Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการประหยัดพลังงาน ภายในสำนักงาน

คู่มือการประหยัดพลังงาน ภายในสำนักงาน

Published by Chalermkiat Deesom, 2021-07-09 10:14:47

Description: คู่มือการประหยัดพลังงาน ภายในสำนักงาน

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การประหยัดพลงั งาน ภายในสานกั งาน จดั ทาโดย นางสาวกนกอร สแี สง นกั ตรวจสอบภายใน มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

คู่มอื การประหยัดพลังงานภายในสานกั งาน 2 คานา ดว้ ยมหาวิทยาลัยขอนแกน่ มกี ารส่งเสรมิ และสนบั สนุนการประหยัดพลังงานภายในหนว่ ยงาน สานกั งานตรวจสอบภายในได้เลง็ เหน็ ความสาคญั ของการประหยัดพลงั งานและเพ่อื ให้สอดคลอ้ งกับนโยบาย ของมหาวิทยาลยั จงึ จดั ทาโครงการการประหยัดพลงั งาน สานักงานตรวจสอบภายใน เปน็ หนว่ ยงานท่อี ย่ภู ายใต้การบรหิ ารของสานกั งานอธกิ ารบดแี ละมหี ลาย หนว่ ยงานและใชพ้ ลงั งานร่วมกนั ภายในอาคารสิรคิ ณุ ากร ดงั น้ัน สานกั งานตรวจสอบภายในจึงรว่ มรณรงค์การ ประหยดั พลังงานภายในสานกั งานดว้ ยกจิ กรรมดงั ต่อไปนี้ ให้ปิดไฟ ปิดเครอ่ื งปรบั อากาศ และอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ที่ ไม่จาเปน็ ในช่วงเวลา 12.00-13.00 น. เปิดเครื่องปรับอากาศกอ่ นเวลาเรมิ่ งาน และควรปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศ ก่อนเวลาเลกิ ใช้งานเลก็ น้อย ปิดเครือ่ งปรับอากาศทุกคร้งั ทีจ่ ะไมอ่ ยใู่ นหอ้ งเกิน 1 ช่ัวโมง หรอื 30 นาที มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น สานกั งานตรวจสอบภายใน จดั ทำโดย นำงสำวกนกอร สแี สง นกั ตรวจสอบภำยใน สำนกั งำนตรวจสอบภำยใน มหำวทิ ยำลัยขอนแก่น

ค่มู ือการประหยัดพลงั งานภายในสานักงาน 3 สารบญั หนา้ 4 เร่อื ง 5 ความสาคัญของการประหยัดพลงั งาน 5 แนวทางการประหยัดพลงั งาน 6 8  ระบบไฟฟ้าแสงสวา่ ง 9  ระบบเครอื่ งปรับอากาศและพัดลมระบายอากาศ 9  ระบบอุปกรณ์สานกั งานและอุปกรณ์อ่ืน 10 ผลจากการประหยดั พลงั งานภายในสานกั งาน 12  ระบบไฟฟา้ แสงสว่าง  ระบบเครื่องปรับอากาศและพัดลมระบายอากาศ  ระบบอปุ กรณส์ านักงานและอุปกรณ์อนื่ จัดทำโดย นำงสำวกนกอร สแี สง นกั ตรวจสอบภำยใน สำนกั งำนตรวจสอบภำยใน มหำวิทยำลัยขอนแก่น

ค่มู อื การประหยดั พลังงานภายในสานักงาน 4 ความสาคญั ของการประหยัดพลงั งาน เนื่องจากปจั จุบันประเทศไทยกาลงั ประสบปัญหาวา่ พลังงานทีใ่ ช้อยใู่ นปจั จุบันมจี านวนลดน้อยลง เพราะเกิดจากการท่มี ีประชากรเพมิ่ มากข้นึ และมีเทคโนโลยีมากข้ึนทาให้ประชากรมคี วามตอ้ งการในการใช้ พลังงานมมี ากข้นึ ส่งผลใหเ้ กิดปัญหาการขาดแคลนพลงั งาน และการทาลายทรัพยากรก็มีเพ่มิ มากขนึ้ เพราะ พลังงานตา่ งๆ ทีใ่ ช้กันอยู่ต้องนาทรัพยากรตา่ งๆ มาผลิต จงึ เป็นเหตุให้ทรพั ยากรเหลา่ นี้ลงน้อยลง เพราะใน การผลติ พลงั งานแตล่ ะครง้ั ทรัพยากรทีใ่ ชผ้ ลติ เมอื่ ใช้ผลติ แล้วจะหมดไป บางตัวกส็ ามารถสรา้ งขน้ึ มากทดแทน ได้แต่ก็มีสว่ นน้อยทสี่ ามารถสร้างขึน้ มาทดแทนไดป้ ระกอบกับสภาวะเศรษฐกิจในปจั จบุ นั ของประเทศที่ตกต่า ประเทศไทยยังตอ้ งเสียเงนิ จานวนมากมายในการนาเขา้ พลงั งาน อาทเิ ชน่ น้ามนั จากต่างประเทศ ซงึ่ นา้ มันเป็น หน่งึ ในทรัพยากรท่ีมีความจาเป็นตอ่ มนษุ ย์ และการพฒั นาประเทศ อาคารหรือสถานทท่ี างาน มีการใช้พลงั งานหลายรปู แบบ เชน่ ระบบปรบั อากาศ ระบบแสงสว่าง และ การใช้อุปกรณต์ า่ ง ๆ แตจ่ ะใช้มากหรอื นอ้ ยข้ึนอยูก่ บั ลกั ษณะงาน และผู้ใชอ้ าคารทุกคนควรจะร่วมมือกนั ประหยดั การใชพ้ ลังงาน และใชอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ จดั ทำโดย นำงสำวกนกอร สแี สง นกั ตรวจสอบภำยใน สำนักงำนตรวจสอบภำยใน มหำวิทยำลัยขอนแก่น

คมู่ อื การประหยัดพลงั งานภายในสานกั งาน 5 แนวทางการประหยัดพลังงาน สถานทที่ างานตา่ งๆ โดยมากจะตั้งอยู่ในอาคารขนาดใหญ่ ซงึ่ จะตดิ ตง้ั ระบบพลงั งานต่าง ๆ เพ่อื อานวยความสะดวกตอ่ การทางาน เชน่ ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ระบบไฟฟา้ แสงสว่าง และ อุปกรณต์ ่าง ๆ ดังนน้ั ผู้บรหิ าร ผ้ดู แู ลอาคาร ผู้ปฏิบตั งิ านในอาคาร ตลอดจนผมู้ าตดิ ตอ่ กบั อาคารจงึ ควรมี ความรคู้ วามเขา้ ใจเบอื้ งต้นเกีย่ วกบั การประหยัดพลงั งานในระบบดงั ต่อไปนี้ อ้างองิ ข้อมลู จาก วทิ ยาลัยเทคนคิ ชัยภูมิ http://www.chainat.ac.th ระบบไฟฟ้าแสงสวา่ ง 1) ปิดไฟในเวลาพกั เทย่ี งหรอื เมอื่ เลกิ การใช้งานหรือหมด ความจาเป็นตอ้ งใช้งาน การปดิ สวติ ช์ไฟบอ่ ยๆ ไม่ทาใหเ้ ปลืองไฟฟา้ แต่อยา่ งใด 2) เปดิ มา่ นหรือหนา้ ตา่ งหรือติดตัง้ กระเบ้ืองโปรง่ แสงเพ่ือรับแสงสว่างจากธรรมชาติ แทนการใช้แสงสว่าง จากหลอดไฟ 3) กาหนดช่วงเวลาการเปดิ ปิดไฟใหเ้ หมาะสมกับชว่ งเวลาท่ใี ช้งาน 4) จัดระบบสวิตช์ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟา้ แสงสวา่ งใหเ้ หมาะสมกับพืน้ ที่ เช่น ปรับเปน็ สวิตช์เปดิ ปดิ แบบ แยกแถว แยกดวง เป็นต้น 5) ติดสต๊กิ เกอร์บอกตาแหนง่ ไว้ที่สวติ ช์เปดิ ปดิ หลอดไฟเพอ่ื เปิดใช้งานได้อย่างถูกตอ้ ง 6) ใชอ้ ุปกรณ์และหลอดไฟชนดิ ประหยัดพลังงานท่ีไดร้ บั การรับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ( หลอดนอี อน) แบบผอมแทน หลอดแบบธรรมดา ( ประหยดั ไฟฟา้ ร้อยละ 7) ใช้หลอดคอมแพก็ ฟลูออเรสเซนต์ ( หลอดตะเกียบ) แทนหลอดไส้ ( ประหยัดไฟฟ้าร้อยละ 75) ใช้โคม สะทอ้ นแสงแบบประสทิ ธภิ าพสูง และใช้บลั ลาสต์ อเิ ล็กทรอนิกส์แทนบลั ลาสตแ์ บบธรรมดา 8) ทาความสะอาดหลอดไฟอย่างน้อยปีละ 2 ครัง้ เพราะ ฝุ่นละอองท่ีเกาะอยู่จะทาใหแ้ สงสว่างนอ้ ยลง และอาจทา ให้ตอ้ งเปิดไฟหลายดวงเพือ่ ให้ได้แสงสวา่ งเทา่ เดิม 9) เม่อื พบวา่ หลอดไฟ สายไฟ ชารดุ หรือขาหลอดเปลีย่ น เป็นสีนา้ ตาลหรอื ดาควรเปลย่ี นทันทเี พ่อื ป้องกนั อัคคภี ัย เนื่องจากไฟฟ้าลดั วงจร จดั ทำโดย นำงสำวกนกอร สแี สง นกั ตรวจสอบภำยใน สำนกั งำนตรวจสอบภำยใน มหำวิทยำลยั ขอนแกน่

ค่มู อื การประหยดั พลังงานภายในสานกั งาน 6 10) รณรงค์สรา้ งจิตสานกึ ในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า แสงสว่างอยา่ งจรงิ จงั และต่อเนอื่ งด้วยวธิ ีการ ตา่ งๆ เช่น ติดสต๊กิ เกอรป์ ระชาสมั พันธ์ จดั บอรด์ นิทรรศการ เสยี งตามสาย หรอื ให้ความรู้โดยการจัด อบรม เปน็ ตน้ ระบบเครือ่ งปรับอากาศและพัดลมระบายอากาศ 1) ปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศทนั ทเี มื่อไมต่ ้องการใช้งาน และเม่อื ตอ้ งการปดิ เครอ่ื งใหม่อีกครง้ั ควรอยา่ งนอ้ ย 15 นาที 2) ปิดเครอ่ื งปรับอากาศทันทหี ากไม่อยใู่ นห้องนานกว่า 1 ช่ัวโมง และปดิ ก่อนเวลาเลกิ งานเน่อื งจากยังคง มีความเยน็ อยจู่ นถึงเวลาเลิกงาน จัดทำโดย นำงสำวกนกอร สแี สง นกั ตรวจสอบภำยใน สำนักงำนตรวจสอบภำยใน มหำวิทยำลยั ขอนแก่น

ค่มู อื การประหยดั พลังงานภายในสานกั งาน 7 3) ตงั้ อุณหภูมิเครือ่ งปรับอากาศไมต่ ่ากว่าที่ 25 องศา เซลเซียส เน่อื งจากหากตั้งอุณหภูมิใหส้ งู ขนึ้ ทกุ 1 องศา จะประหยัดไฟเพมิ่ ขนึ้ ร้อยละ 10 4) แยกสวติ ชป์ ิดเปิดเครื่องปรบั อากาศและพดั ลมระบาย อากาศออกจากกนั เนือ่ งจากไมจ่ าเปน็ ต้องเปิด พดั ลมระบายอากาศไวต้ ลอดเวลาท่ีใชเ้ ครือ่ งปรบั อากาศ 5) เปดิ หนา้ ตา่ งให้ลมพดั เข้ามาในห้องชว่ งทอี่ ากาศไม่ร้อน แทนการเปดิ เครอื่ งปรับอากาศ จะช่วยลดการ ใชพ้ ลังงาน ไฟฟา้ และเปน็ การถ่ายเทอากาศอกี ดว้ ย 6) ตรวจวัดประสิทธิภาพการไหลเวยี นหรอื การถา่ ยเทของ อากาศในหอ้ งปรบั อากาศ หากมีการไหลเวียน ของอากาศไม่เพียงพอให้แกไ้ ขโดยติดตั้งพดั ลมระบายอากาศ โดยขนาดของพัดลมระบายอากาศตอ้ งมี ความเหมาะสม กบั ขนาดของห้อง 7) ไมน่ าต้นไม้มาปลูกในหอ้ งที่มีเครือ่ งปรบั อากาศเพราะตน้ ไมจ้ ะคายไอน้า ทาให้เคร่อื งปรบั อากาศ ทางานมากขนึ้ 8) ย้ายเครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าทีป่ ลอ่ ยความรอ้ น เชน่ กาต้มนา้ ร้อนไฟฟ้า เคร่ืองถ่ายเอกสาร เป็นต้น ออกไว้นอก ห้องปรับอากาศโดยเฉพาะเครือ่ งถ่ายเอกสารนอกจากจะปลอ่ ย ความร้อนออกส่หู ้องปรบั อากาศทาให้ สิ้นเปลอื งไฟฟ้า แล้ว ผงหมกึ จากเครื่องจะฟุ้งกระจายอย่ใู นห้อง เป็น อันตรายตอ่ สุขภาพรา่ งกายของ ผูป้ ฏิบตั ิงานบริเวณน้ัน 9) ตรวจสอบและอดุ รอยรวั่ ทีผ่ นงั ฝา้ เพดาน ประตู ชอ่ งแสง เพ่ือปอ้ งกนั ความเย็นร่วั ไหลจากห้องปรบั อากาศ 10) ทาความสะอาดแผน่ กรองอากาศอยูเ่ สมอ อย่างน้อย เดือนละ 1 คร้ัง จะชว่ ยประหยัดไฟฟ้าได้ร้อยละ 5-7 11) กาหนดตารางการดแู ลรักษา ซอ่ มบารุง และมีคมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน 12) รณรงค์สรา้ งจิตสานกึ ในการประหยัดพลังงานไฟฟา้ จาก การใชเ้ ครื่องปรบั อากาศอยา่ งจรงิ จังและ ตอ่ เนือ่ งด้วย วธิ ีการตา่ งๆ เช่น ตดิ สตกิ๊ เกอร์ประชาสัมพนั ธ์ จัดบอร์ด นทิ รรศการ เสียงตามสาย หรอื ให้ความรูโ้ ดยการ จดั อบรม เป็นตน้ จัดทำโดย นำงสำวกนกอร สแี สง นักตรวจสอบภำยใน สำนกั งำนตรวจสอบภำยใน มหำวิทยำลยั ขอนแก่น

ค่มู อื การประหยดั พลงั งานภายในสานกั งาน 8 ระบบอุปกรณ์สานักงานและอปุ กรณ์อนื่ 1) ปดิ จอภาพคอมพวิ เตอรเ์ มอ่ื ไม่มกี ารใช้งานนานเกนิ กว่า15 นาที หรอื ตัง้ โปรแกรมพกั หน้าจอ 2) ปดิ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ ละเคร่อื งพิมพ์เม่อื ไม่มกี ารใช้งาน ตดิ ต่อกันนานกวา่ 1 ช่วั โมง และปดิ เครือ่ ง ทุกครั้งหลงั เลิกการใชง้ านพร้อมท้ังถอดปลกั๊ ออก 3) เลือกใช้คอมพวิ เตอรท์ ่ีมีระบบประหยดั พลงั งาน เพราะใชก้ าลังไฟฟา้ ลดลงร้อยละ 55 ในขณะทีร่ อ ทางานและควรใชจ้ อภาพขนาดท่ีไม่ใหญ่เกินไป เช่น จอภาพ ขนาด 14 นิ้ว จะใช้พลังงานน้อยกว่า จอภาพขนาด 17 น้วิ ถึงร้อยละ 25 4) ตรวจแกไ้ ขเอกสารบนจอภาพแทนการตรวจแก้ไขบนเอกสารท่พี ิมพจ์ ากเครื่องพิมพ์ จะช่วยลดการ ส้นิ เปลอื ง พลังงาน กระดาษ หมกึ พมิ พ์ และการสึกหรอของเครื่องพิมพไ์ ด้มาก 5) ติดตั้งเครือขา่ ยเชอ่ื มโยงการทางานของเคร่ืองพมิ พเ์ พือ่ ใช้เคร่อื งพิมพ์ร่วมกนั จะช่วยลดความสน้ิ เปลอื ง ทั้งด้านพลงั งานและการซ่อมบารุง 6) ถา่ ยเอกสารแบบสองหนา้ เพื่อลดปรมิ าณการใช้กระดาษ 7) ปดิ เครอ่ื งถ่ายเอกสารทกุ ครัง้ หลงั เลิกงานพร้อมถอดปลก๊ั ออก 8) ถอดปลก๊ั เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ทกุ ชนดิ ในสานกั งานเมือ่ เลกิ ใชง้ าน หรอื เมอ่ื ไมม่ คี วามตอ้ งการใช้งานนานกวา่ 1 ช่วั โมง 9) ปฏิบัติตามคาแนะนาการใช้อย่างเครง่ ครัดเพ่ือประหยดั พลงั งานและยดื อายกุ ารใชง้ านอปุ กรณ์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า ต่างๆ 10) มแี ผนการตรวจเช็คและทาความสะอาดเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ทกุ ชนิดเพ่ือใหส้ ามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ 11) ใชบ้ นั ไดกรณขี ้นึ ลงชน้ั เดียว 12) ควรตดิ ตั้งโปรแกรมให้ลฟิ ตห์ ยุดเฉพาะชน้ั คี่หรือชนั้ คู่ เนือ่ งจากลิฟต์ใชไ้ ฟฟา้ มากในขณะออกตวั 13) กอ่ นปดิ ประตลู ฟิ ต์ให้เหลียวดูชกั นดิ หาเพอ่ื นรว่ มทางเพอ่ื ชว่ ยกันประหยัดไฟฟ้า จัดทำโดย นำงสำวกนกอร สีแสง นักตรวจสอบภำยใน สำนกั งำนตรวจสอบภำยใน มหำวทิ ยำลัยขอนแก่น

คมู่ อื การประหยดั พลงั งานภายในสานักงาน 9 14) รณรงค์การประหยดั พลังงานไฟฟา้ ของอปุ กรณส์ านกั งาน อยา่ งจรงิ จังและตอ่ เนอื่ งด้วยวิธกี ารตา่ งๆ เชน่ ตดิ สตกิ๊ เกอร์ประชาสมั พนั ธ์ จัดบอร์ดนทิ รรศการ เสียงตามสาย หรอื ใหค้ วามรู้โดยการจัดอบรม เปน็ ตน้ ผลจากการประหยัดพลงั งานภายในสานกั งาน อ้างอิงขอ้ มูลจาก สาระน่ารูเ้ รือ่ งการอนรุ ักษ์พลังงาน ค่มู ือการประหยัดพลงั งานในสถานทท่ี างาน ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบไฟฟา้ แสงสว่างใช้ไฟฟา้ ประมาณรอ้ ยละ 25 ของการใช้พลังงานไฟฟา้ ท้ังหมดของอาคาร 1) ใช้งานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ  ปิดไฟในเวลาพกั เท่ยี งหรอื เมือ่ เลิกใช้งาน  ถอดหลอดไฟในบริเวณทีม่ คี วามสว่างมากเกนิ ความจาเป็นทงั้ นคี้ วรถอดบัลลาสตแ์ ละ สตาร์ทเตอร์ออกดว้ ย  บารงุ รกั ษาอปุ กรณ์อย่างสม่าเสมอ ตรวจสอบการทางานและความสวา่ ง ทาความสะอาด สมา่ เสมอทุก ๆ 3 – 6 เดือน  บารุงรกั ษาอปุ กรณอ์ ยา่ งสมา่ เสมอ ตรวจสอบการทางานและความสว่าง ทาความสะอาด สมา่ เสมอทกุ ๆ 3 – 6 เดือน 2) ปรับปรงุ และติดต้ังอปุ กรณ์ประหยดั พลังงาน ซึ่งสามารถประหยดั พลงั งานได้รอ้ ยละ 25 – 30  เลอื กใช้อุปกรณป์ ระสทิ ธภิ าพสูง a) เลือกใช้หลอดทีม่ ีสิทธภิ าพสูง เช่น หลอดฟลอู อเรสเซนต์ 18 และ 36 วตั ต์ สาหรับชนิด ไตรฟอสฟอร์ (หลอดซปุ เปอรล์ ักซ)์ จะใหแ้ สงสว่างมากกวา่ หลอดผอมธรรมดาถึงรอ้ ยละ 30 แต่ใชไ้ ฟฟา้ เทา่ เดิม จัดทำโดย นำงสำวกนกอร สแี สง นักตรวจสอบภำยใน สำนกั งำนตรวจสอบภำยใน มหำวิทยำลยั ขอนแกน่

คู่มอื การประหยดั พลังงานภายในสานักงาน 10 b) ใช้หลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนต์แทนหลอดไส้ c) ใช้บัลลาสตอ์ เิ ล็กทอรนิกสแ์ ทนบัลลาสตช์ นดิ ขดลวดแกเหล็กทาใหก้ ารใช้ไฟฟา้ ลดลงจาก 10 วัตต์ เหลอื เพียง 1 – 2 วตั ต์ นอกจากนี้ยังช่วยยดื อายกุ ารใช้งานของหลอดไฟถงึ 2 เท่า d) ใช้โคมไฟประสิทธิภาพสงู จะช่วยลดหลอดไฟจาก 4 หลอดใน 1 โคม เหลอื 2 หลอด โดยทค่ี วามสว่างยังคงเดิม 3) ปรบั ปรุงแสงสว่าง  ติดต้ังสวิตซไ์ ฟฟ้าให้สะดวกในการเปิด ปิด (ควรอยทู่ ี่ประตูทางเขา้ ออก) และควรแยกสวิตซ์ ควบคมุ การเปดิ ปดิ ท้ังชัน้  ควรตดิ ต้ังไฟฟา้ แสงสว่างให้ใชเ้ ฉพาะทีเ่ ทา่ นน้ั  ใช้แสงธรรมชาตใิ นบรเิ วณที่ทางานริมหน้าตา่ งและระเบยี งทางเดิน ระบบเคร่ืองปรบั อากาศและพดั ลมระบายอากาศ ระบบปรบั อากาศมหี ลายชนิด แต่ท่ีใชก้ นั มากในอาคารสถานท่ีทางานมักเปน็ เครอื่ งทานา้ เยน็ แบบศูนย์ รวมระบายความรอ้ นดว้ ยนา้ และเคร่ืองปรบั อากาศแบบชดุ ระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศหรอื นา้ ระบบ เครอ่ื งปรับอากาศและพดั ลมระบายอากาศใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ประมาณร้อยละ 60 ของการใช้พลังงานไฟฟ้า ท้งั หมดในอาคาร 1) ใชง้ านอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ  การลดชัว่ โมงการทางาน a) ปดิ เคร่ืองทาความเยน็ ซึ่งใชไ้ ฟฟ้ามาก ก่อนเวลาเลิกงาน 15 – 20 นาที เน่อื งจากน้าเยน็ ในระบบ ยังมีความเยน็ เพียงพอ จดั ทำโดย นำงสำวกนกอร สีแสง นกั ตรวจสอบภำยใน สำนกั งำนตรวจสอบภำยใน มหำวทิ ยำลยั ขอนแกน่

ค่มู ือการประหยดั พลงั งานภายในสานักงาน 11 b) ปิดเคร่ืองสง่ ลมเย็น หรือเคร่อื งปรบั อากาศแบบชุดในเวลาพกั เท่ยี งหรอื ในบรเิ วณท่เี ลกิ ใช้ งาน c) ปิดพัดลมระบายอากาศในหอ้ งน้าหลงั เลิกงานและวนั หยุด  ปรับตัง้ อุณหภูมเิ หมาะสม a) ตง้ั อุณหภมู ทิ ี่ 25 องศาเซลเซียล ในบริเวณท่ีทางานทั่วไปและพ้ืนท่สี ่วนกลาง b) ต้ังอุณหภมู ิท่ี 24 องศาเซลเซียล ในบรเิ วณพื้นที่ทางานใกลห้ น้าตา่ งกระจก c) ตั้งอณุ หภูมิที่ 22 องศาเซลเซียล ในห้องคอมพิวเตอร์ d) การปรบั อุณหภูมเิ พมิ่ ทุก ๆ 1 องศาเซลเซียล จะช่วยประหยัดพลงั งานประมาณร้อยละ 10 ของเครื่องปรบั อากาศ  ควรบารุงรักษาอุปกรณ์อยา่ งสม่าเสมอ โดยการตรวจสอบสภาพอุปกรณ์ การทาความสะอาด และตรวจสอบรอยร่วั ตามขอบกระจกและผนังทุก ๆ 3 – 6 เดือน หากทุกหน่วยงานภายในสานักงาน ร่วมมอื กันการประหยดั การใชพ้ ลงั งานของระบบปรับอากาศ สามรถประหยดั พลงั งานไดถ้ ึงร้อยละ 5 – 10 2) ปรับปรงุ และตดิ ตง้ั อุปกรณ์ประหยดั พลงั งาน  ปรบั ปรงุ ในสว่ นระบบน้าเยน็ a) ควรเลือกเครอื่ งทานา้ เย็นทม่ี ีประสทิ ธภิ าพสงู (คา่ กิโลวัตต์ต่อดนั ต่า) และเลือกจานวน เครอื่ งให้ทางานได้คา่ ประสิทธภิ าพสูงท่ภี าระสงู สุดและภาระต่าสดุ b) ตดิ ตัง้ เครื่องปรับอากาศขนาดเล็กแบบแยกส่วนท่ีมคี า่ อัตราส่วนประสทิ ธภิ าพพลังงาน (EER = Energy Efficiency Ratio) สูง(เบอร์ 5) สาหรับบริเวณที่มกี ารทางานในชว่ งเย็น หรือในวันหยดุ เพื่อลดชัว่ โมงของเครื่องทาน้าเยน็ c) ปรับปรุงฉนวนทอ่ นา้ เยน็ เพ่ือลดความร้อนทถ่ี า่ ยเทเข้าไปสูร่ ะบบน้าเย็น ซ่งึ ช่วยให้ เครือ่ งทานา้ เยน็ ใช้ไฟฟา้ ลดลง  ปรับปรงุ ในส่วนระบบส่งลมเย็น a) ใชเ้ ทอร์โมสตัทชนิดอิเลก็ ทอนกิ ส์ ซึง่ มคี วามแมน่ ยาในการควบคุมอณุ หภูมิ ซึ่งความ ถกู ต้องในการควบคมุ อุณหภูมิ 1 องศาเซลเซยี ล จะประหยดั การใช้พลงั งานของ เครื่องปรบั อากาศถึงร้อยละ 10  หมั่นทาความสะอาดแผงกรองอากาศ เพ่ือชว่ ยลดความสกปรกทข่ี ดลวดนา้ เยน็ เปน็ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพของเคร่ืองส่งลมเย็น และทาใหค้ ณุ ภาพอากาศในท่ีทางานดีขึ้น  ติดตัง้ อปุ กรณต์ รวจสอบค่าคาร์บอนไดออกไซด์ภายในที่ทางาน เพือ่ ควบคุมการเปดิ – ปิด ทางเขา้ ออกของอากาศภายนอก ไม่ให้เขา้ มาในอาคารมากเกินไป ในขณะทย่ี ังคงรกั ษา ปริมาณอากาศบริสทุ ธใิ์ นท่ที างานใหเ้ พยี งพออยเู่ สมอ  ปรบั ปรงุ ฉนวนท่อสง่ ลมเยน็ อยา่ ใหม้ ีรอยร่ัวหรือรอยฉีกขาด เพ่อื ไมใ่ หส้ ญู เสียความเยน็ จดั ทำโดย นำงสำวกนกอร สีแสง นักตรวจสอบภำยใน สำนักงำนตรวจสอบภำยใน มหำวิทยำลัยขอนแกน่

คู่มอื การประหยดั พลงั งานภายในสานกั งาน 12  ใชอ้ ุปกรณค์ วบคุมปริมาณลมพร้อมตดิ ตง้ั อปุ กรณ์ควบคุมความเรว็ รอบมอเตอรพ์ ัดลมของ เครื่องส่งลมเยน็ เพ่ือขจัดปัญหาภาวะไม่สมดลุ ของลมท่ีจ่ายในแต่ละพื้นทท่ี างาน ใน ขณะเดียวกนั ยังเป็นการใชพ้ ลังงานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3) ใชร้ ะบบควบคมุ อตั โนมตั ิ ซ่งึ เป็นระบบประหยดั พลังงานทางานดว้ ยระบบคอมพวิ เตอรใ์ ช้ง่าย สามารถ ควบคมุ การทางานของอุปกรณจ์ านวนมากโดยใชบ้ ุคลากรเพียงคนเดียว  สามารถกาหนดชว่ั โมงทางานของระบบปรับอากาศได้ถูกตอ้ งแมน่ ยาและมปี ระสิทธภิ าพ กล่าวคือ สามารถเปิด ปิดอุปกรณต์ ามเวลาที่กาหนด และสามารถเปิด ปดิ ตามสภาพอากาศ ภายนอกและตามภาระความเยน็  สามารถเกบ็ บันทึกและรายงานสถานการณใ์ ช้งานของระบบปรับอากาศอย่างตอ่ เนื่อง เพื่อใช้ ปรบั ปรงุ ทางานของระบบปรบั อากาศใหม้ ีประสิทธิภาพตลอดเวลาอย่างอัตโนมตั ิ  สามารถควบคมุ การทางานของระบบปรบั อากาศในระยะไกลจากหนา้ จอคอมพวิ เตอร์ 4) ปรบั ปรงุ ในสว่ นของอาคาร  ผนงั ทึบ a) ผนงั ภายนอกควรทาสขี าวหรือสีอ่อน เพอื่ ชว่ ยสะท้อนความรอ้ น b) ผนังภายในควรบฉุ นวนกนั ความร้อน  ผนังกระจก (ซ่ึงนยิ มมากสาหรบั อาคารสถานทีท่ างานในปัจจบุ ัน) a) ควรใชก้ ระจกชนดิ สะทอ้ นรงั สคี วามรอ้ นแทนท่ีการใช้กระจกใส b) สาหรับอาคารเก่าท่ีใชก้ ระจกใสธรรมดา ควรติดฟลิ ม์ ชนิดสะทอ้ นรงั สคี วามรอ้ น การปรบั ปรุงและตดิ ตง้ั อปุ กรณ์ประหยดั พลังงาน สามารถประหยัดพลังงานของระบบอากาศได้ร้อยละ 10 – 25 ระบบอปุ กรณ์สานักงานและอุปกรณอ์ ืน่ ระบบอุปกรณส์ านกั งานและอปุ กรณอ์ ืน่ ใช้ไฟฟ้าประมาณรอ้ ยละ 15 ของการใช้พลังงานทง้ั หมดของ อาคาร 1) การปิดเครอ่ื งคอมพวิ เตอรใ์ นเวลาพกั เทยี่ งสามารถลดการใช้ไฟฟา้ ได้ เน่อื งจากจอภาพใชไ้ ฟฟา้ กว่ารอ้ ยละ 70 ของเครื่องคอมพิวเตอรแ์ ละควรสงั่ ให้ระบบประหยดั พลังงานอัตโนมัตทิ ี่มากบั เคร่ืองคอมพวิ เตอรท์ ท่ี างาน 2) เลอื กซ้ือจอภาพคอมพวิ เตอรข์ นาดทเี่ หมาะสม เชน่ จอภาพ 14 นว้ิ ใช้ไฟฟา้ นอ้ ยกวา่ จอภาพ 17 นิ้ว 3) พจิ ารณาเครอ่ื งพมิ พผ์ ลและเครอื่ งถ่ายเอกสารทม่ี รี ะบบถา่ ย 2 หนา้ จะช่วยประหยัดกระดาษ 4) ใช้กระดาษใหค้ รบท้ังสองหน้า 5) กอ่ นปิดประตูลิฟต์ใหห้ าเพอ่ื นรว่ มทางเพอ่ื ชว่ ยกนั ประหยัดไฟฟา้ ได้ จดั ทำโดย นำงสำวกนกอร สแี สง นักตรวจสอบภำยใน สำนกั งำนตรวจสอบภำยใน มหำวทิ ยำลัยขอนแกน่

คมู่ ือการประหยัดพลังงานภายในสานกั งาน 13 อา้ งอิงขอ้ มูลจาก 1. วทิ ยาลัยเทคนคิ ชัยภูมิ http://www.chainat.ac.th 2. กระทรวงพลังงาน http://www.energy.go.th/ 3. รอบร้วั เรื่องการปรับตัวตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ http://www.environnet.in.th จดั ทำโดย นำงสำวกนกอร สแี สง นกั ตรวจสอบภำยใน สำนกั งำนตรวจสอบภำยใน มหำวทิ ยำลยั ขอนแกน่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook