Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 - หลักการของระบบฐานข้อมูล

บทที่ 1 - หลักการของระบบฐานข้อมูล

Published by thipsuda031209, 2021-09-22 15:12:18

Description: บทที่ 1 - หลักการของระบบฐานข้อมูล

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 1 หลกั การของระบบฐานขอ้ มลู วชิ า ระบบจัดการฐานขอ้ มูล (3204 -2004) Asst. Prof. Juthawut Chantharamalee Assistant Professor in Computer Science (Chairperson of B.Sc. Program in Computer Science) Office. Suan Dusit University, Phone. (+66) 2244-5691 Email. [email protected], [email protected]

หน่วยที่ 1 หลกั การของระบบฐานขอ้ มูล เนื้อหาทีเ่ รียน 1. ต้นกาเนิดของฐานขอ้ มลู 2. หลักการของระบบฐานข้อมูล 3. ระบบฐานข้อมูล

1. ต้นกาเนิดของระบบฐานขอ้ มูล การจัดการฐานขอ้ มูลเรม่ิ ตน้ จากการท่อี งคก์ รการบรหิ ารการบินและอวกาศแห่งสหรัฐอเมริกา หรือองค์การนาซ่าได้ว่าจ้างบริษัทไอบีเอ็ม (IBM)ประเทศสหรัฐอเมริกาให้ออกแบบระบบเก็บ รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสารวจดวงจันทร์ในโครงการอะพอลโล (โครงการอะพอลโลเป็น โครงการสารวจอวกาศและมีการส่งมนุษย์ข้ึนบนดวงจันทร์ได้สาเร็จด้วยยานอะพอลโล11) ได้ พัฒนาระบบการดูแลข้อมูลเรียกว่าระบบ GUAM (Generalized Upgrade Access Method) ซ่ึงถือเป็นต้นกาเนิดของระบบการจัดการฐานข้อมูลต่อมาบริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาระบบการจัดการ ฐานข้อมลู ขึ้นมาใหมเ่ พื่อให้ใช้งานกับธุรกิจท่ัวไปเรียกว่า DL/I (Data Language/I) จนในที่สุด กไ็ ด้กลายมาเป็นระบบ IMS (Information Management System)

1. ต้นกาเนิดของระบบฐานขอ้ มลู ในช่วงปี พ.ศ. 2525 มีการนาระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้กับคอมพิวเตอร์อย่างเต็มที่ มีการ คิดค้นและผลิตซอฟต์แวร์เก่ียวกับฐานข้อมูลออกมามากมาย การเจริญเติบโตของการจัดการ ฐานข้อมูลก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วพร้อมกับระบบคอมพิวเตอร์และมีการพัฒนามาจนถึงทุกวันน้ี ปจั จุบันได้มกี ารนาคอมพวิ เตอร์มาใช้ในการเก็บข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรปู ท่ัวไปโดยท่ีผู้ใช้ไม่ ต้องเขียนโปรแกรมเอง เพียงแต่เรียนรู้คาส่ังการเรียกใช้ข้อมูล โดย เช่น การป้อนข้อมูลการบันทึก ขอ้ มลู การแกไ้ ขและเปลี่ยนแปลงขอ้ มูล เปน็ ต้น

1. ต้นกาเนิดของระบบฐานข้อมูล ในยุคท่ีมีไมโครคอมพิวเตอรเ์ กิดขึน้ แรกๆ โปรแกรมสาเร็จรูปทางด้านการจัดการฐานข้อมูลที่ นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ Personal Filling System ต่อมาได้มีโปรแกรม dBASE II ได้รบั ความนิยมมากจนกระท่ังในปี พ.ศ.2528 ผู้ผลิตได้สร้าง DBASEII Plus ออกมา ซึ่งสามารถ จัดการฐานขอ้ มูลแบบสัมพันธ์ (Relational) เชื่อมโยงแฟ้มข้อมูลตา่ ง ๆ เข้าด้วยกันค้นหาและนามา สร้างเป็นรายงานตามความต้องการได้สะดวกรวดเร็ว ต่อมาได้มีการสร้างโปรแกรมสาเร็จรูป เก่ียวกบั ฐานขอ้ มูลออกมา เช่น FoxBASE, FoxPro, Microsoft Access และ Oracle เป็นต้น

2. หลักการของระบบฐานข้อมลู ในทางทฤษฎีได้มีการให้ความหมายของคาว่าขอ้ มูล (Data) ขา่ วสาร (News) ขอ้ มูล สารสนเทศ (Information) โดยนยั จะมคี วามหมายทต่ี า่ งกัน ขอ้ มูล (Data) หมายถึง ขอ้ เท็จจรงิ ตา่ ง ๆ ท่มี ีอยูใ่ นโลกนี้ใชแ้ ทนด้วยตัวเลขภาษาหรอื สญั ลักษณ์ทยี่ งั ไมม่ ีการปรบั ปรงุ แตง่ หรอื ประมวลผลใด ๆ อาจแบ่งข้อมลู ได้เปน็ 3 ประเภท คอื 1) ขอ้ เท็จจรงิ ที่เป็นจานวน ปริมาณ ระยะทาง 2) ขอ้ เทจ็ จรงิ ท่ีไม่เปน็ ตัวเลขเช่น ชื่อ ที่อยู่ สถานภาพ ประวัติการศกึ ษา เปน็ ต้น 3) ขา่ วสารทีย่ งั ไมไ่ ดป้ ระเมนิ เชน่ รายงาน บันทึก คาสั่ง ระเบียบ กฎหมาย และเหตุการณ์ หรือ สถานการณ์ต่าง ๆ เป็นตน้

2. หลกั การของระบบฐานข้อมูล แหล่งข้อมลู ทไี่ ดม้ าน้ันหรือแหล่งตน้ ตอขอ้ มูล เรียกวา่ แหล่งปฐมภมู ิ (Primary Source) เชน่ การ ไปเก็บรวบรวมข้อมูลจานวนประชากรวัยทางานในจงั หวดั รอ้ ยเอด็ สว่ นแหลง่ ข้อมูลทผ่ี ู้อื่นรวบรวมไวแ้ ล้ว เรยี กวา่ แหล่งทตุ ิยภูมิ (Secondary Source) เชน่ การไปเก็บข้อมลู ครวั เรอื นในเขตเทศบาลจากอาเภอ ที่ไดร้ วบรวมไส้แล้วว่าท้งั หมบู่ า้ นหรือตาบลมีก่ีครวั เรือน เปน้ ตน้ ลกั ษณะของขอ้ มูลท่เี ก็บมาท้ังจาก แหลง่ ปฐมภูมแิ ละทตุ ยิ ภูมิ อาจเป็นไดท้ ั้งขอ้ มลู เชิงปรมิ าณและข้อมลู เชงิ คุณภาพ

2. หลักการของระบบฐานข้อมลู ในช่วงปี พ.ศ.2525 มีการนาระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้กับคอมพิวเตอร์อย่างเต็มที่ มีการ คิดค้นและผลิตซอฟต์แวร์เกี่ยวกับฐานข้อมูลออกมามากมาย การเจริญเติบโตของการจัดการ ฐานข้อมูลก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วพร้อมกับระบบคอมพิวเตอร์และมีการพัฒนามาจนถึงทุก วันนี้ ปัจจุบันได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเก็บข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทั่วไป โดยทผ่ี ใู้ ช้ไม่ตอ้ งเขียนโปรแกรมเอง เพียงแตเ่ รียนรู้คาส่งั การเรียกใช้ข้อมูล โดย เช่น การปอ้ น ขอ้ มลู การบนั ทกึ ข้อมลู การแกไ้ ขและเปล่ยี นแปลงข้อมลู เปน็ ต้น

2. หลักการของระบบฐานข้อมูล ในยุคท่ีมีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นแรกๆ โปรแกรมสาเร็จรูปทางด้านการจัดการ ฐานข้อมลู ท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ Personal Filling System ต่อมาได้มโี ปรแกรม dBASE II ได้รับความนิยมมากจนกระทั่งในปี พ.ศ.2528 ผผู้ ลิตได้สร้าง DBASEII Plus ออกมา ซ่ึงสามารถจัดการฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational) เชื่อมโยงแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันค้นหาและนามาสร้างเป็นรายงานตามความต้องการได้สะดวกรวดเร็ว ต่อมาได้มี การสร้างโปรแกรมสาเร็จรูปเก่ียวกับฐานข้อมลู ออกมา เช่น FoxBASE, FoxPro, Microsoft Access และ Oracle เป็นตน้

3. ระบบฐานข้อมลู 3.1 องค์ประกอบของระบบฐานขอ้ มลู 3.1.1 แอปพลิเคชนั ฐานข้อมูล (Database Application) เปน็ แอปพลิเคชนั ท่สี ร้างไว้ใหผ้ ้ใู ชง้ านสามารถ ติดต่อกับฐานข้อมูลได้อย่างสะดวก ซึ่งมีรูปแบบการติดต่อกับฐานข้อมูลแบบเมนูหรือกราฟิก โดยผู้ใช้ไม่ จาเป็นตอ้ งมีความรเู้ กีย่ วกับฐานข้อมลู กส็ ามารถเรียกใชง้ านฐานขอ้ มูลได้ เชน่ บริการเงนิ สด ATM เป็นต้น 1) ฮารด์ แวร์ (Hardware) ในระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพควรมีฮารด์ แวร์ต่าง ๆ ที่พร้อมจะ อานวยความสะดวกในการบริหารข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นความเร็วของหน่วยประมวลผล กลาง ขนาดของหน่วยความจาหลัก อุปกรณ์นาเข้าและออกข้อมูล รายงานหน่วยความจาสารองท่ีจะรองรับ การประมวลผลข้อมลู ในระบบไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

3. ระบบฐานข้อมูล 2) ซอฟต์แวร์ (Software) ในการประมวลผลข้อมูลอาจจะใช้ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมท่ี แตกต่างกัน ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ที่นามาใช้ว่าเป็นแบบใด โปรแกรมจะทาหน้าที่ดูแลการสร้างการ เรียกใช้ข้อมูล การจัดทารายงาน การปรับเปลี่ยน แก้ไขโครงสร้างการควบคุม หรืออาจกล่าวได้อีกอย่าง ว่าระบบจัดการฐานขอ้ มูล (DBMS: Database Management System) คือ โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ท่มี อี ยู่ในฐานข้อมูล เชน่ DBASE IV, EXCEL, ACCESS, INFORMIXM, ORACLE เป็นต้น 3) ข้อมูล (Data) ฐานขอ้ มูลเป็นการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นศูนย์กลางข้อมูลอย่างมีระบบ ซ่ึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเรียกใช้ร่วมกันได้ ผู้ใช้ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลจะมองภาพข้อมูลในลักษณะที่ แตกต่างกัน เช่น ผู้ใช้บางคนมองภาพของข้อมูลที่ถูกจัดเก็บได้ในสอื่ ข้อมูล ผู้ใช้บางคนมองภาพขอ้ มูลจาก การใช้งาน เปน็ ตน้

3. ระบบฐานขอ้ มลู User 1 User 2 User 3 Database Application 3 Application 1 Application 2 Application 2 ApApplipcalitciaotnioSntack JCC Type4 Application Server Web Sphere Server 1 Web Sphere Server 2 JCC Type4 JCC Type4 Driver Network Database Operating System DRDA Database Storag e Operating System ภาพท่ี 3.1 แอปพลิเคชนั ฐานข้อมูล

3. ระบบฐานข้อมูล 4) บคุ ลากร (People) ในระบบฐานข้อมูลจะมบี คุ ลากรทเ่ี กีย่ วข้อง ดังน้ี (1) ผู้ใช้ท่วั ไป (User) (2) พนักงานปฏบิ ัติการ (Operator) (3) นกั เขยี นโปรแกรม (Programmer) (4) นักวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ (System Analyst) (5) ผจู้ ดั การฐานข้อมูล (Database Administrator)

3. ระบบฐานข้อมลู 5. ขนั้ ตอนปฏบิ ัตงิ าน (Procedure) ในระบบฐานข้อมลู ทด่ี ีจะตอ้ งมกี ารจัดทาเอกสารทรี่ ะบุขน้ั ตอนการ ทางานของหน้าทต่ี า่ ง ๆ ท้งั ในสภาวะปกติและในสภาวะทร่ี ะบบเกิดขัดขอ้ งมปี ัญหา ซึง่ เปน็ ขน้ั ตอนการ ปฏบิ ตั ิงานสาหรบั บุคลากรในทุกระดบั ขององคก์ ร

3. ระบบฐานขอ้ มูล 3.2 ระบบจดั การฐานข้อมูล (Database Management System หรือ DBMS) ประกอบด้วยซอฟต์แวรท์ ี่ใช้ในการ จัดการฐานข้อมูล จดั เตรียมพืน้ ที่ในการเกบ็ การเขา้ ถงึ ระบบรกั ษาความปลอดภัยสารองข้อมูล และส่ิงอานวยความสะดวก อื่น ๆ ระบบจดั การฐานข้อมลู สามารถแบ่งหมวดหมูไ่ ด้ตามแบบจาลองฐานข้อมลู ทส่ี นับสนุน เช่น เชงิ สัมพนั ธ์หรือ XML เปน็ ต้น แบ่งตามประเภทของคอมพิวเตอร์ทสี่ นับสนุน เชน่ Server Cluster หรอื โทรศพั ทพ์ กพา เป็นตน้ แบ่งตามประเภท ของภาษาสอบถามทใ่ี ชใ้ น การเขา้ ถึงฐานข้อมูล เชน่ ภาษาสอบถามเชงิ โครงสรา้ งหรือ XQuery แบ่งตามประสิทธิภาพใน การ Trade-offs เช่น ขนาดที่ใหญ่ที่สุด ความเรว็ สูงสดุ หรอื อืน่ ๆ ใน DBMS บางระบบจะครอบคลุมมากกว่าหนง่ึ หมวดหมู่ เช่น สนบั สนุนภาษาสอบถามได้หลายภาษา เชน่ ใน DBMS ที่นยิ มใชก้ ันอยา่ งแพร่หลาย เช่น MySQL, PostgreSQL, Microsoft Access, SQL Server, FileMaker, Oracle, Sybase, dBASE, Clipper และ FoxPro เปน็ ต้น ในมกุ ซอฟต์แวรฐ์ านขอ้ มลู จะมี Opem Database Connectivity (ODBC) Driver มาให้ดว้ ย

3. ระบบฐานข้อมูล Database DBMS ERP Web S Application Q Web L Service Any Custom Application ภาพท่ี 3.2 ระบบฐานขอ้ มูล DBMS

หน้าทีข่ องระบบจัดการฐานขอ้ มูล 1) กาหนดมาตรฐานขอ้ มลู 2) ควบคุมการเข้าถงึ ข้อมลู แบบต่าง ๆ 3) ดแู ลจัดเกบ็ ขอ้ มลู ให้มีความถูกตอ้ งแมน่ ยา 4) จัดการสารองขอ้ มลู และฟนื้ สภาพแฟ้มข้อมูล

หน้าท่ีของระบบจดั การฐานขอ้ มลู 5) จดั ระเบยี บแฟ้มทางกายภาพ (Physical Organization) 6) รักษาความปลอดภยั ของข้อมลู ภายในฐานขอ้ มลู และปอ้ งกนั ไม่ให้ข้อมลู สญู หาย 7) บารงุ รกั ษาฐานขอ้ มูลให้เปน็ อิสระจากโปรแกรมแอปพลิเคชนั อน่ื ๆ 8) เชอ่ื มโยงขอ้ มูลที่มคี วามสัมพนั ธ์เข้าด้วยกนั เพอ่ื รองรบั ความต้องการใชข้ อ้ มูลในระดบั ตา่ ง ๆ

หน้าทีข่ องระบบจัดการฐานข้อมลู ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) เป็นคอมพิวเตอร์ทค่ี อยให้บริการการจัดการ ฐานข้อมูล ซึ่งก็คือเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีระบบจัดการฐานข้อมูลทางานอยู่น่ันเอง เพราะฉะนั้นควรเป็น คอมพิวเตอร์ท่ีมีความรวดเร็วในการทางานสูงกว่าคอมพิวเตอร์ท่ี ใชง้ านโดยท่ัวไป

หน้าท่ขี องระบบจัดการฐานขอ้ มูล Database Server Grid Interconnect Database Serversv Database Database Servers Servers Storage Switches Database Storage Grid Database Database Database ภาพที่ 4.1 ระบบฐานข้อมูล

ระบบฐานข้อมลู ข้อมูล (Data) คือ เน้ือหาของข้อมูลที่เราใช้งาน ซึ่งจะถูกเก็บในหน่วยความจาของดาต้าเบส เซิร์ฟเวอร์ โดยจะถกู เรยี กมาใชง้ านจากระบบจัดการฐานขอ้ มลู ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะของบุคคล ส่ิงของ สถานท่ี ท้ังท่ีเป็น ตัวเลข เชน่ ราคา ปริมาณ ส่วนสงู เป็นต้น และข้อเท็จจรงิ ที่ไมใ่ ช่ตวั เลข ผู้จัดการฐานขอ้ มูล (Database Administrator หรือ DBA) คือ กลุ่มบุคคลท่ีทาหน้าท่ี ดูแลขอ้ มูลผ่าน ระบบจัดการฐานข้อมูล ซ่ึงจะควบคุมให้การทางานเป็นไปอย่างราบร่ืน นอกจากน้ียังทาหน้าที่ กาหนด สิทธ์ิการใช้งานข้อมูล กาหนดเรื่องความปลอดภัยของการใช้งาน พร้อมท้ังดูแลดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ ให้ ทางานอยา่ งปกตดิ ้วย

ระบบฐานขอ้ มลู ระบบจดั การฐานข้อมลู โปรแกรม คานวณเงินเดอื น แฟ้ มเงินเดอื น แฟ้ มบญั ชี โปรแกรมบญั ชี แฟ้ มคลงั สนิ ค้า โปรแกรม สนิ ค้าคงคลงั ภาพที่ 5.1 ผงั การบรหิ ารงานฐานข้อมลู

ระบบฐานข้อมลู คาศพั ทพ์ ้ืนฐานเกีย่ วกบั ระบบฐานขอ้ มูล มีดงั นี้ 1) บิต (Bit) หมายถงึ หน่วยข้อมูลทมี่ ขี นาดเล็กที่สุดแทนด้วยตวั เลข 0 และ 1 2) ไบต์ (Byte) หมายถงึ หน่วยข้อมลู ทเี่ กดิ จากการนาบติ มารวมกนั เปน็ ตัวอักขระ (Character) 3) ฟิลด์ (Field) หมายถึง เขตของข้อมูลหรอื หนว่ ยขอ้ มลู ทป่ี ระกอบด้วยตวั อักขระต้งั แต่หนง่ึ ตวั ขน้ึ ไป มารวมกันแล้วได้ความหมายของส่งิ ใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ ท่อี ยู่ เปน็ ตน้ 4) เรคอร์ด (Record) หมายถงึ ระเบียนข้อมูลหรือหน่วยขอ้ มลู ที่เกดิ จากเขตข้อมูลหลายเขต ขอ้ มูลมา รวมกันเพอื่ เกิดเปน็ ขอ้ มูลเร่อื งใดเร่ืองหนง่ึ

ระบบฐานข้อมลู ชอื่ ฟลิ ด์ (FieldName) ฟลิ ด์ (Field) ภาพท่ี 5.2 ตัวอยา่ งไฟลข์ อ้ มลู

ระบบฐานขอ้ มลู ภาพท่ี 5.3 แฟม้ ขอ้ มูล

ระบบฐานขอ้ มูล 5) แฟ้มข้อมลู (File) หมายถึง แฟ้มขอ้ มูลหรือหน่วยของขอ้ มูลท่ีเกิดจากการนาขอ้ มูลหลายๆ ระเบียนท่ีเป็นเรื่อง เดยี วกนั มารวมกัน เชน่ แฟม้ ข้อมูลนักศึกษา แฟ้มข้อมลู ลกู ค้า แฟม้ ขอ้ มูลพนักงาน เปน็ ต้น 6) เอนทติ ี (Entity) หมายถึง ช่อื ของสิง่ ใดสิง่ หนงึ่ เชน่ คน สถานที่ ส่ิงของ ซึ่งตอ้ งการเกบ็ ขอ้ มูลไว้ เช่น เอนทิตี ลกู คา้ เอนทติ ีพนกั งาน เปน็ ต้น 7) แอตทรบิ วิ ต์ (Attribute) หมายถงึ รายละเอียดขอ้ มูลท่แี สดงลกั ษณะและคณุ สมบตั ขิ อง เอนทิตีหนง่ึ 8) ความสัมพันธ์ (Relationship) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี เช่น ความสัมพันธ์ ระหว่างเอนทิตี นักศึกษาและเอนทติ ีคณะวชิ า เป็นลกั ษณะวา่ นกั ศึกษาแต่ละคนเรียนอยคู่ ณะวชิ าใด คณะวชิ าหน่งึ 9) คีย์ (Key) ใช้เพอื่ เพิม่ ประสทิ ธิภาพในการทางาน เช่น การอ้างอิง การค้นหา การแก้ไข เปล่ียนแปลงขอ้ มูล ในเรคอร์ดหรือการกาหนดความสัมพันธ์ให้กับตาราง ควรกาหนดคีย์ให้กับตารางด้วย หากไม่กาหนดจะไม่ สามารถนาขอ้ มูลมาสรา้ งความสมั พนั ธไ์ ด้

ระบบฐานข้อมลู เอนทติ ีลูกค้า ลกู ค้า ใบส่ังซื้อ เอนทิตใี บสั่งซื้อ แอตทริบิวต์ รหัสลกู ค้า รหสั ใบส่ังซ้ือ แอตทริบิวต์ ชอ่ื ลกู ค้า วันทส่ี ั่งซ้อื (Attribute) ท่อี ยลู่ กู คา้ วันท่สี ง่ สนิ คา้ (Attribute) รหัสไปรษณยี ์ รหสั ลกู คา้ หมายเลขโทรศพั ท์ รหัสสนิ คา้ จานวนทสี่ ั่ง ภาพท่ี 5.4 เอนทติ แี ละแอตทรบิ ิวต์

งานที่เหมาะสมกบั การใชร้ ะบบฐานขอ้ มูล ในปัจจุบนั นีเ้ ป็นยุคขา่ วสาร ข้อมูลและสารสนเทศ งานท่ตี อ้ งใช้ฐานขอ้ มลู จงึ มมี ากมายเกือบทุกง ตอ้ งเข้ามาเกี่ยวขอ้ งกบั ระบบฐานขอ้ มูลทง้ั นั้น เชน่ 1. ขอ้ มลู งานทะเบยี น 2. ขอ้ มูลนกั เรียน นกั ศกึ ษา 3. ขอ้ มลู หนังสือของห้องสมุด 4. ข้อมลู พนกั งานของบรษิ ัท 5. ข้อมลู สินค้า ยังมีหนว่ ยงานและองค์กรอีกมากที่จาเปน็ จะต้องใช้ระบบจัดการฐานข้อมลู เขา้ มาจัดการข้อมูล

ประโยชนข์ องระบบฐานข้อมูล 1. ลดความซ้าซ้อนของข้อมลู ซ่ึงการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ไวใ้ นแฟม้ ขอ้ มูลธรรมดาหรอื แฟ้มขอ้ มลู เดยี วกนั อาจทาให้ ข้อมลู นั้นเสียหายหรอื เกิดการซ้าซอ้ นกันได้ เพื่อเป็นการปอ้ งกนั จึงไดน้ าระบบฐานขอ้ มูล เข้ามาชว่ ยในการ จัดเกบ็ ข้อมลู ใหอ้ ยูใ่ นหมวดหมเู่ ดียวกันเพื่อลดปัญหาการซา้ ซ้อนขอ้ มลู 2. สามารถใช้ขอ้ มูลร่วมกันได้ เน่อื งจากระบบฐานขอ้ มลู จะเปน็ การเก็บข้อมลู รวมไว้ในทเี่ ดียวกัน ดังนัน้ ถา้ ผู้ใช้ ต้องการเรียกใช้ขอ้ มลู ท่มี าจากแฟ้มเดยี วกนั กส็ ามารถเรยี กใช้ข้อมูลน้นั ได้

ประโยชน์ของระบบฐานขอ้ มลู 3. หลกี เลยี่ งความขัดแยง้ ของขอ้ มลู ได้ เนื่องจากข้อมลู ทเ่ี กบ็ ไว้หลายๆ ที่ เมอ่ื มีการปรับปรุงข้อมูลแต่ ปรับปรุงขอ้ มูลไม่ครบทุกที่ จะทาให้เกิดปญั หาขอ้ มูลชนิดเดียวกันมีค่าต่างกันในแตล่ ะที่เก็บข้อมูลอยู่ ทาใหข้ ้อมูลเกิดความขัดแยง้ กนั ได้ 4. รักษาความถูกต้องของข้อมูลและเกิดความน่าเช่ือถือได้ ในระบบฐานข้อมูลสามารถใส่กฎเกณฑ์ เพื่อควบคุมความผิดพลาดท่ีอาจเกิดขึ้นกับข้อมูล เช่น การป้อนข้อมูลผิด การคานวณค่าต้องถูกต้อง และแม่นยา เปน็ ต้น

ประโยชนข์ องระบบฐานข้อมลู 5. กาหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ ระบบความปลอดภัยเป็นการทาให้ผู้ที่เข้ามาใช้ข้อมูล ไม่ สามารถมองเห็นข้อมูลบางอย่างในระบบ ดังน้ันผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลจะสามารถกาหนดระดับการ เรยี กใชข้ อ้ มลู ของผู้ใชแ้ ต่ละคนได้ตามความเหมาะสม ทัง้ น้ีผู้ใช้จะสามารถมองเห็นข้อมูลตามสิทธิ์ท่ีตนเอง ได้รับในการเข้าถึงระบบฐานข้อมลู เทา่ นัน้ 6. กาหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูล การเก็บข้อมูลร่วมกันไว้ในฐานข้อมูลจะ สามารถ กาหนดข้อมลู เปน็ ไปในลกั ษณะเดยี วกนั ได้ เชน่ การกาหนดรูปแบบของวัน/เดอื น/ปี กส็ ามารถกาหนด ได้ ทั้งนี้จะมีผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลท่ีเราเรียกว่าผู้ดูแลระบบฐานขอ้ มูล (DBA: Database Administrator) ซงึ่ จะเป็นผู้กาหนดมาตรฐานตา่ ง ๆ เหล่าน้ี

ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล 7. ระบบฐานขอ้ มลู จะมีตวั จัดการฐานขอ้ มลู ซึ่งทาหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงกับฐานขอ้ มูลโปรแกรม ตา่ ง ๆ อาจไม่จาเป็นต้องมีโครงสร้างข้อมูลทุกครั้ง ดังน้ันการแก้ไขข้อมูลบางครั้งจึงอาจกระทาเฉพาะกับ โปรแกรมท่ีเรียกใช้ข้อมูลที่เปล่ียนแปลงเท่านั้น ส่วนโปรแกรมท่ีไม่ได้เรียกใช้ข้อมูลดังกล่าวก็จะเป็น อสิ ระ จากการเปลีย่ นแปลง

บุคลากรทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ระบบจัดการฐานข้อมลู บุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับงานระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีผู้ใช้จานวนมาก จะเกี่ยวข้องท้ังในแง่ การออกแบบ การใช้งาน และการบารุงรักษา ซง่ึ บคุ ลากรเหลา่ นี้ ไดแ้ ก่ 1. ผู้จัดการฐานข้อมูล (Database Administrator) เป็นผู้ดูแลท้ังฐานข้อมูลและระบบจัดการ ฐานข้อมลู มหี น้าท่ีรับผิดชอบด้านความปลอดภัยของข้อมูล ประสานงานและตรวจสอบการใชง้ าน รวมทั้ง จดั หาและดแู ลรักษาอุปกรณ์ทงั้ ทางด้านฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์

บคุ ลากรที่เกยี่ วข้องกับระบบจัดการฐานข้อมลู 2. นักออกแบบฐานข้อมูล (Database Designer) รับผิดชอบการกาหนดรูปแบบและโครงสร้าง ของ ขอ้ มลู ท่ีจะนามาเกบ็ ไวใ้ นระบบฐานขอ้ มูล โดยจะต้องทากอ่ นการจดั เก็บฐานข้อมลู โดยนกั ออกแบบจะ ตอ้ ง สอบถามรายละเอียดต่างๆ ของข้อมูลท่ีต้องการจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลจากกลุ่มผู้ใช้เพ่ือให้สามารถเข้าใจ ความตอ้ งการได้อย่างถูกต้องแล้วจึงนาขอ้ มูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์และออกแบบ ซึ่งเม่ือออกแบบเรียบร้อย แล้วกค็ วรจะนาไปให้ผใู้ ชต้ รวจสอบวา่ ตรงกบั ความต้องการของผ้ใู ชแ้ ละครบถ้วนหรือไม่ ถา้ ไมถ่ ูกต้องหรือ ไมค่ รบถ้วนกจ็ ะไดแ้ กไ้ ขก่อนการพฒั นาเพอ่ื นาไปใช้งานจริง

บุคลากรทเ่ี กย่ี วข้องกบั ระบบจัดการฐานขอ้ มลู 3. กลุ่มผู้ใช้ (End Users) คือ กลุ่มผู้ท่ีต้องการเข้าถึงข้อมูล เพื่อทาการดูข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล และจัดทา รายงานตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกบั ข้อมลู กลุ่มผู้ใชแ้ บ่งได้เปน็ 4 ประเภทด้วยกัน คอื 3.1 ผู้ใชแ้ บบแคสชวล (Casual End Users) ต้องการใชข้ ้อมลู ท่แี ตกตา่ งกนั ในแตล่ ะคร้งั ของการใชง้ าน 3.2 ผู้ใช้ที่ทางานกับข้อมูลเดิมในทุกครั้ง (Naive หรือ Parametric End Users) เช่น พนักงานของ ธนาคารที่ทาหน้าที่รับฝาก-ถอนเงนิ เปน็ ตน้ 4. กล่มุ ผูใ้ ช้ที่ต้องเขา้ ใช้รายละเอียดของขอ้ มูลในสว่ นโครงสร้างภายใน (Sophisticated End Users) เช่น วศิ วกร นักวทิ ยาศาสตร์ นักวิเคราะห์งาน เปน็ ตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook