Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง 1-64

กิจกรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง 1-64

Published by ศกร.ตำบลทุ่งใหญ่, 2021-09-26 17:46:31

Description: กิจกรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง 1-64

Search

Read the Text Version

ชอื่ โครงการ การสานตะกร้าจากเส้นพลาสตกิ ตำบลหนองหลวง กศน.อำเภอสว่างอารมณ์ สำนักงาน กศน. จังหวดั อทุ ยั ธานี ชื่อ เจา้ ของผลงาน...นายบุญธรรม ภู่ชม....สังกดั ...กศน.อำเภอสวา่ งอารมณ์ สำนกั งาน กศน.จังหวดั อทุ ยั ธานี 1. ความเปน็ มาและความสำคัญของวิธีหรือแนวทางปฏิบัติงานทเี่ ปน็ เลศิ กลมุ่ การสานตะกร้าจากเสน้ พลาสติก ก่อตัง้ ขึ้นเม่อื วนั ท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 โดย นางวฒั นา แก้วแกม เปน็ ประธานกลุ่ม ดังนน้ั เพือ่ ความสอดคลอ้ งกับนโยบายตามภารกจิ เรง่ ด่วน 12 ข้อ ของทา่ นเลขาธิการ กศน.สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ข้อ 1. น้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาสู่การปฏิบัติ “หนึ่งชุมชน หนึ่งนวัตกรรมการพัฒนาชุมชน ถิ่นไทยงาม” เพื่อความกินดีอยู่ดี มีงานทำ เช่น โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยน้ำใส, พลังงานทดแทน (แสงอาทติ ย์) ,จติ อาสาพฒั นาชุมชน ข้อ 2. ขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์) ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมความรู้ไปใช้จนเห็นเป็น ประจกั ษ์หรอื ตวั อย่างที่ดี ขอ้ 8. สง่ เสริม สนับสนุนการฝึกอาชพี เพื่อการมีงานทำ “Re-Skill Up-Skill และออกใบรบั รองความรู้ ความสามารถ” สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตัวบง่ ชี้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อำเภอ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ประเดน็ การพิจารณา 11. ผู้เรียนการศกึ ษาต่อเนอื่ งมีความรู้ ความสามารถ และหรอื ทักษะ และหรือ คณุ ธรรมเปน็ ไปตาม เกณฑ์การจบหลักสูตร ประเดน็ การพจิ ารณา 1.2 ผู้จบหลักสตู รการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้ไปใช้ หรือประยุกตใ์ ช้ บนฐานค่านิยมรว่ ม ของสังคม ประเด็นการพิจารณา 1.3 ผจู้ บหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องทน่ี ำความรไู้ ปใชจ้ นเห็นเป็นประจกั ษห์ รือ ตวั อยา่ งที่ดี มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การเรียนรู้การศกึ ษาตอ่ เนื่อง ประเด็นการพิจารณา 2.1 หลกั สตู รการศึกษาต่อเน่ืองมีคณุ ภาพ ประเด็นการพิจารณา 2.2 วทิ ยากรการศึกษาตอ่ เน่ือง มีความรู้ ความสามารถ หรอื ประสบการณ์ตรงตาม หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง ประเด็นการพจิ ารณา 2.3 สื่อท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ ประเดน็ การพจิ ารณา 2.4 การวัดและประเมนิ ผลผู้เรยี นการศึกษาต่อเน่ือง ประเดน็ การพิจารณา 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนอื่ งท่ีมีคณุ ภาพ

2 มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ประเดน็ การพจิ ารณา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทเ่ี น้นการมสี ่วนร่วม ประเด็นการพจิ ารณา 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ประเดน็ การพจิ ารณา 3.3 การพฒั นาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการ ประเด็นการพจิ ารณา 3.5 การกำกับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา ประเด็นการพจิ ารณา 3.6 การปฏบิ ตั ิหน้าทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทท่ีกำหนด ประเดน็ การพจิ ารณา 3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคเี ครือขา่ ยใหม้ สี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา ประเด็นการพิจารณา 3.8 การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ ประเดน็ การพิจารณา 3.9 การวิจยั เพือ่ การบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุน และ ตอบสนองกับความต้องการของประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน พนื้ ท่ตี ำบลหนองหลวง จงึ ไดจ้ ัดโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน (หนง่ึ อำเภอหนง่ึ อาชพี ) หลกั สตู รการสานตะกรา้ จาก เส้นพลาสตกิ จำนวน 60 ชัว่ โมง ระหวา่ งวันที่ 28 มกราคม 2564 ถึงวนั ที่ 8 กมุ ภาพันธ์ 2564 เพื่อเป็นการให้ ความรู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นาอาชีพให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจในตำบลใหส้ ามารถนำไปประกอบ เป็น อาชีพ พัฒนาอาชีพ ต่อเนื่องด้วยหลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง จำนวน 60 ชั่วโมง ระหว่างวันที่ 10 – 21 กุมภาพันธ์ 2564 และเพื่อเป็นการส่งเสริมการขายจึงจัดหลักสูตรการออกแบบโลโก้ผลิตภัณฑ์ จำนวน 35 ช่ัวโมง เพอ่ื เพิม่ มลู ค่าสนิ คา้ และก่อให้เกิดรายได้กบั ตนเองและครอบครัว เปน็ การสรา้ งอาชพี ใหเ้ กดิ ความม่ันคง ต่อไป เพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายและขยายตลาดความต้องการ จึงจัดการสอนหลักสูตรการสานกระเป๋า จากเส้นพลาสตกิ ใหก้ ับกลุ่ม ในวันที่ 28 มิถนุ ายน 2564 2. วัตถปุ ระสงค์หรือจดุ มุ่งหมายของการดำเนินงาน 2.1 เพื่อให้ผู้รบั การฝึกสามารถทำตะกร้าจกั สานเสน้ พลาสติกได้ถกู ต้องตามข้นั ตอน 2.2 เพือ่ ใหผ้ รู้ ับการฝกึ สามารถปฏิบตั ิงานการทำตะกรา้ จากเชือกมัดฟางได้พัฒนาอาชพี 2.3 เพื่อให้ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานสามารถเพิ่มมูลค่าสินค้าและเกิดประโยชน์และสามารถนำไปประกอบ เป็นอาชีพ พัฒนาอาชพี ใหเ้ กิดรายได้กบั ตนเองและครอบครวั 3. กระบวนการข้นั ตอนการดำเนินงาน กล่มุ การทำตะกรา้ จักสานเสน้ พลาสตกิ ตำบลหนองหลวง มผี ู้รับผดิ ชอบดแู ลกลุ่ม คอื นายบญุ ธรรม ภู่ชม ครู กศน.ตำบลหนองหลวง กศน.อำเภอสว่างอารมณ์ ได้จัดกระบวนการเรียนรู้โดยมีแนวทางมุ่งพัฒนาอาชีพกลุ่ม การทำตะกร้าจักสานเส้นพลาสติก ตำบลหนองหลวง ในเรื่องการนำอาชีพในท้องถิ่นมาเพิ่มมูลค่าให้ออกมาในรูป ผลติ ภัณฑเ์ พอื่ จัดจำหนา่ ย โดยมวี ัตถปุ ระสงคด์ ังตอ่ ไปนี้ 1. เพื่อพัฒนากลุ่มการทำตะกร้าจักสานพลาสติกให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์และจำหน่าย ผลิตภณั ฑ์จากการทำตะกร้าจักสานเสน้ พลาสติกได้อย่างมคี ุณภาพ 2. เพ่ือส่งเสรมิ การสรา้ งงาน สร้างรายได้ อย่อู ยา่ งพอ และยง่ั ยนื ใหก้ บั สมาชิกในกลุม่ 3. เพ่ือจดั ระบบบรหิ ารจัดการภายในกล่มุ ใหเ้ ป็นระบบ ระเบยี บ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ กิจกรรมเดน่ (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง

3 เป้าหมาย : เชิงปริมาณ สมาชกิ กล่มุ การสานตะกร้าจากเสน้ พลาสติก จำนวน 24 คน : เชงิ คณุ ภาพ สมาชกิ กลุ่มการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก เกิดความรู้ และมีทักษะ ในการผลิตตะกร้าจักสานเส้นพลาสติก การบริหารจัดการกลุ่ม และ สามารถนำความรู้และรายได้ไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของครอบครัว กระบวนการดำเนินงาน 1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อทราบถึงพัฒนาการกลุ่ม สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะในการ แก้ปญั หาในการบริหารจัดการกลุ่มการทำตะกร้าจักสานพลาสติก ตำบลหนองหลวง 2. จัดทำโครงการ แผนงาน กิจกรรมภายในกลุ่ม จัดทำบญั ชี และหลกั สตู รต่าง ๆ ท่ีจดั จำหนา่ ย ภายในกลมุ่ 3. ประสานงานหนว่ ยงานต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งเพอื่ ฝกึ อบรมทักษะให้กับสมาชกิ ในกลมุ่ 4. ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนงานที่กำหนดและสามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมได้ตามความ เหมาะสม 5. ตดิ ตามและประเมินผลร่วมกบั หน่วยงาน/เครอื ข่ายทเ่ี กยี่ วข้อง 6. สรปุ และจัดทำรายงานผลการดำเนนิ งาน และเผยแพร่ไปยังหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 4. ผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงานพบว่า สมาชิกกลุ่มการทำตะกร้าจักสานพลาสติก ตำบลหนองหลวง จำนวน 24 คน มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง กระบวนการบริหารจัดการกลุ่ม การผลิตให้ทันต่อเวลา การจัดหา วัตถุดิบ และการปันผล สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก และสมาชิกกลุ่มการสาน ตะกร้าจากพลาสติกตำบลหนองหลวง มีงาน สร้างรายได้ อยู่อย่างพอเพียง ยั่งยืน ร่วมทั้งสามารถบริหารจัดการ ระบบภายในกลุ่ม ให้เป็นระบบ ระเบียบ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ 5. ปจั จัยปอ้ น 1. ดา้ นบคุ ลากร : ครู กศน.ตำบล ในพื้นที่มีความใกล้ชิดเป็นกันเองกับสมาชิกกลุ่ม พร้อมทั้ง ได้รับแรงสนบั สนุน ส่งเสริม และใหค้ ำปรึกษาที่ดีจาก ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอสว่างอารมณ์ และสำนักงาน กศน. จงั หวัดอทุ ยั ธานี ในการร่วมกนั แก้ไขปญั หา ใหก้ ล่มุ ประสบความสำเรจ็ 2. ด้านงบประมาณ : งบประมาณ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ของสำนักงาน กศน. งบประมาณจาก ภาคีเครือขา่ ย เชน่ สำนักงานพัฒนาทีด่ ิน พัฒนาชมุ ชน และงบประมาณการบรหิ ารจัดการของกลุ่มเอง 3. ด้าน สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ : จากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน และวัสดุที่หาได้จากท้องถิ่นในแต่ ละบ้านของสมาชกิ กลุ่มและประธานกลุ่ม 4. ด้านการบริหารจัดการ : เนื่องจากประธานกลุ่มมีความเข็มแข็ง และสมาชิกกลุ่มเองมีความ สามัคคีกันมาก ทำให้การบริหารจัดการภายในกลุ่มเกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รวมทั้งมีภาคีเครือข่ายท่ี หลายหลากในการชว่ ยสนับสนนุ ใหก้ ลมุ่ สามารถผลติ ภณั ฑ์ ได้ตอบโจทยค์ วามต้องการของตลาด กิจกรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง

4 6. ปจั จัยทีส่ ง่ ผลตอ่ ความสำเร็จ ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ ความสำเร็จ ของโครงการนี้ คอื การทำงานรว่ มกับภาคีเครือข่าย ไดแ้ ก่ สำนกั งาน พัฒนาที่ดินจังหวัดอุทัยธานี, สำนักงานเกษตรอำเภอสว่างอารมณ์, อบต.หนองหลวง, สำนักงานพัฒนาชุมชน อำเภอสว่างอารมณ์ เพื่อร่วมกันส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ให้ความรู้แก่สมาชิกในกลุ่มในการพัฒนาคุณภาพ ให้มี มาตรฐาน และนางวัฒนา แก้วแกม ซึง่ เป็นประธานกลุม่ เปน็ บคุ คลท่ีมคี วามกระตอื รอื ร้น ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี นอยู่เสมอและ นำความรูเ้ ทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการพฒั นาใหก้ ลมุ่ มคี วามเขม้ แขง็ มากยิ่งขึน้ 7. บทเรยี นที่ได้รบั 1. ความสำคัญในการ ประกอบอาชีพตะกรา้ จักสานเสน้ พลาสตกิ และความเปน็ ไปไดใ้ นการ ประกอบ อาชพี ตะกรา้ จักสานเส้นพลาสติก การวางแผน และการบริหารจดั การ การจัดหาเงินทุน และความต้องการของ ตลาดช่องทางการจัด จำหนา่ ย 2. สถานประกอบการ เครือขา่ ย กลุม่ และองค์กร ตวั อย่างทป่ี ระสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาชีพ การทำตะกรา้ จักสานพลาสติก 1. การดูแลรักษาคุณภาพ ของการทำตะกรา้ จักสานพลาสติก 2. การลดต้นทนุ ในการ ผลติ สนิ ค้า 3. การเพม่ิ มูลคา่ สนิ คา้ การออกแบบ การประยุกต์ใช้ จัดการการตลาด การประชาสมั พนั ธ์และการ ส่งเสรมิ การขายและบริการ 1. จัดการความเสีย่ ง 2 .วเิ คราะหศ์ กั ยภาพใน การประกอบอาชีพการทำตะกรา้ จักสานพลาสติก แนวทางแก้ไขที่ประสบความสำเร็จ : มีการเรียนรู้กับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ในการให้ความรู้ และผลิตเป็น ผลิตภณั ฑท์ ส่ี ามารถมขี ายไดต้ ลาดทั้งปี 8. การเผยแพร่ เชน่ การจำหน่ายสนิ ค้าทาง OOCC ชื่อ…ศนู ยจ์ ำหน่ายสินค้าออนไลน์ oocc ตำบลหนองหลวง 9. ข้อเสนอแนะวิธปี ฏิบัตงิ านทจ่ี ะทำให้ดยี ง่ิ ข้นึ แนวทางการพัฒนาต่อเนื่องในอนาคตกลุ่มจะดำเนินการจัดทำ สินค้าที่กลุ่มจัดจำหน่าย มี ช่องทางการจัดจำหน่ายที่หลากหลาย เช่น ส่งบริษัท KERRY EXPRESS ไปรษณีย์ ออกงานแสดงสินค้ากับ หนว่ ยงานราชการ เชน่ งาน EXPO และขายในตลาดชุมชน กจิ กรรมเดน่ (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง

5 10. ภาพประกอบกลมุ่ การสานตะกรา้ จากเสน้ พลาสตกิ ตำบลหนองหลวง กิจกรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง

6 กิจกรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง

7 กิจกรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง

8 กิจกรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง

9 กิจกรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง

10 คำนำ รายงานผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมเด่น (Best practice) ของ กศน.ตำบลหนองหลวง เป็นการสรุปผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมที่ กศน.ตำบลหนองหลวง ได้จัดทำขึ้น ซึ่งได้สะท้อนปัญหา/ อุปสรรค ข้อเสนอแนะการดำเนินงานไว้ เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรายงานผลการจัดกิจกรรม ให้ ผู้บงั คบั บัญชาสถานศึกษาไดร้ ับทราบ กศน.ตำบลหนองหลวง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ และเป็นแนวทางใน การดำเนินงานครง้ั ต่อไป นอกจากนจ้ี ึงขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องต่างๆ ท่ไี ด้ใหค้ วามรว่ มมือเปน็ อย่างดีและทำให้ การดำเนนิ งานประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ กศน.ตำบลหนองหลวง กจิ กรรมเด่น (Best practice) กศน.ตำบลหนองหลวง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook