Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารเสียงชนเผ่าประจำเดือนมกราคม2564

วารสารเสียงชนเผ่าประจำเดือนมกราคม2564

Published by Chalermkiat Deesom, 2021-04-09 00:57:30

Description: วารสาร_เสียงชนเผ่า_ประจำเดือนมกราคม_2564

Search

Read the Text Version

สื่อแนวราบจากชุมชนบนพื้นท่ีสูง มกราคม 2564 ปที ่ี 12 ฉบบั ที่ 15 วารสารแจกฟรี อสั นวนั ส้ อดิยกนา ริ ด กั บ สิทธิท่ีไม่เคยได้รับ สวัสดิการอนั น้อยนิด กับสทิ ธิทีไ่ ม่เคยได้รับ ระหว่างการระบาดสวสั ดกิ ารของเด็กๆ อย่ตู รงไหน? สิทธใิ นหลักประกนั สขุ ภาพสำ�หรับบุคคล ทย่ี งั ไมไ่ ด้สญั ชาตไิ ทยในรัฐไทย แก่งกระจาน มรดกโลกทางธรรมชาติกบั ศักดศิ์ รี ความเปน็ มนุษยข์ องชนพ้ืนเมืองชาวกะเหร่ียง มสุ ลิมเชยี งใหม่ ผลกระทบและการปรบั ตวั ในสถานการณก์ ารระบาดของโควิด-19

contents I สารบญั 5 เรือ่ งจากปก 10 สนามเด็กเลน่ สวสั ดิการอนั น้อยนิด ระหวา่ งการระบาด กบั สทิ ธิที่ไม่เคยได้รบั สวสั ดกิ ารของเดก็ ๆ อยตู่ รงไหน? 16 ยาใจคนชายขอบ 18 บทความพเิ ศษ 25 ทางท่ีเปลยี่ น วถิ ีทเี่ ป็น สทิ ธใิ นหลักประกันสขุ ภาพ แกง่ กระจาน มรดกโลกทางธรรมชาติ มสุ ลมิ เชยี งใหม่ ส�ำหรบั บคุ คลท่ยี ังไมไ่ ด้สญั ชาตไิ ทย กับศักดิศ์ รีความเป็นมนษุ ย์ ผลกระทบและการปรบั ตัวใน ของชนพ้ืนเมอื งชาวกะเหรีย่ ง สถานการณก์ ารระบาดของโควดิ -19 ในรัฐไทย บรรณาธิการอำ� นวยการ ววิ ฒั น์ ตามี่ สนับสนุนโดย บรรณาธกิ าร ขวญั เรยี ม จติ อารีย์ กองบรรณาธิการ วิวัฒน์ ตาม/่ี สุมิตรชัย หตั ถสาร ศาสตรา บุญวิจิตร/ขวัญเรยี ม จติ อารีย์ รูปเลม่ /ศิลปกรรม ดอกไม้ สตดู ิโอ สำ�นกั 9 สำ�นักสนบั สนนุ สุขภาวะประชากรกลุม่ เฉพาะ จดั ทำ� โดย สำ�นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) วารสาร เสยี งชนเผา่ สนใจรบั วารสารหรือเสนอแนะ ได้ที่ สอื่ แนวราบจากชมุ ชนบนพืน้ ที่สูง โครงการพัฒนาระบบและบริการสุขภาพชนเผา่ พนื้ เมอื ง โครงการพัฒนาระบบและบรกิ ารสุขภาพชนเผ่าพืน้ เมอื ง และกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ทม่ี ีปญั หาสถานะและสิทธิ Iวารสารราย 4 เดือน และกลมุ่ ชาตพิ นั ธุท์ ่ีมีปัญหาสถานะและสทิ ธิ มูลนิธิพัฒนาชนกลุ่มน้อยและชาติพนั ธ์ุ (พชช.) มลู นิธิพฒั นาชนกลุม่ นอ้ ยและชาติพันธ์ุ (พชช.) มกราคม 2564 ปที ่ี 12 ฉบบั ท่ี 15 229/61 หมู่ท่ี 3 ต.สนั ทราย อ.เมืองเชยี งราย 229/61 หมทู่ ่ี 3 ต.สนั ทราย อ.เมอื งเชยี งราย จ.เชยี งราย 57000 จ.เชยี งราย 57000 โทรศัพท์ 088 2524 790 โทรศัพท์ 088 2524 790 อีเมล [email protected] และ [email protected] อเี มล [email protected] และ [email protected]

บขกา่ .วอฝ�ำนากวยจกาการ สวสั ดปี ใี หม่ 2564 ครบั ปใี หมน่ สี้ ถานการณป์ ญั หาการแพรร่ ะบาดไวรสั โควดิ (Covid-19) ระลอก ใหม่ในประเทศไทย เกิดการแพรร่ ะบาดอยา่ งรวดเร็วจนควบคุมไม่อยู่ เหน็ ได้จากเดมิ พบคนติดเชือ้ เพียง แคไ่ มก่ คี่ นใน 3-4 จงั หวดั ปจั จบุ นั พบจำ�นวนผตู้ ดิ เชอ้ื เพม่ิ ขน้ึ วนั ละไมต่ ำ�่ กวา่ 200 คน และเรม่ิ แพรก่ ระจาย ส่จู ังหวัดตา่ งๆ อย่างรวดเรว็ ต้นตอสำ�คัญของการแพรร่ ะบาดไวรัสโควิดครง้ั น้ี เกิดจากโรงงานอาหาร ตลาดอาหารทะเล บอ่ นการพนันและสถานบนั เทิง เชน่ พับ บาร์ และพบว่า คนไทยทตี่ ิดเชอ้ื ส่วนใหญต่ ิด มาจากบ่อนการพนันและสถานบันเทงิ แพร่สูค่ นใกลช้ ิดในครอบครวั การแพร่ระบาดไวรัสโควิด (Covid-19) ในระลอกสองน้ี รัฐบาลและคนไทยจำ�นวนหน่ึงโทษ แรงงานขา้ มชาติ (เมียนมาร์) วา่ เปน็ สาเหตุ แรงงานขา้ มชาตถิ กู รงั เกยี จ ถกู อคติ กีดกันและเลือกปฏิบตั ิ ดงั ตวั อยา่ งในตลาดขายปลา กุง้ ท่จี งั หวดั สมทุ รสาคร พอรู้ว่าในรา้ นมลี กู จ้างเปน็ เมยี นมาร์ขายของอยู่ กจ็ ะเดนิ หนไี มซ่ อ้ื เพราะกลวั ตดิ เชอ้ื เป็นต้น ยังมีข่าวอีกวา่ นายจา้ งบางคนนำ�ลูกจ้างเมียนมาร์ไปทิ้งในป่า ก็มีซ่งึ เป็นเร่อื งท่ีนา่ เศร้า จนผู้วา่ ราชการ ผปู้ ระกอบการโรงงานต้องออกมาเรยี กรอ้ งไมใ่ ห้รงั เกียจ บอก วา่ ทกุ วนั นเี้ ศรษฐกจิ ประเทศขบั เคลอ่ื นไดเ้ พราะกลมุ่ แรงงานขา้ มชาตเิ หลา่ นมี้ สี ว่ นสำ�คญั หากไมม่ แี รงงาน ข้ามชาตเิ หล่านเี้ ราจะทำ�อยา่ งไร เพราะคนไทยไมช่ อบทำ�งานหนัก สปกปรกและเสีย่ ง รฐั บาลไมย่ อมรบั วา่ บอ่ นการพนนั สถานบนั เทงิ เปน็ ตน้ ตอการแพรร่ ะบาดไวรสั โควดิ (Covid-19) ท้ังที่มีข้อมูลและหลักฐานยืนยันชัดเจน ว่าผู้ติดเช้ือคนไทยเกือบทั้งหมดได้รับเช้ือจากการไปในสถานที่ เหลา่ น้ี แตผ่ นู้ ำ�รฐั บาลยงั บา่ ยเบยี่ งแกต้ วั แทน ตอบวา่ ไมม่ บี อ่ น บอกวา่ หากประชาชนพบเบาะแสขอ้ มลู บอ่ น การพนนั จรงิ ชว่ ยแจง้ ขอ้ มลู ใหร้ ฐั บาลทราบ จะไดด้ ำ�เนนิ การทนั ที ซง่ึ การแสดงทา่ ทเี ชน่ นน้ี า่ เปน็ หว่ งอยา่ ง มาก จริงอยู่ว่า รัฐบาลพยายามออกมาตรการต่างๆ ช่วยเหลือประชาชน ด้วยการกู้เงินจำ�นวน มหาศาลมาจดั ทำ�โครงการตา่ งๆ เชน่ ทำ�โครงการคนละคร่ึง ใหเ้ งินชว่ ยเหลือเกษตรกร ประกันสังคมให้ เงนิ ชดเชยช่วยเหลือการตกงาน แต่กลมุ่ ทไี่ ดร้ บั ประโยชน์ก็เฉพาะคนสัญชาติไทย ชนชัน้ กลางเท่านนั้ แต่ สำ�หรบั ประชาชนทวั่ ไป กลมุ่ คนชายขอบทเี่ ปน็ ชนเผา่ และกลมุ่ ชาตพิ นั ธไ์ุ รส้ ญั ชาตทิ ง้ั หมด ไมไ่ ดร้ บั สทิ ธแิ ละ บรกิ ารต่างๆ จากรัฐ เพราะไม่มสี ัญชาติ มีปัญหาการสือ่ สารและอย่หู า่ งไกล รัฐบาลยังไม่มีนโยบาย มาตรการท่ีดีมีประสิทธิภาพพอในการจัดการปัญหา สิ่งท่ีรัฐบาลถนัดคือ การประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน การควบคุมสถานประกอบการ เช่น ควบคุม โรงงาน โรงแรม ร้านอาหาร เสนอประชาชนกักตัวเองอยู่บ้าน จนผู้แทนผู้ประกอบการ สถาบันการศึกษาต่างๆ ออกมาเรียกร้องให้ รฐั บาลทบทวน และเรง่ หาทางออกทด่ี กี วา่ มปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ นม้ี าดำ�เนนิ การแกไ้ ขปญั หา หาไมแ่ ลว้ จะ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจประเทศและประชาชนอาจจะอดตายท้งั หมดได้ วิวัฒน์ ตามี่ 7 มกราคม 2564

บทบรรณาธิการ ปีเก่าล่วงไป ปีใหม่ก็มาเยือนอีกคราครั้ง สวัสดีปีใหม่ ปี 2564 ค่ะ ท่านผู้อ่านทุกท่าน หนักหนาไม่ใช่น้อย กบั ปีท่ผี ่านมา ทั้งยงั มสี ถานการณ์โควิด-19 ท่รี ะบาด ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ด้วย สงสัยปีน้ีท่าจะเป็นปี วัวดจุ รงิ ๆ คะ่ แต่จะดุแค่ไหนกต็ อ้ งรับมือสกู้ ันไปให้ได้ แหละค่ะ หวังว่าจะพอมีเคร่ืองมือ มีอาวุธให้พวกเรา พอสู้รบปรบมือได้บ้าง ปีน้ีจะเจอกับอะไรอกี หวงั วา่ ที่ หนกั หนาจะพอทเุ ลาเบาบางไปบา้ ง ขอพลงั กายพลงั ใจ ท่ีแข็งแกร่งจงอยู่กับพวกเราทุกคน เราจะข้ามผ่าน วกิ ฤตน้ไี ปด้วยกนั โชคดีปใี หมค่ ะ่ ขวญั เรยี ม จติ อารีย์ บรรณาธกิ าร

สวัสดิการอันน้อยนิด เร่อื งจากปก เร่ือง : ศาสตรา บุญวจิ ติ ร กับ สิทธิท่ีไม่เคยได้รับ นับตั้งแต่มีบัตรทอง หรือกำ�เนิดโครงการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าข้ึนในเดือนเมษายน ปี 2544 จนกระทงั่ สามารถผลกั ดนั ใหเ้ กดิ พ.ร.บ. หลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ปี 2545 ไดส้ ำ�เรจ็ กไ็ มม่ คี นไทยคนใด ไมร่ จู้ กั คำ�วา่ “สวสั ดกิ ารรฐั ” ถงึ แมจ้ ะมเี สยี งวพิ ากษว์ จิ ารณ์ ถงึ ขอ้ เสยี ขอ้ ดตี า่ งๆ นานามากมาย แตก่ ต็ อ้ งยอมรบั วา่ พ.ร.บ. หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ มผี ลกระทบโดยตรงตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องประชาชน โดยท่ัวไป และยังเป็นบรรทัดฐานในการจัดการสวัสดิการของรัฐในด้านต่างๆ ประชาชนพลเมืองโดยท่ัวไปตระหนักและเห็น ความสำ�คญั ของสวสั ดกิ ารจากรฐั เปน็ อยา่ งยงิ่ นอกจากนน้ั ยงั ตน่ื ตวั เรยี กรอ้ งมาตรฐานสวสั ดกิ ารทรี่ ฐั พงึ มใี หก้ บั ประชาชน ขอบคุณภาพจาก facebook.com/brandthink.me คำ� วา่ “สวสั ดกิ ารรฐั ” ในอดตี หลายตอ่ หลายคนทง้ั ลงุ ปา้ นา้ อาประชาชนทวั่ ไปมกั จะคดิ ถงึ ถนน นำ้� ประปา ไฟฟา้ ทแี่ ตล่ ะ หม่บู า้ นรอคอยอย่างใจจดใจจอ่ ถึงแมก้ ระนัน้ จนถงึ ปจั จบุ ันบางหมู่บา้ นกย็ ังเขา้ ไมถ่ ึงสวัสดกิ ารขน้ั พนื้ ฐานน้ี นอ้ ยคนนักทจี่ ะรจู้ กั สวสั ดกิ ารดา้ นความมนั่ คงในชวี ติ อาทเิ ชน่ การรกั ษาพยาบาลฟรี เงนิ บำ� นาญยามแกเ่ ฒา่ การชว่ ยเหลอื ขณะตกงานหรอื ไมม่ งี าน ท�ำ ท่ีพอจะเคยได้ยินมาก็คือสวัสดิการข้าราชการ ซ่ึงน่ันก็ไม่มีอันใดเก่ียวข้องกับประชาชนทั่วไป แล้วสวัสดิการของรัฐที่มีแก่ ประชาชนคืออะไร มคี วามส�ำคญั อยา่ งไร ท�ำไมถงึ จ�ำเปน็ ต้องมีสวสั ดกิ ารรฐั แท้จรงิ อะไรคือสิง่ ที่ประชาชนควรได้รบั อะไรคอื สิ่ง ทด่ี ีทส่ี ุดท่ีจะผลกั ดันทรัพยากรบคุ คล สงั คม ตลอดจนประเทศชาตใิ หก้ า้ วหนา้ พัฒนาไปในทกุ ด้าน 5

สวัสดิการของรัฐน้ันแท้ท่ีจริงเริ่มต้นจากความต้องการ รัฐสวัสดิการอย่างชัดเจนและโดดเด่น สภาพสังคมเศรษฐกิจ ของประชาชนเองที่อยากจะอยู่ดีกินดีและไม่ถูกเอารัดเอา การเมืองของฝรั่งเศสก่อนการปฏิวัติคร้ังใหญ่ปี ค.ศ.1789 มี เปรยี บจากชนช้นั สงู นายทุน ตลอดจนเจา้ ที่ดนิ ต่างๆ หลกั การ ความเหลื่อมล�้ำอย่างสูงระหว่างชนชั้นสูงและสามัญชน เกิด ความคดิ ของสวสั ดกิ ารรฐั นนั้ เรม่ิ ตน้ จากประเทศแถบยโุ รปและ ปัญหาความยากจน ประชาชนไม่มีที่ดินท�ำกินเป็นของตนเอง กระจายเข้าสู่อเมริกาตามมา ได้มีความพยายามผลักดัน เพราะที่ดินส่วนใหญ่เป็นของขุนนางและชนชั้นผู้มีอันจะกิน ทางนโยบายเพื่อให้เข้าสู่ความเป็น “รัฐสวัสดิการ” อย่างเต็ม รัฐบาลไม่สามารถแก้ไขปัญหาเหล่าน้ีได้ ประชาชนไม่อาจทน รูปแบบ แต่ความเป็นรัฐสวัสดิการของแต่ละประเทศก็มีข้อ อยูก่ บั ความแรน้ แค้น อดอยากและการถกู เอารัดเอาเปรบี บได้ แตกตา่ ง กนั ในรายละเอยี ดมากมายตามบริบทของสังคม ไดม้ ี อกี ตอ่ ไป จงึ เกดิ การจดั ตงั้ สภาแหง่ ชาติ (Assemblee Nation) การนิยามค�ำว่า “รัฐสวัสดิการ” ไว้มากมายหลายความหมาย ข้ึน แต่ก็ไม่ได้รับการยอมรับจากฝ่ายขุนนาง มีข่าวลือว่าพระ แต่ก็เป็นไปในทางเดียวกัน เราสามารถสรุปเนื้อหาการนิยาม เจา้ หลยุ ท่ี 16 จะใชก้ ำ� ลงั ทหารเขา้ ปราบปรามสมาชกิ สภาแหง่ หรือลักษณะเดน่ ชัดของความเป็นรัฐสวัสดกิ ารไดค้ อื ชาติ ประชาชนจึงลุกฮือข้ึนและเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติ คร้ังใหญ่ในฝรั่งเศส ผลของการปฏิวัติท�ำให้พระเจ้าหลุยท่ี 16 ;; รั ฐ ต ้ อ ง ย่ื น มื อ เ ข ้ า ไ ป คุ ้ ม ค ร อ ง สิ ท ธิ เ ส รี ภ า พ ใ ห ้ แ ก ่ ต้องยินยอมรับรองสถานะของสภาแห่งชาติยกเลิกระบอบ ประชาชน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเสมอภาคและเปน็ ระบบขนึ้ อภิสิทธ์ิ และสภาแห่งชาติได้ประกาศปฏิญญาว่าด้วยสิทธิ จรงิ ในสังคม มนุษยชนและพลเมือง (La Declaration des droits de L’homme et du citoyen) อันเป็นการรับรองสทิ ธิเสรีภาพ ;;รฐั ตอ้ งจดั สวสั ดกิ ารใหใ้ นรปู แบบใหเ้ ปลา่ กลา่ วคอื ไมม่ งุ่ และความเสมอภาคให้แก่ประชาชน ซ่ึงก่อเป็นรากฐานท�ำให้ หวังผลก�ำไร รัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ ต่อมาของฝรั่งเศสมีการขับเคลื่อน นโยบายทสี่ ำ� คญั กค็ อื นโยบายรฐั สวสั ดกิ าร ไดแ้ กก่ ารจดั สรา้ งท่ี ;;รัฐมีการจัดสวัสดิการให้แก่ประชาชน คือเป็นการ อยใู่ หแ้ กป่ ระชาชนในเมอื ง การควบคมุ อตั ราคา่ จา้ งแรงงานขน้ั ประกนั มาตรฐานคณุ ภาพขนั้ ตำ�่ ของประชาชน เชน่ การ ต่�ำ การช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาล การจัดสถานศึกษา ฯลฯ มงี านท�ำ การศกึ ษา การรกั ษาพยาบาล ฯลฯ ซึ่งส่ิงต่างๆ เหล่าน้ีท�ำให้ความแตกต่างระหว่างชนชั้นลดน้อย ลง ประชาชนมชี ีวติ ความเป็นอย่ทู ่ดี ีข้ึน ;; รัฐมุ่งเน้นส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชนและ สรา้ งระบบความมัน่ คงทางสังคมให้กบั คนในรัฐ ;;รฐั ตอ้ งมกี ารจดั การอำ� นาจทางการเมอื งและการบรหิ าร ใหถ้ ว่ งดลุ หรอื ลดบทบาทพลงั การตลาดหรอื การผกู ขาด โดยอำ� นาจทนุ ;; รัฐต้องธ�ำรงไว้ซึ่งความยุติธรรมในการรักษาสิทธิของ บุคคล และตอ้ งมกี ฎหมายปกปอ้ งสิทธติ า่ งๆ เหล่าน้นั ;; รัฐต้องให้ความส�ำคัญกับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ อันเป็นสิทธิพ้ืนฐานที่ประชาชนพึงได้รับจากรัฐอย่าง เท่าเทยี ม แนวความคิดเหล่านี้ถูกผลักดันโดยกลุ่มประชาชนเอง หรือชนชั้นกรรมาชีพที่มีความต้องการให้เกิดความเท่าเทียม แนวคิดรัฐสวัสดิการเกิดข้ึนในแถบยุโรป ฝร่ังเศสเป็นประเทศ หน่ึงในยุคแรกๆ ท่ีมีการผลักดันและมีการพัฒนารูปแบบของ 6 ขอบคณุ ภาพจาก www.facebook.com/Prachatai

ในประเทศองั กฤษ สวเี ดน นอรเ์ วย์ เดนมารค์ เนเธอรแ์ ลนด์ 2. รัฐยังคงระบบตลาดเสรีไว้อย่างเต็มที่ (Liberal/ เยอรมัน รัฐสวัสดิการถูกสร้างขึ้นจากนโยบายสังคม (Labour Neo lberral welfare state) คือ รัฐเข้ามามี Policy) ของพรรคแรงงาน (Labour Party) พรรคสังคม บทบาทในฐานะผจู้ ดั สรรสวสั ดกิ ารทางสงั คมเพยี ง ประชาธิปไตย (Socisl Democrat Paty) และพรรคสังคมนิยมใน น้อยนิดเท่าท่ีจ�ำเป็นเท่านั้น โดยปล่อยให้ระบบ ยโุ รป (Socialism Paty) พรรคเหลา่ นนี้ บั วเ่ ปน็ ตวั แทนชนชน้ั กรรม- กลไกตลาดในรูปความส�ำพันธ์และผลประโยชน์ มาชีพอย่างแท้จริง จึงมีนโยบายการเก็บภาษีระบบก้าวหน้า เก็บ ระหว่างบริษัทเอกชนและลูกจ้างแสดงบทบาท ภาษีทรัพย์สินและภาษีมรดก เพื่อให้รัฐมีรายได้มาก และน�ำมา ส�ำคัญในการให้หลักประกันการจ้างงาน โดยรัฐ จัดสรรเป็นสวัสดิการอย่างท่ัวถึงต่อไป ถึงกระนั้นรัฐสวัสดิการก็ยัง เป็นผู้ให้เงินอุดหนุนและท�ำหน้าที่หลักในการ มีรายละเอียดอีกหลายรูปแบบและยังเป็นที่ถกเถียงกันว่า บริหารจดั การกองทุนสว่ นกลาง รฐั สวสั ดกิ ารทดี่ นี นั้ ควรเปน็ อยา่ งไร บางกระแสอา้ งวา่ หากประชาชน ได้สวัสดิการจากรัฐทุกด้านเต็มรูปแบบอาจท�ำให้ประชาชน 3. ทางเลอื กท่ี 3 ของรฐั สวสั ดกิ าร (The third Way) เกยี จครา้ นทจ่ี ะทำ� งาน บา้ งกว็ า่ ควรมสี วสั ดกิ ารแบบเตม็ รปู แบบและ มงุ่ เนน้ การแสวงหาทางแกป้ ญั หาสงั คมโดยมหี ลกั ถ้วนหน้าท่ัวทุกคนไม่ว่าคนคนนั้นจะมีรายได้มากน้อยเท่าไร บ้างก็ การส�ำคัญคือ “คุณไม่มีสิทธิถ้าคุณไม่ท�ำหน้าท่ี” วา่ สวสั ดกิ ารควรชว่ ยเหลอื เฉพาะคนจนเทา่ นน้ั ประเดน็ สำ� คญั ใหญ่ หลักการน้ีเปล่ียนจากแนวคิดรัฐสวัสดิการแบบ ท่ีถกเถียงกันคือ จะเป็นสวัสดิการแบบถ้วนหน้าทั่วทุกคน หรือ เตม็ รปู แบบคอื แทนการเนน้ ความเสย่ี งและความ สวัสดิการเฉพาะคนจนเท่านั้น ดังนั้นจึงมีการจ�ำแนกรูปแบบ รับผิดขอบร่วมกันกลับมาเน้นที่ความรับผิดชอบ รัฐสวัดดกิ ารไว้กวา้ งๆ 3 รูปแบบคือ ของปัจเจกบุคคลต่อตนเองและสังคมเพื่อ แลกเปลี่ยนกบั สทิ ธทิ ่เี ขาพงึ ได้รับ 1. รัฐสวัสดิการเต็มรูปแบบ คือมีการจัดสรรสวัสดิการ ครอบคลุมท่ัวถึง (Universal) ยึดอุดมการณ์สังคมนิยม ประชาธิปไตย (Social Democratic welfare state) สทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั เทา่ เทยี มกนั ทกุ คน ทส่ี ำ� คญั คอื รฐั จะเขา้ แทรก -แซงระบบทุน ก�ำหนดกฎเกณฑ์ในเร่ืองกรรมสิทธิ์ใน ทรพั ยส์ นิ และควบคมุ ปจั จยั การผลติ ไมใ่ หเ้ กดิ ความเหลอื่ มลำ้� 7

ครา่ วๆ ไมไ่ ดม้ แี นวทางปฏบิ ตั อิ ยา่ ง ชดั เจนและเปน็ รปู ธรรม ทจ่ี ะมบี า้ ง ก็เป็นเพียงการแก้ไขปัญหาเฉพาะ หนา้ หรือเปน็ การสร้างความชอบ ธรรมหาคะแนนความนิยมให้แก่ กลุ่มอ�ำนาจเผด็จการของตนเอง เทา่ นนั้ ประกอบกบั กลมุ่ ประชาชน เองก็ไม่มีความเข้มแข็งในการร่วม มือกันจัดต้ังองกรค์ภาคประชาชน ที่จะสร้างอ�ำนาจในการต่อรองได้ ขอบคณุ ภาพจาก www.bbc.com/thai/thailand กลับมาย้อนมองในประเทศไทย ประเทศไทยเป็น ดังจะสังเกตเห็นได้ว่าในประเทศไทยน้ันไม่มีสหภาพแรงงาน รัฐสวัสดิการแล้วหรือยัง? หลายคนอาจเร่ิมคุ้นกับค�ำว่า ถึงแม้รัฐบาลไทยจะไม่มีการสนับสนุนเร่ืองน้ีก็ตาม แต่น้ีก็ สวัสดิการแห่งรัฐ แต่แท้ที่จริงน้ัน สวัสดิการที่รัฐบาลไทยได้ สะท้อนให้เหน็ วา่ พลังของประชาชนกย็ ังไมเ่ ข้มแข็งมากพอ สรา้ งขน้ึ น้นั ยังห่างไกลกับคำ� วา่ “รัฐสวัสดิการ” ไม่ว่าจะเปน็ ไมว่ า่ จะอยา่ งไรกต็ ามสวสั ดกิ ารรฐั ทปี่ ระชาชนควรไดร้ บั รฐั สวัสดกิ ารในรูปแบบใดกต็ าม ท่เี ราจะพอมเี หน็ เปน็ รูปธรรม มหี ลักการสำ� คัญอยู่ 2 ประการ ประการแรกคอื บุคคลทุกคน บ้างก็มีการรักษาพยาบาลและการศึกษา นอกจากน้ัน เช่น มีสิทธิที่จะด�ำรงชีวิตไม่ต�่ำกว่ามาตรฐานแห่งระดับที่มนุษย์พึง ระบบประกันสังคมก็ครอบคลุมเฉพาะแรงงานลูกจ้างท่ีมี จะด�ำรงชีพอยู่ได้ตามสมควรแก่ความเป็นมนุษย์ และประการ นายจา้ งเทา่ นน้ั ถงึ แมก้ ระนนั้ สวสั ดกิ ารเรอ่ื งการรกั ษาพยาบาล ท่ีสอง ทุกคนต้องได้รับความคุ้มครองและหลักประกันให้ได้มี กย็ ังครอบคลมุ ไมห่ มด ยงั มคี นกลมุ่ นอ้ ย ผ้รู อพิสูจนส์ ทิ ธ์ิพสิ ูจน์ งานท�ำถ้วนหน้า แต่ก่อนที่เราจะมุ่งเน้นถึงความส�ำคัญท่ีว่า สัญชาติ คนดัง้ เดมิ ตกหลน เด็กรหัส G ฯลฯ พวกเขาเหลา่ นก้ี ็ รัฐไทยนนั้ จะเปน็ รฐั สวัสดิการแบบไหน เราควรใหค้ วามสำ� คัญ ยงั ไมไ่ ดร้ บั สทิ ธทิ์ ค่ี วรจะไดร้ บั ในสภาพสงั คมเศรฐกจิ การเมอื ง ก่อนว่าใครคือผู้กุมอ�ำนาจรัฐบาล ใครคือผู้มีอ�ำนาจบริหาร ของประเทศไทยนบั วา่ เปน็ ไปไดย้ ากทจี่ ะสรา้ ง “รฐั สวสั ดกิ าร” ประเทศอย่างแท้จริง เพราะหากทหาร นายทุนหรือเสนา ขนึ้ มาได้ เพราะรฐั ไทยนน้ั อำ� นาจการบรหิ ารผกู ตดิ อยกู่ บั ชนชน้ั อ�ำมาตย์ ยังกุมอ�ำนาจรฐั อยู่ สวสั ดิการรัฐที่แทจ้ ริงก็จะไมม่ วี ัน สงู ชนชน้ั นายทนุ ชนชนั้ เสนาอำ� มาตยเ์ ปน็ หลกั ซงึ่ ชนชนั้ เหลา่ เกิดข้ึนไม่ว่าจะรูปแบบใด เพราะการบริหารทรัพยากรใน นี้ไม่ยอมเสียผลประโยชน์ท่ีเคยได้รับจากระบอบอภิสิทธ์ิ รูปแบบ “รัฐสวัสดิการ” ท�ำให้พวกเขาเหล่านั้นสูญเสีย เพราะหากต้องการสร้างรัฐสวัสดิการขึ้นมาจริงๆ ผู้ท่ีต้องเสีย ผลประโยชน์อย่างมหาศาล ประโยชนอ์ ยา่ งมากเปน็ ชนชนั้ เหลา่ นน้ี เี่ อง และระบบการเมอื ง ในประเทศไทยนน้ั กย็ งั ไมม่ เี สถยี รภาพ เกดิ การรฐั ประหารและ เปลยี่ นรฐั ธรรมนญู บอ่ ยครง้ั ซงึ่ ในแตล่ ะครงั้ การตรารฐั ธรรมนญู ขอขอบคณุ ข้อมลู จาก ใหม่ ก็จะมีเน้ือหาเอ้ือผลประโยชน์แก่กลุ่มอ�ำนาจท่ีเขียน บทวิเคราะห์รัฐธรรมนูญ เร่ือง แนวทางความเป็นรัฐสวัสดิการของ รฐั ธรรมนญู น้ันๆ ขนึ้ มา ซง่ึ ที่ผา่ นมาทกุ ครัง้ ก็คือกลุ่มเผดจ็ การ รฐั ธรรมนฐู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ในหมวดสทิ ธแิ ละ ทหาร กลุ่มนายทุนและชนช้ันเสนาอ�ำมาตย์เพราะมีอ�ำนาจ เสรีภาพของชนชาวไทย โดย จารุวรรณ ดวงวิชัยวิทยากร กลุ่มงาน พฒั นากฎหมาย สำ�นกั กฎหมาย บทความเรื่อง รัฐสวัสดิการกับสังคมสวัสดิการ : มุมมองทางทฤษฎี ทหารและอาวุธอยู่ในมือ การระบุนโยบายกรอบเกณฑ์ของ โดย ดร.จตุรงค์ บณุ ยรตั นสุนทร จากเพปไซต์ http://www.nikom- สวสั ดกิ ารทร่ี ฐั เผดจ็ การทหารสรา้ งขนึ้ กเ็ ปน็ เพยี งแนวความคดิ foundation.org/autopagev4/show_page.php?topic_ id=36&au 8

ยญั พิธีเชอื ดแพะ (La fiesta del Chivo) ชวนอา่ น ชวนดู ผู้เขียน มาริโอ บาร์กัส โยซา (Mario Vargas Llosa) ผ้แู ปล พงษเ์ ลิศ พงษว์ นานต์ พมิ พ์คร้งั แรก สิงหาคม 2560 สำ�นักพิมพ์บทจร การหวนคืนสู่บ้านเกิดของอูราเนีย หลังจากที่เธอลาจากแบบไม่ทันตั้งตัว สามสิบกว่าปีผ่านเธอไม่เคยคิดหวนกลับสู่ประเทศนี้ “โดมินิกัน” ประเทศหน่ึงใน หมเู่ กาะแครบิ เบยี น ประเทศทเี่ คยถกู ปกครองดว้ ยอำ�นาจอนั ลน้ เหลอื ของราฟาเอล็ ตรูฆิโย ชายผู้ได้รับสมญานามว่า ไอ้แพะหื่น ความทรงจำ�อันโหดร้ายถูกขุดข้ึนมา อีกครั้ง เสียงท่ีเธอเล่ายังสั่นด้วยความกลัว หวาดระแวงและโกรธแค้น ยุคหนึ่งที่ เผด็จการปกครองอย่างเห้ียมโหดด้วยสถานะท่านผู้นำ�ท่ีเปรียบด่ังพระเจ้า คำ�โฆษณาชวนเชื่อท่ีคนพร้อมจะเช่ือและเชื่อด้วยความกลัว ความซับซ้อนทางการ เมอื งในยคุ สงครามเยน็ การชว่ งชงิ ระหวา่ งเผดจ็ การและประชาธปิ ไตย อทิ ธพิ ลของ อเมริกาต่อกลุ่มประเทศลาติน และกลุ่มผู้ก่อการคบคิดสังหารท่านผู้นำ�เพ่ือ ปลดปลอ่ ยประเทศจากระบอบเผดจ็ การ มารโิ อ บารก์ สั โยซา นกั เขยี นรางวลั โนเบลชาวเปรทู า่ นนี้ ไดน้ ำ�ประวตั ศิ าสตร์ มาเล่าผ่านวรรณกรรมได้อย่างยอดเยี่ยม บอกเล่าความรู้สึกนึกคิดของผู้คนได้ อย่างเต็มเปี่ยมด้วยการเล่าที่ชวนติดตาม สลับฉากราวกับกำ�ลังดูภาพยนตร์ บาง ชว่ งบางตอนถงึ กบั ตอ้ งกลน้ั หายใจลนุ้ วา่ จะเปน็ อยา่ งไรตอ่ ไป และสำ�คญั คอื หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะทำ�ใหเ้ ราไดเ้ หน็ วา่ ระบอบเผดจ็ การกอ่ ตวั ขน้ึ มาไดอ้ ยา่ งไร เชอ่ื แนว่ า่ ถา้ คณุ ไดอ้ า่ น คณุ จะรู้สึกและเขา้ ใจมันไดใ้ นทนั ที Whiplash (ตีใหล้ ั่น เพราะฝนั ยงั ไมจ่ บ) เขียนบท/กำ�กบั Damien Chazelle นกั แสดง Miles Teller , J. K. Simmons ฉายครง้ั แรกในงานเทศกาล Sundance ปี 2014 ได้รบั รางวลั Grand Jury Prize: Dramatic และ the Dramatic Audience Award และ 3 รางวัลออสการ์ คือ Best Supporting Actor(J.K. Simmons), Film Editing, Best Sound Mixing หนังดนตรีที่เร้าใจไม่ต่างจากหนังแอคช่ัน คือคำ�นามนิยามของหนังเรื่องนี้ เรื่อง ของเด็กหนุ่มที่คลั่งใคล้ใหลหลงในการตีกลองแจ๊ส ใฝ่ฝันถึงการเป็นมือกลองในวง แจส๊ แบนดร์ ะดบั ประเทศ แตเ่ สน้ ทางของนกั เรยี นดนตรผี นู้ ไ้ี มไ่ ดง้ า่ ย คำ�วา่ \"ทำ�ไดด้ แี ลว้ \" จะกลายเป็นอุปสรรคสำ�หรับนักดนตรีท่ีทะเยอทะยานและมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าเช่นเขา และครผู สู้ อนทีก่ ดดันอย่างเหย้ี มโหด จนดูเหมือนจะไมม่ ีใครทานทนได้ ทกุ ครง้ั ทเี่ สียง ดนตรดี งั ขน้ึ แทบจะเหมอื นสงครามไดเ้ รม่ิ ตน้ ผชู้ มจะถกู กดดนั ไปพรอ้ มกบั ตวั ละคร ทง้ั เอาใจช่วย ทง้ั ลนุ้ เหน็ ใจและเกรี้ยวกราดไปกับพวกเขา จังหวะการเลา่ เรอ่ื งไมต่ า่ งจาก เสยี งรวั กลองทท่ี งั้ กระชน้ั ถ่ี เรง่ เรา้ ใหเ้ ราไดพ้ กั ชวั่ อดึ ใจ ไมต่ อ้ งรเู้ รอ่ื งดนตรกี ด็ ไู ดอ้ ยา่ ง สนุกสนานและหนังก็ถ่ายสวย กดดันได้อย่างทรงพลัง ใครจะคิดว่าหนังดนตรีจะเล่า เรื่องชีวิตได้เข้มข้นถึงเพียงน้ี สำ�หรับใครที่ตั้งใจทำ�ตามฝันหนังเร่ืองนี้จะเป็นอีกหน่ึง แรงพลงั ให้กับคุณอย่างแน่นอน 9

สนามเด็กเล่น ระหว่างการระบาด เร่อื ง : ขวญั เรียม จิตอารยี ์ สวัสดิการของเด็กๆ อยู่ตรงไหน? ขอบคณุ ภาพจาก facebook.com/ThaiPBSNews จากปลายปี 2561 ทโ่ี ควดิ -19 ไดเ้ รม่ิ แพรร่ ะบาดในเมืองอ่อู น่ั ประเทศจนี และ ไดล้ ุกลามไปท่วั โลกในเวลาต่อมา จนถงึ วนั น้ตี ้นปี 2564 โควิด-19 ยังอยู่กับเรา จาก การระบาดระลอกแล้วระลอกเล่า พร้อมกับการกลายพันธุ์สู่โรคท่ีติดต่อได้ง่ายและ รวดเรว็ กวา่ เดมิ ขณะทวี่ คั ซนี ทน่ี านาประเทศเรง่ ผลติ ไดเ้ รมิ่ ใชใ้ นหลายประเทศ เชน่ รสั เซยี จีน เยอรมนั องั กฤษ อเมรกิ า ส่วนประเทศไทยเราคาดการณ์กนั วา่ จะได้รับวัคซนี จาก จนี ล๊อตแรกในปลายเดอื นกุมภาพนั ธป์ นี ี้ ประชาชนอยา่ งเราจึงต้องปอ้ งกันตัวเองดว้ ย หนา้ กากผา้ หนา้ กากอนามยั (ราคาแพง) สบแู่ ละเจลลา้ งมอื อยา่ งเครง่ ครดั ยงั ไมม่ สี งิ่ ใด รบั ประกนั วา่ สถานการณก์ ารระบาดจะดขี น้ึ หลงั จากตน้ ตอการระบาดมาจากสนามมวย ครอบครัวนักการฑตู ทหารตา่ งชาติท่เี ขา้ มาฝกึ ในประเทศ บอ่ น สนามชนไก่ แรงงานที่ ลกั ลอบขนขา้ มแดนจากประเทศเพอ่ื นบา้ นอยา่ งไมล่ ดละสตู่ ลาดอาหารทะเล จ.สมทุ รสาคร แมป้ ระชาชนอยา่ งเราๆ ทา่ นๆ จะตง้ั การด์ สงู เพยี งใดกไ็ มอ่ าจตา้ นทานได้ จำ�นวนผตู้ ดิ เชอ้ื ในประเทศ เพิ่มขึ้นในเวลาอันส้ัน การท่องเที่ยวในประเทศที่ดูเหมือนจะดีข้ึนชะงักงันในทันที เศรษฐกิจไม่อาจ ฟืน้ ตัวกลับมาได้ คนไมน่ อ้ ยถูกเลิกจ้าง มีหน้สี ้ิน ปิดกิจการ สนิ้ เน้อื ประดาตัว หลงั การลอ็ กดาวน์ ประเทศนานค่อนปี หลายคนชงิ ฆ่าตวั ตายก่อนจะตายจากโควิดด้วยซำ้� นนั่ แสดงใหเ้ หน็ ว่าพวกเขา สิ้นหวงั กบั การแก้ไขปญั หาของประเทศแล้วจรงิ ๆ ไม่มีมอื ไหนยน่ื ไปรองรับการรว่ งหล่นนีเ้ ลย 10

ท่ามกลางการระบาดอันยาวนานน้ี พวกเราผู้เผชิญ พวกเขามคี วามเครยี ด วติ กกงั วลและเบอ่ื หนา่ ย นอกจากนเี้ ดก็ ความยากล�ำบากในการใช้ชีวิตมิใช่มีเพียงผู้ใหญ่วัยท�ำงาน และเยาวชนเกินครึ่งรู้สึกกังวลด้านการเรียน การสอบ และ เทา่ นนั้ ทกุ คนตา่ งลำ� บากกนั ถว้ นหนา้ รวมไปถงึ เดก็ ๆ ดว้ ย เมอ่ื โอกาสในการศกึ ษาตอ่ เนอื่ งจากการปดิ โรงเรยี นเปน็ ระยะเวลา แรงงานหลักของครอบครัวถูกพักงาน ลดวันท�ำงาน หรือเลิก นาน ในขณะที่ 7% รู้สึกกังวลเก่ียวกับปัญหาความรุนแรงใน จ้าง ปัญหาปากท้องจึงเริ่มหนักหน่วงขึ้นเร่ือยๆ พร้อมกับท่ี ครอบครัว เช่น การทะเลาะกันของผู้ปกครองและการท�ำร้าย เดก็ ๆ ตอ้ งหยดุ ไปโรงเรยี นแตเ่ รยี นออนไลนแ์ ทน ภายใตม้ าตรา ร่างกาย และผลส�ำรวจยังสะท้อนปัญหาของเยาวชนกลุ่ม การ “อยบู่ ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาต”ิ พ่อแมจ่ ำ� ตอ้ งใชเ้ งนิ เกบ็ ซอ้ื LGBTIQ จากการท่ีต้องอยู่แต่ในบ้าน โดย 4% ของผู้ตอบ อุปกรณ์การเรียนให้ลูก รายจ่ายที่เพ่ิมข้ึนสวนทางกับรายได้ที่ แบบสอบถามรู้สึกกังวลเร่ืองเพศสภาพท่ีถูกกดดันเพ่ิมขึ้น ลดลง ความเครียดและความรุนแรงในครอบครัวจึงเกิดข้ึนได้ เนอื่ งจากไมส่ ามารถแสดงอตั ลกั ษณห์ รอื ตวั ตนกบั ครอบครวั ได้ โดยงา่ ย ภายใต้ภาวะกดดนั ท่โี ถมทบั เช่นน้ี เด็กๆ ก็เป็นอีกคน รวมถึงบางส่วนที่อาจไม่สามารถเข้าถึงฮอร์โมนเสริมได้ใน หนง่ึ ทจี่ �ำตอ้ งรองรบั มันไว้เชน่ กัน ชว่ งนี้ สถานการณ์โควิด-19 คร้ังนี้ส่งผลกระทบถ้วนทั่วทุก ไม่ใช่แค่วัยรุ่นเท่านั้นที่ตกอยู่ในปัญหา แต่ยังรวมไปถึง พื้นท่ี ไม่ว่าจะเป็นในเมืองหรือชนบท มากน้อยต่างกันตาม เด็กอ่อนท่ียังไม่รู้ความจนถึงวัยช่างพูด เป็นวัยที่ผู้ใหญ่ต้อง เงื่อนไขและข้อจ�ำกัดของชีวิตความเป็นอยู่ ระยะเวลา 1 ปีท่ี ประคับประคองอย่างมากท้ังเร่ืองพัฒนาการทางร่างกายและ ผา่ นมา หากยงั จำ� กันได้ เราได้เห็นผู้คนมากมายอพยพย้ายถน่ิ เรยี นรู้ ครอบครวั ทม่ี เี ดก็ ออ่ นจงึ ตอ้ งรบั ภาระหนกั ยง่ิ เมอื่ มกี าร หอบลูกจูงหลานกลับบ้านเกิดหลังถูกเลิกจ้าง หรือไม่ก็เดินหา ประกาศใหป้ ดิ โรงเรยี นและศนู ยเ์ ดก็ เลก็ ยงิ่ ทำ� ใหภ้ าระนน้ั หนกั งานท�ำ คนยอมขอข้าวกินเพราะอับจนหนทาง แถวคนรอรับ ขนึ้ อกี ทงั้ เรอื่ งการดแู ลเดก็ และอาหารการกนิ หากไมม่ ใี ครดแู ล อาหารยาวเหยียด ตู้ปันสุขที่วางในจุดต่างๆ การขาดแคลน เด็กพ่อแม่ก็ตอ้ งพาไปทำ� งานดว้ ย หรอื ต้องจา้ งคนดูแล รวมทัง้ หน้ากากอนามัยแม้แตใ่ นโรงพยาบาล หมไู กข่ ้นึ ราคา ขา่ วการ นมและอาหารกลางวันที่ต้องจ่ายเพิ่ม บางครอบครัวก็ไม่อาจ ฆ่าตัวตายรายวัน รวมถึงการเรียกร้องการแก้ไขปัญหาจาก ซื้ออาหารทมี่ ีประโยชน์ครบถว้ นใหไ้ ด้ เดก็ จะได้กนิ มามา่ กบั ไข่ รฐั บาล ทกุ ภาพทก่ี ลา่ วมามเี ดก็ ๆ เยาวชนอยใู่ นนน้ั จากรายงาน แทน นอกจากนยี้ งั ตอ้ งซอ้ื หาอปุ กรณป์ อ้ งกนั โรคใหก้ บั เดก็ ดว้ ย ผลส�ำรวจของยูนิเซฟ ร่วมกับสภาเด็กและเยาวชนแห่ง จากผลสำ� รวจออนไลนท์ ด่ี ำ� เนนิ การรว่ มกนั ระหวา่ งสถาบนั วจิ ยั ประเทศไทย โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ และกองทุน เพ่ือการพัฒนาประเทศไทยและส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ประชากรแห่งสหประชาชาติ เร่ืองผลกระทบของการแพร่ ระหวา่ งวนั ที่ 27 เมษายนถงึ วนั ที่ 18 พฤษภาคม 2563 (จำ� นวน ระบาดของโควิด-19 ต่อเด็กและเยาวชนในประเทศไทย โดย 27,986 คนมผี ตู้ อบแบบสอบถามจากทกุ จงั หวดั ในประเทศไทย) เก็บข้อมูลผ่านแบบสอบถามออนไลน์ระหว่างวันที่ 27 มีนาคม พบว่าครอบครัวที่มีเด็กเล็กถูกกระทบจากโควิด-19 มากกว่า ถงึ 6 เมษายน 2563 จากเดก็ และเยาวชนจำ� นวน 6,771 คน ครอบครวั ทไ่ี ม่มเี ดก็ เล็กในเกอื บทุกด้าน (ตัวเลขเทียบระหว่าง ทั่วประเทศ ซึง่ สว่ นใหญอ่ ายุ 15-19 ปี พบวา่ เดก็ และเยาวชน สัดส่วนในครอบครัวมีเด็กกับสัดส่วนในครอบครัวไม่มีเด็ก) กวา่ 8 ใน 10 คน มคี วามวติ กกงั วลเกยี่ วกบั ปญั หาการเงนิ ของ ดงั นี้ ครอบครัวมากที่สุด เนื่องจากพ่อแม่ผู้ปกครองไม่สามารถ ทำ� งานไดต้ ามปกติ อนั เปน็ ผลมาจากการปดิ ตวั ของธรุ กจิ ตา่ งๆ // รายได้ลดมากกว่า (81% ในกลุ่มครัวเรือนที่มีเด็กเล็ก ตลอดจนการถูกเลกิ จ้าง และยังพบวา่ เด็กและเยาวชนกว่า 7 เทียบกับ 70% ในกลุ่มครวั เรือนทีไ่ มม่ เี ดก็ เลก็ ) เพราะ ใน 10 คน กลา่ ววา่ วกิ ฤตโควดิ -19 สง่ ผลกระทบตอ่ สภาพจติ ใจ มีสัดส่วนท่ีเป็นคนท�ำงานไม่ประจ�ำ หรือธุรกิจนอก ระบบมากกวา่ 11

ขอบคณุ ภาพจาก facebook.com/ThaiPBSNews // ความสามารถในการแก้ปัญหาน้อยกว่า (27-31% ตอบว่าแก้ปัญหาไม่ได้ ส่วนครอบครัวท่ีไม่มีเด็กมี 24-26% ตอบว่าแก้ปัญหาไม่ได้) นอกจากท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้วยังพบว่า เด็กขาด กิจกรรม ของเล่น และการเล่นกับกลุ่มเพื่อนเพื่อเสริม พัฒนาการ เม่ืออยู่แต่ในบ้านหรือในห้องแคบๆ เด็กจึงได้แต่ดู โทรทัศน์และโทรศัพท์มือถือ จนส่งผลต่อพฤติกรรม เช่น หงุดหงิดง่าย กา้ วร้าว เอาแตใ่ จ ขาดระเบยี บวินยั เป็นต้น วันเด็กปีน้ี 9 มกราคม 2564 โรงเรียนและภาคส่วน ต่างๆ ส่วนใหญ่งดเว้นการจัดงานวันเด็กเพ่ือป้องกันการแพร่ ระบาด คณะทํางานขับเคลื่อนนโยบายสวัสดิการเงินอุดหนุน เด็กเล็กสู่ถ้วนหน้า จึงได้จัดเวทีแถลงขา่ ว “จดหมายเปิดผนึก จากภาคประชาสังคม 301 องค์กร เรียกร้องนายกรัฐมนตรี มอบของขวัญวันเด็กปี 2564 ด้วยนโยบายสวัสดิการเงิน อดุ หนนุ เดก็ เลก็ แบบถว้ นหนา้ ” โดยมตี วั แทนคณะทำ� งานฯจาก เครอื ข่ายภาคประชาสังคมและภาควชิ าการ 301 องคก์ ร จาก ท่ัวประเทศ ร่วมเสนอสถานการณ์และข้อเรียกร้อง เนื่องจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดคร้ังนี้รัฐบาลประกาศปิดสถาน รับเลยี้ งเด็กโดยไร้มาตรการรองรบั ส่งผลใหเ้ ด็กขาดความช่วย เหลอื เรอื่ งนม อาหารและขาดพัฒนาการ และ 70 % ของแม่ ที่ท�ำงานภาคอุตสาหกรรมเข้าไม่ถึงโครงการเงินอุดหนุนเพื่อ // รายจ่ายเพิ่มกว่า 50% เม่ือเทยี บกบั ชว่ งกอ่ นโควิด และคิด การเลย้ี งดเู ดก็ แรกเกดิ ของกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความ เปน็ สัดสว่ นครัวเรอื นมากกว่า (13% เทยี บกบั 10%) มน่ั คงของมนษุ ย์ เพราะไมท่ ราบวา่ ตนมสี ทิ ธิ ขณะทถ่ี กู เลกิ จา้ ง // หน้ีในระบบเพิ่มขึ้นในสัดส่วนท่ีมากกว่า (18% เทียบกับ เงินสงเคราะห์จากประกันสังคมก็ต้องใช้เวลาตรวจสอบ 13%) และหน้ีนอกระบบก็เพ่ิมในสัดส่วนมากกว่า (13% ยาวนาน จึงไม่มีเงินพอซ้ือนมให้ลูก หากได้เงินอุดหนุน 600 เทียบกับ 9%) บาท/เดอื น กจ็ ะพอชว่ ยผอ่ นภาระได้ ซง่ึ เงนิ อดุ หนนุ ในโครงการ // สายปา่ นสนั้ กวา่ คอื สามารถอยใู่ นภาวะปดิ เมอื งแบบทผี่ า่ น น้ี แตเ่ ดมิ จะใหแ้ กเ่ ดก็ แรกกดิ ในครอบครวั ยากจน หรอื เสยี่ งตอ่ มาไดใ้ นระยะเวลาสนั้ กวา่ เชน่ ตอบวา่ อยไู่ ดไ้ มเ่ กนิ 1 เดอื น ความยากจน (รายได้ครัวเรือนเฉลี่ยไม่เกิน 36,000 บาท ต่อ มีสัดส่วนสงู กว่า (21% เทยี บกับ 18.5%) คน ต่อปี) เป็นเด็กท่ีเกิดระหว่างวันท่ี 1 ตุลาคม 2558-30 // ถูกกระทบในช่องทางต่างๆ จากโควิดในสัดส่วนที่สูงกว่า กนั ยายน 2559 โดยอดุ หนนุ เงนิ รายละ 400 บาท ตอ่ เดอื น เปน็ (77% เทยี บกบั 68%) และเมื่อแยกตามมาตรการปิดเมือง เวลา 1 ปี เรม่ิ จา่ ยเงนิ อดุ หนนุ ตง้ั แตป่ งี บประมาณ 2559 ตอ่ มา เช่น เคอร์ฟวิ ปดิ ร้านค้า จำ� กัดรา้ นอาหาร ห้ามเดินทาง ก็ ครม.มีมติเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2559 ให้ขยายเวลาการให้ ถกู กระทบมากกว่า เงนิ อุดหนุน ตง้ั แต่แรกเกดิ จนถึงอายุ 3 ปี และเพมิ่ วงเงนิ เป็น 12

600 บาท ตอ่ คน ตอ่ เดอื น และในปถี ดั มา (วนั ที่ 7 พฤศจกิ ายน และทั่วถึงแก่เด็กเล็กทุกคน เราคงต้องรอติดตามต่อไปว่า 2560) ได้ยกเลิกเงื่อนไขผู้มีสิทธิที่ต้องไม่เป็นผู้อยู่ในระบบ ข้อเรยี กร้องน้ีจะได้รบั การตอบสนองหรือไม่ ประกนั สงั คม เรมิ่ ตง้ั แตป่ งี บประมาณ 2561 รวมทงั้ ใหก้ ระทรวง ภายใตก้ ารลอ็ กดาวนใ์ นปที ผี่ า่ นมา ขณะทที่ กุ อยา่ ชะงกั พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์พิจารณาความเหมาะ งัน หลายส่ิงกลับเสื่อมถอย เยาวชนไม่น้อยกลายเป็นคนท่ีถูก สมและความเปน็ ไปไดใ้ นการเชอื่ มโยงขอ้ มลู ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ยตาม ทิ้งไว้ข้างหลัง ชั่วระยะเวลาหนึ่งที่เปล่ียนแปลงไปอาจเปล่ียน โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการของรัฐ นํามาใช้เป็นเกณฑ์ พวกเขาไปทั้งชีวิต จากแบบส�ำรวจ 6 ชุดท่ีกลุ่มหน่วยงาน กําหนดคณุ สมบตั ผิ เู้ ขา้ รว่ มโครงการและปรบั ปรงุ กระบวนการ สหประชาชาติท่ีท�ำงานด้านเยาวชนและวัยรุ่น ได้ถามไถ่ไปยัง ตรวจสอบและรับรองสิทธิ ต่อมาเม่ือวันท่ี 26 มีนาคม 2562 เยาวชนถงึ 9,000 คนท่ัวประเทศ รวมถึงเยาวชน 2,300 คนที่ ครม.มีมติให้ขยายระยะเวลาให้เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ก อยใู่ นสถานการณเ์ ปราะบาง พบวา่ ประมาณ 80% ของเยาวชน ต้ังแต่แรกเกิด-6 ปี และขยายฐานรายได้ของกลุ่มเปา้ หมายไม่ และวัยรุ่นชาติพันธุ์จ�ำนวน 1,000 คน บอกว่าตนเองและ เกิน 100,000 บาท ต่อคน ต่อปี จนล่าสุดปีที่ผ่านมาคณะ ครอบครัวไม่ได้รับความช่วยเหลือทางสังคมในช่วงล็อกดาวน์ ท�ำงานได้ผลักดันนโยบายนี้ คณะกรรมการสง่ เสริมการพัฒนา และมกี ลมุ่ วยั รนุ่ ชาตพิ นั ธน์ุ อ้ ยกวา่ 10% สามารถเขา้ ถงึ อปุ กรณ์ เด็กและเยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) มีมติในการประชุมคร้ังท่ี ส�ำหรับการเรียนออนไลน์ นอกจากน้ีเยาวชนและวัยรุ่นที่มี 2/2563 เม่ือวันท่ี 29 กันยายน 2563 เห็นชอบต่อแนวทาง ความพิการเกือบทั้งหมดท่ีท�ำแบบสอบถามรายงานว่า ไม่มี การจัดสวัสดิการเงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิดแบบ อุปกรณ์เพื่อเข้าถงึ การเรยี นทบี่ ้าน เยาวชนและวัยร่นุ จากสาม ถ้วนหน้า ในอัตรา 600 บาท ต่อคน ตอ่ เดือน โดยใหเ้ รม่ิ ต้งั แต่ จงั หวดั ชายแดนภาคใตต้ อ้ งเผชญิ กบั การวา่ งงานเพม่ิ ขน้ึ สองเทา่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คือ เดือน ตลุ าคม 2564 แตจ่ ากสถานการณ์การ ระบาดระลอกใหม่ที่มีความรุนแรงกว่า ท่ีผ่านมา คนทุกกลุ่ม ทุกอาชีพได้รับ ผลกระทบถว้ นหนา้ เดก็ ๆ กไ็ มอ่ าจหลกี เลี่ยงได้ พวกเขาจึงไม่ควรถูกมองข้าม คณะทํางานฯ โดยองคก์ รเครอื ขา่ ยภาค ประชาสังคม 301 องค์กร จึงได้ร่วม กนั ลงชอ่ื เรยี กรอ้ งใหน้ ายกรฐั มนตรแี ละ คณะรัฐมนตรี สนับสนุนนโยบาย สวัสดิการเงินอุดหนุนเด็กเล็กแบบ ถว้ นหนา้ ในอตั รา 600 บาท ตอ่ คน ตอ่ เดือน ตามมติของ กดยช. โดยให้ พิจารณาเป็นวาระเร่งด่วน เริ่มดําเนิน การทนั ที ตงั้ แต่ เดอื นมกราคม 2564 นี้ เพอื่ ใหท้ นั สถานการณ์ สามารถใหค้ วาม ช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ครอบคลุม ขอบคณุ ภาพจาก www.thaipbsworld.com 13

ขอบคุณภาพจาก www.bbc.com/thai/thailand โดย Paris Jitpentom ในช่วงการระบาดใหญ่ และเพิ่มข้ึนสี่เทา่ ในช่วงการล็อกดาวน์ โครงสร้างเดิมท่ีมีความเหลื่อมล้�ำอยู่ก่อนแล้ว จึงไม่ง่ายเลยที่ ย่ิงไปกว่านนั้ เยาวชนและวัยรุน่ ในสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ พวกเขาจะผา่ นพน้ มนั ไปได้ จากโครงการ “ระบบเฝา้ ระวงั การ ประมาณ 41% รายงานวา่ พวกเขารสู้ กึ กงั วลมากถงึ 3-4 วนั ตอ่ หลดุ ออกจากระบบการศกึ ษารว่ มกบั สถานศกึ ษาทวั่ ประเทศ” สัปดาห์ ซ่ึง กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ร่วมกับ ในส่วนของคุณแม่วัยใส ผลการส�ำรวจพบว่า 42% ไม่ สพฐ., ตชด., อปท. จัดสรรทุนเสมอภาค เพ่ือช่วยบรรเทา สามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ นการรกั ษาพยาบาลไดใ้ นชว่ งทเ่ี กดิ การ อุปสรรคทางการศึกษา ลดภาระค่าใช้จ่ายช่วงเปิดเทอมให้ ระบาดใหญ่และการล็อคดาวน์ และ 36% ไม่สามารถเข้าถึง ครอบครวั นกั เรยี นยากจนพเิ ศษ มเี ดก็ ทอ่ี ยใู่ นขอบขา่ ยตอ้ งการ บรกิ ารดา้ นการดแู ลสขุ ภาพเดก็ ได้ นอกจากนวี้ ยั รนุ่ และเยาวชน ความช่วยเหลือถึง 7.5 แสนคน และ กสศ. ได้เผยข้อมูลจาก ผตู้ อบแบบสอบถามในกลมุ่ LGBTQ ประมาณ 39% ไมส่ ามารถ การส�ำรวจระบบเฝ้าระวังเด็กหลุดออกนอกระบบการศึกษา เขา้ ถงึ บรกิ ารทางเพศและอนามยั การเจรญิ พนั ธ์ุ เชน่ การรบั คำ� ผ่านการบันทึกข้อมูลระบบ iSEE หรือระบบสารสนเทศเพื่อ ปรึกษาเรื่องเพศ การป้องกันและการรักษาโรคติดต่อทางเพศ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา ทบ่ี นั ทกึ ได้ ณ วนั ที่ 15 มถิ นุ ายน สัมพนั ธ์ ประมาณครึ่งหน่ึงของผตู้ อบแบบสอบถามยงั คงมเี พศ 2563 พบวา่ มนี กั เรยี นยากจนพเิ ศษ 3,180 คน ทย่ี งั ไมไ่ ดส้ มคั ร สมั พนั ธใ์ นชว่ งการลอ็ กดาวน์ และการเขา้ ถงึ การคมุ กำ� เนดิ เปน็ เรยี น ประกอบดว้ ย ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จำ� นวน 1,246 หนงึ่ ในปญั หาดา้ นสขุ ภาพทางเพศและอนามยั การเจรญิ พนั ธใ์ุ น คน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ�ำนวน 1,914 คน และระดับ อันดับตน้ ๆ มัธยมศึกษาตอนปลาย (เฉพาะ ตชด.) จ�ำนวน 20 คน ทั้งนี้ ยังไม่หมดเพียงเท่าน้ี ยังมีชนบทพ้ืนท่ีห่างไกลและบน ขอ้ มูลดังกลา่ วยงั เป็นตวั เลขเพยี ง 60 % ของนกั เรยี นชน้ั ป.6 ดอยสงู ทส่ี ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดไดซ้ ำ�้ เตมิ พวกเขาจากฐาน และ ม.3 ท้งั หมด 161,000 คน เท่าน้ัน 14

แมจ้ ะเปน็ ตวั เลขจากเดก็ เพยี ง 60% กส็ ะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ปญั หาสำ� คญั คอื การกระจายเงนิ ชว่ ยเหลอื สผู่ เู้ ดอื ดรอ้ นเปน็ ไป เด็กในกลุ่มเปราะบางนี้มีความเสี่ยงที่จะไม่ได้เรียนต่อโดย อยา่ งไม่ทวั่ ถึง ไมค่ รอบคลมุ คนทกุ กลุ่ม เพราะกระบวนการไม่ เฉพาะชน้ั ป.6 และม.3 ชว่ งหวั เลยี้ วหวั ตอ่ ทส่ี ำ� คญั ของชวี ติ เดก็ เอ้ือต่อผู้เดือดร้อน เช่น การลงทะเบียนผ่านแอปพลิเคช่ันบน หลายคนต้องออกไปช่วยครอบครัวท�ำงานในภาคการเกษตร สมาร์ทโฟนหรือคอมพิวเตอร์ ซ่ึงประชาชนส่วนใหญ่ขาดทั้ง หรือเป็นแรงงานรับจ้าง การหยุดเรียนยาวนานและการเรียน เทคโนโลยแี ละความรู้ รฐั จงึ ควรมกี ารสนบั สนนุ ในสว่ นนี้ แทนที่ ออนไลนท์ ไ่ี มเ่ ออื้ ตอ่ เดก็ ทำ� ใหก้ ารศกึ ษากลายเปน็ เรอื่ งไกลหา่ ง จะปล่อยให้ประชาชนแย่งชิงกันลงทะเบียน แต่ที่ส�ำคัญท่ีสุด จากพวกเขาออกไปอีก ท้ังที่แต่เดิมก็มีข้อจ�ำกัดเร่ืองพ้ืนท่ี คอื การทำ� ใหเ้ ศรษฐกจิ เดนิ หนา้ ประชาชนสามารถทำ� มาหากนิ โรงเรียนท่สี อนถึงแคช่ นั้ ป.6 จะเรยี นตอ่ ชัน้ ม.ตน้ ก็ตอ้ งออกไป ลมื ตาอา้ ปากได้ ความเสมอภาคเทา่ เทยี มแกป่ ระชาชนทกุ คนใน จากชุมชน ระยะทางทห่ี า่ งไกลและความยากจน ย่ิงทำ� ให้เสน้ การพัฒนาทกุ ดา้ นคือสิ่งท่ีรฐั ตอ้ งทำ� ให้เกดิ ขนึ้ ใหไ้ ด้ ทางการศึกษาไกลลิบลับ การประกาศมาตรการทางการศกึ ษา การเอาชนะโควิด-19 ด้วยตวั เลขทผ่ี ู้ติดเชื้อเปน็ 0 ดว้ ย ต่างๆ ในชว่ งการระบาดของโควดิ -19 โดยไม่มองขอ้ จำ� กดั ของ การลอ็ กดาวนแ์ ละประกาศสถานการณฉ์ กุ เฉนิ โดยไมม่ องความ กลุ่มเด็กและพ้ืนท่ี ไม่เท่ากับเป็นการตัดเส้นทางเดินของพวก เป็นจริงของประชาชนในประเทศอาจไม่ใช่วิธีการท่ีถูกต้องนัก เขาหรอกหรอื แมจ้ ะมคี วามพยายามชว่ ยเหลอื จากกลมุ่ องคก์ ร สถานการณ์ทีผ่ า่ นมาได้บอกเราแลว้ และทุกคนก็รดู้ วี า่ ควรแก้ ต่างๆ แต่รากฐานที่ส�ำคัญคือนโยบายบริหารจัดการของ ปัญหาจากจุดไหน จากตัวเลขมากมายจนน่ามึนหัวท่ีได้กล่าว ประเทศที่มีพวกเขาเป็นหนึ่งในน้ันไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ ไปขา้ งตน้ เราสามารถอ่านผ่านตาไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว แต่ลึกไปใน ใดก็ตาม นนั้ มชี วี ติ ของเดก็ เยาวชนในหลากหลายรปู แบบ ในสถานการณ์ ที่ผ่านมารัฐบาลได้มีมาตรการต่างๆ ออกมาช่วยเหลือ ต่างๆ เป็นเรื่องเล่าไม่รู้จบ แล้วท่ีอยู่นอกตัวเลขเหล่าน้ีอีกล่ะ ประชาชนไมว่ า่ จะเปน็ โครงการเราไมท่ ง้ิ กนั โดยจา่ ยเงนิ เยยี วยา ประเทศเรายังมีเยาวชนที่ท�ำงานนอกเวลา (part time) 5,000 บาท 3 เดอื น (เมษายน-มถิ นุ ายน 63) เงนิ ชว่ ยเหลอื เพม่ิ เยาวชนท่ีว่างงาน และเยาวชนที่อยู่นอกระบบการศึกษาอีก เติมแก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐหรือบัตรคนจนจ�ำนวน 1,000 นบั ไมถ่ ว้ น ไหนจะมบี ณั ฑติ ทเ่ี พง่ิ เรยี นจบแตไ่ รง้ านรองรบั ขณะ บาทตอ่ เดอื น 3 เดอื น (พฤษภาคม-กรกฎาคม63) โครงการชว่ ย ท่ีคนท�ำงานไม่น้อยจ�ำต้องออกจากงาน ใครที่ยังมีงานก็ต้อง เหลือกลุม่ ผเู้ ปราะบาง (เดก็ ผ้สู งู อายุ คนพกิ าร) เพม่ิ เตมิ จาก กอดไว้ให้ม่ัน ทุกคนต่างรอคอยวันท่ีสถานการณ์ดีขึ้น แต่หาก เงินอดุ หนุนรายเดอื นขา้ งตน้ รายละ 1,000 บาทตอ่ เดอื น เปน็ ระหว่างการระบาดนี้ประเทศไม่อาจบริหารจัดการและแก้ไข ระยะเวลา 3 เดือน (พฤษภาคม-กรกฎาคม 63) โครงการช่วย ปัญหาอย่างถูกต้องเหมาะสม แม้เช้ือโรคจะรามือยอมแพ้ แต่ เหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรค เราอาจจมอยู่กบั ปญั หาท้ังเก่าใหมไ่ ปอีกนานก็เปน็ ได้ โควิด-19 จ�ำนวน 10 ล้านราย รายละ 5,000 บาท 3 เดือน (พฤษภาคม-กรกฎาคม 63) โครงการคนละครงึ่ เฟส 1-2 คนละ 3,500 บาท จำ� นวน 15 ลา้ นราย รายละ 3,500 บาท (ตุลาคม 63- มีนาคม 64) โครงการช้อปดีมีคืน ลดหย่อนภาษีสูงสุด 30,000 บาท โครงการเพิ่มก�ำลังซื้อให้กับผู้ถือบัตรสวัสดิการ ขอขอบคุณข้อมูลจาก https://workpointtoday.com แห่งรัฐ เฟส 1-2 (ตลุ าคม 63- มนี าคม 64) คนละ 500 บาท 3 https://tdri.or.th เดือน โครงการเราเท่ียวด้วยกัน และโครงการก�ำลังใจ ต้อง https://www.unicef.org ยอมรับว่าหลายโครงการมีส่วนช่วยประชาชนอย่างมาก แต่ https://thailand.un.org https://www.hfocus.org https://csg.dcy.go.th 15

ยาใจคนชายขอบ สิทธิในหลักประกนั สุขภาพ เรื่อง/ภาพ : จนั ทราภา จนิ ดาทอง สำ�หรับบุคคลทีย่ งั ไมไ่ ด้สัญชาตไิ ทยในรัฐไทย “ความเจ็บไข้ได้ป่วยไม่เคยเลือกเช้ือชาติ” คำ�กล่าวน้ีเป็นจริงเสมอมา ทำ�ให้การให้บริการในโรงพยาบาลโดยเฉพาะ โรงพยาบาลรัฐบาลในไทยมีผู้คนหลากหลายเช้ือชาติเข้ารับการรักษา ยิ่งเป็นโรงพยาบาลในพ้ืนท่ีชายแดนเช่นโรงพยาบาล อุ้มผาง การดแู ลคนไข้ต่างเชอ้ื ชาติ ตา่ งความเชอ่ื ยง่ิ เป็นเรื่องทีพ่ บเจอเป็นปกติธรรมดา หากคณุ เกดิ มาเป็นบุคคลสญั ชาตไิ ทย ยอ่ มมสี ทิ ธใิ นหลกั ประกันสขุ ภาพตงั้ แตแ่ รกคลอดอยา่ งน้อย 1 สิทธิ (สิทธิ ในหลกั ประกนั สุขภาพถว้ นหน้า หรอื บัตรทอง) และสทิ ธิอนื่ ๆ ตามพอ่ แมห่ รือการทำ�งานในเวลาต่อมา แลว้ คนทอ่ี าศยั อยใู่ นประเทศไทยโดยไมม่ ฐี านะเปน็ พลเมอื งสญั ชาตไิ ทยละ่ สทิ ธใิ นหลกั ประกนั สขุ ภาพสำ�หรบั คนไรร้ ฐั ไรส้ ัญชาติ เพื่อให้ยามเจบ็ ป่วยได้รบั การดแู ลอยา่ งสมศักดศิ์ รคี วามเปน็ มนุษย์ มสี ิทธิใดไดบ้ า้ งหนอ จากประสบการณ์ท�ำงาน 10 ปที ผ่ี า่ นมา ทำ� ให้พอจะประมวลเรอ่ื งราวของสิทธิตา่ งๆ ในหลักประกนั สขุ ภาพท่ีจดั สรรโดยรัฐไทย ได้ดงั ต่อไปน้ี 1. สทิ ธใิ นกองทนุ บคุ คลทมี่ ปี ญั หาสถานะและสทิ ธิ ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี 23 มนี าคม 2553 และ 20 เมษายน 2258 ดแู ลโดยกลมุ่ ประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือดูแลกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ระหว่างการรอพิสูจน์สิทธิ ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลท่ีมีเลขประจ�ำตัว ประชาชน ขึ้นต้นดว้ ยเลข 6,7 ทกุ คน เลข 8 หลักทห่ี กและเจด็ เป็นเลข 00 เลข 0 หลกั ที่หกและเจด็ เปน็ เลข 89 และบุตรของบคุ คล 16

เลข 0 89 ล่าสุดมีการเพิ่มเติม มติคณะรัฐมนตรี 22 กันยายน ไม่เกิน 7 ปีบริบูรณ์ โดยให้กลุ่มเป้าหมายสองกลุ่ม ต้องผ่านการ 2563 เห็นชอบในหลักการการให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ข้ันพ้ืนฐานด้าน ตรวจสุขภาพ ส่วนกลุ่มท่ี 3 ในเด็กอายุไม่เกิน 7 ปี ไม่ต้องตรวจ สาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิเด็กและบุคคลท่ี สุขภาพ แต่ทั้งสามกลุ่มให้ซ้ือประกันสุขภาพ ในอัตราต่างกันตาม เรยี นอยใู่ นสถานศกึ ษาท่ีกระทรวงมหาดไทย (มท.) ได้ขน้ึ ทะเบยี น กลุ่ม โดยมีเลขประจำ� ตัว 13 หลัก เรียบรอ้ ยแล้ว จำ� นวน 3,042 คน ซึง่ จากการตรวจสอบแลว้ ไมซ่ ำ�้ ซอ้ นกบั กลมุ่ เปา้ หมายทไ่ี ดร้ บั สทิ ธติ าม 4. สิทธิในกองทุนทดแทนตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง มติคณะรัฐมนตรดี งั กลา่ ว ขอ้ มูลผ้มู สี ทิ ธิ ณ วันที่ 31 ตลุ าคม 2563 ผปู้ ระสบภยั จากรถ พ.ศ. 2535 เพือ่ ใหค้ วามคุม้ ครอง และให้ความ จ�ำนวน 540,567 คน (ข้อมูลจากเว็ปไซด์กองทุนบุคคลที่มีปัญหา ชว่ ยเหลอื แกผ่ ทู้ ป่ี ระสบภยั จากรถทกุ คน ไมว่ า่ จะไดร้ บั บาดเจบ็ หรอื สถานะและสิทธ)ิ เสียชีวิตเมื่อประสบภัยจากรถ โดยส่วนน้ีก็เพ่ือเป็นการช่วยเหลือ ผปู้ ระสบภยั ใหไ้ ดร้ บั การรกั ษาพยาบาลไดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งทกี รณที บ่ี าด 2. สิทธิในกองทุนประกันสังคม จัดตั้งข้ึนในปี 2553 เจบ็ หรอื เปน็ คา่ ปลงศพกรณที ผี่ ปู้ ระสบภยั เสยี ชวี ติ และ ยงั เปน็ หลกั รบั ผดิ ชอบงานกองทนุ ประกนั สงั คมและกองทนุ เงนิ ทดแทนสำ� หรบั ประกันให้แก่โรงพยาบาลวา่ จะไดร้ ับค่ารกั ษาพยาบาลในการรกั ษา คุ้มครองแรงงานที่มีสถานะเป็นลูกจ้าง ดูแลกองทุนโดยส�ำนักงาน ผปู้ ระสบภยั จากรถยนต์ รถจกั รยานยนต์ และพาหนะอน่ื ๆ ทสี่ ญั จร ประกนั สงั คม กระทรวงแรงงาน กรณที บ่ี คุ คลทง้ั ทม่ี สี ญั ชาตไิ ทยและ บนทางหลวงดว้ ย ทัง้ นกี้ ลมุ่ เปา้ หมายของเงินกองทนุ นี้ ไม่จ�ำกัดว่า ยังไม่มีสัญชาติไทย ประกอบอาชีพอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เป็นบุคคลสัญชาติไทยเท่าน้ัน แต่ครอบคลุมไปถึงบุคคลท่ีถือบัตร นายจ้างมีหน้าที่ต้องแจ้งกับส�ำนักงานประกันสังคมเพ่ือด�ำเนินการ ประจ�ำตัวทุกประเภทและบุคคลท่ีไม่มีเลขประจ�ำตัว 13 หลักที่ ส่งเงินและเข้าสู่ระบบประกันสังคม ผู้ประกันตนจะได้รับสิทธิ ประสบภยั จากรถ ประโยชนด์ า้ นบรกิ ารทางการแพทยแ์ ละเงนิ ทดแทนการขาดรายได้ หากตอ้ งหยดุ งานเนอื่ งจากประสบอันตรายหรืออุบัตเิ หตุที่เกดิ จาก 5. สิทธใิ นระบบเบิกจา่ ยตรงของกรมบญั ชกี ลาง กระทรวง การท�ำงาน หรือไม่ใช่จากการท�ำงาน คลอดบุตร ทุพพลภาพ การคลัง ดูแลสิทธิประโยชน์ด้านบริการทางการแพทย์และการ เสียชีวิต การสงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน ท้ังนี้ สิทธิ สาธารณสขุ ของขา้ ราชการ ลกู จา้ งประจำ� ผรู้ บั เบย้ี หวดั บำ� นาญ และ ประโยชนท์ ก่ี ลา่ วจะเกดิ ขนึ้ ไดต้ อ่ เมอื่ มกี ารจา่ ยเงนิ สบทบเขา้ กองทนุ บคุ คลในครอบครวั กรณตี วั อยา่ งของบคุ คลไรส้ ญั ชาตทิ ที่ รงสทิ ธใิ น ประกันสังคมหรือกองทุนเงินทดแทนแล้วตามเงื่อนเวลาท่ีก�ำหนด กองทนุ นี้ คอื บดิ ามารดาทม่ี บี ตุ รเปน็ ขา้ ราชการทงั้ ในสว่ นของระบบ แล้วแต่กรณี ซึ่งผู้ออกหรือจ่ายเงินสมทบ ได้แก่ นายจ้าง ลูกจ้าง จ่ายตรงของกรมบัญชีกลางและระบบขององค์การบริหารส่วน ผปู้ ระกันตนและรฐั บาล ท้องถ่ิน รวมถึงหญิงผู้ท่ียังไม่ได้สัญชาติไทยสมรสโดยจดทะเบียน สมรสกับชายสัญชาติไทยท่ีรับราชการ และย่ืนขอใช้สิทธิในระบบ 3. สิทธิในกองทุนผู้ประกันตนคนต่างด้าว ตามมติคณะ เบิกจ่ายตรงในฐานะบุคคลในครอบครัว แล้วได้รับการอนุมัติจาก รฐั มนตรี 15 มกราคม 2556 ทอี่ นมุ ัตใิ หก้ ระทรวงสาธารณสุขเปน็ กรมบญั ชีกลาง ท�ำให้สามารถใช้สทิ ธใิ นระบบเบิกจา่ ยตรงของกรม หน่วยงานหลักในการให้การดูลทางการแพทย์และการสาธารณสุข บญั ชีกลาง แก่คนต่างด้าวท้ังหมดทุกคนที่ไม่ได้อยู่ในระบบประกันสังคม กองทุนผู้ประกันตนคนต่างด้าวด�ำเนินการโดยกลุ่มประกันสุขภาพ ไมม่ ใี ครอยากใชส้ ทิ ธใิ นการหลกั ประกนั สขุ ภาพ เพราะไมม่ ี กระทรวงสาธารณสขุ กลมุ่ เปา้ หมายของกองทนุ นี้ แยกเปน็ สามสว่ น ใครอยากเจบ็ ปว่ ย” ในฐานะของผใู้ หบ้ รกิ ารหากยดึ หลกั การนี้ การ คอื (1) กลมุ่ แรงงานตา่ งดา้ วทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งรอสทิ ธปิ ระกนั สงั คม มเี ลข ดูแลมนุษย์ทุกคนท่ีเข้ารับการรักษาทางการแพทย์และรับการ ประจำ� ตวั ขนึ้ ตน้ ดว้ ย เลข 00 (2) กลมุ่ คนตา่ งดา้ วทวั่ ไปทอ่ี าจเขา้ มา บรกิ ารทางการสาธารณสขุ คงไมใ่ ชเ่ รอ่ื งยากทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ อ่ กนั อยา่ ง ประกอบอาชีพตามฤดูกาล หรือติดตามแรงงานต่างด้าว รวมถึง เทา่ เทยี ม บคุ คลทไี่ ม่มีเลขประจ�ำตวั 13 หลกั และ (3) กลมุ่ เดก็ ตา่ งดา้ วอายุ 17

บทความพิเศษ เรอ่ื งและภาพ : พรเพ็ญ คงขจรเกยี รติ ผ้อู ำ�นวยการมูลนธิ ิผสานวฒั นธรรม แก่งกระจาน มรดกโลกทางธรรมชาติ กับศักด์ิศรคี วามเป็ นมนษุ ย์ ของชนพ้ืนเมืองชาวกะเหร่ียง 18

หลายคนถ้าไม่ได้ติดตามเรื่องราวเกี่ยวกับปู่โคอ้ีและ การเมอื งดใี นภาษาดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนนนั้ คอื การไดร้ บั บิลล่ี คงจะมีความสงสัยไม่น้อยว่า ทำ�ไมหมู่บ้านกะเหร่ียง การคุ้มครองปกป้องสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เล็กๆ ในป่าใหญ่แก่งกระจานจึงเป็นท่ีสนใจของประชาคม ประชาชนในรัฐนั้นจะไม่ถูกทรมานอุ้มหาย ไม่ถูกบังคับไล่รื้อ ระหว่างประเทศติดต่อกันมากกว่า 7 ปี ล่าสุดองค์การ หรือบงั คบั อพยพ ตอ้ งมีการปรึกษาหารือและได้รบั คำ� ยนิ ยอม สหประชาชาติ พี่ใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชนหรือที่เรียกกันว่า ผู้กระท�ำผิดไม่ว่าจะเป็นเอกชนหรือคนของรัฐก็ต้องเข้าสู่ “ยเู อน็ ” ไดแ้ สดงความหว่ งกงั วลตอ่ สถานการณช์ นพนื้ เมอื ง กระบวนการยุติธรรม ไม่ใช่พ้นผิดลอยนวล ผู้เสียหายต้องได้ ชาวกะเหรี่ยงและการดำ�เนินการของรัฐบาลไทยเพ่ือเร่งรัด รับการเยยี วยาชดเชยใหก้ ลบั คืนส่สู ภาพเดมิ ใหพ้ ื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาตแิ กง่ กระจานประกาศเป็นมรดกโลก สวัสดิการท่ีดีนั้นหมายถึง รัฐเคารพหลักการด้านสิทธิ โดยเมอ่ื วนั ท่ี 24 พฤศจกิ ายน 2563 นาย Yanduan มนษุ ยชนทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม สนบั สนนุ ให้ Li ในฐานะประธานคณะกรรมการว่าด้วยเร่ืองการขจัด รฐั จดั หาสงิ่ จำ� เปน็ ตอ่ ชวี ติ และการดำ� รงชวี ติ ตามวถิ ขี องตนดว้ ย การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติแห่งองค์การสหประชาชาติ การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ส�ำหรับชนเผ่าพ้ืนเมืองใน (Chair of Committee on the Elimination of เขตขุนเขาทด่ี ินผืนปา่ หรอื ชวี ิต หากจะกลา่ วถึงสวสั ดิการของ Racial Discrimination) ได้ส่งหนังสือแสดงความ รฐั ตอ่ ชนเผา่ พนื้ เมอื งคอื การไมต่ อ้ งทำ� อะไร วถิ ชี นเผา่ พนื้ เมอื ง ห่วงใยต่อสถานการณ์ละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อชนพื้นเมือง มกี ารจดั การทรพั ยากร การหาอยหู่ ากนิ โดยวธิ ดี ง้ั เดมิ ทรี่ ัฐชาติ ชาวกะเหร่ียงในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน โดยส่ง ท่ีเกดิ ขึ้นใหม่ตอ้ งเคารพ การรบกวนการดำ� รงชีวิตของชนเผา่ จดหมายถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศผ่าน พ้ืนเมืองเช่นการประกาศอุทยานแห่งชาติทับพ้ืนท่ีบรรพบุรุษ มาทางผแู้ ทนไทยประจำ�กรงุ เจนวี า ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ถ้าการเมืองดีรัฐก็จะมีสวัสดิการที่ดีให้กับพลเมืองของ เขาโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นกับชน พน้ื เมอื งชาวกะเหรย่ี งแกง่ กระจาน เจ้าของตน้ นำ้� เพชรบุรกี จ็ ะ ได้รับการเยียวยาแก้ไขไปต้ังแต่ปีแรกท่ีเราได้รับทราบว่ามี ขา้ ราชการผู้ใหญ่ในฐานะหัวหน้าอทุ ยานแหง่ ชาติแกง่ กระจาน ในปี 2554 ไดเ้ ผาทำ� ลายบา้ นและยงุ้ ฉางขา้ วไรข่ องชาวบา้ น ซง่ึ มีผนู้ ำ� จิตวิญญาณอายุกว่า 100 ปนี ามป่โู คอ้ี มมิ ี้ เป็นผู้นำ� ที่ไม่ อาจทัดท้านการบังคับ ต้องอพยลงมาตั้งบ้านเรือนและท�ำกิน ในท่ีดินผืนใหม่ท่ีเขาไม่คุ้นเคย และในไม่ก่ีปีต่อมาปี 2557 บิลล่ี พอละจี รักจงเจริญลูกหลานของกะเหรี่ยงต้นน้�ำเพชร ท่ีมีบันทึกประวัติศาสตร์ยอมรับว่าเขาต้ังรกรากอยู่ที่นั้นมา ต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ 5 กลับถูกอุ้มหายไปกลางป่าหลังจากถูก ข้าราชการคนเดิมนั้นจับกุมแล้วไม่เคยได้รับการปล่อยตัว ปจั จบุ นั ยงั ไมท่ ราบชะตากรรมวา่ จะเปน็ บคุ คลเดยี วกบั ชนิ้ สว่ น ของร่างกายมนุษย์ที่พบในบริเวณพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติแก่ง กระจานเม่อื ปี 2562 หรือไม่ ขอบคณุ ภาพ โดย พฤ โอโดเชา 19

โดยไม่ปรึกษาหาหรือขอค�ำยินยอม การบังคับใช้กฎหมาย ในวันที่ 16 ธันวาคม 2563 ที่ผ่านมา ในงานเสวนา บ้านเมืองท่ีเป็นการคุกคามการถือครองที่ดินตามวิธีด้ังเดิม “โค้งสุดท้ายกลุ่มป่าแก่งกระจานสู่มรดกโลก” ที่จัดขึ้นท่ี เปน็ การละเมิดสทิ ธมิ นุษยชนขน้ั พ้นื ฐาน การบังคบั ใชน้ โยบาย อ.หนองหญ้าปล้อง จ.เพชรบุรี ชาวบ้านกะเหรี่ยงบางกลอย ทวงคืนผืนป่าโดยรัฐบาลเผด็จการ ท�ำให้ชาวบ้านรวมทั้งชาว แกง่ กระจาน จ.เพชรบุรี และชาวบ้านกลุ่มผืนป่าแกง่ กระจาน กะเหรย่ี งแกง่ กระจานตดิ คกุ เพยี งเพราะเกดิ เปน็ คนกะเหรยี่ งใน จ.ประจวบคีรีขันธ์ จ. เพชรบุรี และจ.ราชบุรี ชาวบ้านหญิง พ้ืนที่อุทยาน กะเหรยี่ งรายหนง่ึ ไดส้ ะทอ้ นวา่ “พวกเราผดิ ดว้ ยเหรอทท่ี ำ� ตาม คงไม่ต้องพูดถึงความสัมพันธ์กันของสิทธิมนุษยชนข้ัน วถิ ชี วี ติ ของเรา เราทำ� ไรห่ มนุ เวยี นมาเปน็ รอ้ ยสองรอ้ ยปี ถา้ ผดิ พื้นฐานในรูปแบบต่างๆ เช่นเมื่อไม่มีที่ท�ำกิน ไม่มีท่ีอยู่อาศัย ก็ผดิ ตัง้ แต่รุ่นพอ่ รุ่นแม่ตง้ั แต่เกดิ มาเปน็ กะเหรยี่ ง แต่มาจับเรา ไม่มีอาหารท่ีดี ในโลกสมัยใหม่ก็จะท�ำให้ไม่มีอาชีพ ไม่มีการ เพราะเราเป็นกะเหร่ียงหรอ” น้�ำเสียงน้อยใจของสาวชาว ศึกษา ไม่มโี อกาสลงคะแนนเสยี ง ไม่มีโอกาสเปน็ นกั การเมอื ง กะเหรี่ยงสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนว่าสวัสดิการความเป็น สมาชิกพรรค ยังคงมีชาวกะเหรี่ยงแก่งกระจานดั้งเดิมท่ีไม่มี มนุษย์ของชนพ้ืนเมืองชาวกะเหร่ียงได้ขาดหายไปน้ัน สัญชาตไิ ทย ปู่โคอีเ้ องอายุ 107 ปี ปจั จบุ ันเสยี ชวี ิตแลว้ เพง่ิ จะ หมายความว่ารัฐไทยไม่ได้ท�ำหน้าที่ปกป้องคุ้มครองส่งเสริม ไดร้ บั บตั รประจำ� ตวั ประชาชนตอนอายุ 105 ปี ทงั้ ทปี่ เู่ คยบอก สิทธิของชนเผ่าพ้ืนเมืองชาวกะเหรี่ยงอย่างท่ีควรจะเป็นและ กับพวกเราว่า “น้�ำนมหยดแรกที่ได้ก็ได้รับจากใจแผ่นดินผืน ทตี่ กลงไวก้ บั ประชาคมโลก นั้น” สทิ ธิในทด่ี นิ ของไทยผกู ติดกบั สัญชาติ ท่ีดนิ ทกุ ตารางน้วิ นอกจากน้ีในเวทียังได้ร่วมกันสะท้อนผลกระทบจาก ถ้าไม่มีโฉนดท่ีดินรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งท่ีรัฐออกให้เพ่ือแสดง การประกาศใหอ้ ทุ ยานแหง่ ชาตแิ กง่ กระจานเปน็ มรดกโลกทาง ความเป็นเจ้าของโดยเอกชนที่มีสัญชาติไทยแล้วทุกผืนที่ก็ ธรรมชาติ โดยข้อเสนอของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ตกเปน็ ของรฐั ตามกฎหมาย สวสั ดกิ ารของรฐั สว่ นนจี้ งึ เปน็ สง่ิ ที่ สิ่งแวดล้อมนั้นไม่ได้เสนอในแผนการคุ้มครองเรื่องชนเผ่า ชนเผา่ พ้นื เมืองในประเทศไทยเออ้ื มไมถ่ งึ พ้ืนเมืองที่อาศัยดงั้ เดมิ เป็นชมุ ชนด้ังเดิม แผนการนำ� เสนอของ 20

“ เ ร า ไ ม ่ ไ ด ้ โ อ ก า ส พู ด เ อ ก ส า ร ข ้ อ มู ล ก็ เ ป ็ น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ พวกเราไม่เข้าใจ พ ว ก เ ร า ไ ม ่ ไ ด ้ คั ด ค ้ า น เ รื่ อ ง ม ร ด ก โ ล ก แต่อยากมีส่วนรวมในการตัดสินใจ” ชาวบ้านบางกลอยกล่าวถึงการลงพ้นื ที่ของคณะทตู ประเทศต่างๆ เมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2563 ในงานเสวนา “โค้งสดุ ทา้ ยกลุ่มปา่ แกง่ กระจานสู่มรดกโลก” จดั ข้นึ ท่ี อ.หนองหญา้ ปล้อง จ.เพชรบุรี เมือ่ วันท่ี 16 ธนั วาคม 2563 รฐั ไทยมแี ตพ่ ชื พนั ธแ์ุ ละสตั วป์ า่ สนั นำ�้ สนั เขา ทไี่ มไ่ ดร้ วมมนษุ ย์ มูลนิธิผสานวัฒนธรรมมีความเห็นว่า ในขณะนี้มีความ มีข้อสรุปว่าจะย่ืนหนังสือต่อคณะกรรมการมรดกโลกผ่าน พยายามของทางกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม สหภาพระหว่างประเทศเพอ่ื การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ซงึ่ ทจี่ ะเรง่ รดั ใหม้ กี ารรบั รองใหพ้ นื้ ทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาตแิ กง่ กระจาน เป็นท่ีปรึกษาของคณะกรรมการพิจารณาการขอข้ึนทะเบียน เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ จนอาจท�ำให้มาตรการต่างๆ ท่ี พ้ืนที่มรดกโลก (UNESCO) เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลไทยแก้ ด�ำเนินการอยู่นั้นขัดกับหลักการด้านสิทธิมนุษยชนท่ีส�ำคัญ ปัญหาของชุมชนดั้งเดิมของชาวกะเหร่ียงในพ้ืนที่ป่าก่อน คือการไม่เลือกปฏิบัติทางเช้ือชาติ ไม่เคารพต่อพันธกรณีที่ เดนิ หนา้ ขนึ้ ทะเบยี นอทุ ยานแหง่ ชาตแิ กง่ กระจานเปน็ มรดกโลก ประเทศไทยได้ให้การรับรองไว้กับองค์การสหประชาชาติ ทางธรรมชาติ ยนื ยนั ข้อเสนอสามข้อคอื 1) ขอใหแ้ ก้ไขปญั หา ดังนั้นข้อกังวลของคณะกรรมการฯ ก่อนหน้านี้เก่ียวกับการ ทดี่ นิ ทำ� กนิ 2) ชาวบา้ นบางกลอยขอกลบั ไปทำ� ไรห่ มนุ เวยี นตาม บังคับขับไล่ชนพื้นเมืองกะเหรี่ยง การคุกคามต่อพวกเขาและ วิถีดั้งเดิมซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีได้รับการยอมรับจาก ความล้มเหลวในการให้ค�ำปรึกษาอย่างเพียงพอโดยมี รัฐบาลไทยตามมตคิ ณะรัฐมนตรี 3) ยุตกิ ารจบั กมุ และดำ� เนนิ จดุ ประสงคเ์ พอ่ื แจง้ ลว่ งหนา้ และแจง้ ใหท้ ราบความยนิ ยอมและ คดที ี่ดนิ ต่อชาวบา้ น ด�ำเนินการตามมติคณะรฐั มนตรีวนั ที่ 3 สิงหาคม 2553 เร่ือง ตลอดระยะเวลาหนึ่งปีท่ีผ่านมาในปี 2563 เราได้ยิน การอนุรักษ์การด�ำรงชีวิตของชาวกะเหร่ียง จึงยังไม่ได้รับการ และได้ฟังเร่ืองราวของความพยายามในการส่ือสารของทาง แก้ไข กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กระทง่ั เมอื่ เดอื น ในจดหมายฉบับล่าสุดของคณะกรรมการว่าด้วยการ พฤศจิกายน 2563 ชาวบ้านโป่งลึก-บางกลอยสะท้อนว่า ขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติขององค์การสหประชาชาติ อุทยานฯ นำ� ชาวตา่ งชาตกิ ลุ่มใหญล่ งพน้ื ทแี่ ก่งกระจานโดยไม่ ฉบับลงวันท่ี 24 พฤศจกิ ายน 2563 ไดก้ ล่าวถงึ จดหมายฉบับ ได้ให้ชาวบ้านมีส่วนรวมในการลงพ้ืนที่ ความพยายามของรัฐ แล้วฉบับเล่าท่ีทางรัฐบาลไทยได้รับจากยูเอ็นให้ตอบค�ำถาม ไทยในการนำ� เสนอสว่ นดๆี ของการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และยนื ยนั กบั ทางองคก์ ารสหประชาชาตวิ า่ การดำ� เนนิ การใดๆ ให้กับโลกใบนี้อาจจะเป็นเพียงแค่ใบบัวท่ีพยายามจะปิดศพ กับชาวกะเหร่ียงแห่งผืนป่าแก่งกระจานนั้นจะไม่มีการเลือก ช้างตวั ใหญท่ ง้ั ตัวท่ปี ดิ เทา่ ไรก็ไมม่ ิด ปฏิบัติทางเชื้อชาติใดๆ ค�ำตอบของรัฐบาลฉบับแล้วฉบับเล่า 21

กไ็ มส่ ามารถลดความกงั วลใจของยเู อน็ ได้ เหตใุ ดจงึ เปน็ เชน่ นนั้ จดหมายฉบับน้ตี อกย�้ำความกงั วลใจ ไวด้ ังนี้ “ขออ้างถึงหนังสือตอบของท่านท่ีเราได้รับเม่ือ 22 พฤศจิกายน 2562 ซ่ึงมีข้อมูลตอบมายังจดหมายของคณะ กรรมการวา่ ดว้ ยเรอื่ งการขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอ้ื ชาตแิ หง่ องค์การสหประชาชาติ (UN Committee on elimination of racial discrimination-CERD Committee) เม่ือวนั ที่ 29 สงิ หาคม 2562 จดหมายของคณะกรรมการฯ ภายใตม้ าตรการ เตือนภัยล่วงหน้าและข้ันตอนการด�ำเนินการเร่งด่วนเก่ียวกับ สถานการณ์ของชนพ้ืนเมืองในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน (“KKNP”) ในประเทศไทย จดหมายของคณะกรรมการฯ ส่งหลังจากที่ได้ส่ง จดหมายฉบับก่อนหน้าน้ีลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2560, วันท่ี 3 ตุลาคม 2559 และวนั ที่ 9 มีนาคม 2555 และฝา่ ยรัฐบาล ไทยได้ตอบกลับเปน็ จดหมายลงวันท่ี 24 เมษายน 2562 และ วนั ที่ 9 มกราคม 2560 ในปี 2555 คณะกรรมการได้แสดงความกงั วลเกย่ี วกับ ข้อกล่าวหาเร่ืองการบังคับขับไล่และการคุกคาม รวมท้ัง รายงานการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อชนพื้นเมืองอย่างต่อเนื่อง และเพมิ่ ขนึ้ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน คณะกรรมการฯ ขอขอบคณุ รฐั บาลไทยสำ� หรบั การตอบ จดหมายกลับเม่ือวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2562 ซ่ึงเป็นการ ในปี 2559 คณะกรรมการฯ ขอให้รฐั ภาคยี ตุ กิ ารขับไล่ ตอบกลบั จดหมายของคณะกรรมการฯวนั ที่ 29 สงิ หาคม 2562 โดยทันทีต่อชนพ้ืนเมืองชาวกะเหร่ียงในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ โดยจะรับทราบข้อมูลเพิ่มเติมท่ีรัฐบาลของคุณให้ไว้เกี่ยวกับ แกง่ กระจาน และดำ� เนนิ การเพอื่ ป้องกันใดๆ ภัยอนั ตรายที่ไม่ สถานการณ์ของชนพื้นเมืองในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติแก่ง สามารถแก้ไขได้ต่อการด�ำรงชีวิตของชาวกะเหรี่ยงรวมทั้งเพ่ือ กระจาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เกี่ยวกับ ใหแ้ นใ่ จวา่ พวกเขามคี วามปลอดภยั รวมถงึ การดำ� เนนิ การตาม บทบัญญตั ทิ เ่ี กี่ยวขอ้ งของรัฐธรรมนญู ของไทย 1. การจัดตั้งคณะอนุกรรมการในการจัดการให้พ้ืนท่ี อทุ ยานแหง่ ชาติแกง่ กระจานเปน็ มรดกโลก ในปี 2560 คณะกรรมการไดย้ �้ำถึงข้อกงั วลก่อนหนา้ นี้ เกี่ยวกับการบังคับขับไล่ชนพื้นเมืองกะเหรี่ยง การคุกคามต่อ 2. การสำ� รวจทจ่ี ะดำ� เนนิ การโดยคณะอนกุ รรมการฯ พวกเขาและความล้มเหลวในการให้ค�ำปรึกษาอย่างเพียงพอ 3. ความคิดเห็นของชุมชนท้องถิ่นเก่ียวกับการเสนอ โดยมีจุดประสงค์เพื่อแจ้งล่วงหน้าและแจ้งให้ทราบความ ยินยอมและด�ำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 3 สิงหาคม ช่ือพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานเป็นมรดก 2553 เรือ่ งการอนุรักษก์ ารด�ำรงชวี ิตของชาวกะเหรีย่ ง โลก 4. รายงานการสำ� รวจการครอบครองทด่ี นิ ในพนื้ ทปี่ า่ สงวนและตกลงการใชท้ ดี่ นิ ในตามพระราชบญั ญตั ิ 22

ต้นทุนเรียน คนกะเหรี่ยงปลูกไว้ที่บ้านใจแผ่นดิน ผืนป่าแก่งกระจาน สำ�แดงให้รู้ว่ากะเหร่ียงอยู่ที่ผืน ป่าน้ีนานแลว้ ต้นอายุขนาดนี้ยังมีอยู่ท่ีบ้านกะเหร่ียงบ้านสวน ทเุ รยี น อ.สามรอ้ ยยอด จ.ประจวบครี ีขันธ์ ตอกยำ้� วา่ กะเหร่ียงอยู่ท่ีนี่มานานแลว้ ลองสำ�รวจดูต้นทะเรียนอายุขนาดน้ีในพ้ืนที่ราบใน เขต จ.ราชบุรี เพชรรี ประจวบฯ ที่คนพนื้ ราบอาศยั อยยู่ งั คงมไี หม ถา้ มหี รอื ไมม่ ี สะทอ้ นภาพอธบิ ายอะไร ของคน พ้นื ที่ ทุเรยี น ในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว (ร.4) ระหว่างปีพ.ศ. 2407-2411 สยามและ อังกฤษเริ่มสำ�รวจแนวเขตแดนในบนั ทกึ กลา่ วถงึ \"ต้นน�้ำเพชร มีกะเหร่ียง ละว้าอาศยั อยู่ ทำ�ไม้ฝาง\" ทม่ี า Facebook อาจารยว์ ฒุ ิ บญุ เลศิ (Wut Boonlert) 23

อทุ ยานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) และสว่ น กระจานเป็นมรดกโลก ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ อนรุ กั ษส์ ตั วป์ า่ และการคมุ้ ครอง (พ.ศ. 2562) พระ หลังจากการส�ำรวจการครอบครองท่ีดินในพ้ืนที่ ราชบญั ญัติ พ.ศ. 2562; ง) มาตรการและแนวทาง ปา่ อนรุ กั ษแ์ ละมาตรการทเี่ ปน็ รปู ธรรมทใ่ี ชใ้ นการ ที่ระบุเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ ทำ� ขอ้ ตกลงเกยี่ วกับการใช้ทดี่ ิน ตลอดจนตวั อย่าง และการครอบครองที่ดินโดยกระบวนการมี ของข้อตกลงและวิธีท่ีชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน ส่วนร่วม กระบวนการตัดสินใจดังกลา่ ว 5. การสอบสวนเกี่ยวกับการบังคับให้สูญหายของ 5. มาตรการทเ่ี ปน็ รปู ธรรมทนี่ ำ� มาใชแ้ ละผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ นายพอละจี รักจงเจริญ และ รับเพ่ือส่งเสริมวิถีชีวิตด้ังเดิมของชุมชนกะเหรี่ยง 6. ค�ำตัดสินของศาลปกครองสูงสุดเมื่อวันที่12 และผลลัพธ์ มิถุนายน 2562 อนุญาตให้จ่ายเงินชดเชยค่า 6. มาตรการและแนวทางเฉพาะที่ระบุไว้เพ่ือแก้ไข เสยี หายใหแ้ ก่โจทก์ชาวกะเหรย่ี งทัง้ หกคน ปัญหาการบุกรุกพื้นท่ีป่าอนุรักษ์และการครอบ ครองทดี่ นิ และผลลพั ธข์ องกระบวนการมสี ว่ นรว่ ม อยา่ งไรกต็ ามคณะกรรมการตง้ั ขอ้ สงั เกตวา่ คำ� ตอบของ ทอ่ี อกแบบมาเพอื่ เหตุการณ์น้ี รฐั ภาคไี มไ่ ดก้ ลา่ วถงึ ประเดน็ ปญั หาทง้ั หมดทรี่ ะบไุ วใ้ นจดหมาย ฉบบั กอ่ นหนา้ ของวนั ที่ 29 สงิ หาคม 2562 และ 17 พฤษภาคม ตามมาตรา 9 (1) ของอนุสัญญาและมาตรา 65 ของ 2560 แม้ว่าจะได้รับข้อมูล แต่คณะกรรมการก็ยังย้�ำถึงข้อ กฎระเบียบการปฏิบัติงานคณะกรรมการจะขอบคุณท่ีได้รับ กังวลก่อนหน้าน้ีและขอให้รัฐภาคีจัดหาข้อมูลเพิ่มเติมและ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ประเดน็ และขอ้ กงั วลทง้ั หมดตามทรี่ ะบไุ วข้ า้ งตน้ รายละเอยี ดเก่ยี วกับประเดน็ ต่อไปนี้ คณะกรรมการจะพจิ ารณาคำ� ตอบดงั กลา่ วในระหวา่ งการเจรจา 1. การจัดตั้งและด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติ กับรฐั ภาคใี นบรบิ ทของการทบทวนเปน็ ระยะ ป่าชุมชนที่ประกาศใช้เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ขอใหร้ ฐั บาลไทยยำ�้ ถงึ ความประสงคข์ องคณะกรรมการ 2562 ตามที่อ้างถึงในจดหมายของรัฐภาคี วันท่ี ที่จะด�ำเนินการเจรจากับรัฐบาลไทยต่อไปเพื่อให้ม่ันใจว่า 24 เมษายน 2562 การปฏบิ ัติตามอนุสญั ญาจะมีประสทิ ธิผล” 2. มาตรการที่ใช้ในการตรวจสอบการคุกคามต่อ ชนพื้นเมืองชาวกะเหร่ียงในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ ไม่ว่าค�ำตอบของรัฐบาลไทยท่ีจะส่งให้กับยูเอ็นจะมี แกง่ กระจาน, ความตอ่ เนอ่ื งและการสบื สวนทเ่ี สรจ็ เนอื้ หาขอ้ ความอยา่ งไร เมอื่ ไร แลว้ รฐั บาลไทยจะประสบความ สมบูรณ,์ ผลของขั้นตอนการสบื สวนดงั กล่าว การ สำ� เรจ็ ในการขอขนึ้ ทะเบยี นอทุ ยานแกง่ กระจานมรดกโลกทาง ลงโทษต่อผู้ท่ีรับผิดชอบ, และการชดใช้ให้กับผู้ที่ ธรรมชาติให้เป็นหน้าเป็นตาของประเทศไทยต่อสายตาโลก ถกู ละเมิดสิทธิมนษุ ยชนและถูกคกุ คาม หรือไม่น้ัน ย่อมขึ้นกับว่ารัฐไทยมีความจริงใจในการยอมรับ 3. มาตรการทใี่ ชเ้ พอ่ื ปกปอ้ งนกั ปกปอ้ งสทิ ธมิ นษุ ยชน ศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ยข์ องชนพนื้ เมอื งชาวกะเหรยี่ งใหช้ าวโลก ของชนพื้นเมืองรวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ ให้เห็นเป็นประจักษ์ได้มากกว่าแค่จดหมายตอบภาษาอังกฤษ คมุ้ ครองพยานและการดำ� เนนิ การทเ่ี ก่ียวข้อง ที่สวยหรเู หมือนหลายๆ ฉบับท่ผี ่านๆ มาไดห้ รือไม?่ 4. ผลการส�ำรวจความคิดเห็นของชุมชนในพ้ืนท่ี เกี่ยวกับการเสนอชื่อพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติแก่ง 24

มุสลิมเชียงใหม่ ทางทเ่ี ปล่ียน วถิ ที ่ีเป็น เรื่องและภาพ : อัสรี มาหะมะ ไอศรู ย์ คำ�พนั ธ์ภัทร ในเดอื นธนั วาคม 2562 ประเทศจนี ประกาศว่าพบผตู้ ิดเชือ้ COVID-19 ที่ ผลกระทบ เมืองอู่ฮ่นั มณฑลหเู ป่ย ประเทศจีน จากนน้ั การแพรร่ ะบาดกระจายไปในหลายพนื้ ท่ี และการปรับตวั ไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ุ หม่ 2019 หรอื COVID-19 ทำ�ใหผ้ ปู้ ว่ ยมอี าการปอดอกั เสบ ในสถานการณ์ รุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ โดยท่ีเช้ือไวรัสตัวน้ีสามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนผ่าน การระบาดของ การไอ จาม หรือสัมผัสกับสารคัดหลั่งของผู้ป่วย ทีมนักวิจัยสันนิษฐานว่าตัวน่ิม โควดิ -19 หรอื ลนิ่ สตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนมทถ่ี กู ลกั ลอบลา่ เพอ่ื นำ�สง่ ขายในตลาดสตั วป์ า่ มากทส่ี ดุ ในประเทศจีน อาจเปน็ พาหะนำ�เชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุใหม่ 2019 จากคา้ งคาวมา 25 สู่คน เน่ืองจากตัวนิ่มอาจได้รับเช้ือไวรัสจากการสูดหายใจมูลค้างคาวท่ีตกตาม พ้นื ดิน ขณะทม่ี ันกำ�ลังใชล้ น้ิ ตวดั กินมดและแมลง ในปัจจุบันมียอดผู้เสียชีวิตทั่วโลกรวมราวๆ 747,239 คน และผู้ติดเชื้อรวมท่ัว โลกอยทู่ ่ี 20,593,604 คน ทำ� ใหห้ ลายประเทศมมี าตรการควบคมุ ไมใ่ หเ้ ชอื้ แพรก่ ระจาย โดยการเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม ทำ� ใหป้ ระชาชนตอ้ งเปลย่ี นวธิ กี ารทำ� งานและการใชช้ วี ติ บางบริษัทปรับตัวโดยการลดพนักงาน หรือให้พนักงานท�ำงานท่ีบ้าน บางบริษัทก็ต้อง ปดิ ตวั ลงเพราะรับภาระค่าใชจ้ ่ายไม่ไหว ท�ำใหเ้ ศรษฐกจิ ทัว่ โลกหยดุ ชะงัก และยังส่งผล กระทบตอ่ ชีวิตประจำ� วันของประชาชน ไม่ว่าจะเป็นการปดิ เมืองห้ามคนเข้าออก หรอื

หากเดินทางมาจากต่างประเทศจะต้องกักตัว 14 วัน ท�ำให้ สว่ นในประเทศไทยพบโรค COVID-19 ครงั้ แรกในวนั ท่ี ประชาชนสว่ นใหญต่ อ้ งอยแู่ ตใ่ นบา้ น สง่ ผลตอ่ สภาพคลอ่ งของ 12 มกราคม 2563 โดยกระทรวงสาธารณสุข ยืนยันว่าพบผู้ เศรษฐกิจโดยรวมในประเทศไทย ซ่ึงงานวิจัยของกรุงศรีได้ ปว่ ยตดิ เชอ้ื COIVD-19 ในประเทศเปน็ ครง้ั แรก ซงึ่ ผตู้ ดิ เชอื้ คอื ประเมนิ ผลกระทบของโรคระบาดไวรสั COVID-19 วา่ จะทำ� ให้ นกั ทอ่ งเทย่ี วหญงิ ชาวจนี อายุ 61 ปที เี่ ดนิ ทางมาจากเมอื งอฮู่ น่ั เศรษฐกจิ โลกหดตัว 3.2% และเศรษฐกิจอาเซียนจะลดลงราว ต่อมาทางรัฐบาลไทยได้เริ่มใช้มาตรการล็อกดาวน์ในวันที่ 26 2.1-5.4% จากสถานการณป์ กติ หากมีการบังคับใชม้ าตรการ มนี าคม 2563 ก่อนท่ีจะมกี ารคลายลอ็ กในวนั ที่ 3 พฤษภาคม ล็อกดาวน์ 2 เดือน โดยประเทศไทยจะได้รับผลกระทบมาก 2563 ท่สี ดุ ในบรรดาประเทศสมาชกิ อาเซียน จากการท่นี ักท่องเทีย่ ว คาดวา่ จะลดลง 60% จากปที แี่ ลว้ การขาดตอนของหว่ งโซก่ าร จากกรณขี า้ งตน้ มสุ ลมิ กเ็ ปน็ กลมุ่ หนงึ่ ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ ผลิตท้ังในและต่างประเทศ และผลของการระบาดท�ำให้การ เช่นกัน เช่น การไม่สามารถไปละหมาดวันศุกร์ท่ีมัสยิดได้ เติบโตของเศรษฐกิจไทยในปีน้ีอาจหดตัว 5.4% จากกรณีท่ี และในระหว่างการล็อกดาวน์ยังตรงกับเดือนรอมฎอนท่ีชาว ไมม่ โี รคระบาด1 มุสลิมต้องถือศีลอดอีกด้วย โดยชาวมุสลิมจะรับข่าวสารจาก จุฬาราชมนตรีเป็นหลัก โดยเน้ือหาจะชี้แจงเก่ียวกับแนวทาง 1 วจิ ยั กรงุ ศรี บทวเิ คราะห์ Research Intelligence เดอื นเมษายน ในหวั ขอ้ Covid-19 Impact ปฏิบัตขิ องศาสนาที่เปล่ียนแปลงไปจากสถานการณ์ปกติ on the Thai Economy and Vulnerability of Thai Firms หนา้ 4 เมื่อหันมาดูผลกระทบต่อการระบาดของไวรัส 2 ฉัตรมงคล มูลนิลตา “ร้านน้�ำชา” : พื้นท่ีแสดงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของมุสลิมพม่าภายใต้ COVID-19 ในพื้นท่ีเล็กของกลุ่มมุสลิมในชุมชนช้างคลาน สภาวะการเปน็ ชายขอบ กรณศี กึ ษา ชมุ ชนชา้ งคลาน จงั หวดั เชยี งใหม,่ (วทิ ยานพิ นธศ์ ลิ ปศาสตรบณั ฑติ , จังหวัดเชียงใหม่แลว้ ชุมชนมสุ ลิมช้างคลานเป็นชุมชนท่กี ่อต้ัง สาขาวิชาเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ศกึ ษาคณะศิลปะศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, 2559) หน้า 2 ขน้ึ โดยกลมุ่ ชาวอนิ เดยี ทเี่ ขา้ มาตง้ั รกรากในจงั หวดั เชยี งใหมเ่ มอื่ ราว 150 ปีท่ีแล้ว ชุมชนช้างคลานเป็นชุมชนท่ีมีความหลาก หลายทางเช้ือชาติท่ีส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม อยู่ร่วมกัน ผา่ นพ้นื ท่รี อบๆ มัสยิด ท�ำใหอ้ ตั ลักษณข์ องชมุ ชนค่อนขา้ งเดน่ ไปในดา้ นศาสนา ชมุ ชนมสุ ลมิ ชา้ งคลานประกอบไปดว้ ย มสุ ลมิ เชื้อสายเอเชียใต้ (ปากีสถาน บังคลาเทศ อินเดีย) มุสลิมเชื้อ สายจีนฮ่อ มุสลิมเชื้อสายปาทาน และมุสลิมเช้ือสายพม่า2 ใน ส่วนของการปฏิบัติตามหลักศาสนาจะเหมือนกันหมดส�ำหรับ มุสลิมในประเทศไทย เช่น การถือศีลอด การไปประกอบพิธี ฮจั ญท์ นี่ ครเมกกะ การละหมาด การออกทานบงั คบั หรอื ซะกาต เปน็ ตน้ โดยในสังคมมุสลิมจะมีวิถีชีวิตสัมพันธ์กับ 2 พ้ืนท่ี สาธารณะหลกั คอื 1. มสั ยดิ 2.รา้ นนำ�้ ชา โดยชาวมสุ ลมิ จะถอื วา่ มัสยิดเป็นศูนย์รวมของจิตใจ เป็นสถานท่ีรวมตัวกัน ในทุกวัน ศกุ รช์ าวมุสลมิ ประมาณ 200-300 คนมาทำ� การละหมาดรวม กันท่ีมสั ยดิ (ญุมอะห)์ มีการแสดงธรรม (คุตบะฮฺ) อนั เปน็ การ อบรมสั่งสอนให้เป็นการเตือนใจ และเป็นการพบปะระหว่าง 26

คนในชุมชน นอกจากมัสยิดแล้วชาวมุสลิมมักจะใช้ร้านน�้ำชา มนี าคม รฐั บาลไดจ้ ดั ตงั้ ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด เปน็ สถานท่นี ง่ั พกั ผอ่ น พบปะสงั สรรค์ ทำ� หนา้ ที่คล้ายกับรา้ น ของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 เพ่ือเข้ามาควบคุมและดูแล เหล้าในสังคมท่ัวไป มีความส�ำคัญในฐานะของการเป็นพื้นท่ี เหตุการณ์ ก่อนที่ในวันที่ 15 มีนาคม ได้พบจ�ำนวนผู้ติดเช้ือ แห่งการสรา้ งปฏสิ ัมพนั ธท์ างสงั คมระหว่างคนในชมุ ชน ในประเทศเกิน 100 คน จากเหตุการณ์ข้างต้นส่งผลให้ ในช่วงที่มีมาตรการล็อกดาวน์จากสถานการณ์การ กรุงเทพมหานครเป็นพ้ืนท่ีเส่ียงจึงท�ำให้มีการส่ังปิดห้างสรรพ ระบาดของ COVID-19 ได้สร้างผลกระทบต่อการใช้ชีวิต สินค้าและร้านค้าต่างๆ ประชาชนเริ่มเดินทางกลับภูมิล�ำเนา ประจ�ำวนั การประกอบพิธกี รรมทางศาสนา และกจิ กรรมทาง ของตนเอง ท�ำให้ความเส่ียงกระจายออกเป็นวงกว้าง นายก เศรษฐกจิ อยา่ งไรบา้ ง แลว้ คนมสุ ลมิ มวี ธิ กี ารปรบั ตวั มคี วามคดิ รัฐมนตรจี ึงประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉนิ ในวนั ท่ี 26 มนี าคม เพ่ือ เหน็ ความเขา้ ใจตอ่ การระบาดของ COVID-19 ในครง้ั นอ้ี ยา่ งไร ควบคุมสถาณการณ์ มีใจความหลักๆ คือ ห้ามออกนอก เคหสถานภายในระยะเวลาท่กี ำ� หนด หา้ มมิใหก้ ารชมุ นมุ หรอื ผลกระทบในด้านเศรษฐกจิ และวิถีชวี ิตประจำ� วนั ม่ัวสุมกัน ซ่ึงในขณะท่ีมีการประกาศใช้มาตรการน้ันยอดผู้ติด สืบเน่ืองมาจากในช่วงต้นเดือนมีนาคมเกิดเหตุการณ์ที่ เช้ือในประเทศมีสูงถึง 1,000 คน โดยในจังหวัดเชียงใหม่น้ัน สมุ่ เสย่ี งตอ่ การแพรก่ ระจายของโรค เช่น เหตุการณจ์ ากสนาม กไ็ ดม้ กี ารสง่ั ปิดหา้ งสรรพสินคา้ รา้ นค้าและร้านอาหารเช่นกัน มวยลุมพินี ท�ำให้ประชาชนเร่ิมหวาดกลัว โดยต่อมาวันที่ 12 ส่งผลให้ชุมชนช้างคลานซ่ึงเป็นพื้นที่หลักของชาว มุสลิมได้รับผลกระทบไปด้วย ผู้เขียนเร่ิมต้นศึกษาจากร้าน นำ�้ ชาเนอ่ื งจากเปน็ พน้ื ทส่ี ำ� คญั รองลงมาจากมสั ยดิ ในการพบปะ พดู คยุ ของชาวมสุ ลมิ จากการสัมภาษณ์และพูดคุยกับ ลุงแดง เจ้าของร้าน นำ�้ ชาลงุ แดงถงึ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ทไ่ี ด้รับ โดยจากค�ำพูด ของลงุ แดงไดก้ ล่าววา่ “รา้ นเปิดมา 40 กวา่ ปีแลว้ ไมเ่ คยเจออะไรหนักเท่าน้ี มากอ่ น ตอนตม้ ยำ� กงุ้ ยงั ไมข่ นาดนเ้ี ลย ชว่ งนยี้ งั ดหี นอ่ ยมลี กู คา้ ประจ�ำยังพอขายได้บ้างแต่ก็ขายได้แค่คร่ึงต่อครึ่ง เพราะร้าน ลงุ ไม่ให้นั่งกินท่ีร้านเลย” เนื่องจากมีมาตรการห้ามน่ังรับประทานอาหารที่ร้าน ผนวกกับมาตรการเคอร์ฟิว ส่งผลให้รายได้ของร้านน�้ำชาน้ัน ลดลงไปมากกวา่ ครงึ่ ของรายไดท้ เี่ คยไดป้ ระจำ� อกี ทง้ั รา้ นนำ้� ชา ยงั เป็นพ้นื ทห่ี ลกั ในการพบปะของชาวมสุ ลมิ มากหน้าหลายตา ส่งผลให้ในช่วงแรกลุงแดงคิดจะปิดร้านเพื่อป้องกันความเส่ียง จากการแพร่ระบาดของโรค แตเ่ นือ่ งจากยงั พอมลี ูกค้าประจำ� ในละแวกท่ีรู้จักกันแวะมาซื้อจึงท�ำให้ร้านน้�ำชายังพอมีรายได้ อยูบ่ ้าง ลุงแดงจงึ ตดั สินใจเปดิ รา้ นน�้ำชาตอ่ แตใ่ หซ้ ้ือกลับบา้ น เทา่ นน้ั ในชว่ งดงั กลา่ วพอดมี าตรงกบั เดอื นรอมฎอนชาวมสุ ลมิ 27

จะถอื ศลี อดไมร่ บั ประทานอาหารในเวลากลางวนั ทำ� ใหใ้ นชว่ ง นอกจากนั้นแล้วชุมชนช้างคลานยังอยู่ใกล้กับสถานที่ เดือนรอมฎอนร้านน้�ำชาต้องเปลี่ยนเวลาเปิด-ปิด เพื่อให้ ท่องเที่ยวเช่น ตลาดอนสุ าร ตลาดวโรรส ซงึ่ แหลง่ รายไดห้ ลัก สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวมุสลิม ซึ่งตามปกติในช่วงที่ไม่มี ของชมุ ชนชา้ งคลานนน้ั สว่ นใหญม่ าจากนกั ทอ่ งเทย่ี ว เนอ่ื งจาก โรคระบาดนน้ั ชาวมสุ ลมิ จะมาละศลี อดในชว่ งเยน็ ทม่ี สั ยดิ จาก ชมุ ชนชา้ งคลานเปน็ ชมุ ชนมสุ ลมิ ทม่ี ชี อ่ื เสยี งในจงั หวดั เชยี งใหม่ น้ันก็จะแวะมาดื่มน�้ำชาท่ีร้านของลุงแดง และจะมาอีกคร้ัง ส่งผลให้ชาวต่างชาติที่นับถือศาสนาอิสลามเลือกโรงแรมใน ในตอนกลางคนื ชว่ งเวลาประมาณ ตี 3 เพอ่ื รอไปละหมาดเช้า ละแวกชมุ ชนชา้ งคลานเพราะสะดวกตอ่ การรบั ประทานอาหาร (ซบุ ฮ)ี เนอื่ งจากทตี่ ง้ั ของรา้ นนน้ั อยใู่ กลก้ บั มสั ยดิ แตม่ าตรการ (ฮาลาล) และอยู่ใกล้กับมัสยิด ในขณะท่ีเกิดการระบาดของ เคอร์ฟิวส่งผลให้มัสยิดต้องปิดท�ำการ ชาวมุสลิมจึงท�ำการ โรค COVID-19 นักท่องเท่ียวส่วนใหญ่ได้ทยอยกลับประเทศ ละหมาดทบ่ี า้ น สง่ ผลใหใ้ นเดอื นรอมฎอนรา้ นนำ�้ ชาและรา้ นคา้ ของตัวเองส่งผลให้ธุรกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวท้ังหมดขาด ส่วนใหญ่ไม่มีรายได้ แต่ลุงแดงบอกว่าตนนั้นได้รับเงินเยียวยา รายได้ ไมว่ า่ จะเปน็ ธรุ กจิ ขายของฝาก ธรุ กจิ ไกด์ ธรุ กจิ รถรบั จา้ ง จากรฐั บาลจงึ ทำ� ใหใ้ นชว่ งนนั้ ยงั พอมเี งนิ ไวจ้ า่ ยคา่ นำ�้ คา่ ไฟและ ไปจนถงึ ธรุ กจิ โรงแรม ซง่ึ ธรุ กจิ ใหญห่ รอื เจา้ ของบรษิ ทั บางสว่ น ชว่ ยเหลือลกู หลานท่ตี กงานอยบู่ ้าง หากมีเงินเก็บมากพอก็สามารถอยู่รอดหรือสามารถปรับตัวได้ “ลกู หลานกต็ กงานกนั หมด ลกู ลุงทำ� งานโรงแรมกโ็ ดน แต่ในส่วนท่ีประกอบอาชีพอิสระหรือเป็นลูกจ้างบริษัทนั้นไม่ ลดเงนิ เดอื น มายมื เงนิ ไปซอื้ ขา้ วบา้ ง เตมิ นำ�้ มนั บา้ ง ไดเ้ งนิ มาส สามารถปรบั ตวั ไดเ้ ลย ทำ� ใหม้ ชี าวมสุ ลมิ บางสว่ นตกงานในชว่ ง องเดือนก็หม่ืนนึง แบ่งให้ลูกคนละสามพันก็หมดแล้ว ช่วงจะ ท่ีเกิดการระบาดของโรค COVID-19 ซ่ึงการเอาชีวิตรอดใน ออกรอมฎอนกต็ อ้ งแจกใหล้ กู หลานอกี แตโ่ ชคดที ไี่ ดเ้ งนิ มาชว่ ง ขณะทตี่ กงานนนั้ บางสว่ นไดร้ บั เงนิ เยยี วยาจากรฐั บาลจงึ ไมต่ อ้ ง รอมฏอน เพราะร้านกข็ ายไมไ่ ดอ้ ย่แู ล้ว” ด้ินรนมากนกั จากการได้พูดคุยกับผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระน้ันโดย เห็นได้ชัดว่าจากมาตรการเคอร์ฟิวนั้นนอกจากจะส่ง ส่วนใหญ่แล้วไม่สามารถหางานอย่างอ่ืนท�ำทดแทนงานที่เคย ผลกระทบโดยตรงกับรายได้ของทางร้านในเรื่องเวลาและการ ทำ� ไดเ้ ลย ทกุ คนเนน้ การอยทู่ บ่ี า้ น ประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา เว้นระยะห่างทางสังคมแล้วนั้นยังส่งผลกระทบต่อร้านในช่วง ที่บ้าน ออกมาดา้ นนอกบ้านเพือ่ มารบั อาหารที่แจก หรือออก เดือนรอมฎอนส่งผลให้ร้านขาดรายได้ไปเลยทีเดียว ซ่ึงบริบท มาคลายเครียดโดยการออกมานั่งในพื้นท่ีสาธารณะบ้าง แต่ก็ ของร้านน้�ำชานั้นไม่ใช่แค่สถานท่ีน่ังด่ืมน้�ำชา แต่ยังเป็นพ้ืนที่ ยงั คำ� นงึ ถงึ การเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คมไปดว้ ย เนอ่ื งจากในทาง ส�ำหรับการรวมกลุ่มของชาวมุสลิม ส่งผลให้ถึงแม้จะสามารถ ศาสนาบอกว่าหากผู้ใดแพร่เชื้อก็จะถือว่าเป็นการท�ำบาป ซ้ือกลับไปทานท่ีบ้านได้แต่ก็ไม่สามารถเติมเต็มความเป็นร้าน สาเหตทุ ที่ ำ� ใหไ้ มส่ ามารถปรบั ตวั หางานอยา่ งอน่ื ทดแทนไดน้ นั้ นำ้� ชาของชาวมสุ ลมิ ได้ แตกตา่ งจากรา้ นอาหารทว่ั ไปทถ่ี งึ แมจ้ ะ ขนึ้ อยกู่ บั ตน้ ทนุ ของแตล่ ะบคุ คล โดยสว่ นใหญห่ ากมบี า้ นตดิ อยู่ น่ังทานอาหารท่ีร้านไม่ได้ แต่การซื้อกลับไปทานท่ีบ้านก็ไม่ได้ กับถนนสายหลักก็จะปรับตัวมาขายอาหารเนื่องจากเป็นส่ิงท่ี ใหค้ วามรสู้ กึ วา่ ไดร้ บั ผลกระทบมากเทา่ กบั รา้ นนำ้� ชา ทง้ั นดี้ ว้ ย คนบรโิ ภคในทกุ วนั แตก่ ม็ บี างสว่ นทไี่ มม่ ตี น้ ทนุ เชน่ ในกรณขี อง ผลกระทบทางด้านศาสนาท่ีทับซ้อนอยู่ส่งผลให้ร้านน้�ำชาไม่ พน่ี พพงศ์ สามารถปรับตัวได้อีกท้ังการท่ีผู้คนไม่สามารถไปประกอบ พิธีกรรมทางศาสนาท่ีมัสยิดและการห้ามรวมกลุ่มก็ส่งผล พ่ีนพพงศ์เป็นชาวมุสลิมที่ประกอบอาชีพขับรถ โดยตรงต่อรา้ นน�ำ้ ชาเช่นกัน รบั จา้ งและเปน็ มคั คเุ ทศกท์ ป่ี ระจำ� อยแู่ ถวบรเิ วณตลาดอนสุ าร โดยรายได้ทั้งหมดของพี่นพพงศ์มาจากนักท่องเท่ียวชาวจีน 28

พ่ีนพพงศ์ได้เล่าว่า ก่อนหน้าที่จะเกิดการระบาดของ โรค COVID-19 เป็นช่วงที่พี่นพพงศ์มีรายไดม้ ากพอทีจ่ ะ สามารถผ่อนรถตุ๊กตุ๊กที่ใช้รับส่งลูกค้าได้ ซ่ึงถ้าหากผ่อน ได้ครบตามก�ำหนดก็จะเป็นการลดค่าใช้จ่ายรายเดือน ออกไป หลังจากท่ีผ่อนช�ำระได้ไม่นานก็เกิดเหตุการณ์ ระบาดของโรค COVID-19 และมาตรการเคอรฟ์ วิ สง่ ผล ให้นักท่องเท่ียวทั้งหมดกลับไปยังประเทศของตนเอง รายได้ของพี่นพพงศ์ลดลงจนเหลือศูนย์ รถที่ผ่อนช�ำระ ยังไม่ครบก็ถูกยึดพร้อมกับถูกฟ้องร้องในเวลาเดียวกัน ส่งผลให้พี่นพพงศ์เกิดการช็อค และต้องนอนพักท่ีห้อง ICU เป็นเวลา 5 ชวั่ โมง “ตอนเข้าห้อง ICU ใครก็คิดว่าพี่ตาย ช็อคจน เพอ่ื นตอ้ งหามสง่ โรงพยาบาลเลย ถา้ พระเจา้ ประสงคจ์ ะ ใหไ้ ปอยกู่ บั พระองคเ์ รากจ็ ะไป แตถ่ า้ อยากใหเ้ ราอยทู่ โ่ี ลก น้ีเราก็จะอยู่ ถ้าจะให้อยู่เราก็คิดไงว่ารายได้เรามาจาก พระเจา้ พระเจา้ ให้เราทำ� อะไรได้เราก็ท�ำไปก่อนแล้วแต่ ว่าพระเจ้าจะให้เงินผ่านใครมา ก็เลยท�ำใจได้ ทุกวันนี้ก็ เลยมารบั จ้างลา้ งจานที่ร้านเยน็ ตาโฟได้วนั ละ 300” เนอื่ งดว้ ยเปน็ สายอาชพี ทพี่ ง่ึ พานกั ทอ่ งเทย่ี วเปน็ หลักผนวกกับข้อบังคับทางกฎหมายในขณะน้ันส่งผลให้ เป็นสายอาชีพท่ีไม่สามารถปรับตัวได้ ต้องเปลี่ยนไปท�ำ อาชพี อนื่ เทา่ นน้ั หลงั จากทวี่ า่ งงานอยา่ งไมเ่ ตม็ ใจสดุ ทา้ ย พี่นพพงศ์ตัดสินใจสมัครเป็นพนักงานล้างจาน มีรายได้ วันละ 300 บาท การระบาดของโรค COVID-19 น้ัน ส่งผลให้วิถีชีวิตของพ่ีนพพงศ์เปล่ียนไปอย่างสิ้นเชิงและ ยังไม่มีว่ีแววว่าในอนาคตพ่ีนพพงศ์จะสามารถกลับไป ประกอบอาชีพเดิมได้ เหตุผลที่พี่นพพงศ์สามารถท�ำใจ หลังจากที่เกิดการช็อคเข้าโรงพยาบาลน้ันเกิดจากความ เชื่อทีว่ า่ เครอ่ื งยังชีพ (เงนิ ทอง) ท่ีตนเองไดม้ านน้ั มาจาก พระเจ้า หากวันใดพระเจ้าจะเอาคืนไปก็เป็นเสมือนบท ทดสอบหนง่ึ หากยงั ไมต่ ายกต็ อ้ งใชช้ วี ติ ในบททดสอบนนั้ ตอ่ ไปใหไ้ ด้ เปน็ ประสงคข์ องพระเจา้ แคต่ อ้ งปรบั เปลยี่ น การใช้ชวี ติ ให้เหมาะสม 29

ใครมีเวลาว่างก็ควรไปละหมาดท่ีมัสยิด เน่ืองจากจะได้ผลบุญ มากกว่าการละหมาดที่บ้าน อีกพิธีกรรมท่ีส�ำคัญคือการ ละหมาดในวันศุกร์ โดยมีความเช่ือว่าไม่ควรขาดละหมาด ซึ่ง การประกอบพธิ กี รรมทางศาสนาของชาวมสุ ลมิ นน้ั จะเนน้ ไปที่ มัสยิด มีการรวมกลุ่ม โดยในช่วงที่เกิดการระบาดของโรค COVID-19 นั้นชาวมุสลิมจะยึดแนวทางจากประกาศของ จฬุ าราชมนตรี โดยแนวทางในชว่ งแรกนนั้ จะเนน้ ไปในการหา้ ม การรวมกลุ่มและปิดมัสยิดให้ละหมาดท่ีบ้าน ส่งผลให้การ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาน้ันเปลี่ยนไปซึ่งขัดต่อแนวทาง ดั้งเดิม ท�ำให้ชาวมุสลิมบางส่วนรู้สึกไม่สบายใจ จากการลง พ้ืนท่ีสัมภาษณ์ผู้เขียนได้พูดคุยกับคุณลุงฮะซันถึงมุมมองต่อ การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่เปล่ียนไป โดยลุงฮะซันให้ ความเห็นว่าถึงแม้การละหมาดที่บ้านจะได้บุญน้อยกว่า แต่ก็ สามารถยอมรบั ได้ ในสถาณการณแ์ บบนต้ี อ้ งระมดั ระวงั ใหม้ าก ห้ามประมาท หากคนใดคนหน่ึงติดเช้ือจะน�ำการแพร่ระบาด ไปสคู่ นรอบตวั จะทำ� ใหเ้ ปน็ บาปมากกวา่ การไมล่ ะหมาดดว้ ยซำ�้ ผลกระทบตอ่ ศาสนกจิ และการใชศ้ าสนาในการเยยี วยาจติ ใจ นอกจากนนั้ ในชว่ งเดอื นรอมฎอนทช่ี าวมสุ ลมิ ตอ้ งถอื ศลี อดนนั้ แม้แต่ในช่วงที่เกิดเหตุการณ์วิกฤตชาวมุสลิมก็ การแพร่ระบาดของโรคไมเ่ ปน็ อปุ สรรคต่อการถือศลี อด เพียง สามารถใช้หลักค�ำสอนของศาสนามาอธิบายสิ่งต่างๆ ได้ จาก แต่ต้องงดกิจกรรมพิธีกรรม เช่น ละศีลอดร่วมกัน ละหมาด การสัมภาษณ์ผู้คนในชุมชนช้างคลานน้ันทุกคนมีมุมมองทาง ตรอเวยี้ ะรว่ มกนั ในทกุ คำ�่ คนื ของเดอื น แตก่ ระนน้ั การถอื ศลี อด ดา้ นศาสนาไปในทางเดยี วกนั อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ถงึ แมจ้ ะมเี ชอ้ื ชาติ และการกักตัวอยู่ที่บ้านเป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันไปในทางที่ดี เป็น ที่ต่างกันก็ตาม โดยพื้นฐานความเชื่อของชาวมุสลิมนั้นเช่ือว่า ผลดีต่อการลดความเส่ียงในการระบาดของโรคซ่ึงชาวมุสลิม ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่สอนให้เชื่อในพระเจ้าเพียงองค์ ถือว่าได้บุญ ถึงแม้จะไม่ได้ไปฟังธรรมที่มัสยิดก็ไม่ถือว่าเป็น เดียว พระเจ้าเป็นผู้สร้างทุกสิ่ง แม้กระท้ังมนุษย์ในโลก เน่ือง อุปสรรค เพราะใจความส�ำคัญของเดือนรอมฎอนนั้นอยู่ท่ี ดว้ ยพระเจา้ เปน็ ผสู้ รา้ งมนษุ ย์ แนวทางการดำ� เนนิ ชวี ติ กเ็ ปน็ สง่ิ การถอื ศีลอด ท่ีพระเจ้าวางแนวทางมาให้แล้วผ่านทางค�ำสอนของศาสนา จากท่ีกล่าวมาน้ันแสดงให้เห็นถึงมุมมองของชาว โดยมีจุดประสงค์เพ่ือให้มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข รวม มสุ ลมิ ตอ่ การประกอบพธิ ีกรรมที่เปล่ยี นไป ถงึ แม้จะมคี วามไม่ ไปถงึ มารยาทในการอยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ การเคารพผอู้ นื่ อกี ทง้ั สบายใจเล็กน้อยแต่ก็เป็นสิ่งที่เข้าใจได้เนื่องจากการประกอบ ยังมีความเชื่อเก่ียวกับการเช่ือฟังผู้น�ำซึ่งเป็นแนวทางท่ีชาว พิธีกรรมทางศาสนาและเร่ืองความเชื่อน้ันเป็นเรื่องที่ละเอียด มุสลิมยึดถือปฏิบัติในขณะท่ีไม่สามารถประกอบศาสนากิจได้ ออ่ น ขน้ึ อยกู่ บั ความศรทั ธาของแตล่ ะบคุ คล หากมองถงึ เนอ้ื หา ตามปกติ จากประกาศของส�ำนักจุฬาราชมนตรีแล้วน้ันจะเห็นได้ชัดว่า โดยพื้นฐานของการประกอบพิธีกรรมทางศาสนานั้น เน้ือหาภายในสอดคล้องต่อหลักค�ำสอนในการอยู่ร่วมกันของ จะเนน้ ไปทก่ี ารละหมาด 5 เวลา เปน็ การสรรเสรญิ พระเจา้ หาก ศาสนาอิสลาม โดยเนื้อหาน้ันค�ำนึงถึงการลดการรวมกลุ่ม 30

เพอ่ื ลดความเสยี่ งในการแพรก่ ระจายของโรค อกี ทง้ั ยงั คำ� นงึ ถงึ เรื่องท่ีเรียบง่ายมาก ชาวมุสลิมจึงไม่กลัวความตายเลยหาก การอยู่ร่วมกันในชุมชนใหญ่ท่ีมีความหลากหลายทั้งเชื้อชาติ เชื่อว่าตนน้ันได้ปฏิบัติตามค�ำสอนของพระเจ้าไว้อย่างดีแล้ว และศาสนา ย่ิงในสถานการณ์วิกฤตน้ันต้องเชื่อผู้น�ำ ส่งผลให้ หรือแม้กระท่ังการปฏิบัติตัวเมื่อเผชิญกับการทดสอบ (ปัญหา ชาวมุสลิมละท้ิงความสงสัยที่มีต่อศาสนาเปลี่ยนเป็นความ ตา่ งๆ) ระหวา่ งการใชช้ วี ติ ชาวมสุ ลมิ จงึ สามารถยอมรบั เขา้ ใจ เขา้ ใจและพรอ้ มท่จี ะปฏบิ ตั ติ ามแนวทางอยา่ งเครง่ ครดั และดำ� เนนิ ชวี ติ ไปกบั ความเปลย่ี นแปลงได้ จงึ เปน็ สาเหตทุ ชี่ าว “ถา้ ไปละหมาดแลว้ ตดิ กนั หมดมนั ไมไ่ ดบ้ ญุ นะ เราตอ้ ง มุสลิมรู้สึกว่าไม่ได้รับผลกระทบในการประกอบพิธีกรรมทาง รู้ตัวเองรักษาตัวเอง ถ้าเรารักษาตัวเองแล้วมันก็จะส่งผลดีต่อ ศาสนาหรือเงินทองมากนัก อีกท้ังแสดงให้เห็นถึงความหมาย คนในชุมชนด้วยไง ดีนะท่ีประเทศไทยให้สทิ ธผิ นู้ �ำอิสลามออก ของคำ� วา่ “ทยี่ ดึ เหนย่ี วจติ ใจ” ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี หากมองถงึ หลกั มาพดู ถา้ เปน็ นายกพดู นอี่ าจจะไมฟ่ งั นะ แตถ่ า้ เปน็ ผนู้ ำ� อสิ ลาม ความเป็นจริงแล้วปัญหาท่ีเกิดจากโรค COVID-19 น้ันถือว่า น่ีจะเช่อื ฟงั ทนั ท”ี เปน็ ปญั หาทหี่ นกั มากสำ� หรบั ทกุ คน แตส่ ำ� หรบั ชาวมสุ ลมิ ถอื วา่ เป็นเพียงบททดสอบหนึ่งของโลกนี้เท่าน้ัน นอกจากน้ันชาว จากการลงพื้นท่ีสัมภาษณ์และพูดคุยกับชาวมุสลิม มุสลิมยังมีพื้นฐานการแบ่งปันที่ถูกกล่อมเกลามาจากศาสนา เก่ียวกับมุมมองท่ีมีต่อโรค COVID-19 นั้นทุกคนพูดถึงความ ซึ่งตรงข้ามกับสถาณการณ์คับขันที่ผู้คนต่างแย่งชิงทรัพยากร เชอื่ ทางศาสนาเกย่ี วกบั “วนั สน้ิ โลก” โดยใหเ้ หตผุ ลวา่ ในคมั ภรี ์ จากกนั และกัน ได้ระบุถึงเหตุการณ์ที่เป็นสัญญาณเตือนว่าจะเกิดวันสิ้นโลก ไว้อย่างชัดเจนอยู่แล้ว ซ่ึงการเกิดโรคระบาดก็เป็นหนึ่งใน ดังนั้นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อชาวมุสลิมในชุมชน เหตุการณ์ที่ถูกเขียนไว้ ไม่มีใครทราบวันเวลาท่ีจะเกิดอย่าง ช้างคลานสามารถแบ่งออกได้เปน็ สองปัจจัย โดยปจั จัยแรกมา ชดั เจน แต่มแี นวทางในการปฏบิ ัตอิ ยา่ งชดั เจนในสถาณการณ์ จากมาตรการของรัฐบาล ส่วนปัจจัยที่สองนั้นเป็นปัจจัยทาง ต่างๆ เชน่ ในชว่ งท่ีเกดิ การระบาดของโรค COVID-19 นนั้ ชาว ดา้ นศาสนา ซงึ่ ปจั จยั ดา้ นศาสนานนั้ เปน็ ปจั จยั ทที่ บั ซอ้ นอยกู่ บั มุสลิมจึงถือว่าสอดคล้องกับสัญญาณเตือนจากพระเจ้า ชีวิตประจ�ำวันของชาวมุสลิม ปัจจัยทางด้านศาสนาจะส่งผล สัญญาณเตือนดังกล่าวเหมือนเป็นการย้�ำว่าพระเจ้าน้ันมีจริง กระทบก็ต่อเมื่อแนวทางปฏิบัติของศาสนาไม่สอดคล้องไปใน ชาวมุสลิมต้องเชื่อผู้น�ำ ส่งผลให้ชาวมุสลิมตระหนักต่อหลัก ทิศทางเดียวกันกับมาตรการของรัฐบาล โดยผลกระทบทาง คำ� สอนทางศาสนามากขนึ้ หมนั่ ทำ� ความดี มคี วามเครง่ ครดั และ ศาสนาของชาวมสุ ลมิ จะไดร้ บั ผลกระทบมากกวา่ ชาวไทยพทุ ธ ท�ำบุญมากข้ึน อีกท้ังยังเป็นเหมือนการทบทวนตัวเองเพื่อ ท่ัวไป เนื่องมาจากชาวมุสลิมถือว่าศาสนาอิสลามคือวิถีชีวิต เตรียมพร้อมส�ำหรับโลกหลังความตายที่จะถูกตัดสินในวันส้ิน ชาวมุสลิมจึงมีความผูกพันกับศาสนาเป็นอย่างมาก แต่ชาว โลก และเป็นการย�้ำเตือนส�ำหรับผู้ที่บกพร่องในศาสนากิจให้ มสุ ลมิ ในชมุ ชนชา้ งคลานจำ� ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ แนวทางปฏบิ ตั ทิ ง้ั ของ กลบั เขา้ หาศาสนาอกี ครงั้ ดว้ ย นนั่ เปน็ เหตผุ ลวา่ ทำ� ไมชาวมสุ ลมิ รฐั บาลและของศาสนาไปพรอ้ มกนั โดยไมส่ ามารถเลอื กทางใด จงึ ไมต่ กใจตอ่ เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ และเครง่ ครดั ตอ่ การเวน้ ระยะ ทางหนงึ่ ได้ จะเหน็ วา่ ชว่ งทช่ี าวมสุ ลมิ ไดร้ บั ผลกระทบมากทส่ี ดุ ห่างทางสงั คม นั้นเกิดขึ้นในช่วงเดือนรอมฎอนท่ีมาตรการของรัฐบาลขัดแย้ง กับแนวทางการใช้ชีวิตของชาวมุสลิม ส่วนด้านการประกอบ ชาวมุสลิมมีเป้าหมายในการใช้ชีวิตอย่างชัดเจนโดยมี อาชีพนั้นจะได้รับผลกระทบ เช่นโรงแรมหรือร้านอาหาร ศาสนาเป็นแกนหลักของการใช้ชีวิต ส่ิงที่ส�ำคัญท่ีสุดคือการ สำ� หรบั ชาวมสุ ลมิ ทไี่ มม่ รี ายไดจ้ ากนกั ทอ่ งเทย่ี วแตก่ ย็ งั มรี ายได้ รับใช้พระเจ้า และด�ำเนินตามแนวทางที่พระเจ้าวางไว้ ชาว จากคนในพื้นทีค่ อยช่วยเหลอื อยูบ่ ้าง มุสลมิ จึงมีความเช่อื ทวี่ า่ มโี ลกหน้ารออยู่ โลกใบนี้เปน็ เพียงแค่ การทดสอบ ดังน้ันมุมมองต่อความตายของชาวมุสลิมเป็น 31

เสยี งชนเผา่ เสยี งท่เี ราอยากให้คณุ ไดย้ นิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook