Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาท้องถิ่นวัวลาน

ภูมิปัญญาท้องถิ่นวัวลาน

Description: ในอดีตเกษตรกรนำวัวที่ว่างหลังจากการทำนาโดยการใช้วัวช่วยในการนวดข้าวสู่การนำวัวมาวิ่งแข่งกันบนลานนวดข้าวโดยนำวัวมาแข่งกันวัดความเร็วฝีเท้าแข่งพละกำลังความอึดความแข็งแรงของวัวตนเองโดยคนในท้องถิ่นซึ่งใช้วัววนนวดข้าวในลานวงกลมโดยใช้หลักเกียดเป็นจุดกลาง วัวของใครมีพละกำลังดี แข็งแรงมากก็จะวิ่งวนดีอยู่รอบนอก วัวตัวใดมีพละกำลังน้อยก็จะวิ่งอยู่วงในชิดหลักเกียด ต่อมามีการพนันกันต่อสนุกสนานกันขึ้นในวงนวดข้าว การแข่งขันวัวลานจึงกำเนิดขึ้นมาจากประเพณีและวิถีการนวดข้าวต่อมาการแข่งวัวลานมีการพัฒนามาเรื่อยๆจากการแข่งประกวดแค่ประลองความเร็วก็มีเพิ่มการประกวดวัวลานประเภทสวยงามด้วย ในปัจจุบันมีการจัดการแข่งขันในพื้นที่ใกล้เคียงได้แก่ จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดกาญจนบุรี

Search

Read the Text Version



๒ 1. ประวัติความเปน็ มาววั ลานสู่กฬี าพนื้ บา้ น ในอดีตเกษตรกรนำวัวท่วี า่ งหลงั จากการทำนาโดยการใชว้ ัวชว่ ยในการนวดข้าวสู่การนำววั มาวิ่งแข่ง กันบนลานนวดข้าวโดยนำวัวมาแข่งกันวัดความเร็วฝีเท้าแข่งพละกำลังความอึดความแข็งแรงของวัวตนเอง โดยคนในท้องถิ่นซึ่งใช้วัววนนวดข้าวในลานวงกลมโดยใช้หลักเกียดเป็นจุดกลาง วัวของใครมีพละกำลังดี แข็งแรงมากก็จะวิ่งวนดีอยูร่ อบนอก วัวตัวใดมีพละกำลงั น้อยก็จะวิง่ อยู่วงในชิดหลักเกียด ต่อมามีการพนัน กันต่อสนุกสนานกันขึ้นในวงนวดข้าว การแข่งขันวัวลานจึงกำเนิดขึ้นมาจากประเพณีและวิถีการนวดข้าว ตอ่ มาการแข่งวัวลานมีการพฒั นามาเร่ือยๆจากการแข่งประกวดแค่ประลองความเร็วก็มีเพิ่มการประกวดวัว ลานประเภทสวยงามด้วย ในปัจจุบันมีการจดั การแข่งขันในพื้นท่ีใกล้เคียงได้แก่ จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัด กาญจนบรุ ี 1.1 การเลือกลกั ษณะวัวลาน การเลือกดูลักษณะวัวลานที่จะนำไปแข่งเพือ่ เป็นการกฬี าเพือ่ ความสนุกสนานของคนในท้องถิน่ จะ มีการเลือกลักษณะวัวท่ีมีความแขง็ แรงมีพละกำลังมีฝีเท้าทีว่ ่ิงเรว็ และมกี ารดูลักษณะขวัญวัว โดยจะมีขวัญ 2 แบบ คือ ขวัญดีและขวัญไมด่ ี มีลักษณะดงั น้ี 1. ขวัญดี คือ ขวัญที่คนนิยมนำมาเลี้ยงไว้มีความเชื่อว่าเลี้ยงแล้วเป็นสิริมงคลให้กับตนเองและคนใน ครอบครัว มดี ังน้ี 1.1 ขวัญเดมิ จะอย่ตู รงกลางกระหม่อมของวัว 1.2 ขวัญดี ที่อยู่ห่างจากหนอก 1 คืบ ออกไปทางด้านหลัง (ห่างจากหนอกออกไปทางด้านหลัง มากกวา่ 1 คบื ไปจนถงึ ชว่ งสะโพกถา้ มขี วัญอยู่ระหวา่ งช่วงน้ีถอื ว่าเป็นขวญั ดี) 1.3 ขวัญต่ำ คอื ขวัญท่ีอยู่ค่อนไปทางด้านหลังจนเกือบจะถึงบ้นั ทา้ ยของวัว ภาพท่ี 1 ลกั ษณะขวญั ภาพที่ 2 ลักษณะวัวที่มขี วญั ดี

๓ 2. ขวัญท่ไี มน่ ิยมนำมาเลีย้ งหรือขวัญไมด่ ี คอื ขวญั ท่ีนำมาเล้ียงเจ้าของมีความเชื่อว่า ถา้ นำมาเลี้ยง นำเข้ามา ในบา้ นจะทำให้ทำมาค้าขายขาดทุนหรือค้าขายไม่ดีคนในครอบครวั จะมีอนั เปน็ ไป เช่นการเจ็บป่วย ลักษณะวัว เหล่านี้จะไม่ค่อยมีคนต้องการ ถ้ามีอยู่แล้วก็เลี้ยงไว้ขายไม่นิยมนำไปประกวดและแข่งขัน โดยมีลักษณะและ ตำแหน่งดงั นี้ 2.1 ขวญั ฝจี ักร จะมีตำแหนง่ อยบู่ ริเวณกลางหนา้ ระหว่างตาดำทั้ง 2 ขา้ ง มีลักษณะเหมอื นเลขหนึ่งไทย 2.2 ขวญั ยกั ลม จะมีตำแหนง่ อยบู่ ริเวณใต้หนอกชดิ กับหนอก 2.3 ขวัญประจำกวน จะมตี ำแหนง่ อย่บู ริเวณขา้ งข้อเท้า 2.4 ขวัญอีกาจิกปากโลง/ขวญั อกี าเคาะโลง จะมีตำแหน่งอยบู่ ริเวณขา้ งลำตวั ข้างใดขา้ งหน่ึง 2.5 ขวญั ชำรว่ั คือ ขวัญที่อยู่บรเิ วณอณั ฑะของวัวถ้าคนบบี บรเิ วณน้นั วัวจะฉี่ทนั ที 2.6 ขวญั ปตั คาด คือขวัญทีอ่ ยบู่ รเิ วณสันหลังส่วนท้ายของววั ภาพท่ี 3 ลกั ษณะววั ทีม่ ขี วัญไม่นิยมนำมาเลีย้ ง

๔ 1.2 สายพนั ธ์ุวัวลาน สายพันธุ์ของวัวลานในชุมชนปัจจุบันเป็นงานนำสายพันธุ์มาจากเพชรบุรีและกาญจนบุรี โดยจะมีการผสม พันธุ์ 2 แบบ คอื การผสมด้วยน้ำเช้ือ และววั ทีผ่ สมกับวัวโดยตรง การท่ีใชว้ วั ผสมกับววั โดยตรงจะดีกว่าการผสมด้วย น้ำเชื้อ เพราะการใช้น้ำเชื้อผสมบางอนั อาจจะเป็นน้ำเชือ้ ทีมท่ีสรา้ งข้ึนมาเองไม่ได้เอาจากวัวจรงิ ๆ สว่ นมากจะเป็นวัว พนั ธ์ุไทยตอ่ มามกี ารเล้ยี งไวข้ ายเน้อื ดว้ ยจึงมีพันธ์ุไทยผสมอเมรกิ ันบรามันและพนั ธุไ์ ทยผสมบราซลิ ดว้ ย ภาพท่ี 4 วัวพนั ธไ์ุ ทย ภาพที่ 5 ววั พันธุ์ไทยผสมอเมรกิ ันบรา มัน 1.3 วธิ ีการเลี้ยงและการดูแล เริ่มต้งั แตว่ ัวคลอดออกมาก็จะให้กนิ นมแมจ่ นถึง 1 ปี กจ็ ะนำมาสนสะพาย เพ่อื เรม่ิ บังคบั และสอนให้วัวรู้จัก ทางซ้ายทางขวา โดยการกระตุกเชือกไปทางซ้ายวัวก็จะหันซ้าย กระตุกไปทางขวาวัวก็จะหนั ขวาแลว้ ก็จับมาอาบน้ำ ตากแดด ดถู า้ ไม่สบายก็หายาใหว้ ัวกิน การสงั เกตววั ไมส่ บาย คอื วัวจะซึมๆใบหูตก ไม่กนิ หญา้ ไม่กินนำ้ จบั ดใู บหูหจู ะร้อน ดูเวลาขบั ถ่ายดูลักษณะ ว่าเป็นก้อนหรือถ่ายเป็นน้ำ ถ้าวัวถ่ายเป็นน้ำแสดงว่าวัวมีอาการท้องเสีย วัวกินเยอะแล้วท้องป่องถ้าเคาะจะมีเสียง ปกุ ๆแสดงวา่ วัวทอ้ งอืด ต้องซอ้ื ยามาให้กนิ ซอื้ ยาสมุนไพรทร่ี า้ น

๕ โรคท่เี กดิ ในววั ลาน ในการเลยี้ งววั ในอดีตจนถึงปัจจุบนั ระหว่างการเลี้ยงววั วัวจะมีอาการและมโี รคที่เกิดขึ้นในวัวอยู่ในช่วง ตา่ งๆของการเล้ียงวัว ดังนี้ 1. วัวท้องขึ้นหรือท้องอึดมักจะใช้ สมนุ ไพรทมี่ ใี นชมุ ชนมารักษา เช่น - หอมแดงตำจนละเอียดผสม กะปิ ใบกระเพรา ผสมน้ำ ล้วงให้วัวกิน ในกรณีวัวท้องเสีย มักใช้ เปลอื กตน้ แค มาต้มกับน้ำกรอกใหว้ วั กิน - หญ้าพันงู ตำให้แหลกแล้วนำไปขยำกับนำ้ ซาวข้าวจากนนั้ กรองเอาแตน่ ้ำแลว้ เอาใหว้ ัวกนิ 2. โรคเท้าเปอ่ื ยปากเป่ือย สว่ นมากจะเกิดข้ึนในววั ชว่ งฤดูฝน มักใช้ยาฆ่าเชอ้ื ทซี่ ้อื ที่คลนี ิครกั ษาสัตว์ และวัวจะมีวิธีการรักษาตนเองโดยการแชเ่ ท้าในน้ำที่เอาไว้กนิ ววั บางตวั กจ็ ะหายเองได้ 1.๔ การสนสายตะพาย เม่ือวัวอายุประมาณ 1-2 ปี ชาวนาจับววั ผูกตดิ กับต้นไมใ้ ช้เหล็กหมาดขนาดยาวประมาณ 15- 20 เซนติเมตร เสี้ยมปลายให้แหลมแล้วล้างทำความสะอาด นำไปแทงเข้าไปที่เนื้อเยื่อดา้ นในปลายจมกู ของววั ให้ทะลุถึงกันของช่องจมูกทั้งสอง จากนั้นใช้เชือกตะพายยาวประมาณ 100-120 เซนติเมตร ร้อยรูจมูกวัวอ้อมมา ทางด้านหลังเขาผูกเชือกพอหลวม ๆ เชือกตะพายวัวจะติดอยู่กับวัวตลอดเวลา หลังจากสนตะพายเสร็จก็จะใส่อ้อม คอเพื่อเป็นเชือกอีกเส้นแล้วนำตุ้มมาสอดให้เชือกทั้ง2เส้นอยู่ในตุ้มด้วยกันทั้ง2ฝั่งเมื่อเวลาใช้งานชาวนาจะนำเชือก อีกเส้นหนึ่งมาผูกกับเชือกตะพายวัวเชือกที่ผูกจะอยู่ทางด้านขวาหรือซ้ายด้านใดด้านหนึ่งหากอยู่ทางด้านซ้าย เมื่อ ชาวนาดึงเชือกวัวจะเลี้ยงไปทางซ้าย หากชาวนาตะหวัดเชือกไปทางขวา วัวก็จะหันไปทางขวา ชาวนาจะใช้คำว่า “เท่า”หมายถงึ เลี้ยวไปทางขวาและใช้คำว่า “ทดั ” หมายความวา่ ใหเ้ ลย้ี วไปทางซา้ ย อุปกรณก์ ารเจาะตะพาย ภาพที่ 6 เหล็กหมาด ภาพท่ี 7 เชอื กตะพาย ทำจากไมแ้ ดง ขนาดยาวประมาณ15-20 ขนาดยาวประมาณ 100-120 ซม. ซม.

๖ ภาพที่ 8 เชือกออ้ มคอ ภาพที่ 9 ตมุ้ ขนาดความยาวประมาณ 80-100 ซม. ทำจากเขากวางหรือกระดูกต้นขาวัว. ภาพที่ 10 ตะพาย ภาพที่ 11 วัวใสต่ ะพาย 1.๕ การตอนววั คือการทำหมันวัวเพศผู้ส่วนมากคนท่ีเลี้ยงววั ทีจ่ ะนำไปวิ่งลานจะเริ่มตอนววั ตวั ผู้ตั้งแต่ยังเด็กเพื่อที่ เวลานำวัวไปวิ่งวัวจะได้วิ่งเร็วไม่มีอาการจุกขณะแข่ง โดยการตอนวัวสมัยก่อนจะนำวัวนอนลงแล้วผูกยึดไว้กับหลัก แลว้ นำสากทบุ เขา้ ท่เี สน้ บรเิ วณลูกอณั ฑะของวัวเพ่ือให้เส้นแตก แต่ในปัจจบุ นั เปน็ การจา้ งผ้มู ีความเชีย่ วชาญดา้ นตอน หรือทำหมนั ววั โดยจะใชว้ ธิ กี ารเอาครีมคีบที่เสน้ 2 เสน้ บรเิ วณลกู อัณฑะของวัวให้ขาดแทนการทุบในสมัยก่อน

๗ 1.๖ วิถีชวี ติ ในการเลย้ี งวัวใน 1 วัน เวลาประมาณ 7 โมงเช้านำเอาวัวออกมาอาบน้ำเมื่ออาบน้ำเสร็จแล้วก็นำวัวออกไปผูกให้กินฟาง หรอื ปลอ่ ยเลี้ยงตามทุ่งนากินหญ้าเมื่อเวลาสายแดดเร่ิมร้อนจะนำเอาววั มาเข้าร่มพักผ่อนและให้หญ้าให้ฟาง กนิ ในรม่ ไปด้วยเมอ่ื วัวไดก้ ินละพักผ่อนแล้วกจ็ ะนำวัวมาอาบน้ำอกี รอบแล้วนำเขา้ คอกพักผอ่ น ภาพที่ 12 การอาบน้ำวัว ภาพที่ 13 การปล่อยวัวเลี้ยงตามธรรมชาติ ภาพที่ 14 การเกีย่ วหญา้ ให้วัว ภาพที่ 15 เอาววั เขา้ รม่ พักผ่อน

๘ ภาพที่ 16 นำวัวเขา้ คอกให้อาหารพกั ผ่อน 1.๗ วิธกี ารอาบน้ำวัวลาน ภาพที่ 17 การอาบน้ำววั 1. นำววั ไปผูกไวท้ ี่เสาหรอื หลักเพ่ือยดึ วัวไวไ้ ม่ให้เดินหนี 2. สมัยก่อนใชก้ ระปอ๋ งตักน้ำสาดใส่ววั ปจั จบุ นั ใชส้ ายยางฉดี นำ้ ใสไ่ ด้เพ่อื ความสะดวก 3. นำฟางมาถูตัววัวรอบๆตัวเพื่อทำความสะอาดขัดถูวัวโดยจะใชน้ ำรดท่ีฟางให้ฟางเปียกก่อนฟางจะได้น่มิ แล้วค่อยดูไปที่ตัววัวเพื่อทเ่ี วลาฟางโดนตัวววั ววั จะไดไ้ ม่เจบ็

๙ 4. นำน้ำฉดี ราดบรเิ วณตวั ววั ให้ทวั่ ตัวเพ่ือเปน็ การลา้ งเศษสงิ่ สกปรกทขี่ ัดออกใหห้ ลดุ ออกไปลา้ งให้ทวั่ ทั้งตวั 5. ผกู วัวตากแดดและลมไว้ซักครใู่ ห้ววั ตัวแห้งแลว้ ถึงนำเขา้ ร่มเปน็ อนั เสรจ็ ขัน้ ตอนในการอาบนำ้ ววั 1.๘ ประเภทอาหารสำหรบั เลีย้ งวัวลาน 1. ฟาง ได้จากนาตัวเองหลักจากเก่ยี วขา้ ว 1 เดือน จะจ้างรถอดั ฟางไปอัดทนี่ าตนเอง ในราคากอ้ นละ 10 บาท 2. หญ้าขน เป็นหญ้าที่ขึ้นตามข้างถนนหรือข้างคลอง ประโยชน์ของหญ้าขน เพื่อให้วัวลานกินจะได้ไม่มี อาการท้องอืดและยงั ช่วยรกั ษาอาการแผลในกระเพาะอาหารของววั ได้แบบธรรมชาตดิ ้วย 3. หญ้าสมัย หญ้าที่ขึ้นตามท้องนา เพื่อให้วัวลานกินจะได้ไม่มีอาการท้องอืดเพราะหญ้าในท้องนาย่อยง่าย แต่สว่ นมากววั จะเลือกกนิ หญา้ ทอ่ี อ่ นจะไม่ค่อยให้กินหญา้ แก่ หญา้ ทแ่ี ก่จะทำใหว้ วั ทอ้ งอดื ได้ 4. เกลือก้อน เพือ่ ใหว้ ัวกนิ หญา้ ได้เยอะข้ึนเปน็ การเสริมไอโอดนี ให้กบั ววั ภาพท่ี 18 หญา้ ขน ภาพท่ี 19 หญา้ สมัย

๑๐ ภาพที่ 20 ฟางอัดก้อน ภาพที่ 21 เกลือแรก่ ้อนกลม/เกลอื แร่วัว 2. วัวลานสสู่ นามแข่ง กีฬาวัวลานเป็นการละเล่นที่มีวิวัฒนาการมาจากการนวดข้าว เพราะลักษณะลานนวดข้าวเป็นวงกลม โดยวิธีการนวดข้าวนั้นวัวที่อยู่ใกล้จุดศูนย์กลางไม่ต้องใช้กำลังมากเพราะอยู่ในช่วงวงรอบสั้นแต่วัวตัวที่อยู่นอก สุดอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางมากกว่าระยะทางที่ต้องหมุนรอบเลยยาวกว่าจึงต้องเลือกวัวที่มีกำลังฝีเท้าดี ชาวนา จึงเกิดคิดนำมาเปน็ การแขง่ ขันเปน็ กีฬาและการละเลน่ แขง่ ประกวดประชนั ฝเี ท้ากันเพื่อความสนุกสนานและยังมี ผลต่อการคา้ ขายถ้าววั ตวั ไหนที่ชนะบ่อยมกี ำลงั ฝเี ท้าดีผู้คนก็จะสนในมากทำใหม้ รี าคาสงู ขน้ึ แต่ปจั จุบัน ในการจัดการแข่งขันจะจัดในช่วงหน้าแล้ง ช่วงเดือนมกราคม ถึง เดือนกรกฎาคม หลังจากนั้นจะไม่มี การจัดการแข่งขันเพราะคนโบราณถือว่าช่วงเข้าพรรษาจะให้พระโคพักผ่อน เรียกว่าเปน็ ช่วงพักผ่อนของพระโค และนอกจากเข้าพรรษาแล้วถ้าเป็นวันพระ ขึ้น 15 ค่ำ 8 ค่ำ แรม 15 ค่ำ แรม 8 ค่ำ ก็จะไม่นำพระโคออกไป ทำงานและไปแข่งขนั เพราะถอื วา่ ทุกวันพระเปน็ วันพกั ผ่อนของพระโค 2.1 สนามแขง่ วัวลานในทอ้ งถนิ่ 1. สนามวัวลานอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบรุ ี 2. สนามววั ลานตำบลอา่ งหิน อำเภอเมือง จงั หวดั ราชบรุ ี 3. สนามววั ลานจังหวดั เพชรบุรี 2.2 อปุ กรณ์การแขง่ วัวลาน การแขง่ ขวญั ววั ลานจะทำการแขง่ ขันกันในสนามขนาดใหญโ่ ดยจะมีอุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการแข่งขัน ดงั นี้ 1. เสาเกยี ด ทำดว้ ยเสากลม ต้องแขง็ แรงพอที่จะตา้ นทานแรงดึงของวัว 18-19 ตัวได้ เสานี้จะปักอยู่ กลางลานท่ีวง่ิ สำหรับผูกวัวท่ีจะวงิ่ แขง่

๑๑ ภาพที่ 22 เสาเกยี ด/หลกั เกียด 2 เชอื กห่วงและเชือกพวน เชือกหว่ งเปน็ เชือกที่คล้องไวท้ ี่เสาเกยี ดสำหรบั ผูกววั สว่ นเชอื กพวน คอื เชอื กที่ ทาบคอวัวผูกตดิ กันเป็นราวแลว้ ผกู กบั เชือกหว่ งอกี ทีหนง่ึ ภาพที่ 23 เชือกพวน

๑๒ 3. กระพอ้ สำหรบั การใหเ้ ครื่องดื่มและอาหารชูกำลังใหว้ ัวก่อนแขง่ ภาพที่ 24 กระพอ้ 4. วัวที่ใช้เล่นววั ลานจะมีลักษณะที่สำคัญ คือ เป็นวัวพันธ์ไทยเพศผู้ แข็งแรงอดทน ซึ่งเจ้าของจะต้องฝกึ ววั ให้คุ้นเคยกับคนจำนวนมากๆ เพื่อวัวจะได้ไม่ตื่นคน และจะต้องให้อาหารเสริม เช่น M 150 น้ำหวานเฮลบลูบอย และไข่ไก่ดิบผสมนำ้ กะทิคนั้ สดหรอื นมถวั่ เหลืองก็ได้ ให้ววั กิน 7 วนั ติดตอ่ กนั จนถึงวันแขง่ - ววั นอก คอื วัวที่อยูป่ ลายเชอื กจะต้องคัดเลือกววั ทม่ี ีพละกำลงั เพราะจะต้องวงิ่ ชนะวัวในให้ได้ - ววั คาน คือ วัวท่ีอยู่ตดิ กับหลักเกยี ดนบั ตั้งแต่ตวั ท่ี 1 – 18 ใช้วง่ิ วงในเพื่อดพู ละกำลงั เปรยี บเทยี บตัดสินวัว นอก 2.3 กตกิ าการแข่งขัน จะใช้ววั ในการแข่ง 19 ตัว แตจ่ ะดูวัว 1 ตัว คอื ตวั ที่ 19 เรียกวา่ ววั นอก และตวั ที่ 1–18 เปน็ ววั แข่ง เรยี กว่าววั คาน 1. นำววั ทงั้ 19 ตวั ไปผูกไว้ที่หลกั เกียด โดยนำตัวท่ี 1 อย่ชู ดิ กับหลักเกยี ดและตวั ท่ี 2-18 เรยี งหา่ ง ออกมาจนถึงตวั สุดทา้ ยคือตวั ที่ 19 จะเป็นตัวทีอ่ ย่นู อกสุด 2. เม่ือจัดวัวเสรจ็ ทัง้ 19 โดยให้ววั ยนื เรียงให้ตรงกนั แลว้ ใช้ ปฏักแทงที่ทา้ ยววั เพือ่ ให้วัววงิ่ โดยเจ้าของวัว ทกุ ตวั จะแทงพรอ้ มกนั 3. กรรมการจะนบั รอบวิ่งไปเร่ือยๆโดยการแขง่ ขนั จะใช้กรรมการตัดสินอยา่ งน้อย 3 คน

๑๓ 4. กรรมการสังเกตดวู วั ตวั นอกถ้าววั ตัวนอกวิง่ นำหนา้ วัวในท้ัง 18 ตวั โดยวัดจากการดหู วู ัวถ้าวัวตัวในอยู่ ตำ่ กวา่ สวาบววั ตวั นอกถือวา่ วัวตัวนอกชนะวัวคานแพ้ 5. หลงั จากทราบผลการแขง่ ขันก็จะนำวัวทงั้ 19 ตัว ออกจากสนามและนำวัวทจ่ี ะแข่งรอบใหมเ่ ข้ามา ศพั ท์ทใ่ี ชใ้ นกลุ่มวัวลาน ความหมาย ขา้ งซา้ ย ลำดับ คำศพั ท์ ขา้ งขวา 1 ทดั อุปกรณ์แทงวัวให้วงิ่ 2 เทา่ รอบท่ีแข่งขนั 3 ปฏัก (อา่ นวา่ ปะ-ตัก) สายพันธ์ พ่อพนั ธ์ุ แม่พันธ์ุ 4 เปิด วัวตัวท่ีนำมาแข่งขันวัดพละกำลงั ตวั ทอี่ ยนู่ อกสุด 5 เลา ววั ตัวรองตวั ทเ่ี ทียบการแขง่ ตั้งแตว่ วั ตัวที่ 1-18 6 ววั นอก ชว่ งเอวดา้ นข้างทง้ั สองข้างของวัว 7 ววั ใน หลกั วัวลาน 8 สวาบ (อ่านว่า สะ-วาบ) วัววิง่ เทา่ กนั 9 หลกั เหยยี ด 10 หู

๑๔ 3. ความสำคัญวถิ ีชีวติ คนกับววั เดมิ ชาวนาจะใชว้ วั ในการชว่ ยทำนาตง้ั แต่เริม่ เตรียมดินจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิต ได้แก่ การใช้วัวไถนา การใช้ววั คาดนา และการใช้ววั นวดข้าว บ้านได้ที่ทำนาจะเลีย้ งวัวทุกบ้านประมาณบ้านละ 2-4 ตัว เวลาถึง หน้าเดือนหก (เดือนพฤษภาคม) ก็จะเอาวัวออกไปเตรียมไถนาเตรียมดินแล้วก็คาดนาแล้วก็ใช้คนดำนา หลังจากดำนาเสร็จกจ็ ะปล่อยวัวเลี้ยง ถึงเวลาเกี่ยวข้าวก็จะใช้วัวนวดข้าวโดย การใช้ วัว เหยียบข้าวโดยปัก เสาสูงกลางลาน เรยี กว่า “หลักเหยยี ด” แล้วนำฟอ่ นข้าวมาวางล้อมหลักเกียด แล้วผกู วัวกบั หลัก ต้อนให้วิ่ง รอบๆหลกั เหยียด เพอื่ เหยยี บย่ำไปบนฟ่อนขา้ วจนกว่าเมล็ดข้าวสว่ นใหญ่หลดุ ออกจากรวงข้าว เพ่ือให้เมล็ด ข้าวร่วงออกมา แล้วเอาฟางข้าวออกไปกองไว้นอกลานพอเอาวัวนวดข้าวเสร็จคนสมัยก่อนเขาจะดูจริตวัว จรติ คอื ทา่ ทางในการเดนิ การวงิ่ ท่สี ง่างามของววั วา่ ตัวไหนจริตดนี ่าจะวง่ิ ลานได้ เลยลองเอาวัวมาแข่งกันดู ว่าตวั ไหนจะได้เรว็ กวา่ และเดนิ แบบสง่างาม เลยเปน็ ท่มี าของคำว่า “วัวลาน” ลุงสม ทองศิลย์ ผู้ที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นคนสำคัญของตำบลจอมประทัดด้านการเลี้ยงวัวลานเล่าให้ ฟังว่าย้อนไปเมื่อ 60 ปีก่อนวิถีชีวิตคนกับวัวถือว่ามีความผูกพันกันมากมีการใช้วัวในการช่วยทำนาช่วยใน การเดินทางหรือว่าบรรทุกของหนักและมีการเลี้ยงวิถีการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับวัวจนเกิด ความผูกพันโดยมีการสืบทอดการเลี้ยงมาจากบรรพบุรุษและสอนวิธีการเลี้ยงวัวและการใช้วัวในการทำนา ตั้งแต่เด็ก โดยจะใช่วัวช่วยทำนาตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมดินไปจนถึงขั้นตอนการเก็บเกี่ยวผลผลิต จะมีการ ใชว้ วั ช่วยทำนาในข้ันตอนต่างๆไดแ้ ก่ 1. การไถนา คอื การใชว้ วั 1 คู่ (วัว 2 ตัว) โดยเปน็ ขน้ั ตอนในการเตรยี มดนิ ก่อนจะปลกู ขา้ ว ภาพท่ี 25 การไถนา

๑๕ อปุ กรณ์การไถนา อุปกรณ์การไถนาโดยการใช้วัวไถนาในอดตี เกษตรกรใช้ไถผูกกับววั โดยใชว้ ัวเปน็ กำลังในการดึงไถเพ่ือเปน็ การเบาแรงคนในสมัยก่อนโดยมีอปุ กรณ์การไถนา ดังน้ี 1. ตัวไถ จะเป็นไม้สามช้นิ ได้แก่ - คนั ไถ คอื สว่ นทย่ี ื่นออกไปด้านหน้า เพ่อื เช่ือมต่อกับส่วนท่ผี ูกควาย - หางไถ คือ ส่วนที่ชาวนาใช้จับเวลาไถ เป็นไม้ชิ้นเดียวทำให้เป็นลักษณะเอียงจากหัวหมูมาจนถึง สว่ นท่ีจะต่อเข้ากับคันไถจะเจารสู ่ีเลี่ยมผืนผ้าทะลชุ น้ิ ไม้เพ่ือต่อกับคนั ไถ เหนือส่วนน้ีข้ึนไปจะทำเป็น รปู โคง้ เพื่อสะดวกตอ่ การจบั - หัวหมู คือ ส่วนที่ใช้ไถดิน จะประกอบด้วยไม้หนึ่งชิ้นบากปลายให้แหลมและบาน เจาะรูเดือยตัว เมียสี่เหลี่ยมสำหรับต่อเข้ากับหางไถ ส่วนท้ายจะทำเป็นรูปท่อนกลมยาว เพื่อรักษาระดับไถเวลาไถ นา ส่วนประกอบทเี่ ป็นตัวส่วนหัวจะเป็นรูปทรงแหลมกลวงเรียกว่า ผานไถ ใชส้ วมเข้ากับตัวไมห้ ัวหมู แล้วยึดติดด้วยตะปู ส่วนที่เป็นแผ่นปลายแหลมรับขึ้นมาอีกชิ้นเรียกว่า ปะขางไถ (หรือใบไถ) ใช้ บงั คับดนิ ทีถ่ ูกไถ หรอื ทีเ่ รียกว่า ขี้ไถ ใหพ้ ลกิ ไปตามแนวท่ีต้องการ ทางบา้ นผมท่ีอุบลราชธานีข้ีไถจะ พลกิ ออกไปทางขวามือ 2. แอก คอื ไม้ช้ินทท่ี ำเพ่ือวางบนคอวัว มลี ักษณะเหมอื นเขาควายกางออกตรงกลางสงู ข้ึนเพือ่ ให้รับพอดีกบั คอ วัว 3. ววั 1 คู่ คอื การนำวัว 2 ตวั มาเป็นกำลังในการลากไถเพื่อเป็นการใชใ้ นการไถนา ภาพท่ี 26 ตวั ไถ

๑๖ ภาพที่ 27 แอกสำหรับววั 2 ตวั ขนั้ ตอนการไถนา การไถนาเป็นการเตรียมดินเพาะปลูก โดยการใช้ไถหัวหมูจะทำหน้าที่ตัดและย่อยดินให้แตกแยกจากการ เกาะจบั เป็นผนื ใหญ่ ช่วยพลกิ ดิน และกลบวัชพชื ให้เปน็ ปุ๋ยหรอื อาหารพืชตอ่ ไปได้ โดยมกี ารไถทั้งหมด 2 รอบ รอบ แรกคอื การไถท้ิงหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา่ ไถดะ รอบท่ี 2 จะเปน็ การไถแปลดนิ โดยมีวธิ ีการไถดงั น้ี 1. การไถท้งิ หรอื ไถดะ จะเป็นการไถนาท่ีมีทั้งตน้ หญา้ และฟางอยู่เปน็ การไถเพอ่ื ให้ดนิ ทีแห้งเป็นแผ่นอยู่ แตกแยกออกจากกันและไถเพื่อกลบหญ้าและฟางให้ลงไปอยูใ่ ตด้ ินเพื่อเป็นปุย๋ โดยใช้วัว 2 ตัว แล้วนำไถที่เตรียมไว้ มาผูกกับวัวหลังจากนั้นก็นำวัวลงไปที่ทุ่งนาบริเวณที่จะไถโดยจะใช้คน 2 คน คนหนึ่งจะอยู่บริเวณข้างหน้าวัวเพื่อ บังคับวัวให้เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา โดยการกระตุกเชือกที่ต่อกับตะพาย ส่วนคนที่ 2 จะอยู่ข้างหลังทำหน้าท่ีจับไถให้ตัง้ และจับไถเดินตามวัวไป โดยการไถจะไถจากข้างนอกวนเข้าจะเริ่มจากการวนขวาไปข้างในเรื่อยๆเหมือนก้นหอยจะ ไปสนิ้ สดุ บรเิ วณตรงจุดก่ึงกลางของนาไรน่ ้ันพอดี เสร็จแล้วก็จะนำวัวเดนิ ออกไปเลยไม่ต้องไถวนออกจากน้ันก็เตรียม ไถแปลต่อ 2. การไถแปล คือ การไถเพื่อตีดินให้แตกอีกรอบโดยการใช้น้ำเข้ามาช่วยดว้ ยปล่อยน้ำใส่นาให้เปียกหรือว่า บางครัง้ นาก็อาจจะมีน้ำอยู่แล้วต้ังแตข่ ้ันตอนการไถท้ิง โดยข้นั ตอนการไถแปลก็จะไถลักษณะเหมือนกันกับไถทิ้งหรือ จะเรียกว่าเป็นการไถซ้ำการไถทิ้งก็ได้เพื่อให้ดินแตกแยกออกจากกันละเอียดมากขึ้นและใส่น้ำในนาเพิ่มมากขึ้นจาก การไถทิ้ง พอเสร็จขน้ั ตอนน้กี จ็ ะเป็นการเตรียมขนั้ ตอนการคาดต่อเลย

๑๗ 2. การคราดนา คือ การใช้วัว 1 คู่ (วัว 2 ตัว) ขั้นตอนการคาดเป็นการเตรียมดินหลังจากการไถเป็นการคาด เอาเศษหญ้ากอหญา้ ทอี่ ยู่ในนาออกจากนาเพ่ือให้พ้นื ทน่ี าเปน็ พ้ืนที่ทพี่ ร้อมในการเพราะปลูก อปุ กรณ์การคราดนา การคราดนาในอดีตจะเป็นการใช้อุปกรณ์การคราดที่ทำจากไม้และใช้เช่ือมกับวัวเป็นกำลังช่วยในการตราด โดยจะมอี ปุ กรณแ์ ละส่วนประกอบ ดังน้ี ภาพท่ี 28 คราด 1. คราด เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ทำสำหรับทำให้ดนิ ทีไ่ ถแล้วละเอียด ประกอบด้วย - แมค่ ราด เปน็ ไมท้ ่อนเจาะรูกลมสำหรบั ใสล่ ูกคราด ทำจากไมป้ ระดู่ เนื่องจากเป็นไม้ทีแ่ ขง็ แรงใช้งานได้นาน - ลูกคราด เป็นท่อนไม้กลมๆ รูปเรียวด้านปลายตีเข้าไปในรูของตัวคราด โผล่ออกมาจากตัวคราดประมาณ 10-15 ซม. แต่ละซห่ี ่างหันประมาณ 10-15 ซม. เช่นกนั (ขึ้นอยกู่ บั ผู้ทำ ไมม่ ีสตู รตายตวั ) ทำจากไม้ประดู่หากไม่มี สามารถใช้ไม้ไมแ้ ดงแทนได้ - โขนงคราด เป็นไม้สองชิ้นยาวที่ต่อระหว่างตัวคราด ขนานกลับพื้น ยาวจนถึงแอกควาย เวลาใช้งานควาย จะอยรู่ ะหวา่ งคนั คราด ทำจากไม้ลวกป่า เนือ่ งจากมคี วามหนาและแขง็ แรงกว่าไม้ไผท่ ่ัวไป - เสาจบั คาด เป็นเสาสองเสาทตี่ ง้ั ขน้ึ เพื่อเปน็ ตัวยึดมอื จับกบั ตัวคราด ทำจากไมแ้ ดง เน่อื งจากมคี วามแขง็ แรง หากไมม่ สี ามารถใชไ้ ม้ประดแู่ ทนได้

๑๘ - มือจับคราด เป็นไม้ยาวทรงกลมสำหรับจับเวลาคราดนา ทำจากไม้แดง เนื่องจากมีความแข็งแรงและ ทนทานหักยากหากไม่มสี ามารถใชไ้ มป้ ระด่แู ทนได้ - ไม้ขันชะเนาะ คือ ไม่ที่ใช้ไว้เป็นตัวหมุนดึงและยึดเชือกให้ตึงเพื่อปรับความกว้างของคราด ทำจากไม้แดง เนอ่ื งจากมคี วามแข็งแรง 2. แอก คือ ไม้ช้ินท่ีทำเพือ่ วางบนคอวัว มีลักษณะเหมือนเขาควายกางออก ตรงกลางสงู ขนึ้ เพ่ือให้รับพอดี กบั คอวัว 3. ววั 1 คู่ คอื การนำววั 2 ตัว มาเป็นกำลงั ในการลากคราดเพื่อเปน็ การใช้ในการคราดนา ขน้ั ตอนการคราดนา การคราดก็ถือเปน็ อีกหนึง่ ข้ันตอนในการเตรยี มดนิ โดยขน้ั ตอนนี้จะเป็นการรวบรวมเศษหญ้าท่ีหลงเหลืออยู่ ในแปลงนาหลังจากมีการไถดะและไถแปรแล้วเอาออกจากแปลงนา โดยส่วนใหญ่ตัวคราดนาสมัยก่อนจะทำจากไม้ โดยจะนำคราดมาเพื่อใช้คราดหรือรวบรวมหญ้าในแปลงนาให้เป็นกอง ๆ โดยใช้แรงวัว 2 ตัว ในการคราด โดยมี ขั้นตอนการคราด ดังน้ี 1. นำคราดทีเ่ ตรียมไว้มาผูกต่อกบั ววั 2 ตัว แล้วนำววั ลงไปทท่ี ุ่งนาบรเิ วณตอ้ งการคราด 2. เร่มิ คราดจากมุมของคันนาฝั่งไหนกอ่ นก็ไดโ้ ดยจะมีคนจับคาดเดินตามหลังววั 1 คน 3. พอวัวเดินไปถึงอีกฝั่งของคันนาก็จะยกคราดและบังคับให้วัวหันกลับมาและวางคลาดเดินวนกับมาโดย ขยับขน้ึ มาจากรอยเดมิ ทคี่ ราดไปแล้วโดยทำแบบนไ้ี ปเรื่อยๆ วนกลับไปมาจะท่วั นา 4. คราดซำ้ เชน่ เดิมอกี จนกว่าดินจะแตกละเอยี ด พรอ้ มกับออกแรงกดคราดลงดินขณะท่ีคราดอยู่แล้วยกข้ึน เพอ่ื ให้ไดเ้ ศษหญา้ ที่หลงเหลอื อยแู่ ล้วเก็บออกจากแปลงนาไปกองๆไว้บริเวณคันนา 5. การคราดนาจะไม่ระบุว่าต้องคราดกี่รอบ ส่วนมากลักษณะดินแต่ละทุ่งนาจะไม่เหมือนกันมีแข่งบ้างน่ิม บ้างจึงใช้การสงั เกตเอาว่าคราดจนดนิ ละเอียดนม่ิ ดแี ล้วและดเู ศษหญ้าในดนิ ดว้ ยว่าเก็บออกหมดรึยังถ้าดนิ ระเอียดน่ิม ดีแล้วและเศษหญา้ ในนาไม่มแี ล้วก็ถือว่าเป็นการเสร็จในขั้นตอนการคราดและต่อไปก็จะเป็นการเตรยี มการปลูกข้าว ต่อไป

๑๙ ภาพท่ี 29 การคราดนา ทม่ี า : www.mgronline.com วนั ทส่ี ืบคน้ 20 พฤษภาคม 2564 3. การนวดข้าว คือ การใช้วัวเหยยี บข้าวโดยปักเสาสงู กลางลาน เรยี กว่า “หลักเกยี ด” จะใชว้ ัวประมาณ 2-4 ตัว โดยจำนวนวัวที่ใช้ข้นึ อยู่กบั จำนวนข้าวและขนาดของลานข้าวว่าเยอะและกวา้ งแคไ่ หน อปุ กรณก์ ารนวดข้าว การนวดข้าวในอดีตเกษตรกรจะใช้วัวในการช่วยนวดข้าวโดยการนำวัวมาเหยียบย่ำข้าวในลานที่ จัดเตรียมไว้ แตใ่ นปัจจบุ นั ใช้เปน็ รถนวดขา้ วหมดแล้วเนอ่ื งจากมคี วามรวดเร็วกวา่ โดยมอี ปุ กรณ์การนวดขา้ ว ดังน้ี 1. หลักเกียด คือ เสาที่ทำจากไม้แดงซึ่งเป็นไม้เนื้อแข็งมีความแข็งแรงทนทานเนื่องจากหลักเกียดต้องใช้ เปน็ จดุ กลางที่ใช้ในการผูกยึดวัวหลายตวั ไว้ดังนั้นจงึ ต้องใช้ไม้ที่แข็งแรงหากไม่มีไม้แดง สามารถใช้ไม้เต็งและไม้มะค่า แทนได้ ความยาวของหลกั เกียดประมาณ 4 เมตร ฝงั ลงดิน 1 เมตร บริเวณกลางลานนวดข้าว ภาพท่ี 30 หลกั เกยี ด

๒๐ 2. เชือกพวน คือ เชือกเส้นใหญ่ทรงกลมทม่ี ีความหนาประมาณ 1 นว้ิ ยาวประมาณ 2-4 เมตร ปลายเชอื ก ฝั่งหนึง่ ทำเป็นห่วงเพื่อผกู คอวัว ภาพที่ 31 เชอื กพวน 3. ปฏัก คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแทงหรือทิ่มให้วัวเดินหรือวิ่งนวดข้าวในลานโดยทำด้ามจากไม้ลวกไป เนื่องจากมีความแข็งไม่เปราะหรือหักง่ายสามารถเก็บไว้ใช้ได้นานใช้เลี้ยงววั ก็ไดด้ ้วยสว่ นปลายใส่เหล็กแหลมเล็กโผล่ ออกมาประมาณ 4-5 เซนติเมตร เพ่ือเปน็ ตัวทิ่มให้วัวตกในแลว้ เดิน ภาพที่ 32 ปฏกั ภาพท่ี 33 ปฏกั

๒๑ 4. ววั จะใช้ประมาณ 2 – 4 ตวั ข้ึนอยูก่ บั ขนาดของลานและจำนวนข้าวทีเ่ กบ็ เกี่ยว ขนั้ ตอนการนวดข้าว ภาพท่ี 34 การนวดขา้ ว 1. การเตรียมลาน 1.1 เดิมคนสมัยก่อนจะใช้ขี้วัวสดที่ที่เก็บหลังจากวัวขี้ตอนเช้า ต้องเก็บใส่กระสอบไว้ก่อนเพื่อที่จะ นำมาใชใ้ นการทาลาน 1.2 นำขี้ววั ที่เกบ็ ไว้ไปทาเป็นลานคลา้ ยๆกับใช้ปนู เทเป็นลานกว้างๆโดยขนาดของลานท่ีทำข้ึนอยู่กับ จำนวนข้าวของเข้าของนานน้ั ๆว่ามีข้าวเยอะหรือขา้ วน้อยถา้ มีขา้ วเยอะก็จะทำเป็นลานกวา้ งพอที่วางฟ่อนข้าวที่มีอยู่ โดยจะนำขี้วัวสดๆหรือถ้าขี้วัวที่เก็บไว้ไม่เปียกพอก็จะนำไปคลุกกับน้ำให้ขี้วัวเหนียวๆเพื่อจะนำมาทาเป็นลาน หลงั จากทท่ี าเป็นลานแล้วก็จะตากไว้เปน็ เวลา 2 วนั เพอื่ ท่จี ะใหล้ านแหง้ พร้อมนำฟ่อนข้าวมาวางได้

๒๒ ภาพที่ 35 การเตรียมลาน 1.3 หลังจากทาลานเสร็จก็จะเป็นการนำหลักเกียดไปตั้งบริเวณกลางลานโดยหลักเกียดนั้นคนสมัยก่อน สว่ นมากจะใช้ไม้แดงเน่ืองจากมีความแขง็ ม่ันคงไมห่ ักงา่ ยความสูงประมาณ 4 เมตร ฝังลงดินลึกประมาณ 1.5 เมตร หลังจากนนั้ กน็ ำววั มาผูกทห่ี ลักเกียดเพือ่ เตรียมนวดขา้ ว 1.4 นำฟ่อนข้าวมาวางในลาน (ฟ่อนข้าว คือ การเกี่ยวข้าวเป็นกำๆมารวมกันประมาณ 3-4 กำ แล้วมัก รวมกัน จะเรยี กวา่ 1 ฟ่อน) เป็นวงกลมรอบๆหลักเกยี ด 1.5 ใช้วัวนวดข้าว โดยการนำปฏักทิ่มที่ท้ายวัวเพื่อให้วัวเดินเป็นวงกลมหมุนรอบหลักเกียดเหยียบย่ำฟ่อน ขา้ วเพอ่ื ให้เมล็ดข้าวหลดุ ออกจากฟ่อนขา้ วโดยจะให้ววั เดินเหยียบไปเร่ือยๆจนเมล็ดขา้ วหลดุ ออกมากที่สุดส่วนเมล็ด ข้าวท่ยี ังมีเหลอื ติดอยฟู่ ่อนขา้ วชาวนาก็จะนำไปฟาดกับมือเองเพื่อให้เมลด็ ข้าวหลดุ ออกมาใหห้ มด

๒๓ ผู้ใหข้ อ้ มลู ช่อื – สกลุ : นายสม ทองศลิ ย์ ชอ่ื แล่น : อ้วน วัน/เดือน/ปเี กดิ : วนั ท่ี 10 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2502 อายุ : 62 ปี ที่อยู่ : บ้านเลขท่ี 6 หมู่ที่ 7 บา้ นดอนกลาง ตำบลจอมประทัด อำเภอวัดเพลง จงั ราชบุรี รหัสไปรษณีย์ 70000 เบอรโ์ ทรศพั ท์ : - ประกอบอาชีพ : เกษตรกร ประวัติความเป็นมา เรมิ่ ต้นจากการเลี้ยงวัวในสมัยเด็กตงั้ แตร่ นุ่ บรรพบรุ ุษพอเรียนจบกอ็ อกมาประกอบ อาชพี ทำนาตามบรรพบรุ ุษที่ทำตอ่ กันมาโดยการใชว้ วั ในการทำนาก่อนทจ่ี ะนำวัวมาช่วยทำนากต็ ้องมีการเลี้ยงดแู ล และการฝกึ ฝนจนกวา่ ววั จะไถนาเปน็ จึงทำใหเ้ กิดความผูกพันระหว่างคนกบั วัวเพราะต้องอยู่ด้วยกันทุกวันจึงรู้และ สงั เกตทุกอยา่ งเกยี่ วกบั ววั ไดเ้ มอ่ื วัวมอี าการแปลกๆ เชน่ ไม่สบาย หรือว่าววั ตอ้ งการผสมพนั ธุแ์ ละอาการของวัวท่ตี ง้ั ท้อง และตอ่ มาได้มกี ารนำวัวหลังจากวา่ จากการทำนามาแขง่ วัดความเรว็ และกำลงั ของวัวกนั เพ่อื ความสนกุ สนาน จงึ เร่ิมมีความเช่ยี วชาญด้านการดูแลวัววา่ ดแู ลอย่างไรให้วัวกินอะไรถึงวง่ิ เรว็ และมคี วามรู้เรอ่ื งการเลิกวัวทเ่ี ปน็ มงคล และมกี ำลังดี จากประสบการณ์ในการเล้ยี งววั และจากการถ่ายทอดองค์ความรูจ้ ากบรรพบุรษุ

๒๔ ผู้ให้ข้อมูล ชอ่ื – สกลุ : นายสวสั เฉ่อื ยชำ ชอื่ แล่น : ปด๊ื วัน/เดอื น/ปีเกิด : วนั ที่ 22 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2506 อายุ : 59 ปี ทอี่ ยู่ : บา้ นเลขท่ี 6/2 หมู่ที่ 7 บา้ นดอนกลาง ตำบลจอมประทัด อำเภอวดั เพลง จังราชบุรี รหัสไปรษณีย์ 70000 เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 092 – 6653793 ประกอบอาชีพ : เกษตรกร ประวัติความเปน็ มา เริ่มต้นจากการสนใจในกีฬาวัวลาน ได้มีการติดตามญาติผู้ใหญท่ ่ีเป็นเล่นแข่งขันวัวลาน ที่สนามต่างๆ โดยไปดูวิธีการแข่งการละเล่นของแต่ละพ้ืนที่และกย็ ังมกี ารขอไปเล้ยี งวัวกับญาติเพื่อศึกษาวิธีการเลี้ยง วัวการดูแลวัวโดยได้รับการถ่ายทอดความรู้จากบุคคลที่เลี้ยงวัวมาหลายคน ต่อมาได้มีการไปซื้อวัวลานมาเลี้ยงเป็น ของตนเองตั้งแตอ่ ายุ 22 ปี โดยมีการเลีย้ งตามวิธที ่ีไดร้ บั การถา่ ยทอดมามีการดูแลวัวก่อนแขง่ โดยใหก้ นิ อาหารเพ่ือชู กำลังและมีการนำวัวไปแข่งกับกลุ่มเพื่อนที่อยู่ในหลายพื้นที่ที่รู้จักกันมาหลายสนาม วัวแพ้บ้างชนะบ้าง แต่ก็เลี้ยง และดูแลเอาใจใส่อย่างดี แตป่ ัจจบุ ันไมไ่ ดน้ ำวัวไปซอ้ มหรือไปแข่งมาประมาณ 1-2 ปีแลว้ เน่อื งจากสถานการณ์โควิด 19 จงึ ทำให้ไมส่ ามารถจดั การแข่งขันได้ ปจั จุบัน เลย้ี งววั ลานทั้งหมด 5 ตวั มีวัวตวั เมีย 1 ตวั วัวตัวผู้ 4 ตวั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook