Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 5 สังคมและวัฒนธรรมทางเพศ

หน่วยที่ 5 สังคมและวัฒนธรรมทางเพศ

Published by nano03012553, 2018-09-03 03:55:43

Description: หน่วยที่ 5 สังคมและวัฒนธรรมทางเพศ

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 5 สังคมและวฒั นาธรรมทางเพศ สังคมและวัฒนธรรมทางเพศ หมายถึง วัฒนธรรมท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศ ได้แก่ระเบียบ จารีตประเพณี ศีลธรรม และจริยธรรมอันดีงามของคนไทยในด้านความประพฤติเก่ียวกับเพศซ่ึงเป็นท่ียอมรับนับถือและสืบทอดปฏิบัติต่อเนื่องกันมายาวนาน ต้ังแต่สมัยโบราณจนถึงปจั จุบันซงึ่ ไดส้ ่งผลให้ครอบครัวและสังคมไทยมีความสงบสุขร่มเย็น วัฒนธรรมทางเพศของคนไทยถือวา่ เปน็ มรดกอนั มคี ่าของสงั คมไทยท่ีทุกคนควรอนรุ ักษ์และประพฤติปฏิบัติ 1. ค่านยิ มทางเพศตามวฒั นธรรมของวยั รุ่น วัฒนธรรมเป็นมรดกของสังคมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ข้ึนด้วยภูมิปัญญาเพ่ือเป็นวิถีชีวิตของคนในสังคมเป็นกฎระเบียบหรือมาตรฐานของพฤติกรรมที่คนในสังคมยอมรับโดยเป็นตัวกาหนดขัดเกลาสร้างสรรค์มนุษย์ให้มีชีวิตที่ดีงาม โดยวัฒนธรรมมีผลต่อค่านิยมทางเพศ ดังนั้นค่านยิ มทางเพศทเ่ี หมาะสมของวัยรุ่น 2. คา่ นยิ มทางเพศท่เี หมาะสมต่อการดาเนนิ ชวี ติ ค่านิยมของวัยรุ่นหลายประการสามารถชักนาไปสู่พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ เช่น พฤติกรรมนิยมมีแฟนในวัยเรียน พฤติกรรมที่วัยรุ่นเรียกว่า “ก๊ิก” ซ่ึงวัยรุ่นยังมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับค่านิยมเหล่านี้ไม่ถูกต้อง ถึงแม้ว่าจะมองดูทันสมัย แต่ถ้านามาปฏิบัติจะนาพาชีวิตไปสู่ทางเสื่อมได้ง่าย ถ้าไม่รู้จักการปฏิบัติและวางตัวให้เหมาะสมกับวัย ซึ่งวัยรุ่นยังขาดประสบการณ์ที่เพียงพอในเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างเพศที่ต้องเรียนรู้อีกมาก ค่านิยมทางเพศที่เหมาะสมจะช่วยส่งเสริมให้ชีวิตมีคุณค่า ในท่ีนี้จะนาเสนอค่านิยมทางเพศท่ีเหมาะสมต่อการดาเนินชีวิต เพื่อที่จะได้พิจารณานาไปปฏิบตั ิ ดังน้ี 1. ค่านิยมรักนวลสงวนตัว เร่ืองการปฏิบัติตนของเพศหญิงท่ีเรียกว่า การรักนวลสงวนตัวเป็นสิ่งท่ีถือปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณกาล ซ่ึงในปัจจุบันค่านิยมนี้ยังใช้ได้ดีอยู่ เพราะช่วยป้องกันภัยทางเพศได้ สังคมไทยยังถือเร่ืองความบริสุทธ์ิของผู้หญิงเป็นสิ่งสาคัญและมีคุณค่า การปฏิบัติตนเพื่อรักนวลสงวนตัวน้ัน ไม่ใช่ว่าตัดความสัมพันธ์ในการคบหาสมาคมกับเพ่ือนชายโดยส้นิ เชิง แตจ่ ะเนน้ การสร้างสัมพันธภาพที่เหมาะสมต่อกัน เชน่ วัยร่นุ หญงิ ไมค่ วรเปดิ โอกาสให้เพ่ือนชายได้ใกล้ชิดมากจนเกินขอบเขต โดยปลอ่ ยให้จบั มอื ถือแขนโอบกอด ซึ่งการปฏบิ ัตเิ ช่นน้ีสังคมจะมองคุณค่าในตัวของเพศหญิงลดลง ดังนั้นผู้หญิงทุกคนควรไตร่ตรองให้รอบคอบก่อนที่จะแสดงพฤตกิ รรมเหลา่ น้ี เพราะการวางตวั ให้เหมาะสมกับวัยจะเปน็ ท่ีช่ืนชมของสังคมมากกว่า 2. ค่านิยมการให้เกียรติและการวางตัว การให้เกียรติซึ่งกันและกันและการวางตัวท่ีเหมาะสมทางเพศ เป็นเรื่องท่ีวัยรุ่นควรศึกษาเรียนรู้ และนามาปฏิบัติทั้งต่อเพื่อนเพศเดียวกันและเพศตรงข้ามเพราะเป็นสิ่งที่สามารถยึดเหนี่ยวน้าใจระหว่างเพ่ือนให้แน่นแฟ้นยิ่งข้ึน การให้เกียรติและการวางตัวท่ีดีทางเพศน้ัน ท้ังวัยรุ่นชายหญิงจะต้องแสดงออกต่อกันด้วยความจริงใจ เช่น

วัยรุ่นชายควรใช้คาพูดที่สุภาพ ไม่พูดก้าวร้าว ดูหมิ่นศักดิ์ศรีเพ่ือนหญิง ควรแสดงความห่วงใยในสวัสดิภาพและความปลอดภัยของเพื่อนหญิง ไม่ฉวยโอกาสใกล้ชิดเพื่อนหญิงเพ่ือจับมือถือแขนหรือลวนลามให้ได้รับความเสียหาย ต้องวางตัวในฐานะเพ่ือนให้เพ่ือนหญิงไว้ใจ อุ่นใจ ส่วนวัยรุ่นหญิงควรให้เกียรติเพื่อนชายเช่นกัน เช่น ใช้คาพูดที่สุภาพเรียบร้อย แสดงความมีน้าใจ ไม่แต่งกายลอ่ แหลมเพ่ือย่วั ยวนเพื่อนชายด้วยการนุ่งน้อยห่มนอ้ ยชิ้น ปฏิเสธการไปไหนดว้ ยกันสองต่อสองกับเพื่อนชาย ทจ่ี ะเปน็ เหตใุ หต้ นเองไมป่ ลอดภยั และสงั คมมองไมด่ ีได้ เป็นต้น 3. ค่านิยมสร้างคุณค่าความดีงามในจิตใจ ความดีงามในจติ ใจเป็นส่ิงมีคุณค่าเพราะเป็นสิ่งท่ีบุคคลทั่วไปในสังคมยอมรับ วัยรุ่นในฐานะท่ีกาลังเป็นวัยเจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เพื่อพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ท่ีดีมีคุณภาพในอนาคต จึงควรสร้างโอกาสอันดีในการเรียนรู้ฝึกฝนอบรมตวั เองทางด้านจิตใจ ใหเ้ จรญิ พฒั นาอย่างมีคณุ คา่ จนเปน็ ท่ยี อมรับของสังคม การสร้างคุณค่าในตัวเองทางจิตใจนั้นสามารถปฏิบัติได้หลายวิธี เช่น การยึดเหน่ียวจิตใจด้วยหลักทางศาสนาที่ตนนับถือ ซึ่งทุกศาสนาล้วนสอนให้ทุกคนเป็นคนดี วัยรุ่นจึงควรศึกษาทาความเข้าใจในศาสนาของตนเองว่า การปฏิบัติในเร่ืองใดสามารถนามาปรับใช้ให้เข้ากับสภาพชีวิตของตนเองได้ก็ให้นามาปฏิบัติ ในเร่ืองเพศก็เช่นกันเดียวกัน ศาสนาไม่มีข้อห้ามแต่ต้องปฏิบัติให้เหมาะสมกับกาลเทศะ เพศ และวัยของตนเองไม่หมกมุ่นฟุ้งซ่านจนเกินขอบเขตก็จะช่วยสร้างชวี ติ ท่ดี ใี นอนาคตได้ 3. คา่ นิยมทางเพศทถี่ กู ตอ้ ง ในประเทศไทยมีความเปน็ ไทย มขี นบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอนั เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะตวั โดยเฉพาะคา่ นยิ มในเรื่องเพศ ซ่ึงมีมมุ มองได้ 2 ทาง ดังนค้ี ือ 3.1 คา่ นิยมทางเพศในเรื่องทไ่ี มถ่ ูกต้องสาหรบั คนไทย ไดแ้ ก่ 1. การไม่เผยแพร่ความจริงในเร่ืองเพศหรือการไม่ให้ความรู้เร่ืองเพศแก่ บุตรหลานโดยคดิ ว่าเปน็ เรือ่ งหยาบคาย หรือนา่ อาย 2. การไม่สนับสนุนหรือสง่ เสริมใหบ้ คุ คลในสังคมพูดคุยกนั ในเรอ่ื งเพศอยา่ งเปิดเผย 3. การยกยอ่ งใหเ้ พศชายเปน็ ใหญ่กวา่ เพศหญงิ 4. การมเี พศสัมพนั ธ์กอ่ นการสมรสโดยถอื วา่ เพศชายไม่ผิด คา่ นยิ มเหล่าน้ีทาใหบ้ ุคคลในสังคมมที ัศนคติทีไ่ ม่ถูกต้องรวมทัง้ มีพฤตกิ รรมทางเพศท่ีไม่ถกู ต้อง เช่น การเอาเปรียบเพศตรงกันข้ามเมื่อมีโอกาส ความไม่เสมอภาคระหว่างเพศ การดูถูกเพศตรงกนั ข้าม อนั เปน็ ผลตอ่ ความรกั ความผูกพัน ความสงบสุข ในครอบครัวและสังคมโดยรวม 3.2 ค่านิยมทางเพศทด่ี ีของสงั คมไทย 1. หญิงไทยมกั จะรักนวลสงวนตวั ไม่มเี พศสัมพนั ธก์ ่อนการแตง่ งาน 2. ชายไทยไมค่ วรสาส่อนทางเพศเพราะอาจเกิดผลเสียโดยการติดโรค 3. ชายไทยมีความรับผิดชอบตอ่ เพศหญิง ไม่หลอกลวง ไม่ข่มเหงน้าใจ

4. ชายไทยรบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั วัยรุ่นในปัจจุบันควรมีเจตคติท่ีดีว่าทั้งสองเพศมีความสาคัญเท่าเทียมกัน การสร้างสรรค์สังคมจึงจะเกิดขึ้น ค่านิยมดังกล่าวเป็นส่ิงที่ดีและยังใช้ได้ในสังคมปัจจุบัน วัยรุ่นจึงควรรกั ษาค่านยิ มทดี่ ีไวเ้ พอ่ื ป้องกนั ปญั หาท่ีจะตามมา เชน่ ครอบครวั แตกแยก โรคทางเพศสมั พันธ์ การตั้งครรภ์นอกสมรส การค้าประเวณี การสาส่อนทางเพศ เป็นต้น หลักในการเลือกคู่ครองสภาพปัจจุบันชายและหญงิ มักตัดสินใจเลือกคู่ครองด้วยตนเองโดยไม่ขอคาปรึกษาจากพ่อแม่และญาติพ่ีนอ้ ง หรือผู้ใหญ่ จึงทาใหช้ ีวิตมที ้ังประสบผลสาเร็จและล้มเหลวได้ หลักในการศาสนา ความเชื่อในส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ส่ิงเหนือธรรมชาติ ในหลักอภิปรัชญาว่าทุกสรรพส่ิงเกิดขึ้นมาดารงอยู่และจะเป็นเช่นไรต่อไปเลอื กคู่ครองโดยทว่ั ไปพอสรปุ ไดด้ ังนี้ 1. มีความรักเป็นพ้ืนฐาน เพราะความรักเป็นการแสดงความรู้สึกถึงความผูกพันความหวงแหน ความหว่ งใย จงึ มีความรกั ใครใ่ นค่คู รองท่เี ราเลอื กและควรเลอื กคคู่ รองท่ีรักเรา 2. มสี ภาวะด้านต่าง ๆ เหมาะสม เช่น 2.1 อายุ ควรอยู่ในเกณฑ์ท่ีบรรลุนิติภาวะแล้ว ชายควรมีอายุ 25-30 ปี ฝ่ายหญิงควรมีอายุ 20-25 ปี มีความพร้อมทางร่างกาย 2.2 สุขภาพร่างกายแต่งงานนั้นนอกจากมีความพร้อมทางร่างกายท่ีจะให้กาเนิดลูกได้แล้วควรจะต้องคานึงถึงสุขภาพด้วย เช่น โรคประจาตัว โรคทางพันธุกรรม เพราะสิ่งเหล่าน้ีจะมีผลกระทบต่อชีวิตสมรสได้ ดังน้ันจึงมีควรตรวจสุขภาพและถา้ พบวา่ มีโรคภัยไข้เจ็บต้องรกั ษาใหห้ ายเสยี ก่อน 2.3 วุฒิภาวะทางอารมณ์ นับว่าเป็นสิ่งสาคัญยิ่งสาหรับผู้ครองเรือน เพราะวุฒิภาวะทางอารมณ์จะเปน็ ผสู้ ุขุมรอบคอบ มีเหตุผล มีความรบั ผิดชอบ ยอมรับความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล และสามารถปรบั ตัวไดด้ ี 2.4 ระดับสติปัญญา คู่สมรสควรมีระดับสติปัญญาใกล้เคียงกัน เพราะหากสตปิ ญั ญาแตกต่างกันมกั จะคุยกันไมร่ ู้เรือ่ ง 2.5 ค่สู มรสควรมบี ุคลกิ ภาพและรสนยิ มใกล้เคียงกนั 2.6 ศาสนาแต่ละศาสนาจะมีศาสนพิธีแตกต่างกันถ้าคู่สมรสต่างศาสนาควรมีการพูดคุยตกลงเก่ียวกับการปฏิบัติตนในพิธีกรรมของศาสนาแต่ละฝ่ายเพ่ือไม่ให้เกิดปัญหาในครอบครวั 2.7 วัฒนธรรมเป็นวิธีการดาเนินชีวิตสืบทอดกันมา วัฒนธรรมที่คล้ายกันย่อมปรับตวั เขา้ กนั ไดง้ า่ ย 2.8 ฐานะทางเศรษฐกิจ ต้องใกล้เคียงกัน มีการวางแผนการจับจ่ายในครอบครวั

4. คา่ นิยมทางเพศตามสังคมและวฒั นธรรมไทย บรรทัดฐานทางครอบครัวและสงั คมค่านิยมทางเพศตามสงั คมและวฒั นธรรมไทยในอดีตมีความแตกตา่ งจากในปจั จุบันอย่างเห็นได้ชัด เนอื่ งจากในอดีตบุตรหลานจะถูกปลูกฝังโดยการอบรมเลี้ยงดูให้เคารพเช่ือฟังคาส่ังสอนของบิดามารดาอย่างเคร่งครัด วิถีชีวติ ตลอดจนวิธีการดาเนินชีวิตจะตอ้ งอยใู่ นขอบเขตท่ที างครอบครัวไดว้ างเอาไว้ รวมทง้ั ปจั จัยทางสงั คมและสภาพแวดลอ้ มกย็ งั ไม่เออื้ อานวยอยา่ งเชน่ ปัจจบุ ัน 5. คา่ นิยมทางเพศตามสังคมและวฒั นธรรมตะวันตก ปจั จบุ ันวฒั นธรรมตะวันตกไดเ้ ข้ามามบี ทบาทและมอี ิทธพิ ลต่อวัฒนธรรมทางสังคมของไทยมากขึ้น ท้ังน้ีเน่ืองมาจากเทคโนโลยีและการสื่อสารที่ก้าวหน้า รวดเร็ว ส่งผลทาให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมลอกเลียนแบบ และดาเนนิ ชวี ิตตามวัฒนธรรมตะวนั ตก ซึง่ วฒั นธรรมบางอย่างก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมมากมาย โดยเฉพาะการมีพฤติกรรมทางเพศท่ีไม่เหมาะสมการเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตกไม่ว่าจากส่ือโทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือ หรืออินเทอร์เน็ตก็ตาม ได้ทาให้ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามของสังคมไทยเปล่ียนไป ซึ่งวัฒนธรรมบางอย่างส่งผลดี เช่น การกล้าแสดงความคิดเห็น ความขยัน และความทุ่มเทให้กับงาน การมองโลกในแง่บวก การมีแนวคิดท่ีดีต่าง ๆ เป็นต้น ในขณะที่วัฒนธรรมบางอย่างกลายเป็นตัวอย่างท่ีไม่ดี ไม่เหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย จากพฤติกรรมวัยรุ่น เช่นเสรีภาพในการคบเพ่ือนต่างเพศซึ่งบางครั้งมีพฤตกิ รรมเสีย่ งตอ่ การมีเพศสัมพนั ธ์การถกู เนื้อต้องตัวระหว่างชายกบั หญิงมีมากขน้ึ พฤติกรรมการแสดงออกทางเพศในที่สาธารณะ เช่น การโอบกอด การแต่งกายท่ีล่อแหลม กิริยามารยาทท่ีไม่เรียบร้อย การแสดงออกอย่างเปิดเผยในเรื่องเพศ หรือการท่ีวัยรุ่นหญิงบางคนตามจีบผู้ชาย เป็นต้น อทิ ธิพลของวฒั นธรรมตะวันตกท่มี ีต่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุน่ ในสังคมไทย พอจะสรุปได้ดังนี้ (1) ปัญหาเร่ืองเพศ เช่น การคบเพื่อนต่างเพศอย่างไม่เหมาะสม การออกเท่ียวกลางคืนกับเพ่ือนต่างเพศ การแต่งกายดึงดูดเพศตรงข้าม เปิดเผยให้เห็นของสงวนมากเกินไป การมีเพศสมั พันธ์กอ่ นแต่งงาน เป็นต้น (2) ปัญหาสังคม เช่น การมั่วสุมกันในสถานเริงรมย์ การต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร การทาแท้ง การใชส้ ารเสพติด เป็นตน้ ดงั น้ัน เมื่อไม่อาจสกัดก้ันวฒั นธรรมต่าง ๆ ที่แพรก่ ระจายเข้ามาได้จงึ ควรเลือกและสร้างค่านยิ มในเร่ืองเพศท่เี หมาะสมกับสภาพสังคมไทย เช่น ลด ละ เลกิ การเทีย่ วสถานบริการทางเพศ ไม่สาส่อนทางเพศ ไม่คบเพ่ือนต่างเพศโดยไม่เลือกหน้า ฝ่ายชายแสดงความเป็นสุภาพบรุ ุษ ให้เกยี รติไมล่ ว่ งเกนิ สภุ าพสตรี เป็นตน้ 6. แหล่งบริการชว่ ยเหลือทเี่ ป็นมติ ร 6.1 วยั รนุ่ ไมร่ ู้วา่ มสี ถานบรกิ ารที่เปน็ มิตรกบั วัยรนุ่ อยู่

 การประชาสัมพนั ธม์ นี ้อย เขา้ ไมถ่ งึ กลุ่มเปา้ หมาย  งบประมาณไม่มีให้ออกโทรทัศน์  ไมม่ ีคนแนะนา ไมม่ คี นที่ตัวเองรู้จกั มาบอก ไมก่ ล้าคยุ ทางออก  พัฒนาสื่อที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ทาคลิปโป๊ ๆ ตั้งชื่อเสื่อม ๆ แบบ18+เพื่อการสง่ ต่อ พร้อมแนะนาบริการ  จัดบทู นทิ รรศการฯลฯ เข้าถงึ แหลง่ ชุมนุมวัยรุ่นในพ้นื ทีน่ ั้น ๆ  พฒั นาแกนนาท่ีเก่งกลา้ สามารถฉลาดหลกั แหลม ไปบอกต่อ  เร่อื งงบประมาณ ข้อเสนอแนะต่อการรณรงค์จากเยาวชนแกนนา  ควรสนับสนุนกิจกรรมรณรงค์อย่างต่อเนื่อง โดยแกนนา เพ่ือให้เยาวชนแกนนาได้พัฒนาตนเอง  ควรมีการสนบั สนนุ ส่อื ท่ีจะใช้ประกอบการรณรงค์อย่างเหมาะสม และเพียงพอ  ควรมีการประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมผ่านสอ่ื มวลชน โดยช่องทางต่าง ๆ  ควรจดั กจิ กรรมพัฒนาศกั ยภาพให้เยาวชนแกนนา  ควรจัดเวทปี ระชมุ สรปุ บทเรียน เพ่ือนาไปขยายผลต่อ  ควรมีการขยายเครือข่ายให้เกิดการรณรงค์อย่างท่ัวถึง โดยเฉพาะในเขตโรงเรียนและชุมชนโดยรอบคลนิ กิ  ควรรว่ มพัฒนาเนอื้ หาการรณรงคใ์ ห้กับเยาวชนแกนนา 6.2 จุดบริการก็ไม่ไดใ้ กล้ ทาใหว้ ยั ร่นุ เข้าถึงไดย้ าก  บ้านอยู่รามคาแหง 11 ต้องเข้าไปรักษาที่บางรัก นั่งรถเมล์ 3 ชม. ที่อ่ืนก็ไม่รู้จักเหนอื่ ยกวา่ จะถงึ คลินกิ เท่ียงปดิ พอดี / ขีเ้ กียจวะ่ ไมไ่ ปหรอก / โอย้ สารพัดจะลาบาก  มีคลินิกไกลบ้าน แถมไม่รู้ว่าอยู่ตรงไหน จะโทรไปถามก็ไม่มีเบอร์ ไม่มีคนกระตุ้นไม่เปน็ ไร คร้งั นีย้ งั ไมต่ รวจ หยวน ๆ กเ็ อา ๆ กันไปกอ่ น ครงั้ หนา้ ถา้ เปน็ อะไร ค่อยไปตรวจก็ได้ ทางออก  ข้ออ้างมันเยอะ ปัญหาข้อนี้ไม่ค่อยมี เป็นเพียงข้ออ้าง ที่สาคัญคือ หากวัยรุ่นมีขอ้ มูลสถานบริการแล้ว และหากประเมินได้ว่าตนเองเส่ียง หรือปรากฏอาการของโรค วัยรุ่นจะนึกถึงสถานบริการ และพยายามหาข้อมูลเอง เจา้ หนา้ ทีไ่ ม่ต้องหว่ ง ประชาสัมพันธด์ ี ๆ ก็พอ 6.3 ไม่มีคนแนะนาขอ้ มูลบริการในชวี ติ ประจาวัน  พ่อแม่ก็ไม่เคยคุยด้วย แถมไม่กล้าพูดถึงอีกต่างหาก กลัวลูกตัวเองจะได้-เสีย (ทั้งชายและหญงิ น่ะแหละ) มองว่าเป็นเร่อื งไม่ดี นีแ่ กจะแก่แดดไปไหน อลี ูกเวร!

 ถามครู กูไม่สน ... ไม่สนิท น่ีเลยต้องถามปื๊ด พอไปถามปื๊ด มันรู้ทุกเรื่อง ถูกหรือเปล่าก็ไมร่ ู้ ปื๊ดเกง่ ป๊ืดรู้หมด ปดื๊ มีขอ้ มูล จากนน้ั ปด๊ื ก็พาออกทะเล ทางออก  ระบบสุขภาพ 4 ด้าน 1. รกั ษา 2. ฟน้ื ฟู 3. ส่งเสริม 4. ป้องกัน สามารถพัฒนาแกนนาโดยใช้งบจากระบบปกติได้ โดยพัฒนาให้เกิดเยาวชนแกนนา และเวลาท่ีต้องมาทากิจกรรมร่วมกับ รพ. ก็เป็นการพัฒนาระบบการป้องกัน ท่ีเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมจากกลุ่มเปา้ หมาย  พฒั นาระบบแกนนาท่ีมคี วามรู้ ความสามารถเรือ่ งการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และสามารถถ่ายทอดต่อได้ โดยแกนนามี ความรู้ ความตระหนัก ทักษะการปฏิเสธต่อรอง สามารถประเมินความเสี่ยง เข้าถึงถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น มีข้อมูลบริการดา้ นเอดส์และโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ / เป็นอบั ดลุ ถามไดต้ อบได้ 6.4 วัยรุ่นรู้สึกกลัวและกังวล เรื่องข้อมูลความเป็นส่วนตัว และการรักษาความลับ จึงไม่ไปรบั บริการทม่ี อี ยู่  กลัวว่าจะรู้จกั พอ่ แม่พ่ีนอ้ ง ญาติสนิทมติ รสหาย อายจงั  พอไปดูท่ีคลินิก โอยจะเป็นลม ห้องขอคาปรึกษาก็ไม่มี จะคุยทีแทบแทรกแผ่นดิน หนี  ไม่มีความเป็นส่วนตัวเลย พูดอะไรทีได้ยินหมดตึก ผมไม่อยากให้ใครรู้ว่าผมเป็น เริมนะ  ถามเยอะมาก ช่วยบอกหน่อยได้ไหม ว่าขอ้ มูลเอาไปทาอะไร มีใครร้บู ้าง ทางออก  ประชาสมั พนั ธเ์ น้นเร่ืองความเป็นมติ รและการรกั ษาความลับ  จัดห้องที่เป็นส่วนตัว มิดชิด บรรยากาศเป็นกันเอง สีสันสดใส อาจมีภาพการ์ตูนแทนภาพอวยั วะสบื พันธ์  เจ้าหน้าท่ีควรให้ข้อมูลอย่างจริงใจ ตรงไปตรงมา ไม่นาทัศนคติส่วนตัวมาสอดแทรกระหวา่ งการให้คาปรึกษา 6.5 สถานบริการ/การบริการสุขภาพท่มี ีอยู่ ไมเ่ ป็นมติ รกบั วัยร่นุ กรณีท่ี 1  บางที่มหี ้องให้คาปรกึ ษา แต่พ่ีพยาบาลจ๋า ถามซะพรุน หนูอาย ถามหนูได้ แตอ่ ย่าทาให้หนูรู้สึกว่าเป็นเร่ืองผิดมหันต์ได้ไหมคะ ตัวอย่าง “เด็กสาวถูกตรวจภายใน โดยเจ้าหน้าที่ศูนย์

แห่งหนึ่ง ตรวจเสร็จ เจ้าหน้าที่พูดโพล่ง ด้วยเสียงที่พอจะได้ยินไปไกลนับสิบเมตร ว่า “หนูมีแบคทีเรียในช่องคลอดนะคะ” แล้วก็จ่ายยา หนูถามพยาบาลว่า “จะหายมั้ยค่ะ” พยาบาลบอกว่า“โอ๊ย โรคแบบน้ไี ม่หายหรอกคะ่ ต้องหม่ันตรวจ/ดแู ลสขุ ภาพเรื่อย ๆ”  ประเด็นน้ีไม่ได้อยู่ที่การตรวจ หรือการให้ข้อมูลบริการสุขภาพ แต่อยู่ท่ี “พูดเสียงดังให้คนอ่ืนได้ยินทาไม ฉันไม่ได้อยากให้คนอื่น ๆ ท่ีอยู่ที่น่ันรู้ว่าฉันเป็นโรคอะไร และฉันก็ไม่ได้อยากรวู้ า่ ใครเปน็ โรคอะไรด้วย” คนอนื่ เปน็ โรคอะไรไดย้ นิ หมด เชน่ “เอายาเหนบ็ ไปเหนบ็ สิ คุณมีเชอื้ รานะ” เปน็ ต้น กรณีที่ 2  นอ้ งผ้หู ญิงคนหนง่ึ ได้ไปตรวจโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ พี่พยาบาลพูดว่า“ถา้ นอ้ งมีแฟนหลายคนก็ต้องใช้ถุงยางนะคะ” ผู้ฟังรู้สึกและคิดในใจว่า “ทาไมพูดแบบนี้วะ กูไม่ได้มีแฟนหลายคนซะหน่อย” โดยทีก่ ่อนพยาบาลผู้นัน้ จะพูดประโยคดังกล่าว ไม่ได้ถามเร่ืองการมีแฟน หรือพฤติกรรมการมเี พศสัมพนั ธ์ของน้องคนน้นั เลย  ผล คือ น้องคนนั้นมที ัศนคตทิ างลบต่อการตรวจรกั ษา และไมอ่ ยากรับบริการอีก  ประเด็นนี้ คือ อย่าคิดเอาเอง อย่าเหมารวมจากความเชื่อค่านิยมส่วนตัว ว่าใครเป็นอย่างไร ให้สอบถามรับฟังอย่างไม่ตัดสิน แล้วจึงวิเคราะห์ หรือให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้มารับบรกิ าร ข้อจากดั อ่ืน ๆ  สภาพของสถานท่ีใหบ้ รกิ าร เช่น บางรัก อาคารเหมือนมิติลีล้ บั บรรยากาศอมึ ครึม  บุคลิกของผู้ให้บริการบางแห่ง ท่ีไม่ย้ิมแย้มแจ่มใส พูดจาโหวกเหวกโวยวาย ไม่ สภุ าพ  สดั ส่วนของห้อง หรือสถานทใ่ี หบ้ ริการ ท่ีไมม่ ิดชดิ ไม่เป็นสว่ นตัว ทางออก  ควรปรบั ปรุงสภาพแวดล้อม สถานบรกิ าร ใหม้ บี รรยากาศทีด่ ี เช่น มีสอื่ สดใส สีสันสดใสไม่อึมครึม ไมน่ า่ กลัว มีแสงสว่างเพยี งพอ  เจ้าหนา้ ทบ่ี ุคลกิ ยิ้มแยม้ แจ่มใส สุภาพ เป็นกันเอง ไม่ใช้สีหน้าแววตาท่ชี ิงชังรงั เกยี จผูม้ ารบั บรกิ าร หมน่ั เชก็ รอยยม้ิ เช็กอารมณก์ นั อย่างสม่าเสมอ  ควรแนะนาการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อ ด้วยการพูดคุยถึงวิถีชีวิตทางเพศอยา่ งเข้าใจไม่ตัดสนิ และให้ข้อมูลรอบดา้ น วัยร่นุ คดิ เองเปน็ 6.6 วัยรนุ่ อายที่จะเข้าไปใช้บรกิ าร  ถ้าปรับตามข้อ 1 -5 แล้ว ข้อนี้ ต้องพยายามทาให้กลไก ขอ้ 3 มีประสิทธิภาพ คือพัฒนาระบบแกนนาทม่ี ีความรู้ ความสามารถเรื่องการป้องกันเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และสามารถถ่ายทอดตอ่ ได้ โดยแกนนามี ความรู้ ความตระหนัก ทักษะการปฏเิ สธต่อรอง สามารถ

ประเมินความเสี่ยง เข้าถึงถุงยางอนามัยและสารหล่อล่ืน มีข้อมูลบริการด้านเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ / เปน็ อับดลุ  แกนนา/เจ้าหน้าที่ ตอ้ งทากิจกรรมเชิงรกุ ให้ข้อมูลกับวัยรุ่น คุยแบบเพื่อน กระตุ้นให้อยากมารับบรกิ าร พร้อมกับต้องปรับ หรอื แก้ปญั หาเรื่องทัศนคติเรอ่ื งโรคตดิ ตอ่ ฯ ตอ้ งทาให้เห็นวา่ การมาตรวจ ไมใ่ ชเ่ ร่ืองท่ตี อ้ งละอายต่อบาป หรอื น่าอายแต่อยา่ งใด  แกนนา/เจ้าหน้าที่อาจต้องเพิ่มบทบาทช่วยแนะนา ช่วยเหลือ ให้คาปรึกษา แก่กลุ่มท่เี คยมารบั บริการแล้วด้วย 6.7 วัยรุ่นไมม่ คี วามรูเ้ รอื่ งโรคติดตอ่ -เอดส์  ทาไมวยั รุ่นจึงตอ้ งเส่ียงกับปญั หาเรือ่ งโรคเอดส์ เปน็ ความจริงเพียงใด ความจริงแล้ว ทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ล้วนเส่ยี งกับโรคเอดส์เท่า ๆ กัน แต่วัยรุ่นเป็นวัยท่ีน่าห่วงมากท่ีสุด เพราะโดยพ้ืนฐานทางพัฒนาการของวัยรุ่น เป็นวัยที่มีปัญหาเร่ืองเพศ และการปรับตัวกับสภาพร่างกาย และอารมณ์ที่กาลังมีการเปล่ียนแปลง คือมีความสนใจในเพศตรงข้ามร่วมกับความรู้สึกทางเพศที่เกิดขึ้นมาตามธรรมชาติอย่างมากอยู่แล้ว วัยรุ่นจึงต้องเรียนรู้ท่ีจะรู้จักควบคุมตนเอง เรียนรู้ที่จะระบายอารมณ์ทางเพศให้ออกมาในลักษณะท่ีสังคมยอมรับได้ เช่น การเล่นกีฬา เบี่ยงเบนความสนใจ ไม่หมกมุ่นกับตนเอง แสวงหากิจกรรมท่ีสร้างสรรค์ พัฒนาตนเองและสงั คม  หากความต้องการทางเพศเป็นเร่ืองธรรมชาติ แต่ทาไมการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นสังคมกลับมองว่าไม่ถูกต้อง ความไม่ถูกต้องไม่ได้หมายถึงการขัดขวาง เพราะเรื่องเพศสัมพันธ์เป็นสิทธิส่วนบุคคล แต่ความไม่ถูกต้องน้ันหมายถึงความไม่พร้อมมากกว่า ท้ังนี้เพราะวัยรุ่นซ่ึงมีอายุระหว่าง 12 - 24 ปี เป็นวัยที่การพัฒนาด้านร่างกายยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ซ่ึงตรงข้ามกับพัฒนาการทางเพศท่ีมีการเจริญเติบโต และนับวันจะเร็วข้ึน เพราะปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นอาหารสงั คม ข้อมูล ข่าวสารจากสื่อมวลชน พบว่าทาให้เด็กมีโอกาสเป็นหนุ่มเปน็ สาวเร็วขึ้น เม่ือใจพร้อมแต่กายไม่พร้อมจึงย่อมเป็นปัญหาต่อตวั ของวยั รนุ่ เอง นอกจากความไม่พร้อมทางด้านสรีระแล้ว ทางสังคมในวัยรุ่นยังต้องเผชิญกับความเปลย่ี นแปลงตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเป็นการปรบั ตวั ที่ต้องดูแลรับผิดชอบตัวเอง การคบเพื่อนเพศเดียวกันหรือต่างเพศ การเรียน ปัญหาเร่ืองอาชีพท่ียังไม่มั่นคง เหล่าน้ีคือ ความไม่พร้อมท่ีวัยรุ่นต้องทาความเข้าใจ รู้จัก อดทน และรอคอย ยั้งคิด ไม่ทาความเดือดรอ้ นมาสูต่ นเอง ครอบครวั และสังคมโดยเฉพาะปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่นน้ี มักเป็นไปโดยไม่ได้มีการเตรียมตัวขาดการป้องกนั ทาใหเ้ กดิ การตงั้ ครรภไ์ มพ่ งึ ประสงคต์ ามมา และในบางคนโชคร้าย อาจต้องติดเช้ือจากโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ หรือโรคเอดสอ์ กี ดว้ ย

 มีเพศสมั พนั ธ์กบั เพื่อนตดิ เอดสไ์ ด้หรือไม่ วัยรุ่นยงั ต้องเข้ากลุ่มในหมู่เพ่ือนชายหญิง เพื่อเรียนรู้ทาความเข้าใจและปรบั ตัวในการคบเพ่ือนต่างเพศ เพื่อการช่วยเหลือเก้ือกูลกัน แต่เป็นที่น่าเสียดายว่า วัยรุ่นบางคนใช้การมีเพศสัมพันธ์ในเหตุผลเพ่ือการเข้ากลุ่มให้เป็นที่ยอมรับจากเพ่ือน ๆ หรือด้วยความเข้าใจผิดคิดว่าการติดเชื้อ HIV จะมีมากเฉพาะในหญิงขายบริการเท่าน้ัน การมีความสัมพันธ์ทางเพศกับเพื่อนน่าจะมีความปลอดภัยมากกว่า ความเข้าใจผิดเช่นน้ีจึงเป็นความเส่ียงต่อการติดเชื้อเอดส์ได้เท่า ๆกัน  การมเี พศสัมพันธ์ทปี่ ลอดภัย (Safe Sex) คืออะไร เป็นการมีเพศสัมพันธ์แบบมีการเตรียมการและวางแผนไว้ล่วงหน้า เพ่ือป้องกันมิให้เกิดผลอันไม่พึงประสงค์จากการมีเพศสัมพันธ์ คือ 1. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2. โรคเอดส์ 3.การต้ังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ อาจใช้อุปกรณ์การคุมกาเนิดท่ีมีประสิทธิภาพ คือถุงยางอนามัยช่วยในการปอ้ งกันได้  ถุงยางอนามัย ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ จรงิ หรอื ไมถ่ งึ 100 เปอรเ์ ซ็นต์ เพราะถุงยางอนามัยอาจแตก ขาด หรอื หลดุ ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ถุงยางอนามัยก็ยังถือเป็นอุปกรณ์ช่วยได้อีกช้ันหนึ่ง เพราะการใสถ่ งุ ยางอนามยั ท่ีถกู ต้องจะลดความเสย่ี งได้มากกว่า และดกี ว่าไม่ใส่ ซง่ึ มโี อกาสเส่ยี งต่อการตดิ เช้อื HIV มากข้นึ  ชายหรอื หญิง ใครทมี่ ีโอกาสตดิ เช้อื HIV มากกว่ากนั การมีเพศสัมพันธ์ที่ปราศจากการป้องกัน ย่อมทาให้เกิดความเสี่ยง ฉะน้ันไม่ว่าผู้ชายหรือผหู้ ญงิ ท่ีมีเพศสัมพนั ธ์โดยปราศจากการป้องกันย่อมเส่ียงในการติดเชื้อ HIV ได้เทา่ เทียมกัน ท้ังในฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ปัจจุบันแม้สถิติการติดเชื้อ HIV ในผู้ชายจะสูงกว่าผู้หญิงมาก แต่มิได้หมายความว่า ผู้ชายมีโอกาสติดเชื้อ HIV มากกว่าผู้หญิง แต่น่าจะเป็นเพราะฝ่ายชายเปิดโอกาสท่ีจะเส่ียงมากกว่า เช่น การเที่ยวในสถานเริงรมย์ต่าง ๆ มีเพศสัมพันธ์กับหญิงขายบริการทางเพศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook