์และนโยบายของประเทศ การจดั การความทา้ ทายทงั้ สามไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตงั้ แตก่ ระบวนการคดิ ไปจนถงึ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ ผล จงึ จะสามารถนำ� ความรเู้ รอ่ื งการพฒั นา ทักษะสมอง EF ไปพฒั นาเดก็ และเยาวชนตามเปา้ หมายสูงสุดของการศึกษา นัน่ คือการเป็นมนุษย์ทีส่ มบูรณ์ไดอ้ ย่างแทจ้ ริง 17

วัยรุน่ แบบไหนที่สงั คมต้องการ เราต้องการเหน็ วัยรนุ่ แบบไหน ใครคือวัยรนุ่ ท่ี “ใช”่ ก่อนจะพัฒนาคนไปสู่การเป็น “พลเมืองท่ีมีคุณภาพ” เราต้องเข้าใจจริงๆ เสียก่อนวา่ ท�ำไมธรรมชาตจิ ึงมอบชว่ งชวี ติ “วยั รนุ่ ” ใหก้ ับมนุษย์ โดยพื้นฐาน ธรรมชาติได้มอบบทบาทและภารกิจให้แต่ละช่วงวัยของชีวิต ชีวิตช่วงวัยรุ่นคือช่วง “รอยต่อ” ระหว่างการก้าวข้ามจากการเป็น “เด็ก” สู่การ เป็น “ผู้ใหญ่” ท่ีสมบูรณ์ มีความสามารถเอาชีวิตให้รอดและสืบต่อพงศ์พันธุ์ นอกจากบทบาทและภารกิจตามธรรมชาติแล้ว บริบทของสังคมยังเรียกร้อง ต้องการคุณลักษณะและทักษะหลายอย่างจากคนแตล่ ะคน เพื่อใหส้ ามารถอยรู่ อด มีความสุขและน�ำพาสังคมพัฒนาต่อไปได้อีก ดังวิวัฒนาการของสังคมท่ีผ่านมา ท่ีความสามารถของมนุษย์นี้เองได้น�ำพามนุษย์วิวัฒน์ จากมนุษย์ถ�้ำสู่สังคม เกษตรกรรม สู่สงั คมอุตสาหกรรม และกา้ วมาเป็นสังคมดจิ ทิ ลั เช่นปจั จุบนั เป้าหมายของการพัฒนาศักยภาพวัยรุ่นของสังคมไทยในศตวรรษที่ 21 เมื่อพิจารณาท้ังเรื่องพ้ืนฐานของชีวิตตามธรรมชาติและท้ังบริบทสังคม สังคมไทย ต้องการ “วัยรุ่น” ที่มคี ุณลักษณะดงั นี้ 18

1. เห็นคุณค่าของตนเอง เข้าใจตนเอง ยอมรับตนเองได้ รู้ว่าตน มีข้อดีอะไร และยอมรับได้เช่นกันว่าตนเองไม่เก่งหรือมีข้ออ่อนในเรื่องใด บ้าง การเห็นคุณค่าตนเองจะน�ำพาไปสู่ความเข้าใจและเห็นคุณค่าคนอื่น และสรรพสิ่ง ขยายออกไปเป็นจิตท่ีใหญ่ข้ึน คือสามารถท�ำคุณประโยชน์ แกผ่ ้อู นื่ เห็นประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ส่วนตวั ได้ 2. มเี ปา้ หมายชีวิต สามารถจดั การอารมณ์ ความคดิ พฤตกิ รรม และรจู้ กั ประเมนิ ตนเองเพอื่ มงุ่ สเู่ ปา้ หมายได้ มีพฤติกรรมท่ีสะท้อนออกมาให้เห็นได้ เช่น มีความ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั และความเพยี ร รวมทง้ั มคี วามสามารถ ตอบสนองความต้องการของตนเองได้อย่างสร้างสรรค์ มีความสขุ ในสงิ่ ทตี่ นเองถนัด 19

3. มีทักษะทจ่ี ำ� เป็นในศตวรรษท่ี 21 คอื • ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) 4 เรอ่ื ง คิดวิเคราะห์ การสื่อสาร (critical thinking) (communication) คิดเช่ือมโยง ความคิด • ทักษะชีวิต (life skill) เช่น การท�ำงาน สร้างสรรค์ ยืดหยุ่นได้ ปรับตัวเป็น สร้างสรรค์ เป็นทีม (creativity) ดูแลตนเองได้ สามารถเรียนรู้ และ (collaboration) ยอมรับความต่างทางวัฒนธรรม อยกู่ บั ผ้อู ื่นในสงั คมได้ • ทักษะเรื่องไอที (IT skill) คณุ ลกั ษณะสำ� คญั ทสี่ ะทอ้ นออกมาคอื ความสามารถในการเรยี นรสู้ ง่ิ ใดแลว้ ตนเองพฒั นา ขึน้ เกิดการเปล่ยี นแปลงในตนเอง (learning informative formative transformative สามารถเป็นผู้สร้างการเปล่ียนแปลง และเรียนรู้แล้วรอบรู้ รู้จริง (mastery learning) 20

4. มีจิตใหญ่ ให้คุณค่าแก่ชีวิตและสรรพส่ิง และท่ี สำ� คญั อยา่ งขาดไมไ่ ดค้ อื ความมชี วี ติ ชวี า เปย่ี มดว้ ยพลงั วิรยิ ภาพของวัยร่นุ ทไ่ี มอ่ าจหาไดใ้ นวยั อ่นื เพ่ือสนับสนุนให้เด็กวัยรุ่นทุกคนสามารถก้าวไปถึงเป้าหมายแห่ง “วัย” ของชีวิต เตรียมตัวเป็นผู้ใหญ่ซ่ึงเป็น “มนุษย์” ที่สมบูรณ์ มีคุณค่าในตนเอง มีเป้าหมายชีวิต มีทักษะศตรวรรษท่ี 21 และมีจิตใหญ่ ผใู้ หญเ่ ราจำ� เปน็ ต้องมคี วามรู้ เขา้ ใจและทำ� งาน ลึกลงไปถึงธรรมชาติการท�ำงานท่ีเช่ือมโยงกันอย่างสลับซับซ้อนของสมอง โดยเฉพาะ ทักษะการท�ำงานของสมองส่วนหน้า หรือทักษะสมอง EF ซ่ึงเป็นสมองส่วนท่ีมนุษย์ มเี นอ้ื ทมี่ ากทสี่ ดุ เมอ่ื เทยี บเปน็ สดั สว่ นสมองของสงิ่ มชี วี ติ ทเี่ รยี กวา่ “สตั ว”์ และเปน็ สมอง ส่วนที่ววิ ัฒนาการขน้ึ มาหลังสดุ ทำ� ให้เรามคี วามสามารถแบบ “มนษุ ย์” ท่สี ตั วช์ นดิ อื่น ไม่สามารถท�ำได้ น่ันคือการคิดซับซ้อนจนท�ำให้เราเข้าใจเร่ืองท่ีเป็นนามธรรม ท�ำให้ สามารถพัฒนาคณุ ธรรมและอารยธรรมบนโลกใบนขี้ ึน้ มาได้ การท�ำความเข้าใจเร่ืองทักษะสมอง EF และสภาวะความเป็นไปท่ีเกิดข้ึนในสมอง และรา่ งกายของวยั รนุ่ นน้ั เชอื่ มโยงอยบู่ นฐานของพฒั นาการ 4 ดา้ น คอื พฒั นาการดา้ น ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ท่ีเราคุ้นเคยกันดี จึงจะท�ำให้เราทุกคนสามารถ สนับสนุนให้วัยรุ่นไทยเป็นวัยรุ่นที่มีคุณสมบัติพร้อมในโลกศตวรรษที่ 21 ท่ีจะก้าวไป เป็นผ้ใู หญ่ที่น�ำพาตนเองครอบครวั และสังคมสูค่ วามม่นั คง ปลอดภัย มงั่ ค่ัง ยัง่ ยืนและ สันติสุขได้ในที่สดุ 21

พัฒนาการสมอง ด้านการคดิ ในเด็กวัย 13-18 ปี 22

23

1. ภาพรวม : สมองของมนุษย์ เย่ือไขมัน มอี ะไรอยใู่ นสมองและสมองมีไวท้ �ำหน้าทีอ่ ะไร (Myelin) ในกะโหลกของมนุษย์บรรจุสมองหนักประมาณ 2% เม่ือเทียบกับ เดนไดรท์ น�้ำหนักร่างกาย ความเข้าใจเรื่องสมองอย่างลึกซ้ึงเกิดข้ึนเม่ือไม่ก่ีสิบปี (Dendrite) มาน้ี หลังมีเทคโนโลยีเคร่ืองสแกนสมอง (functional Magnetic ไซแนปส์ Resonance Imaging -fMRI) เดมิ เราเขา้ ใจสมองตามกายวภิ าคทผ่ี า่ เอา (Synapses) เน้ือสมองออกมาดู ท�ำให้เห็นสมองซีกซ้ายซีกขวาและสมองส่วนต่างๆ การรักษาความเสียหายในสมองของผู้ป่วยและการสังเกตที่พัฒนามา อย่างยาวนาน ท�ำให้เรารู้ว่าสมองส่วนไหนท�ำหน้าท่ีอะไร เช่น สมอง ซกี ซา้ ยท�ำหนา้ ทเี่ กยี่ วกับการคดิ เชงิ ตรรกะ ฯลฯ สมองซกี ขวาท�ำหนา้ ที่ ท่เี กีย่ วกบั จนิ ตนาการ ฯลฯ แต่ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ลึกซ้ึงขึ้นท�ำให้เรารู้ว่า ในก้อนเน้ือสมองประกอบไปด้วยเซลล์ประสาท (neuron) ประมาณ 100,000 ล้านเซลล์ ท่ีมีช่องว่างเล็กๆ ระหว่างเซลล์เรียกว่าไซแนปส์ (synapse) เซลลป์ ระสาทท่มี อี ยจู่ ำ� นวนมหาศาลราวดวงดาวในจักรวาล ท�ำหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสารเคมีและสัญญาณไฟฟ้า เช่ือม ไซแนปส์ของเซลล์ประสาทท่ีมีข้อมูลเก่ียวข้องกัน ทุกคร้ังท่ีมีส่ิงเร้า มากระตุ้น ใน 1 วินาที สามารถเชื่อมต่อกันได้สูงสุดถึง 700 เซลล์ การเช่ือมกันของไซแนปส์ท�ำให้เกิดเป็นเครือข่ายของวงจรประสาท ในสมอง เครือข่ายใดที่ได้รับการกระตุ้นจะแข็งแรงและใหญ่โตขึ้น เครอื ขา่ ยใดทไ่ี มถ่ ูกกระตนุ้ หรือไม่ได้ใชจ้ ะหดตัวลงหรือตายไป 24

กฎการท�ำงาน Ulosseeititor ข้อแรกของสมองคือ สงิ่ มชี วี ติ เรมิ่ แรกทอี่ บุ ตั มิ าในโลกนน้ี นั้ ไมม่ สี มอง จนกระทงั่ เกดิ การววิ ฒั นาการทใ่ี ชเ้ วลา ท�ำไมชีวิตจึงต้องมี นานนบั ลา้ นๆ ปจี ากสตั วเ์ ซลลเ์ ดยี วทไ่ี มม่ เี ซลลป์ ระสาท มกี ารพฒั นาเกดิ อวยั วะและระบบ อวัยวะส่วนที่เรียกว่า ต่างๆ ในสัตว์ช้ันสูง ขึ้นเป็นสายพันธุ์ต่างๆ นับไม่ถ้วน กระบวนการพัฒนาที่ซับซ้อนน้ี ได้รังสรรค์อวัยวะส่วน “สมอง” ข้ึนมาท�ำหน้าท่ีเป็น“ศูนย์กลางการสั่งงานของทุกระบบ “สมอง” ในร่างกาย” ระบบประสาทท่ีประกอบไปด้วยเซลล์ประสาทในสมองเชื่อมการติดต่อ แปลเป็นค�ำถามง่ายๆ ระหว่างเซลล์ประสาทท่ีมีข้อมูลเกี่ยวข้องกัน เพื่อน�ำข้อมูลท่ีเชื่อมโยงกันได้ไปท�ำงานเป็น ว่า “สมองมีไว้ท�ำไม” ศูนย์บัญชาการ จัดการให้สิ่งมีชีวิตด�ำรงชีวิตอยู่ได้ โดยควบคุมดูแลรายละเอียดที่ซับซ้อน หน้าท่ีหลักพ้ืนฐานของ ของระบบรา่ งกายทงั้ หมดควบคมุ และประสานการทำ� งานของระบบตา่ งๆ ของรา่ งกายใหท้ ำ� งาน สมองคอื “เอาชีวิตน้ีให้รอด” และตอบสนองสิ่งเร้าจากภายนอกอย่างเหมาะสม เพ่ือรักษาสมดุลต่างๆ ของร่างกาย ตอบสนองตอ่ ความต้องการของรา่ งกายเพื่อ “ใหอ้ ยู่รอด” สมองจงึ ไม่ได้มไี วเ้ พอื่ คิดเท่าน้นั เมอ่ื มองดสู มองจากกายวภิ าค เชอ่ื มโยงกบั การจดั การศกึ ษาสมอง 2 ซกี ชว่ ยใหเ้ ราเขา้ ใจ ว่าสมอง 2 ซีกของเราท�ำงานต่างกัน สมองซีกซ้ายท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์ การ แยกแยะ การจัดล�ำดับ รายละเอียดเหตุผล การแสดงออกทางภาษา อักษร ตัวเลขและ จ�ำนวน สมองซีกขวาทำ� หน้าทีเ่ กย่ี วกับอารมณ์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ จินตนาการ ภาพรวม การเคล่ือนไหว และมิติสัมพันธ์แบบต่างๆ ความเข้าใจดังกล่าวท�ำให้มีการพัฒนา กระบวนการจดั การเรยี นรแู้ บบ brain based learning (BBL) ปัจจบุ นั เม่อื เทคโนโลยีพัฒนาขน้ึ ไปอีก ความเขา้ ใจการทำ� งานของสมองกย็ ่ิงกวา้ งขวาง ลึกซึ้งลงไปอย่างไม่เคยมีมาก่อน มีการค้นพบวา่ สมองส่วนกลบี หนา้ ผากสว่ นหน้าเป็นสว่ น ท่ีท�ำหน้าที่เป็นผู้บริหารสูงสุด (CEO) บัญชาการ ก�ำกับความคิด อารมณ์และพฤติกรรม เพอื่ มงุ่ สเู่ ปา้ หมายทกุ เปา้ หมายในชวี ติ ทกุ วนั โดยทำ� งานประสานกบั สมองในพน้ื ทอี่ นื่ ๆ ทง้ั ซีกซ้าย ขวา หน้า หลงั อย่างซับซ้อน ในปจั จุบนั วิทยาศาสตรก์ ็ยงั ไม่ได้เขา้ ใจการท�ำงานน้ี ครบถ้วนทั้งหมด แต่ไดเ้ ห็นแผนทใ่ี หญ่ๆ ทสี่ �ำคญั ของกลไกในสมองแล้ว 25

เพอื่ ให้เกิดความเขา้ ใจเร่ือง Executive Functions หรือทักษะสมอง EF ส(lมimองbสic่วนbลrิมaบinิก) ต้องเขา้ ใจภาพรวมและววิ ัฒนาการของสมองก่อน สมแอบง่งภตมาาี พม3วรคิววือัสฒม่ขวนอนางใกหาญร ่ๆ 1. สมองส่วนแกน (core brain) เป็นสมองส่วนดึกด�ำบรรพ์ที่สุดที่พัฒนาข้ึนมา กับสิ่งมีชีวิตที่เป็นสัตว์ สมองส่วนน้ีสมบูรณ์และท�ำ หนา้ ทท่ี นั ทที ช่ี วี ติ เกดิ ขนึ้ บญั ชาการระบบการทำ� งาน พื้นฐานของชีวิตทุกประเภท ควบคุม สั่งการการ ท�ำงานของร่างกายให้อยู่ในภาวะรักษาสมดุล ของชีวิต เช่น การเต้นของหัวใจ ความดันและการ หมุนเวียนของโลหิต อุณหภูมิและของเหลว ในรา่ งกาย การหายใจ ควบคุมระบบกล้ามเนอื้ และ การทรงตัวของร่างกาย ท้ังยังเป็นศูนย์ปฏิกิริยา สะท้อนกลบั เชน่ การไอ จาม กลนื สะอึก อาเจยี น 26

2. สมองส่วนลิมบิก (limbic brain) หรอื สมองสว่ นกลาง เป็นสมองที่เกิดข้ึนในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการมาเป็นสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม ท�ำหน้าที่หลักเก่ียวกับการ รบั รู้ (cognition) ความจำ� ระยะยาวและอารมณ์ สมองสว่ นนม้ี คี วามดกึ ดำ� บรรพร์ องลงมาจากสมอง ส่วนแกนซ่ึงขับเคล่ือนระบบพ้ืนฐานของร่างกาย สมองส่วนนี้มีในสัตว์ชั้นสูง ท�ำหน้าท่ีบริหารการ ตัดสนิ ใจ ตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ เพือ่ เอาชวี ิตใหร้ อดปลอดภยั และไดร้ บั ความพงึ พอใจ ชอบใจมากท่ีสดุ 3. สมองส่วนหน้า (neo-mamalian brain) ในสตั วท์ มี่ กี ารพฒั นาขน้ั สงู ถงึ สงู สดุ เปน็ สมองสว่ นทเ่ี กดิ ขน้ึ มาหลงั สดุ และขณะ เดียวกันก็ใช้เวลาในการพัฒนาให้สมบูรณ์เต็มท่ีนานท่ีสุด มนุษย์เป็นสัตว์ท่ีมีเน้ือ สมองสว่ นหนา้ นม้ี ากทสี่ ดุ เมอ่ื เทยี บกบั สตั วอ์ น่ื คอื มเี นอ้ื ทถี่ งึ 29% ของสมองทงั้ หมด (สnมeอoงส-่วmนaหmนa้าlian brain) ส(cมoอrงeส่วbนraแiกn)น zmescience.com สมองส่วนน้ีท�ำหน้าท่ีหลักเกี่ยวกับการควบคุมการท�ำงานของสมองโดยรวม ด้วยการดึงเอา ขอ้ มลู จากสมองสว่ นตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งมาประมวลจากการไดร้ บั ประสาทสมั ผสั ทกุ ดา้ น : ไดย้ นิ ไดเ้ หน็ รับรส รับกลน่ิ และรับสมั ผสั มาเรยี นรู้ คิดตดั สินใจ แก้ปญั หา เป็นสมองส่วนทค่ี วบคุมความคดิ ความจ�ำ ความเฉลียวฉลาด ควบคุมพฤติกรรมท่ีซับซ้อนที่เก่ียวข้องกับความรู้สึกและอารมณ์ เป็นตน้ ธารการก่อเกดิ บุคลกิ ภาพ ความสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล นามธรรมและคณุ ธรรม การทำ� งานของสมองสว่ นหนา้ ไม่ได้แยกออกจากการท�ำงานของสมองสว่ นอื่น สมองสว่ นนจี้ ะทำ� งานไดเ้ ตม็ ทเี่ มอื่ สมองสว่ นกลางซงึ่ ทำ� งานในสว่ นความรสู้ กึ และอารมณไ์ ดร้ บั การเติมเต็มแล้ว นั่นหมายถึงว่า ชีวิตรู้สึกปลอดภัย ได้รับความรัก ความอบอุ่น หรือการได้เป็น ส่วนหน่งึ ของสงั คม การได้รบั การยอมรบั มีความภาคภมู ิใจในตนเอง สมองส่วนกลางก็จะส่งข้อมูลความจำ� ต่างๆ ทเ่ี ก็บไว้ในสมองส่วนนี้ออกไปใหส้ มองสว่ นหนา้ ใช้ ในการประมวลผล และตดั สินใจ 27

Motor Cortices เปลอื กสมองสว่ นควบคุม การเคลื่อนไหว Top-Down Attention Parietal Cortices การมีความสนใจจดจอ่ เปลือกสมอง Behavioral สว่ น Parietal Regulation การก�ำกตับนพเอฤงติกรรม Basal Ganglia Occipital Cortices เบซลั แกงเกลีย เปลือกสมอง สมองสว่ นหนา้ สดุ ทำ� งานรว่ มกบั สว่ น Occipital สมองหลายส่วนทางด้านหลัง Temporal Cortices ช่วยให้เรามีสมาธิจดจ่อกับงาน เปลือกสมอง Cerebellum ที่ท�ำ ไม่วอกแวก (ลูกศรสีฟ้า) ส่วน Temporal สมองนอ้ ย ควบคมุ พฤตกิ รรมตนเองได้ ยง้ั คดิ ก่อนท�ำ ไม่หุนหันพลันแล่น (ลูก ศรสีเขียว) (Amy F.T. Arnsten et al, 2009) สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้าหรือ prefrontal cortex (ในท่ีน้ี เราเรียกให้ง่ายขึ้นว่าสมองส่วนหน้า) มีความสามารถหรือมีทักษะที่ นักวิทยาศาสตร์เรียกว่า EF (Executive Functions) ท่ีจะท�ำงานสอด ประสานกันอย่างสลับซับซ้อน ประสบการณ์หรือชุดข้อมูลท่ีสมองส่วนนี้ ไดร้ บั และทำ� การตอบสนองออกไป จะกอ่ รปู เปน็ บคุ ลกิ ภาพและนสิ ยั ของ คนดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ หากนิสัยฝังแน่นจากประสบการณ์และการตอบสนองท่ีเข้มข้นจะ กลายเป็นสิ่งที่คนไทยเรียกว่า “สันดาน” ซึ่งจะเปล่ียนแปลงได้ยาก หรืออาจเกือบไมไ่ ด้เลยนนั่ เอง 28

2. เกิดอะไรในสมองของคนในชว่ งวัยรุน่ ตั้งแต่ปฏิสนธิออกมาเป็นทารกจนถึงช่วงวัยรุ่น สมองมีการพัฒนาเปล่ียนแปลง มาตลอด จากการศกึ ษาระยะยาว (longitudinal study) การเปลย่ี นแปลงในสมอง ของมนษุ ยต์ งั้ แตว่ ยั เดก็ เขา้ สวู่ ยั รนุ่ จนกระทง่ั เตบิ โตเปน็ ผใู้ หญ่ การทำ� fMRI ถา่ ยภาพ สมองคนเดียวกันทุกช่วงเวลาตั้งแต่อายุ 5-20 ปี พบว่า สมองใช้เวลายาวนาน ในการพัฒนามากกว่าที่คิด และพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงท่ีส�ำคัญหลายประการ ในชวี ิตชว่ งวัยร่นุ ในช่วงวัยรุ่น เปลือกสมองจะบางลงเม่ือเทียบกับช่วงวัยเด็กแต่มีประสิทธิภาพ มากขึน้ ในชว่ งอายุ 12-25 ปี สมองเกดิ การเปลยี่ นแปลงโครงสร้างคร้ังใหญ่ โดยที่ ขนาดสมองไม่ไดโ้ ตขึน้ มาก (ขนาดสมองโตถึง 90% ตงั้ แต่อายุ 6 ขวบ ขนาดศรี ษะ ที่ใหญ่ขึ้นเกิดจากกะโหลกศีรษะหนาข้ึน) แต่เซลล์ประสาทและแขนงประสาท เกดิ การเชอื่ มตอ่ ผ่าน synapse ในอัตราที่เร็วมาก พร้อมกบั การตัดแต่งกิ่งประสาท ที่ไม่ถูกใช้งานออกไป ท�ำให้เปลือกสมองท่ีอยู่ชั้นนอกซ่ึงเป็นบริเวณของสมองส่วน หน้าบางลงแต่มีประสิทธิภาพมากข้ึน ความแข็งแรงของเซลล์ประสาทโดยเฉพาะ สมองส่วนหน้า ท�ำให้เด็กระดับประถมศึกษาสามารถคิดซับซ้อน เข้าใจส่ิงท่ีเป็น นามธรรม (abstract operation) เข้าใจเร่ืองพน้ื ท่ี (space) และเวลา (time) เชน่ สามารถเขา้ ใจไดว้ า่ กวา่ จะมาเปน็ นมกลอ่ งอยตู่ รงหนา้ ใหด้ มื่ มคี นและกระบวนการ จ�ำนวนมากเขา้ มาเกยี่ วขอ้ ง 29

1. กระบวนการตัดแต่งกิ่งประสาท (synaptic pruning) ในช่วงวัยรุ่น สมองเกิด กระบวนการตัดแต่งกิ่งประสาทบางส่วนท่ีเชื่อมต่อกันต้ังแต่ช่วงปฐมวัยที่มากเกินออกไป มีการ สลายจดุ เชอ่ื มตอ่ เซลลป์ ระสาททไ่ี มค่ อ่ ยใชท้ ง้ิ ไป กระบวนการนเ้ี กดิ ขนึ้ ระหวา่ งอายุ 9-12 ปี ทำ� ให้ สมองเหลือเพียงวงจรประสาทท่ีจะใช้งาน กระบวนการตัดแต่งก่ิงประสาท หรือ pruning ท่ีเกิด ขึ้นในสมองนี้จะเสร็จสมบูรณ์ในช่วงอายุราว 20 กว่าปี ในระหว่างท่ีกระบวนการนี้ยังไม่เสร็จ สมบูรณ์ สมองของเด็กวัยรุ่นตีความข้อมูลที่รับเข้าไปได้ไม่เหมือนผู้ใหญ่เนื่องจากสมองส่วนหน้า ยงั ไมเ่ จรญิ เตบิ โตเตม็ ที่ วยั รนุ่ ใชส้ มองสว่ นทด่ี กึ ดำ� บรรพก์ วา่ ของมนษุ ยค์ อื สมองสว่ นกลางของสตั ว์ เล้ยี งลูกดว้ ยนมหรือส่วนลมิ บกิ ซึ่งเป็นสมองส่วนอารมณใ์ นการตดั สนิ ใจมากกว่าผูใ้ หญ่ ในขณะที่ สมองส่วนหน้าของผู้ใหญ่ มีการเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว สามารถใช้การคิดเชิงเหตุผลในการตัดสิน ใจได้มากกว่า แรกเกดิ 6 ปี 14 ปี เครดิตภาพ : Center on the Developing Child-Harvard University 30

กระบวนการ pruning ท่ีเกิดขึ้นตลอดเวลาและการบางลงของเปลือกสมอง น้ัน เป็นไปเพ่ือให้สมองส่วนหน้าท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน จดจ่อกับสิ่งท่ี ถนดั มากขน้ึ เชย่ี วชาญกบั งานทที่ ำ� มากขนึ้ นน่ั หมายความวา่ สง่ิ ใดทที่ ำ� แลว้ ไมไ่ ดฝ้ กึ ฝน ตอ่ วงจรประสาทสว่ นนจ้ี ะคอ่ ยๆ หดหายไป กระบวนการท�ำงานของวงจรประสาทภายในสมองที่เกิดข้ึนตลอดเวลาเช่นนี้ คอื สง่ิ ทจี่ ติ วทิ ยาเรยี กวา่ “การแสวงหาตวั ตน” จากการทไี่ ดร้ บั ประสบการณซ์ ำ�้ ๆ จนรสู้ กึ และคิดว่า “ตวั ฉนั เป็นอยา่ งน้ี” (ไมว่ า่ จะเปน็ ไปในแง่บวกหรอื ลบ) เซลล์ประสาทสร้าง วงจรทแี่ ขง็ แรงขน้ึ ตามการเชอื่ มตอ่ ของประสบการณท์ ่ี “คนุ้ เคย” และ “จำ� ได”้ (จากความ เข้มข้นของความรูส้ ึกต่อแตล่ ะประสบการณ์ทเ่ี ขา้ ในชีวติ ไม่วา่ ด้านบวกหรือด้านลบ) ชว่ งวยั นเ้ี ปน็ วยั ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ ของชวี ติ ในการคน้ หาอตั ลกั ษณข์ องตนเองในทกุ เรอื่ ง ว่าจะเป็นคนมองโลกแบบไหน เป็นคนนสิ ัยคิดลบหรือคดิ บวก ฉันเป็นคนมีคุณค่าหรือฉันเกิดมาเป็นคนไร้ค่า ฉันเป็นคนดีหรือฉันเป็นตัว ปัญหา นสิ ัยใจคอฉันเป็นอยา่ งไร ฉันอยากหรือควรจะเปน็ ใครในอนาคต รวมทั้งรูปแบบรายละเอียดของการใช้ชีวิตทั้งหมด ตั้งแต่การกิน กินอะไร กิน อย่างไหน การหลบั นอน การแต่งกาย การคบเพื่อน การจดั การบรหิ ารชีวิตประจ�ำวัน การมองหาคู่ครองในอนาคต รวมไปถงึ การงานอาชีพท่ีจะไปท�ำขา้ งหน้า ว่าฉนั เหมาะ กับอาชพี หนา้ ท่กี ารงานแบบไหน ดังน้ันการให้โอกาสพบเจอประสบการณ์การเรียนรู้สิ่งรอบตัว และเรียนรู้ผ่าน การลงมือท�ำ (active learning) ท่ีหลากหลาย ไม่ใช่ให้น่ังเรียนหนังสืออย่างเดียว ก่อนการเข้าสู่ช่วงอายุ 13-14 ปี จึงเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่งในการก่อรูปคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ และก่อรูปความสนใจอาชีพในอนาคต เนื่องจากโดยธรรมชาติจริต 31

ที่เป็นพื้นขององค์ประกอบในตัวเด็กบวกกับประสบการณ์ที่ท�ำแล้วมีความสุข จะส่งเสริมให้เด็กชอบท�ำสิ่งน้ันซ�้ำๆ ประสบการณ์ใดที่เป็นทุกข์ก็จะหลีกเล่ียง ประสบการณท์ ท่ี ำ� ซำ�้ ๆ สง่ ผลใหว้ งจรเซลลป์ ระสาทสว่ นนนั้ แขง็ แรง ประสบการณใ์ ดที่ เบาบางหรอื ไมไ่ ดท้ ำ� วงจรเซลลป์ ระสาททท่ี ำ� งานในเรอ่ื งนนั้ จะหดหายไป วงจรประสาท ทแ่ี ขง็ แรงและเหลอื อยใู่ นสมองไมว่ า่ จะเกดิ จากประสบการณด์ หี รอื เลวรา้ ย จะทำ� งาน ไปภายในสมอง กอ่ รปู สะทอ้ นออกมาเปน็ พฤตกิ รรม นสิ ยั บคุ ลกิ ภาพ ความถนดั ฯลฯ ความเข้าใจเรื่องการตัดแต่งกิ่งประสาท ตามธรรมชาติของสมองที่ทิ้งส่ิงท่ี ไม่ค่อยพบเจอหรือไม่มีประสบการณ์ซ้�ำออกไป ท�ำให้รู้ว่าหากเราต้องการให้วัยรุ่น เปน็ อยา่ งไร เชย่ี วชาญเรอื่ งอะไร ตอ้ งสง่ มอบประสบการณท์ ส่ี ง่ เสรมิ ใหเ้ ขาเปน็ เชน่ นน้ั มากพอ เราไมส่ ามารถคาดหวงั ใหว้ ยั รนุ่ เปน็ อยา่ งทเ่ี ราตอ้ งการไดห้ ากเราไมไ่ ดใ้ หเ้ ขา ไดส้ มั ผัส ได้เรยี นรหู้ รืออยใู่ นส่ิงแวดล้อมอยา่ งท่เี ราต้องการนัน้ บ่อยๆ ปกติเม่ือคนเข้าวัยรุ่นมักถูกคาดหวังว่า “โต” พอแล้ว ควรจะ “รู้” และท�ำ อะไรอยา่ งทพ่ี อ่ แมห่ รอื สงั คมคาดหวงั ซง่ึ ในวถิ ชี วี ติ ของสงั คมในอดตี ครอบครวั ไทย เปน็ ครอบครวั ขยาย ใกลช้ ดิ กนั ชมุ ชนมคี วามสมั พนั ธแ์ นน่ แฟน้ และการเปลย่ี นแปลง ของสงั คมเปน็ ไปอยา่ งช้าๆ วยั รนุ่ ไทยในสงั คมเช่นนัน้ ได้มโี อกาส “เลียนแบบ” และ “เรยี นรู้” และถูกสัง่ สอนซำ�้ ๆ ตามสภาพแวดลอ้ มรอบตัว แต่ปัจจุบันสังคมเปลี่ยนไป คนในครอบครัวถูกแยกห่างหรือแม้แต่ขาดออก จากกัน เดก็ ในวัยเรยี นถูกสอนแต่เรื่องราวเนอื้ หาทีจ่ ะเอาไปสอบเพอื่ เรียนสงู ขนึ้ ไป เร่ือยๆ ทักษะชีวิตและทักษะหลายอย่างไม่มีการสอนในห้องเรียนหรือสอน ในลักษณะทอ่ งจำ� ไมไ่ ดล้ งมอื ปฏิบัติ นักเรียนแค่น่งั ฟงั จด จำ� และท�ำความเขา้ ใจ เฉพาะแค่เนื้อหาวิชาท่ีครูสอน แต่ผู้ใหญ่และสังคมรอบข้างกลับคาดหวังให้เขา “เปน็ ” ในสงิ่ ทมี่ ปี ระสบการณน์ อ้ ยหรอื ไมเ่ คยมปี ระสบการณห์ รอื “เรยี นร”ู้ มากอ่ น เพราะคิดว่าโตแล้ว และเมื่อเขาไม่เป็นไปตามความคาดหวัง ปัญหาพฤติกรรม และความสัมพันธ์ก็ตามมามากมาย กลายเป็นว่าในระหว่างวัยหัวเลี้ยวหัวต่อท่ีจะ ก้าวข้ามไปสู่การเป็นผู้ใหญ่ วัยรุ่นกลับไม่ได้รับการเกื้อกูลจากสังคมอย่างท่ีควรจะ 32

เป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ครอบครัว และโรงเรียน ซ่ึงเป็นสภาพแวดล้อมที่ส�ำคัญของ วัยรุ่น ผู้ใหญ่ที่ไม่เข้าใจหรือผลักไสเขาให้เผชิญกับความว้าวุ่นภายในและปัญหาภายนอก ที่รุมเร้าเข้ามาเพียงล�ำพัง ในวัยที่เขาเองยังไม่แข็งแรงและมีประสบการณ์พอน่ีเอง เปน็ เหตุให้วัยรุ่นในสงั คมไทยจ�ำนวนมากมพี ฤตกิ รรมที่เป็นปญั หา การเรยี นรถู้ งึ ธรรมชาติ กลไกและสภาพการทำ� งานภายในคอื “สมอง” และ “พฒั นาการ” ดา้ นตา่ งๆ ของวัยรุ่น จะชว่ ยให้เราเขา้ ใจวา่ พฤตกิ รรมทว่ี ยั รุ่นแสดงออกไม่ใช่สิ่งท่เี ขา “อยาก” เป็น แต่มอี งคป์ ระกอบท้ังภายในสมองและภายนอกขบั ดนั ให้เขาเปน็ เชน่ น้นั 2. กระบวนการเพิ่มปลอกไมอิลิน (myelination) สมองวัยรุ่นมีกระบวนการเพ่มิ ไซแนปส์ (Synapses) ปลอกไมอลิ ิน คอื กระบวนการเพิ่มเยอ่ื ห้มุ เซลล์ประสาท ช่วยให้ส่ือน�ำสญั ญาณประสาทได้เร็ว ขึ้น 3,000 เท่า (ความยาวเฉล่ียของเส้นใยประสาทที่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม = 150,000-180,000 กิโลเมตร) วัยรุ่นจึงเป็นช่วงชีวิตที่ learning curve สูงเป็นพลวัตร เรียนรู้ได้เร็ว ตอบสนอง ฉับไว สมองส่วนฮิบโปแคมปัส (Hippocampus) อันเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตอบสนองประมวล ข้อมูลจากประสาทสัมผัสทั้งหู ตา จมูก ล้ินสัมผัส เดนไดรท์ (Dendrite) ได้ยอดเย่ียม เชื่อมโยงไปกับ brain reward system ท�ำให้กล้าลองถูกลองผิด สนุกกับการ เอาชนะ หากสนใจส่ิงใดจะสามารถคลงั่ ไคล้ เรยี น รไู้ ดเ้ รว็ กวา่ วยั อน่ื ๆ มคี วามตน่ื ตวั ในสภาพแวดลอ้ ม มากกว่า รวมทงั้ มีนสิ ยั “ใจร้อน” มากกว่าวยั อ่นื ๆ กระบวนการทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายในสมองนจ้ี งึ เปน็ ทง้ั เย่ือไขมัน โอกาสและความเสย่ี ง (Myelin) prefrontal cortex ซงึ่ ใช้คิดวิเคราะหว์ างแผน www.4mylearn.org และตดั สนิ ใจด้วยวิจารณญาณนัน้ พฒั นาเตม็ ท่ีเม่ือ อายุ 25 ปี 33

การท่ีสมองส่วนหน้าซึ่งดูแลการคิดเชิงเหตุผลยังท�ำงานได้ไม่เต็มศักยภาพ และ พัฒนาช้ากว่าสมองส่วนอารมณ์ ท�ำให้วัยรุ่นมีสงครามเล็กๆ เป็นความว้าวุ่นสับสน ตะลุมบอนอยู่ภายในใจเสมอ เม่ือต้องเผชิญกับส่ิงเร้ามากมายในสภาพสังคมปัจจุบัน ไปพร้อมๆ กับการเปลี่ยนแปลงอย่างมากของสภาพร่างกายและภายในสมอง การมี ความต้องการทางเพศเกิดขึ้น การพยายามให้ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเพื่อน ฯลฯ ด้วยปัจจัยภายในท่ีเกิดขึ้นในสมองและร่างกาย กับปัจจัยภายนอกเช่นนี้ท�ำให้วัยรุ่นมี พฤติกรรมขึ้นๆ ลงๆ หรือท�ำอะไรตามอารมณ์มากกว่าเหตุผล มีอารมณ์รุนแรง และมักยบั ย้งั อารมณไ์ มไ่ ด้ในสถานการณท์ ี่คับขนั แมจ้ ะเข้าใจเหตุผล ในสว่ นสมองส่วนลิมบิกทสี่ มบรู ณ์เตม็ ท่นี ัน้ Adriana Galvan นกั ประสาทวทิ ยา และจิตวิทยาพฒั นาการ จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ไดย้ นื ยันผลงานวจิ ยั ว่า สมอง ส่วนลิมบิกท�ำหน้าท่ีให้รางวัลต่อความพยายามและความเส่ียง ยิ่งความเส่ียงสูง และมีผลตอบแทนจากภายนอกที่เย้ายวนใจ แล้วท�ำได้ส�ำเร็จ ในสมองจะหลั่งสาร โดปามีนท�ำให้เกิดความรู้สึกเป็นสุขจากการท�ำอะไรบางอย่างส�ำเร็จ และได้รับรางวัล จากภายนอก การทสี่ มองสว่ นลมิ บกิ ใหร้ างวลั แกค่ วามพยายามและความกลา้ ไดก้ ลา้ เสยี เปน็ การ กระตุ้นให้เราท�ำบางส่ิงบางอย่างต่อไปอีกนิด มากขึ้นไปอีกหน่อย ในด้านดีคือการน�ำ ไปสกู่ ารพฒั นาศกั ยภาพในสง่ิ ทท่ี ำ� อยใู่ หส้ งู ขนึ้ สรา้ งความพรอ้ มในการกา้ วไปเปน็ ผใู้ หญ่ สามารถเอาตวั รอด ดำ� รงชพี ในโลกทเ่ี ปน็ จรงิ ในขณะเดยี วกนั วยั รนุ่ ทไ่ี มไ่ ดร้ บั การพฒั นา ทักษะสมองส่วนหน้ามาตั้งแต่เด็ก หากสมองส่วนลิมบิกหรือส่วนกลางได้รับการ กระตุ้นให้ต้องการรางวัลจากภายนอกอย่างต่อเนื่อง ก็จะมีโอกาสพลาดพลั้งไป “เสพตดิ ” เกม สารเสพตดิ หรือท�ำอะไรห่ามๆ ทา้ ทาย เสีย่ งต่อชีวติ ได้ 200%การตายของวัยรนุ่ จากสาเหตุที่สามารถป้องกันได้ มีอัตราสงู มากกวา่ วยั อน่ื ถึง 34

“สิ่งท่ีผู้ใหญ่ควรท�ำคือ การช่วยให้วัยรุ่นเรียนรู้ว่า อารมณ์ ความปรารถนา และการกระท�ำของเขา มีผลเกิดข้ึนตามมาเสมอ เพื่อช่วยให้วัยรุ่นได้ฝึกใช้สมองส่วนหน้าไตร่ตรองมากข้ึน” 3. การพัฒนาของสมองสองส่วนไม่พอดีกัน สมองส่วนลิมบิกซึ่งท�ำหน้าที่ ตามแรงผลักของความอยากและอารมณ์ซ่ึงท�ำงานตั้งแต่แรกเกิด และได้พัฒนา ไปมากในระหว่างอายุ 12-15 ปี และสมบูรณ์เต็มทต่ี ้ังแตอ่ ายุสบิ หา้ ในขณะที่สมอง ส่วนหน้าซ่ึงใช้คิดวิเคราะห์ วางแผนและตัดสินใจด้วยวิจารณญาณน้ันพัฒนา เต็มท่ีเมื่ออายุ 25 ปี ดังนั้นจึงชี้ให้เห็นได้ว่าด้วยการพัฒนาที่ยังไม่พอดีกันนี้เอง คือส่ิงท่ีท�ำให้วัยรุ่นท�ำอะไรตามอารมณ์ มีอารมณ์รุนแรง ยับยั้งอารมณ์ไม่ได้ ในสถานการณท์ คี่ บั ขนั แมจ้ ะเขา้ ใจเหตผุ ล และจากการทสี่ มองสว่ นอารมณส์ มบรู ณ์ เตม็ ทก่ี อ่ นจงึ ทำ� ใหว้ ยั รนุ่ ตอ้ งการความสขุ จากการทำ� อะไรบางอยา่ งสำ� เรจ็ ความสขุ จากการไดร้ บั รางวลั จากภายนอก ซง่ึ เปน็ ความสขุ ทท่ี ำ� ใหส้ ารโดปามนี หลงั่ ในสมอง จงึ ท�ำใหว้ ยั นมี้ คี วามพลาดพลั้งไป “เสพตดิ ” เกมหรอื สารเสพติดได้งา่ ยเช่นกนั 4. การควบคุมการคิดและการตัดสินใจมีมากข้ึน (Cognitive Control & Decision Making) เป็นทักษะส�ำคัญในการรับมือกับการเปล่ียนแปลงของโลกภายนอก เพื่อไปสู่เป้าหมาย เกิดจากการท�ำงานของทักษะสมอง EF หลายด้านในสมองส่วนหน้าซ่ึง พัฒนาเรื่อยมาต้ังแต่ปฐมวัยและประถมศึกษา พัฒนาเป็นทักษะการควบคุมความคิดและ การตดั สนิ ใจทมี่ มี ากขนึ้ ทที่ ำ� ใหส้ ามารถผา่ นชว่ งชวี ติ วยั รนุ่ ไปได ้ แมจ้ ะอยใู่ นชว่ งวกิ ฤตอิ นั เนอ่ื ง มาจากความบกพรอ่ งหรอื ผลจากประสบการณเ์ ลวรา้ ยทไ่ี ดร้ บั ในวยั เดก็ อาจปะทชุ ดั เจน หรอื รนุ แรงขึน้ มา ความสามารถในการควบคมุ การคดิ และการตดั สนิ ใจทม่ี มี ากขน้ึ ทำ� ใหช้ วี ติ ชว่ งนเี้ ปน็ โอกาส ทวี่ ยั รนุ่ จะสามารถควบคมุ ตนเองไปสเู่ ปา้ หมายไดด้ ขี น้ึ เลอื กทางชวี ติ ใหมท่ ด่ี กี วา่ และสลดั ตวั ออกมาจากสถานการณ์เลวร้าย หากว่าเขาได้รับความรักความผูกพันจากใครสักคนมากพอ และม“ี โอกาส”รวมทัง้ มสี ภาพแวดล้อมทค่ี ้�ำจุน 35

รูจ้ กั ทักษะสมอง EF - Executive Functions 36

37

ทักษะสมอง EF - Executive Functions คืออะไร ดังทกี่ ล่าวมาแล้ววา่ ในสมองของมนษุ ยน์ น้ั ตามวิวัฒนาการแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ใหญๆ่ คอื สมองสว่ นดกึ ดำ� บรรพท์ ส่ี ดุ ทเ่ี รยี กวา่ สมองสว่ นแกน สมองสว่ นลมิ บกิ และ สมองส่วนหน้า ซ่ึงเป็นสมองส่วนที่พัฒนาหลังสุด ในบริเวณน้ันมีส่วนที่เรียกกันว่า prefrontal cortex หรือสมองกลีบหน้าผากส่วนหนา้ สมองส่วนนี้ท�ำหน้าท่ีหลักในการคิดและจัดการการกระท�ำตามเป้าหมาย ทกุ เปา้ หมาย ทัง้ เป้าหมายใหญแ่ ละเล็กในทุกๆ วนั ตงั้ แต.่ .. เชา้ นี้จะกนิ อะไร จะเรมิ่ ทำ� อะไรกอ่ น ไปจนถงึ เป้าหมายใหญ่ เชน่ เปา้ หมายอาชพี หรือในอุดมคติ เด็กวัยรุ่นที่เช้าต่ืนข้ึนมาโดยไม่มีเป้าหมายอะไรในชีวิต แค่ต้องข่ีรถมอเตอร์ไซค์ ไปให้ถึงโรงเรียน การไปให้ถึงโรงเรียนก็คือเป้าหมาย หรือในระหว่างทางเจอเพื่อน แลว้ ขบั รถแขง่ กนั วา่ ใครเรว็ กวา่ กนั เปา้ หมายคอื เอาชนะเพอ่ื น หรอื จะขบั ไปเสน้ ทาง ไหนลัดที่สุด ฯลฯ ทุกขณะทุกส่ิงที่คนคนหน่ึงท�ำล้วนมีเป้าหมายทั้งส้ิน แม้แต่ เป้าหมายท่ีพาชีวิตไปผิดพลาด เช่น จะเสพหรือขายยาอย่างไรไม่ให้ต�ำรวจจับได้ ฯลฯ กล่าวได้ว่า ทักษะสมอง EF เปน็ ส่วนของสมองที่ “บญั ชาการ”การกระท�ำทุก อยา่ งของเราให้ไปสู่เปา้ หมายน่ันเอง ทักษะ เป็นส่วนของสมองท่ี สมอง EF “บัญชาการ” การกระท�ำ 38 ทุกอย่างให้ไปสู่ เป้าหมาย

EF เก่ียวข้องกับการรับรู้ (cognitive) ที่ซับซ้อน การตัดสินใจ การควบคุม ความประพฤติท่ีเกี่ยวข้องกับสังคม เป็นความสามารถหรือทักษะในการจ�ำแนก ความคดิ ทขี่ ัดแย้งกนั • การตดั สินความมปี ระโยชน์หรอื ไม่มีประโยชน์ • ความดกี ับความดีทสี่ ุด • ความเหมอื นกันกับความตา่ งกนั • ผลที่จะเกิดข้ึนในอนาคตอนั เนอ่ื งจากการกระท�ำปจั จบุ ัน • การด�ำเนนิ การเพ่อื ใหถ้ งึ เป้าหมายทว่ี างไว้ • การพยากรณ์ผลที่จะเกิดข้ึน • ความมุง่ หวังในการกระท�ำ EF ยังเกี่ยวข้องกับการควบคุมตัวเองในสังคม (สมรรถภาพในการระงับ ความอยากตามสญั ชาตญาณทีอ่ าจจะน�ำผลเสยี มาสู่ตนเองในภายหลงั ) EF (Executive Functions) ของสมองสว่ นหนา้ หรอื prefrontal cortex จึงทำ� หน้าที่ในการคิดเชิงนามธรรมที่ซับซอ้ น เปน็ เชาวน์ปัญญา เปน็ ความสามารถ หรือปัญญาท่ีเกิดขึ้นมาจากประสบการณ์ท่ีเรียนรู้มา เช่น ความสามารถในการ วางแผนงานอย่างหนึ่งให้ประสบความส�ำเร็จ ต้องท�ำอย่างไร ต้องท�ำอะไรบ้าง ท�ำอะไรก่อน ท�ำอะไรหลัง ท�ำไปแล้วเกิดปัญหาจะท�ำอย่างไร พลิกแพลงยืดหยุ่น หาวธิ กี ารมากมายหลากหลายมาแกป้ ญั หา ในระหวา่ งทางจะกำ� กบั ควบคมุ อารมณ์ ตนเองอย่างไร ตัดสินใจด้วยเหตุผล ประเมินความเส่ียง จดจ่อมุ่งมั่นกับสิ่งท่ีท�ำจน ประสบความสำ� เร็จไดอ้ ย่างไร เป็นต้น ทุกครั้งที่เราใช้ทักษะสมอง EF ไม่ว่าในเรื่องใดก็ตาม จะเกิดการเรียนรู้และ การเช่ือมโยงของเซลล์ประสาทน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสมอง จนเกดิ เปน็ ทกั ษะสมอง EF 39

นน่ั หมายความว่าเมื่อโครงข่ายของสมองส่วนหน้าทม่ี ีทักษะสมอง EF ทำ� หน้าท่คี ิดวางแผน จดั การอารมณ์ ลงมือกระท�ำ เพอ่ื ไปถึงเปา้ หมายนนั้ กอ่ ตวั ขึน้ ซ�้ำๆ ในที่สุดโครงข่ายน้ีจะแข็งแรงกลายเป็นพฤตกิ รรมตอ่ เนือ่ ง กลายเปน็ “นิสัย” หรือฝังตัวแนน่ เปน็ “สนั ดาน” ท่ีเราสามารถเห็นไดจ้ าก บคุ ลิกภาพท่แี สดงออกให้เห็นของแต่ละบุคคลนัน่ เอง พัฒนาการของสมองสว่ นหนา้ กอ่ นถงึ วยั รนุ่ สมองสว่ นหนา้ เรมิ่ ทำ� งานตงั้ แตข่ วบปแี รกของชวี ติ ในระหวา่ งทเี่ ดก็ อายปุ ระมาณ 7-9 เดือน เมอ่ื ยา้ ยสิ่งของออกจากตำ� แหน่งเดมิ เดก็ จะยงั คงหาของในทเี่ ดมิ ทเ่ี คยอยู่ เทา่ นน้ั จนกระทงั่ อายปุ ระมาณหนงึ่ ขวบจงึ เขา้ ใจไดว้ า่ สง่ิ ของถกู ยา้ ยตำ� แหนง่ ได้ คดิ ได้ ว่าถา้ หาที่นี่ไม่เจอกไ็ ปหาที่อื่นได ้ อยา่ งไรกต็ ามสมองส่วนหนา้ อันเป็นสมองส่วนทีว่ วิ ัฒนาการมาหลังสุดนกี้ ็ใชเ้ วลา ในการพัฒนานานมากกว่าจะสมบูรณเ์ ต็มท่เี ม่ืออายุราว 20-25 ปี เนือ่ งจากโครงขา่ ย ประสาททซี่ บั ซอ้ น เซลลป์ ระสาทในสมองสว่ นหนา้ นเ้ี ชอื่ มกนั เองภายในทง้ั ซกี เดยี วกนั และซีกซ้ายขวา ท้ังยังมีเส้นใยประสาทที่เช่ือมเอาข้อมูลจากสมองส่วนหลังท่ีควบคุม ประสาทสัมผัส คือการฟัง ได้ยิน สัมผัส และประสาทควบคุมการเคล่ือนไหวทั้งหมด ของเราเข้ามาประมวลว่าสถานการณ์ส่ิงแวดล้อมที่ก�ำลังด�ำเนินอยู่น้ีปกติไหม แล้วส่ง ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั ไปวา่ ควรสนองตอบออกไปอยา่ งไรจงึ จะไปสเู่ ปา้ หมายได้ การท่ีสมองส่วนหน้าท�ำงานเช่ือมโยงกับสมองส่วนอื่นๆ ท่ีท�ำหน้าที่เกี่ยวกับ ความจำ� และสมาธิ กบั การทำ� งานเชอ่ื มโยงกบั สมองสว่ นควบคมุ การเคลอ่ื นไหวจะชว่ ย ให้เราหยดุ คิดกอ่ นท�ำ ไม่หุนหันพลนั แลน่ ชว่ ยใหเ้ รากำ� กับควบคุมตนเองได้ ท�ำใหเ้ รา ชะลอความอยากได้ รอได้ โดยไม่เอาความสุขเฉพาะหน้า อดทนเพื่อความส�ำเร็จ ท่ีส�ำคัญกว่าในอนาคต ซึ่งเป็นเรื่องท่ีเด็กวัยเรียนวัยรุ่นจนเข้ามหาวิทยาลัยต้องใช้ ทกั ษะส่วนน้ีอย่างมากเพื่อก้าวไปสู่อนาคตทีด่ ี 40

กล่าวได้ว่าสมองส่วนหน้าน้ที �ำหนา้ ท่ีในการก�ำกับ ควบคมุ จดั การบุคลกิ ภาพและ นิสัยของเรา หากเกิดพยาธิสภาพจะท�ำให้คนมีพฤติกรรมที่ควบคุมตนเองไม่ได้ ส่งผลต่อการเรียน การท�ำงาน และการอยู่ในสังคม ไม่รู้ตัวว่าตนเองต้องแสดงออก อย่างไร เวลาไหน ไม่อยากท�ำอะไร ไม่มีความรับผิดชอบต่อการงาน ติดเหล้า ติดบุหร่ี เกมหรือสิ่งเสพติดอ่ืน อาการผิดปกติน้ัน มีท้ังการบกพร่องเรื่องการคิด การควบคมุ อารมณ์ ควบคุมพฤติกรรม อาการที่แสดงออก คอื สมาธสิ ั้น วอกแวกงา่ ย ความจ�ำไม่ดี ไม่สามารถท�ำงานเป็นขั้นเป็นตอนที่มีล�ำดับมีเป้าหมายระยะยาว ควบคมุ อารมณไ์ มไ่ ด้ ควบคมุ พฤตกิ รรมไมไ่ ด้ เป็นตน้ สมองส่วนหน้าท่ีพัฒนาไปได้ช้าท่ีสุดในช่วงชีวิตวัยรุ่นอยู่บริเวณส่วนหน้าสุด ซึ่ง ควบคมุ อารมณ์ พฤตกิ รรม การยับย้งั ชัง่ ใจ การคาดการณผ์ ลทจี่ ะตามมา การทสี่ มอง สว่ นนยี้ ังไมส่ มบูรณเ์ ตม็ ที่ ส่งผลให้วัยรนุ่ มีพฤติกรรมเสีย่ ง เราจะพบวา่ เด็กเม่อื เขา้ สูว่ ยั รุ่นตอนต้น (early adolescence) คือช่วงอายุประมาณ 12-15 ปี จะอารมณ์เสีย ตื่นตัวง่าย โกรธเป็นพายุบุแคม หาความสุขจากสิ่งกระตุ้นรอบกายเพ่ือให้ตนเอง พึงพอใจ เพราะในชว่ งอายนุ ี้สมองสว่ นอารมณ์หรือลมิ บิก ซ่ึงเป็นแรงผลกั ความอยาก และอารมณ์พัฒนาไปมากแล้ว และยังมีฮอร์โมนเข้ามาเสริมอีก แต่สมองส่วนคิด ยังเตบิ โตไม่ทัน ความสามารถในกระบวนการคิดของวัยรุ่นจะเริ่มคงท่ีในอายุประมาณ 16-18 ปี โดยความสามารถในการมองอนาคต (ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับเป้าหมาย) จะพัฒนาไป จนถงึ ชว่ งอายปุ ระมาณ 25 ปี ข้อมูลนี้มีความส�ำคัญต่อผู้ปกครองและครูรวมทั้งคนที่ท�ำงานกับวัยรุ่น เพี่อให้ เข้าใจว่าการท่ีวัยรุ่นคิดส้ันหรือหุนหันพลันแล่นนั้นเป็นธรรมชาติภายในของวัย ไม่ใช่ นิสัยของคนนน้ั เสยี ทง้ั หมด จงึ ไม่ควรเอาแต่ต�ำหนหิ รอื ลงโทษ 41

แต่ผู้ใหญ่จะต้องท�ำหน้าที่พัฒนาสมองส่วนหน้าให้เด็ก สร้างสถานการณ์และส่ิง แวดลอ้ มใหเ้ ดก็ ไดค้ ดิ ไดใ้ ชท้ กั ษะสมอง EF ในจงั หวะทพี่ อเหมาะ พอเขา้ สชู่ ว่ งวยั รนุ่ ตอน กลาง (middle adolescence) การคดิ ของเดก็ จะค่อยๆ ดีข้ึน และเม่อื ถงึ วยั รุ่นตอน ปลาย (late adolescence) กจ็ ะมวี ฒุ ภิ าวะมากข้นึ เรมิ่ ควบคมุ อารมณ์ตนเองได้บ้าง จนเม่ือจบมหาวทิ ยาลยั จึงเข้าสชู่ ่วงทคี่ ดิ ไดแ้ ละมวี ุฒิภาวะเช่นเดียวกบั ผใู้ หญ ่ ในช่วง 10 ปีระหว่างอายุ 12-21 ปีน้ีจึงเป็นช่วงส�ำคัญท่ีจะต้องให้ประสบการณ์ การเรียนรู้ที่เป็น active learning คือการเรียนรู้จากการลงมือท�ำเช่น problem - based learning, project - based learning เพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะสมอง EF อย่างเต็มท่ี EF คือกระบวนการทำ� งานของสมองระดบั สงู ทปี่ ระมวลเอา ประสบการณ์ในอดีตและสถานการณ์ในปจั จบุ นั มาประเมิน วิเคราะห์ ตดั สินใจ วางแผน ลงมอื ท�ำ ตรวจสอบตนเอง และแกป้ ัญหา ตลอดจนควบคมุ อารมณ์ บรหิ ารเวลา จัดความส�ำคญั ก�ำกับตนเองและมุ่งมั่นท�ำจนบรรลเุ ป้าหมาย ท่ีตั้งใจไว้ (goal-directed behavior) ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร, 2012 42

เมอื่ สะทอ้ นออกมาเปน็ รปู ธรรม คณุ ภาพของทกั ษะสมอง EF กค็ อื ความสำ� เรจ็ ในแต่ละช่วงวัยที่ไปถึงเป้าหมายที่วางไว้ ท�ำให้ได้รับการยอมรับจากคนรอบข้าง และยังหมายถึงคุณภาพภายในท่ีเกิดข้ึนผ่านประสบการณ์ตรงที่ท�ำให้มีทักษะใน เรอื่ งน้ันๆ เชยี่ วชาญย่ิงข้ึนในวยั รนุ่ เช่น ผลการสอบของเด็กวัยรุ่นคนหน่ึงอาจไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่หวัง แต่ใน ระหว่างทางที่ได้เพียรพยายาม อดทน มุ่งม่ัน ก็ได้หล่อหลอมอุปนิสัยและ ความเชย่ี วชาญบางอยา่ งขน้ึ จนเปน็ โครงสรา้ งในสมอง ซงึ่ จะเปน็ ตน้ ทนุ ใหป้ ระสบ ความสำ� เรจ็ ในระยะยาว แมว้ า่ ในปจั จบุ นั จะยงั พลาดเปา้ หมายไปครง้ั แลว้ ครง้ั เลา่ นนั่ หมายความวา่ ในสมองสว่ นหนา้ นนั้ ทกั ษะสมอง EF กำ� ลงั ทำ� งานสรา้ งคณุ คา่ ภายในซง่ึ เปน็ สง่ิ ทส่ี ำ� คญั กว่าเพียงผลลัพท์ท่ีคะแนนสอบ เพราะน่ันคือการสร้าง อปุ นิสยั ทจ่ี ะน�ำพาชวี ติ ไปสคู่ วามส�ำเร็จในระยะยาว วัยรุ่นคือโอกาสพัฒนาทักษะสมอง EF คร้งั สำ� คญั อีกคร้ัง l - directed behavior goa 43

ัทกษะบริหารจัดการ ีช ิวต อายุ0 1 2 3 4 5 6 6-8 9-10 12-15 20-24 25-29 30-35 40-49 50-60 65-69 70-75 76-80 81-85 developingchild.harvard.edu เครดิตภาพ : www. developingchild. harvard. edu ทักษะสมอง EF สามารถพัฒนาได้เร็วมากในช่วงวัย 2-6 ปี เม่ือแสดงออก มาเป็นเส้นกราฟในช่วงนี้ชันมาก เส้นกราฟน้ีจะพุ่งขึ้นอีกครั้งในช่วงวัยรุ่นที่มี การเปลี่ยนแปลงของสมองอีกคร้ังหน่ึงที่สมองของวัยนี้สามารถคิดด้วยเหตุผล จากทักษะสมอง EF ไดด้ ีขนึ้ กฎการพฒั นาของสมองคอื การพฒั นาทเ่ี กดิ ขนึ้ ในขนั้ หนง่ึ จะเปน็ ฐานในการพฒั นา ของสมองในขั้นต่อไปเสมอ ในเด็กปฐมวัยที่เส้นกราฟสมองไม่พุ่งขึ้น ก็จะส่งผลให้ เสน้ กราฟนต้ี ำ�่ เตย้ี ตอ่ ไปเรอ่ื ยๆ จนกระทงั่ เปน็ ผใู้ หญท่ คี่ ณุ ภาพสมองไมไ่ ดร้ บั การพฒั นา เตม็ ที่จนตลอดชีวติ เดก็ ทม่ี ที กั ษะสมอง EF ดจี ะมพี ฤตกิ รรมทค่ี รแู ละพอ่ แมส่ บายใจ สว่ นเดก็ ทม่ี ปี ญั หา ในห้องเรยี นมกั สะทอ้ นถึงการบกพรอ่ งของทักษะสมอง EF ด้านใดดา้ นหนง่ึ 44

อย่างไรก็ตามกระบวนการฝกึ ทักษะสมอง EF กเ็ หมือนกบั การฝึกทกั ษะเร่อื งอนื่ ๆ ให้ช�ำนาญ คือต้องฝึกบ่อยๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไป ให้สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย ตามหน้าต่างแห่งโอกาส ช่วงปฐมวัยหากได้รับการฝึกจนทักษะสมองส่วนนี้แข็งแรง พอถึงช่วงวัยรุ่นเด็กจะคิดเองได้มาก ผู้ใหญ่ไม่ต้องไปจ�้ำจ้ีจ้�ำไช โดยเฉพาะเรื่อง การฝึกให้อดทน ชะลอความต้องการหรือความอยาก อดทนรอไปอีกนิดเพ่ือรับ ความส�ำเร็จท่ีมากกว่า รู้จักมุ่งมั่นสู่เป้าหมายได้ การไปสู่เป้าหมายมักไม่ใช่เร่ือง ที่ท�ำกันได้ง่ายๆ ต้องใช้เวลาอดทนท�ำ ต้องยับย้ังอารมณ์ ซ่ึงในเรื่องนี้สังคมไทย กลับท�ำในสิ่งตรงกันข้าม คือไม่ฝึกเด็กต้ังแต่เล็กตามพัฒนาการ แต่เรียกร้องเด็ก เมอื่ โตเปน็ วัยรนุ่ และต�ำหนเิ มอื่ ท�ำไมไ่ ด้ EF ทักษะสมองเพื่อจดั การชวี ติ ใหส้ ำ� เรจ็ directed 45

ถอดรหัส-คำ� สำ� คญั ของ EF คณะท�ำงานวิชาการ สถาบนั RLG ร่วมกบั นักวิชาการหลากหลายสาขาได้ถอดรหสั เพื่อสรปุ คำ� ส�ำคญั (key words) ขององค์ประกอบแต่ละด้านของ EF เพือ่ ให้เขา้ ใจง่ายขน้ึ ดังน้ี การวางแผน จัดระบบดำ� เนินการ 46

directed EF ในกลมุ่ ทักษะ Working Memory พื้นฐาน พัฒนาตงั้ แต่ ความจ�ำเพื่อใชง้ าน วยั เร่ิมตน้ ของชีวติ มี 3 ดา้ นคือ Shift/Cognitive Flexibility Inhibitory Control การยืดหยุ่นความคดิ การยงั้ คดิ ไตร่ตรอง 47

1. ความจ�ำเพื่อใชง้ าน : Working Memory ความสามารถ “จ�ำได้” เป็นความสามารถพ้ืนฐานท่ีส�ำคัญในสมอง ซึ่งมีเซลล์ประสาทจ�ำนวนมหาศาล ท�ำงานเชื่อมต่อกัน ด้วยการส่ง สัญญาณไฟฟ้าและเคมีที่ให้และรับระหว่างกันและกัน ผ่านช่องว่าง ระหว่างเซลลท์ ่เี รยี กว่า “ไซแนป” (synapse-การทำ� งานระหว่างเซลล์ ประสาทน้ีเองที่เป็นตัวควบคุมก�ำกับร่างกายและพฤติกรรมของ ส่ิงมีชวี ิต) อีริค อาร์ แคนเดล (Eric R. Kandel) นักประสาทวิทยา รางวัล โนเบล สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ ค.ศ. 2000 ผู้ค้นพบ “การ แปรสญั ญาณในระบบประสาท” ร่วมกับนักวิทยาศาสตร์อีก 2 ท่านเปน็ ผู้ค้นพบการท�ำงานท่ีว่าน้ีของเซลล์ประสาท และได้ข้อสรุปจาก งานวิจัยที่ท�ำให้มนุษย์เข้าใจตนเองลึกลงไปอีกว่า “เราเป็นเราในทุกวัน น้ีจากส่ิงทเี่ ราเรียนรูแ้ ละจำ� ได้” (We are what we are because of what we learned and remembered.) 48

ความจ�ำในสมองมอี ยู่หลายรปู แบบจากกระบวนการท�ำงานทีแ่ ตกต่างกนั ของสมอง เชน่ ความจ�ำระยะส้ัน (short-term memory) เกิดจากการส่ือสารของเซลล์ ประสาทแบบช่ัวคราวในบริเวณสมองส่วนหน้าและกลีบข้าง ท�ำให้เราสามารถ ระลกึ ถงึ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ทสี่ มองรบั และเกบ็ รกั ษาไวไ้ ดเ้ ปน็ ชว่ งเวลาสนั้ ๆ ไมก่ นี่ าทโี ดย ไมต่ ้องทอ่ งซ้�ำ เชน่ การจ�ำเบอร์โทรศพั ทฯ์ ลฯ เป็นความจ�ำทม่ี ขี นาดจำ� กดั มาก ความจ�ำระยะยาว (long-term memory) เกดิ จากการสื่อสาร ของเซลล์ประสาทในบริเวณท่ีกว้างมากและมีสมองส่วนกลางซ่ึงมี ฮิปโปแคมปัสมาท�ำให้ความจ�ำระยะส้ันกลายเป็นความจ�ำระยะยาว ที่ไม่มีความจ�ำกัด บางเร่ืองอาจจดจ�ำได้ช่ัวชีวิต คนที่ฮิปโปแคมปัส เสียหายหรือถูกตัดออกไป จะไม่สามารถเก็บความจ�ำใหม่ๆ ไว้เป็น ความจ�ำระยะยาวได้ ส่งผลให้เรียนรู้ได้ล�ำบาก การนอนหลับเป็น ช่วงเวลาส�ำคัญท่ีสมองท�ำงานเพื่อสร้างความจ�ำระยะยาว มีงานวิจัย หลายงานได้แสดงให้เห็นว่าความจ�ำที่ดีข้ึนอยู่กับการนอนหลับที่ เพยี งพอในช่วงระหว่างการเรียนและการทดสอบความจ�ำ นอกจากน้ี การออกก�ำลงั กายโดยเฉพาะแบบแอโรบกิ เช่น การว่ิง การข่จี ักรยาน และการว่ายน�้ำ ล้วนมีประโยชน์ต่อสมอง ตั้งแต่ช่วยเพิ่มสารส่ือ ประสาท ท�ำใหก้ ระบวนการ neurogenesis (การสร้างเซลลป์ ระสาท ใหม)่ ในฮปิ โปแคมปสั เพม่ิ ขน้ึ ผลของการออกกำ� ลงั กายทม่ี ตี อ่ ความจำ� มีนัยส�ำคัญต่อการเพ่ิมสมรรถภาพทางการศึกษาของเด็กๆ ต่อการ รักษาสมรรถภาพทางความคิดในวัยชราและต่อการป้องกันและ การรักษาโรคทางประสาท 49