Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ เรื่อง เสน่ห์มนขลังเมือง 3 วัง เพชรบุรี

หนังสือ เรื่อง เสน่ห์มนขลังเมือง 3 วัง เพชรบุรี

Description: หนังสือ เรื่อง เสน่ห์มนขลังเมือง 3 วัง เพชรบุรี

Search

Read the Text Version

“เขาวงั คู่บา้ น ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” ตราประจาจังหวัดเพชรบุรี รูปเขาวัง ผนื นา และตน้ ตาลโตนด เขาวงั หมายถงึ เขาท่ตี ้ังของพระนครคีรี ซ่ึงรัชกาล 4 ทรงสร้างและพระเจดยี ์พระ ธาตุจอมเพชรนบั เปน็ เจดียค์ ่บู ้านคู่เมือง ผนื นา หมายถงึ เมืองเกษตรกรรมและความอดุ มสมบรู ณ์ ต้นตาลโตนด หมายถงึ ตน้ ไม้สญั ลักษณข์ องจังหวดั

“เขาวงั ค่บู า้ น ขนมหวานเมอื งพระ เลิศล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” คาขวญั ประจาจังหวดั “เขาวังคบู่ ้าน ขนมหวานเมอื งพระ เลิศล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” ต้นไมป้ ระจาจงั หวดั “ตน้ หว้า”

“เขาวังคบู่ ้าน ขนมหวานเมอื งพระ เลิศลา้ ศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” เพชรบุรี เมอื ง 3 วัง เพชรบุรไี ด้ชอื่ วา่ “เมอื งงามสามวัง” เพราะมพี ระราชวังงดงามเกา่ แก่อย่ถู ึง 3 แห่ง ใน 3 ยคุ สมยั ใน 3 รัชกาลดว้ ยกนั คอื รชั กาลที่ 4-5-6 เพชรบุรี หรือที่ผู้คนทั่วไปเรียกสั้นๆว่า เมืองเพชร เป็นเมืองเก่าแก่ท่ีมีประวัติศาสตร์อัน ยาวนานนับพันปี จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกถึงความเป็นชุมชนมาตั้งแต่สมัยทวารวดี ตราบจนในสมัยอยุธยา เพชรบุรีก็ยังคงเป็นเมืองสาคัญในดินแดนทางภาคตะวันตก และเป็นหัว เมืองหน้าด่านที่สาคัญ จวบจนสมัยรัตนโกสินทร์ เพชรบุรีได้เปล่ียนบทบาทจากเมืองยุทธศาสตร์ มาเป็นเมืองท่ีประทับแปรพระราชฐานของพระมหากษัตริย์ถึง 3 รัชกาลด้วยกัน คือพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระมงกุฏ เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ประจักษ์พยานท่ีเป็นรปู ธรรมที่ยังคงอยู่คือพระราชวงั สาคัญสามแห่ง คอื พระนครคีรี พระรามราชนิเวศน์(วังบ้านปืน) และพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน นี่จึงเป็นจุดเร่ิมต้นของความเป็น เมอื งทอ่ งเทย่ี วพักผ่อนตากอากาศในยุคแรก ๆ ของไทย ปัจจุบันเพชรบุรีจึงเป็นดินแดนท่ีมีชีวิตชีวา เต็มเป่ียมไปด้วยแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย ท้ังโบราณสถาน โบราณวัตถุ หาดทราย ชายทะเล วิถีชีวิตพื้นบ้าน อาหารการกิน สินค้า หัตถกรรม เปน็ เมอื งท่องเทีย่ วทีส่ าคญั ทส่ี ุดแหง่ หนง่ึ ของภาคตะวนั ตก

“เขาวงั คู่บ้าน ขนมหวานเมอื งพระ เลศิ ลา้ ศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” พระนครครี ี อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี หรือ เขาวัง เป็นพระราชวังสร้างอยู่บนเขามหา สวรรค์สูง 92 เมตร พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวทรงพอพระราชหฤทัยในเขาวัง จงึ ทรง สร้างพระราชวังขึ้นบนเขาวัง สาหรับเป็นท่ีแปรพระราชฐาน สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2403 แล้ว พระราชทานนามว่าพระนครคีรี แต่ชาวเมืองเพชรก็ยังคงเรียกเขาวังติดปากมาจนทุกวันน้ีพระนคร คีรีมีพระที่นั่ง และพระตาหนักมากมาย นอกจากน้ียังมีโรงม้า โรงรถศาลามหาดเล็ก โรงครัว ฯลฯ ตามแบบพระราชวังท่ัวไป รอบ ๆ ที่ตั้งพระราชวังมีป้อมเรียงรายอยู่ทั้ง 4 ทิศ นอกจากจะ สร้างพระราชวังแล้วยังมีการบูรณะวัดหน่ึงคือ วัดมหาสมณาราม อันเป็นวัดเก่าแก่แต่สมัยอยุธยา และสร้างวัดใหม่ขึ้นอีกหนึ่งวัดคือวัดพระแก้ว อีกทั้งโปรดให้บูรณะพระธาตุเก่าแก่ และให้นาพระ บรมสารีริกธาตมุ าบรรจไุ วภ้ ายใน พระราชทานนามวา่ “ พระธาตจุ อมเพชร “

“เขาวังคู่บา้ น ขนมหวานเมอื งพระ เลิศล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” พระรามราชนิเวศน์ พระรามราชนเิ วศน์ หรือท่ีประชาชนรู้จกั กันดวี ่า \"วงั บ้านปนื \" ต้ังอย่รู ิมฝัง่ ตะวนั ตกของแมน่ า้ เพชรบรุ ี ในความ รบั ผิดชอบของจงั หวัดทหารบกเพชรบุรี ต.บ้านหม้อ อ.เมอื ง จ.เพชรบรุ ี ครอบคลมุ พน้ื ท่ี 349 ไร่ 1 งาน 16 ตารางวา สร้างปลายสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสดจ็ วางศิลาพระฤกษ์ เม่ือวนั ท่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2453 มีการก่อสร้างด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมยุโรปแบบโมเดิร์นสไตล์ หันหน้าไปทางทิศใต้ ซ่ึงห่างจากแม่น้าเพชรบุรี ด้านทิศตะวันออกราว 50 เมตร หลังคามีสีน้าตาลเป็นกระเบ้ืองท่ีสั่งมาจากต่างประเทศ แบบเดียวกับพระราชวังของพระ เจ้าวิลเฮิร์มไกเซอร์แห่งประเทศเยอรมันโดยทาแบบสองชั้นมียอดสองยอดคือยอดพระตาหนักและยอดมุข ผู้ที่เป็นสถาปนิก เขียนแบบรูปพระตาหนักตามกระแสพระราชดาริ คือ มิสเตอร์ คาร์ล ดอร่ิงชาวเยอรมัน โดยมี มิสเตอร์ ไบเยอร์ เป็น วิศวกร แต่การก่อสร้างยังไม่ทันเสร็จสมบูรณ์พระองค์ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน คร้ังถึงพระสมัยองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฏ เกล้าเจา้ อยู่หัว จงึ โปรดเกล้าฯให้ดาเนนิ การก่อสรา้ งตอ่ จนสาเรจ็ ในปี พ.ศ.2459 และได้พระราชทานนามว่า \"พระราม ราชนิเวศน์\" รวมระยะเวลาก่อสร้างทั้งส้ินประมาณ 7 ปีนับเป็นพระราชวังท่ีมีความงดงามและสมบูรณ์แบบท่ีสุดแห่งหนึ่ง ของเมืองสยามอาคารภายนอกดูเรียบง่ายแต่เน้นความอลังการของตัวอาคารและความวิจิตรบรรจงของลวดลายบานประตู และ หนา้ ต่าง

“เขาวงั คู่บ้าน ขนมหวานเมืองพระ เลศิ ล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” พระราชนิเวศนม์ ฤคทายวนั ต้ังอยู่ในบริเวณค่ายพระรามหก ที่ตาบลห้วยเหนือ อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี ตรงหลักกิโลเมตรที่ 216 เลยหาดชะอามาเล็กน้อย เป็นพระตาหนักท่ีประทับริมทะเล ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้รื้อพระ ตาหนักหาดเจา้ สาราญมาปลูกขึ้นใหมเ่ มือ่ ปี พ.ศ.2466 แล้วเสรจ็ เมอ่ื ปี พ.ศ.2467 ได้รับขนานนามวา่ \"พระราชนเิ วศน์ แห่งความรกั และความหวัง” ลกั ษณะเปน็ พระตาหนกั ไม้สองช้ัน หนั หน้าออกส่ทู ะเล พระตาหนักฝา่ ยในอยู่ปีกขวา ทางปีก ซา้ ยเป็นส่วนของฝ่ายหน้า ประกอบดว้ ย พระที่น่งั สามองค์เช่อื มตอ่ ถึงกันโดยตลอด พระท่นี งั่ สุนทรพิมาน เปน็ ทป่ี ระทับของ พระนางเจ้าอินทรศักด์ิศจี พระวรชายา พระท่ีน่ังพิศาลสาครเปน็ ที่ประทับของพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหมู่พระท่ีนงั่ ตรง กลาง ประกอบด้วยห้องต่าง ๆ สาหรับสาราญพระอิริยาบถ ห้องพักข้าราชบริพารที่คอยรับใช้ใกล้ชิด ห้องทรงพระอักษร และพระท่นี ั่งสโมสรเสวกามาตย์ เปน็ อาคารโถงสองช้ันเปิดโลง่ ใชเ้ ปน็ ทปี่ ระชมุ ในโอกาสต่าง ๆ และเปน็ โรงละครซ่ึงเคย จัดแสดงละครคร้ังสาคัญ 2 คร้งั คอื เร่ืองพระร่วง และวิวาหพ์ ระสมุทร ในปี พ.ศ.2484 เจ้าพระยารามราฆพ ไดส้ ร้าง พระบรมรปู พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว ถวายเป็นพระราชานุสรณ์ประดษิ ฐานไว้ ณ ท้องพระโรงพระราชนเิ วศน์ มฤคทายวัน และไดจ้ ัดงานบาเพ็ญพระราชกุศลถวายเป็นพระราชสักการะ เนือ่ งในวนั ทร่ี ะลึกคล้ายวันสวรรคต ของพระองค์ ในวนั ท่ี 25 พฤศจิกายน เป็นประจาทกุ ปี

“เขาวงั คู่บา้ น ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” ทะเลเพชรบุรี กับ 5 หาดสวย หาดบางตะบนู หาดทรายเม็ดแรก แหลง่ ดูปลาวาฬบลดู ้า เปน็ ทรายเมด็ แรกของชายหาดภาคใต้ หาดเจา้ สาราญ หาดชะอา หาดปกึ เตยี น นกั ทอ่ งเทีย่ วนิยมมาพกั ผอ่ นเล่นน้า ชายหาดช่ือดังทสี่ ุดของเพชรบรุ ี มรี ปู ปั้นตวั ละครเอกจาก หาดเจา้ สาราญ วรรณคดี “ พระอภัยมณี “

“เขาวังคู่บา้ น ขนมหวานเมอื งพระ เลศิ ล้าศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” ขนมเมอื งเพชร “ขนมเมืองเพชร” เป็นคาที่ใช้เรียกขนมที่มีช่ือเสียงและเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดเพชรบุรีซึ่งมีหลายชนิด ขนมที่เป็น เอกลกั ษณข์ องเพชรบุรคี อื ขนมทีท่ ามาจากตาลโตนด ไดแ้ ก่ จาวตาล เชอ่ื มเป็นการนา้ จาวตาลระยะท่ี3 ซงึ่ เนอ้ื ของจาวตาลแขง็ ซุยคล้ายจาวมะพรา้ วแตแ่ น่นกว่า นา้ มา เชื่อมกับน้าตาล น้าไปเป็นสว่ นประกอบของขนมอ่ืนได้อกี เช่น กนิ กบั ขา้ วเหนียวมนู เป็นตน้ โตนดทอด น้าจาวตาลเชื่อมาชบุ แปง้ ทอด เป็นขนมด้ังเดมิ ชนดิ หนง่ึ ขนมตาล ท้าจากลกู ตาลทแ่ี กแ่ ละสกุ งอม นา้ เนื้อลูกตาลมายแี ลว้ น้าไปผสมกบั แป้ง น้าตาลโตนดและกะทิ คนให้ เขา้ กนั นา้ ไปนึง่ สุกแลว้ โรยดว้ ยมะพร้าวขูดโรยงา ตงั เม น้าน้าตาลสดมาเคี่ยวใหง้ วดดว้ ยไฟแรงเพอ่ื ท้าเปน็ นา้ ตาลปึก ส่วนทเ่ี ป็นนา้ ตาลเหนยี วๆจบั อยู่ท่ขี อบกระทะ เรยี กตงั เม ใชใ้ บตองแหง้ ปาดข้นึ มากไ็ ดเ้ ปน็ ขนมหวานอีกชนดิ หน่งึ ขนมขหี้ นู มีชือ่ เสียงมาก่อนขนมอื่น รัชกาลที่ 4 โปรดมาก ลกั ษณะเด่น คอื นุ่มไม่หวานจัด หอมด้วยกลิ่น ดอกมะลิ โรยดว้ ยมะพรา้ วขดู เปน็ เส้นกอ่ นรับประทาน ขา้ วเกรยี บงา เปน็ ขนมท่ที ้าเป็นแผ่น แลว้ นา้ ไปตากแดดให้แห้ง จะรับประทานเลยหรอื จะนา้ ไปปิง้ กอ่ นก็ได้ จึงมีผู้ ดดั แปลงใส่มะพรา้ วหั่นเปน็ แทง่ ขนาดเล็กลงไป และเพิ่มงาลงไปอกี อย่างหนงึ่ จึงเป็นขา้ วเกรยี บงาอยา่ งท่ีเหน็ อย่ใู นปัจจบุ ัน ขนมหม้อแกง มีรสหวานมนั และต่างจากขนมหม้อแกงเมืองอ่ืนตรงทเี่ น้ือละเอียดแตไ่ มแ่ นน่ จนแขง็ ไมจ่ ับเป็นก้อน หรอื มรี พู รุน ไมม่ ีหอมเจยี วโรยหน้า

“เขาวงั คูบ่ ้าน ขนมหวานเมอื งพระ เลศิ ลา้ ศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” วัดทม่ี ีเร่อื งราวทางประวตั ิศาสตร์ วัดมหาธาตุวรวิหาร สักการะพระปรางค์ 5 ยอด ชมศิลปะปนู ปนั้ ลอ้ เรยี นการเมอื งที่โด่งดัง วัดเขาตะเครา สกั การะหลวงพอ่ ทองวดั เขาตะเครา พระพุทธรปู ปางมารวชิ ัยอันศักดส์ิ ทิ ธิ์ วัดข่อย ชมพระธาตุฉิมพลีพระเศรษฐีนวโกฏิ พทุ ธสถานศลิ ปะช้ันสูงฝีมือชา่ งสิบหมู่ เมืองเพชร วัดเขาบันไดอิฐ วัดที่เต็มไปด้วยเร่ืองเล่าทาง ประวัติศาสตรม์ ากมาย ตั้งแตใ่ นสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา

“เขาวังคูบ่ า้ น ขนมหวานเมืองพระ เลศิ ลา้ ศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” วดั ทม่ี เี ร่อื งราวทางประวตั ิศาสตร์ วัดถ้าเขาหลวง ชม Unseen แสงอาทิตย์ สาดส่องเข้ามากระทบพระประธานภายในถ้า วัดในกลาง วัดเก่าแก่ท่ีสมเด็จพระเจ้าตาก ทรงสร้างเพื่อถวายพระราชกุศลแด่พระมารดา เพชร วัดใหญ่สุวรรณาราม ชมจิตรกรรมฝาผนังภายในโบสถ์ ทเี่ คยใชเ้ ปน็ ฉากในภาพยนตร์เร่ืองสุรโิ ยทยั วัดพระพุทธไสยาสน์ สักการะพระพุทธรูปปาง ไสยาสนท์ ่ีมขี นาดใหญ่ 1 ใน 4 ของประเทศ

“เขาวงั คูบ่ า้ น ขนมหวานเมอื งพระ เลิศล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” สกลุ ชา่ งเมอื งเพชร “เมืองเพชร” เป็นเมืองแห่งช่างศิลป์ที่สืบทอดกันมาช้านาน มีรูปแบบเอกลักษณ์ เฉพาะตัวเปน็ \"สกุลช่างเมืองเพชร\"ทส่ี รา้ งสรรคผ์ ลงานไวม้ ากมาย รวมทั้งมีสว่ นรว่ มกบั งาน พระราชพิธี ส้าคัญๆ ของประเทศมา ตลอดงานสกุลช่างเมืองเพชรที่มีมาแต่โบราณและ ยังคงอยู่ในปัจจุบัน ประกอบด้วย งานปูนป้ัน ตามรูปแบบของช่างเพชรบุรี นิยมท้า ร่วมกับการลงรักปิดทองและประดับกระจก ดูแล้วมีความแขง็ แรง ทนทาน ไม่หดตัวมีลาย เด่นช่วยเสริมให้งานประกอบปูนป้ันเด่นยิ่งขึ้น ส่วนใหญ่เป็นงานที่เก่ียวเน่ืองในพุทธศาสนา ทา้ ใหเ้ กิดช่างปนู ปนั้ ขน้ึ ตามวดั ต่างๆ

“เขาวังคูบ่ ้าน ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” สกลุ ชา่ งเมืองเพชร งานจิตรกรรม ส่วนใหญ่เป็นจิตรกรรมฝาผนังท่ีต่อเน่ืองมาจาก สมัยอยุธยาตอนปลายและรัตนโกสินทร์ตอนต้น ปรากฏอยู่ตาม อุโบสถเกือบทุกวัด เช่น วัดมหาสมณารามราชวรวิหารฝีมือขรัว อินโขง่ เปน็ ตน้ งานช่างทอง ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มช่างทองรูปพรรณที่มี เอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งสร้อยคอ สร้อยข้อมือ แหวน ตุม้ หู งานแทงหยวก เป็นศิลปะการแทงหยวกชั้น แนวหน้าของประเทศ เพราะคนเพชรบุรีนิยม สร้างเมรุลอยส้าหรับใช้เผาศพ ซ่ึงมีธรรมเนียม แตกต่างไปจากท่ีอื่น โดยเฉพาะการต้ังเมรุท่ี คล้ายพิธีหลวง

“เขาวังคบู่ า้ น ขนมหวานเมอื งพระ เลิศลา้ ศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” สกลุ ชา่ งเมอื งเพชร งานตอกกระดาษ เป็นลวดลายมีทั้งลายไทย รูปสัตว์ใน วรรณคดี สิบสองนักษัตร หรือลายประดิษฐ์อย่างอื่นตาม ต้องการ ใช้ส้าหรับประดับหรือตกแต่งสถานที่หรือเครื่องมือ เคร่ืองใช้ งานตอกกระดาษสามารถพบเห็นได้เฉพาะงานศพ หรืองานบญุ เท่านัน้ งานจ้าหลักหนังใหญ่ เป็นการฉลุลายบนหนังวัวหรือหนัง ควายที่ขูดขนหรือฟอกหนังตากแห้งดีแล้วให้เป็นรูปตัวละครใน วรรณคดี หนังใหญ่เมืองเพชรมีช่ือเสียงโด่งดังในสมัยรัชกาลท่ี 5 แต่ปัจจุบันตัวหนังใหญ่เหลือเก็บรักษาไว้ท่ีพิพิธภัณฑ์หนัง ใหญ่วดั พลบั พลาชยั เพยี งไมก่ ี่ตัว งานแกะสลักไม้ มักสลักลวดลายประดับอาคาร เช่น ลวดลายหน้าบัน คันทวย ช่อฟ้า ใบระกา บานประตู ธรรมาสน์ งานแกะสลักไม้ท่ีขึ้นช่ือท่ีสุดคืองานแกะสลักไม้ ประตูศาลาการเปรียญวัดใหญ่ สุวรรณารามวรวิหาร ฝีมือ ชา่ งสมยั กรุงศรีอยธุ ยา

“เขาวังคู่บ้าน ขนมหวานเมอื งพระ เลศิ ล้าศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” สกลุ ชา่ งเมืองเพชร งานป้ันหัวโขน หัวละคร ส่วนใหญ่จะเป็นหัวละครที่เป็นตัวเอกในวรรณคดีต่างๆ งานป้ันหัว สัตว์ น้าเอาส่วนท่ีเป็นเขาของวัว ควาย เก้ง หรือกวางท่ีเสียชีวิตแล้วมาติดเข้ากับหัวที่ป้ันข้ึน ประดับฝาผนังวัด บ้านเรือน หรือท้าขึ้นเพื่อระลึกถึงหรือแสดงความผูกพนั ที่มีต่อสัตว์เลี้ยง พบเห็น ได้ท่ัวไปเกือบทุกวัดในเพชรบุรี ปัจจุบันมีการประยุกต์งานป้ันหัวสัตว์เป็นป้ันสัตว์ท้ังตัวเสมือนจริงแต่ ไม่กว่ี ันทผ่ี า่ นมามกี ารปลกุ ระดมคนไปทบุ ทา้ ลายงานฝมี อื ปูนปนั้ ทฐี่ านชุกชีถงึ ในวดั

“เขาวังคูบ่ ้าน ขนมหวานเมอื งพระ เลศิ ลา้ ศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม” พดู จาภาษาคนเพชร ภาษาถน่ิ เพชรบุรี ความโดดเด่นของค้าและสา้ เนียงเกดิ จากการกรอ่ นค้า แปรค้า แปรเสียง ของค้า มีความหมายตรงตัวชัดเจนบ้าง ไม่ชัดเจนบ้าง แต่การแปรของภาษาจะไม่ท้าให้ ความหมายเปล่ียน ค้าปฏิเสธ “ไม่” จะอยู่หลังค้ากริยาและค้ากริยานั้นจะต้องผันวรรณยุกต์เป็น เสียงตรี เชน่ - ไปไ๊ ม่ หมายถงึ ไมไ่ ป - กนิ๊ ไม่ หมายถงึ ไมก่ ิน การแปรเสียงค้า เชน่ - โข หมายถึง มาก - หนว่ ย เป็นลกั ษณะนามของผลไม้ เชน่ มะนาว 5 หน่วย - หลอ่ หมายถงึ ริน เท - รา หมายถึง ดึงรงั้ - รถลนุ หมายถึง รถเขน็ - ดุ๊ หมายถงึ สิ (ค้าหางเสยี ง เชน่ กนิ ดุ๊ หมายถึง กินสิ) - ลกู กระแอ หมายถึง ลกู วัว - ฮึอึ หมายถงึ ไม่ (ใช้กับการปฏิเสธในคา้ ถาม) เชน่ ถาม : ไปเท่ยี วไหม ? ตอบ : ฮอึ ึ (ไมไ่ ป) - ลกู กระติง๋ หมายถึง ลุกสนุ ัข - สมิ หมายถึง ปรอย (ฝนตกสิมๆ หมายถงึ ฝนตกปรอยๆ)