เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 51 งานจติ รกรรมและประติมากรรมใช้สําหรับการตกแต่งเป็นมัณฑนศิลป์ภายในห้องโถง หรหู ราหรอื บริเวณอาคารอนั โอ่อา่ ละเมยี ดวจิ ติ ร เพ่ือสรา้ งบรรยากาศเคลิ้มฝัน จินตนิมิต นวลละมุน เยา้ ยวนเพลินตาเพลินใจ บรรยากาศอภิรมย์รัก อยา่ งคลาสสกิ จะแต่งเตมิ ลวดลายละเอียดอ่อน เทวดาองค์น้อย (putti) ลอยละล่องบนก้อน เมฆ ใ นงานจิตรกรรมให้แสงท่ีนุ่มนวลตา หยาดเ ยิ้ม ผู้ห ญิง จะมีผิวสีขาวช มพูเ รื่อๆ เหมือนหอยมุก สีทอ้ งฟ้าดูสดใสแจ่มตา ซึ่งใน งานบาโรกจะไม่มีสีเช่นนีเ้ ลย เน้ือหาพ้นออก จากเรื่องราวทาง ศาสนาอย่าง สิ้นเชิง เป็น เรื่องราวของวิถีราชสํานัก งานร่ืนเริงหรูหรา เรื่องตํานานโบราณกลับมาเขียนใ หม่หรือ ภาพท่ี 3.49 สาวน้อยเอนกาย เรอื่ งราวกามศิลป์ (erotic art) หลักจิตรกรรม สีนา้ํ มนั บนผา้ ใบ ขนาด 73 x 59 ซม. ค.ศ.1751 โรโกโก ประสานกลมกลืนอย่างสมบูรณ์ด้วย ทีม่ า : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลกั ษณศ์ ิลปะ สีรปู ทรง รายละเอียดเล็กๆน้อยๆ บรรยากาศ นมุ่ นวลตา ใหค้ วามร้สู ึกเบา ลอ่ งลอยชวนฝัน ตะวนั ตกอยา่ งสังเขป. (น.126), โดย วีระจกั ร สุเอยี นทรเมธี, 2557. ประติมากรรมคล้ายจิตรกรรมที่มีความเป็นสามมิติข้ึนมา เ อาแบบงานมาจากแบร์นินี (Bernini) ก็มี ประติมากรรมตง้ั โต๊ะขนาดเล็กกระจ๋มุ กระจ๋ิม ทําจากเครื่องกระเบ้ืองหรือโบนไชน่า เพิ่มความละเอยี ดสอดคล้องแบบจิตรกรรม รูปทรงคนจะดูบอบบางนุ่มนวล เน้นความรู้สึกเชิง กามารมณเ์ ปน็ สาํ คญั งานสถาปตั ยกรรมทโ่ี ดดเดน่ มแี ปลนเป็นลักษณะโค้งทรงไข่ การประดับตกแต่งภายใน หรหู ราวจิ ิตรราวดั่งอยูใ่ นสวรรค์ใชจ้ ิตรกรรมผนงั และประติมากรรมภาพนูนปูนป้ันโรโกโกนั่นเอง มาประดับ ถ้าเป็นศาสนสถาปตั ย์โรโกโก (ซ่ึงไปเจริญงอกงามในเยอรมันและออสเตรียมากกว่า ฝร่ังเศส) เร่ืองราวองิ ศาสนาหรือเทพยดาช้ันฟ้า เช่น โบสถ์นักบุญ สิบสี่องค์(Church of Vierzehn Heiligen) ที่เมือง Bamberg ออกแบบโดย สถาปนิกชาวเยอรมัน นอยมาน น์ ( JohannBalthasar Neumann) สว่ นคฤหาสน์ชนช้นั สงู เช่นท่หี ้องโถงเจา้ หญิง ( salon de la Princesse) ในคฤหาสน์ซูบิส์ (Hôtelde Soubise) ท่ีกรุงปารสี ์ ออกแบบโดย โบฟฟรองค์ ( Germain Boffrand) ซึ่งศาสนสถาปัตย์ แบบโรโกโกในฝรง่ั เศสน่นั มีนอ้ ยกวา่ คฤหาสนอ์ ันหรหู ราของเหลา่ ชนช้ันสงู ทั้งหลาย
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 52 ภาพท่ี 3.50 การรํ่าสุรานางไมก้ บั เทพารักษ์ ภาพท่ี 3.51 หอ้ งโถงเจา้ หญิง ทีค่ ฤหาสน์ชบู สี ์ ที่มา : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ศิลปะ ทีม่ า : พัฒนาการแนวคดิ และแบบลกั ษณ์ศิลปะ ตะวันตกอย่างสงั เขป. (น.128), ตะวันตกอยา่ งสงั เขป. (น.124), โดย วรี ะจักร สุเอียนทรเมธี, 2557. โดย วรี ะจกั ร สุเอียนทรเมธี, 2557.
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 53 ใบความร้ทู ่ี 13 เร่ือง งานทัศนศิลป์รปู แบบตะวันตก ศลิ ปะสมัยใหม่ (ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 16 - ครสิ ตศกั ราช 1945) หลังจากสมยั ฟ้ืนฟศู ลิ ปวทิ ยาเป็นต้นมา วิทยาการทางวิทยาศาสตร์ได้เข้ามามีบทบาทต่อ ความคดิ และศิลปวฒั นธรรมทําให้สถาบันศาสนาเร่ิมเส่ือมลง ประเทศในยุโรปเร่ิมติดต่อและมี สมั พนั ธไ์ มตรกี บั ประเทศตา่ งๆ ในซกี โลกตะวันออกมากขน้ึ ทําให้เกิดการแลกเปล่ียนทางความคิด และวทิ ยาการตา่ งๆ อันเป็นผลนาํ ไปสู่รูปแบบใหมๆ่ และความก้าวหน้าทางศิลปะด้วย ในระยะแรก ศิลปะสมยั ใหม่มีลกั ษณะแบบคลาสสิกใหม่ (Neo-Classicism) ซึง่ มรี ากฐานอยู่บนเหตุผลและมีแบบ แผนเชน่ เดยี วกับศิลปะกรกี และโรมัน ความงามของศิลปะจึงปรากฏออกมาในรูปของสัดส่วนที่ ถกู ตอ้ งตามหลกั กายวภิ าค เน้ือหาและเรอื่ งราวต่างๆ ในงานศลิ ปะตลอดจนการจัดลําดับความสําคัญ ของบุคคลในภาพจะถูกตอ้ งสมเหตุสมผลและมีแบบแผน ศิลปนิ ทีไ่ ด้รบั การยกย่องว่าเป็นผู้ริเริ่ม คือ ชาก-ลุย ดาวิด (Jacques Louis David) ผลงานท่ีสําคัญ ได้แก่ คําปฏิญาณของโฮราที ( The Horatii) ต่อมาดาวดิ ไดเ้ ปล่ียนรปู แบบการวาดภาพตามแนวกรีกและโรมันมาเป็นแบบสะท้อนสังคมซ่ึงตรง กับสมัยปฏิวัติของฝร่ังเศสจนได้รับการยกย่องให้เป็น “ศิลปินแห่งการปฏิวัติ (The painter of Revolution)” หลังจากเกดิ รูปแบบศิลปะนีโอคลาสสิกแลว้ ไดม้ ีการเคลื่อนไหวทางศิลปะในรูปแบบ ใหม่ๆ ที่พยายามหนอี อกจากเหตผุ ลไปค้นหาความจริงใหม่ๆ ตามวิถีทางท่ีตนปรารถนารูปแบบ ศลิ ปะเหล่าน้ไี ด้แกล่ ัทธโิ รแมนติก (Romanticism) ลัทธิสัจนิยม (Realism) และลัทธิอิมเพรสชันนิ ซึม (Impressionism) ลัทธิโรแมนติก เป็น รูปแบบศิลปะ ท่ีให้ความสําคัญและ ยอมรับในความจริง ของจิต สนุ ทรียภาพของศิลปะแบบนี้จงึ อยทู่ ี่การตัดกันของน้าํ หนกั แสงและเงา ตลอดจนสีและการจัดภาพ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความจริงจน เกดิ อารมณห์ ว่ันไหว ต่ืนเตน้ และเย้ายวนไปตามลีลาที่ศิลปินได้สร้างสรรค์ คณุ ค่าของศลิ ปกรรมแบบนเี้ น้นความรู้สกึ ทางอารมณเ์ ป็นสําคญั ศิลปินท่ีสําคัญ ได้แก่ เตโอดอร์ เช รีโก (Theodore Gericault) ผู้วาดภาพแพนางเมดูซ่า (The Raft of The Medusa) เออแชน เดอลากรัว (Eugene Delacroix) วาดภาพเสรภี าพนาํ หน้าประชาชน (Liberty Guiding People) ลทั ธิสัจนยิ ม (Realism) เปน็ รูปแบบศลิ ปะที่มงุ่ ค้นหาชวี ติ จริงศลิ ปินในสมัยน้ีจึงวาดภาพที่ สะทอ้ นความจริงในชีวิตของบุคคลต่างๆ ตัง้ แต่ขอทาน จนกระทั่งชนชั้นขุนนางและกษัตริย์ เพ่ือ แสดงออกซ่งึ สัจธรรมทีเ่ กดิ ข้ึนกับมนษุ ย์ นอกจากนย้ี งั มีภาพทิวทศั น์และความงดงามของธรรมชาติ ทส่ี ะทอ้ นจากประสบการณ์ของศิลปินเหมือนเป็นการบันทกึ เรอ่ื งราวท่ีศิลปินได้พบมา ดังน้ันศิลปิน ในความหมายของลัทธิสัจนิยม คือ ผู้แสดงออกซ่ึงความจริงที่ตนได้เห็นมา ศิลปินกล้าเผชิญกับ
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 54 ความจริงและสรา้ งงานที่เป็นผลิตผลมาจากความจริง โดยแสดงออกมาให้ละเอียดครบถ้วนตาม ความสามารถ สุนทรยี ภาพที่สาคัญของศิลปะสจั นยิ ม ความเปน็ จรงิ ทพี่ สิ จู น์ได้และมอี ยู่ ประจกั ษ์ได้ดว้ ยผัสสะของมนุษย์ เป็นความจริงท่ีมีอยู่ บนโลก สงั คมและชีวติ มนุษย์ มีเหตผุ ลท่กี ระบวนการทางวิทยาศาสตรพ์ สิ ูจน์ได้ ปฏิเสธความเพอ้ ฝัน อารมณ์ จินตนาการไร้สาระ อดุ มคตทิ ่ไี มม่ ีตัวตน เรื่องเลา่ เพ้อเจ้อ แมเ้ หตุผลอดุ มคตแิ บบศิลปะ คลาสสิกใหม่กไ็ ร้สาระเชน่ กนั เรือ่ งราวความแร้นแคน้ ของสงั คม ผู้คน ความเสื่อมทรามของสงิ่ แวดล้อม ความเหล่ือมลาํ้ ของชนชน้ั ในสงั คมอตุ สาหกรรม ชาวไร่ชาวนา เปน็ เรอื่ งราวทีก่ ลุ่มสัจนิยมสนใจ เพราะเป็นความ จริงอนั มีคา่ ทีค่ วรแก่การถ่ายทอด ดา้ นเทคนคิ และวิธีการ ศลิ ปินสัจนยิ มไม่มีอะไรเปน็ วิธีการจําเพาะตายตัว เพราะสาระสําคญั อยทู่ ่เี รอ่ื งราวและ เน้อื หามากกว่า วธิ ีการใดเทคนิคใดท่สี ามารถถ่ายทอดออกมาไดก้ ใ็ ช้ได้ทง้ั น้นั มีเทคนคิ ทน่ี า่ สนใจที่ ศลิ ปินกลมุ่ บารบ์ ิซง ดิเอซ เดอ ลา เปญา (Diaz de la Pena) ใช้คือ เทคนคิ อิมปาสโต (impasto) คือ การระบายสนี ํา้ มนั ใหห้ นา กอ่ ใหเ้ กิดนาํ้ หนกั มติ ิแสงเงา อย่างน่าสนใจ การออกไปวาดภาพนอกสถานทเ่ี ปน็ วิธีการสําคญั ของสจั นยิ มเพราะนีเ่ ป็นการแสดง ถึงวิธีการบนั ทึกภาพจากความเปน็ จรงิ ของ ธรรมชาติและชวี ิตการจดั วางองค์ประกอบ ศลิ ปนิ บางคน จัดวางคลา้ ยงานภาพถา่ ยดว้ ย ภาพท่ี 3.52 Courbet the Artist's Studio, 1855 กลอ้ งถา่ ยรปู ซึง่ สมยั นัน้ เริม่ มีการประดิษฐ์ ทมี่ า : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลักษณศ์ ิลปะ กลอ้ งถ่ายภาพข้ึนแล้ว และนี่กลบั เป็นจดุ อ่อน ประการหนง่ึ ท่รี ปู แบบบันทกึ ความงามของสัจ ตะวันตกอย่างสังเขป. (น.144), นิยมท่ีเปน็ ไปอยา่ งเท่ียงตรงที่สุดจึงถูกลด โดย วีระจักร สเุ อียนทรเมธี, 2557. บทบาทในอนาคตดว้ ยกล้องถา่ ยภาพนีเ่ อง เพราะสามารถบันทกึ ความเที่ยงตรงและชดั เจนของวัตถุ ได้มากกวา่ นอกจากน้นั เทคนิคจําเพาะตนของศิลปนิ แต่ละคนก็สามารถนาํ มาสรา้ งสรรคง์ านได้ตรง กับเป้าหมายของสจั นยิ มได้ดี เช่น การใชเ้ สน้ ที่ฉบั ไว ถ่ายทอดรูปทรงและทศิ ทางของความร้สู ึกได้ ดขี องโดมิเยร์ การใช้สแี สงเงาใหม้ ปี ริมาตรด่ังประตมิ ากรรมของมิลเลต์
เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 55 ลัทธิอิมเพรสชันนชิ มึ (Impressionism)หรอื ศลิ ปะประทับใจ หลังจากคริสต์ศตวรรษท่ี 18 จนถึงคริสตศ์ ตวรรษท่ี 19 เปน็ ต้นมา เราอาจกลา่ วได้ว่าศิลปะได้ก้าวเข้าสู่ความเป็นสมัยใหม่มากขึ้น เพราะศิลปนิ มีความคิดว่าศลิ ปะสมยั ใหม่ไม่จําเป็นต้องยึดม่ันในรูปแบบศิลปะตามลัทธินิยมแบบ เกา่ ๆ อีกต่อไป ภาพเขยี นไมจ่ าํ เป็นต้องวาดเหมือนรูปถ่ายหรือเลียนแบบจากธรรมชาติจริงๆ แต่ ศลิ ปะควรมาจากการรบั รู้ ซ่งึ เกดิ จากความประทบั ใจของศลิ ปินท่มี ตี อ่ ธรรมชาติ ผู้คน บ้านเมืองและ สง่ิ แวดลอ้ ม งานอมิ เพรสชันนิซมึ จงึ เปน็ งานท่เี กยี่ วกบั แสงและเงา ท่ีศิลปินได้รับรู้มาจากสิ่งที่ตนเห็น และประทับใจแล้วแสดงความรสู้ ึกนั้นออกมาทันทใี นงานศิลปะ นิยมวาดส่ิงท่ีเคล่ือนไหวและมีการ เปลีย่ นแปลงในเรอื่ งแสง เชน่ แม่นา้ํ ดวงอาทิตย์ ทะเล และลําคลอง การวาดภาพแบบอิมเพรสชันนิ ซึมมีการระบายสีอย่างรวดเรว็ ใชเ้ ทคนิคพ่กู นั โดยทิ้งรอยแปลงและมีความฉับไวในการจับแสง สี ในบรรยากาศซึ่งกาํ ลงั ปรากฏต่อหน้า ไม่มีการคิดฝันหรือจินตนาการ ศิลปินคนสําคัญในกลุ่มน้ี ไดแ้ ก่ เอดอู าร์ มาเม (Edouard) โกลด โมเน (Claude Monet) ผลงานที่สําคัญ คือ ภาพโอลิมเปีย (Olympia) และภาพอาหารม้อเชา้ บนสนามหญา้ (Le Dejeuner sur herbe) โกลด โมเน (Claude Monet) สรา้ งผลงานภาพทวิ ทัศนแ์ ล้วใช้สีค่อนข้างเขม้ ข้นเป็นสีแท้ๆ แต่ ให้ความรสู้ กึ แบบมรี ะยะ นอกจากนี้ยงั มีผลงานภาพเปน็ ชดุ ท่ีแสดงความผนั แปรของอารมณ์ และ แสงสีในเวลาต่างกัน ผลงานที่มีชอื่ เสยี งมาก คือ ภาพพระอาทติ ย์ขน้ึ (The Sunrise) นอกจากนยี้ ัง มศี ิลปนิ อีกหมายทา่ น เช่น ปีแยร์ โอกุสต์ เรอนัวร์ (Pierre Auguste Renoir) นิยมสร้างผลงานภาพ ผูห้ ญิงโดยมีฉากหลงั เป็นส่วนประกอบ และภาพสังคมทีม่ จี าํ นวนมาก เช่น ภาพการเล้ียงอาหาร กลางวันบนเรอื (Luncheon on the Boating Path) และมูแลงแหง่ กาเลต (Le Moulin de la Galette) ต่อมาศลิ ปะแบบอิมเพรสชนั นชิ มึ ได้เกดิ การพัฒนาขึ้น เรียกวา่ “โพสตอ์ ิมเพรสชันนซิ มึ (Post tmpressionism)” ศลิ ปินกลุ่มน้ไี มน่ ิยมการลอกเลียนแบบแตพ่ ยายามสร้างรูปทรงและ บรรยากาศให้มีความสัมพันธ์ กลมกลืนกัน มกี ารลดตัดทอนรปู ทรงให้ง่าย ภาพจะกระตุ้นใหเ้ กิด ความร้สู ึกใหม้ ิติของระยะใกล้-ไกล มากกวา่ รูปแบบลัทธิอิมเพรสชนั นิชมึ ศลิ ปินโพสตอ์ ิมเพรส ชันนชิ ึมท่สี ําคญั อาทิ ปอล เซซาน (Paul Cezanne) ผลงานของเขาแสดงออกซง่ึ ความรู้สกึ สีและ รูปทรงเปน็ แบบง่าย ๆ มลี ักษณะเปน็ เหล่ียม ใหค้ วามสําคญั กบั สีมาใชแ้ กป้ ญั หาเก่ียวกบั ระยะใชส้ ี เขม้ แสดงระยะใกล้ สอี ่อนแสดงระยะไกล ผลงานสําคัญ คือ คณุ นายเซซานในบานสีเขียว (MadammeCezanne in the Green House) ฟินเซนต์ ฟาน ก็อก (Vincent van Gogh) เป็นศลิ ปนิ สองสมัยระหว่างโพสต์อิมเพรสชัน นชิ ึม (Expressionism) ทง้ั น้ีเพราะผลงานในระยะแรกของเขาแสดงลักษระแสงสีมากกว่าความรู้สกึ ประทบั ใจ ได้แก่ ภาพตรปี ระดบั ดาว (Starry Kight) สว่ นผลงานในระยะหลังแสดงความรสู้ ึก
เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 56 ภายในมากกวา่ แสงสี มีลกั ษณะเด่นตรงรอยแปรงท่ีทาํ ใหเ้ กิดความร้สู กึ ไดเ้ ยย่ี ม เชน่ ภาพดอก ทานตะวัน (Sunflower)และภาพเหมอื นของตนเอง (Self-Portrait ปอล โกแกง (Paul Gauguin) ผลงานมีลักษณะเด่นตรงท่ีการใหส้ ที ่ีรนุ แรงและตัดทอน รายละเอยี ดของรูปทรง โดยเนน้ เฉพาะส่วนสําคญั ลักษณะของรปู ทรงจงึ ชดั เจนมีท่าทางง่ายๆ ผลงานท่มี ชี ่ือเสียง ได้แก่ ภาพพระคริสต์ สเี หลือง (The Yellow Christ) ชอร์ เซอรา (Georges Seurat) ได้นําเอาหลักวทิ ยาศาสตรใ์ นเรื่องแสงเข้ามาใช้ ทําให้เกิด เทคนคิ ใหม่ท่เี รียกว่า การผสมสีในดวงตา(Optic Mixture) โดยอาศัยเทคนิคจดุ (Pointilism) ช่งึ ต้อง ทาํ สใี หเ้ ปน็ ส่วนยอ่ ยกอ่ น เพือ่ สรา้ งสสี ่วนรวม ผลงานที่ได้จึงมคี วามสดใส ผลงานท่ีสําคัญ เช่น ภาพอาทิตยย์ ามบา่ ยบนเกาะลา กรอ็ งด์ จตั ต์(Sunday Afternoon on the lsland of Le Grandette) นอกจากเซอรากม็ ีปอล ซญี กั (Paul Signac)ชง่ึ มีลักษณะการสร้างงานแบบเทคนิคจุดเช่นเดียวกัน ดว้ ยลักษณะการวาดภาพที่แตกตา่ งจากศิลปนิ โพสตอ์ ิมเพรสชนั นิชมึ คนอื่นๆ จึงมีนักประตศิ าสตร์ ศลิ ป์จําแนกงานศิลปะลักษณะน้ใี ห้อยู่ในกลุ่ม”นโี อเพรสชนั นิชึม” สนุ ทรยี ภาพหลักสาคญั ของศิลปะประทบั ใจ ศิลปนิ แต่ละคนสนใจสรา้ งสรรค์ในเรอื่ งราวตามแต่ตนเองสนใจ แตม่ สี ่ิงท่ีเปน็ ทัศนะ ร่วมกนั ในทางสนุ ทรยี ภาพคอื การบนั ทึกเรื่องราวและวตั ถทุ ่ีปรากฏอยู่ตรงหน้า ในช่วงเวลา ขณะนนั้ ไมม่ ีเนือ้ หาเรอื่ งราวเก่ียวกบั ความเพอ้ ฝันจนิ ตนาการ เร่ืองเล่า ตํานานหรอื ประวตั ิศาสตร์ อดุ มคตใิ ดใด เทคนคิ วธิ ีการ ศิลปินกลมุ่ ประทบั ใจจะคํานึงอยู่ 3 องคป์ ระกอบ คอื แสง สีและความเคลอ่ื นไหว อาจจะ วตั ถุเคลือ่ นไหวหรอื บรรยากาศเคลอ่ื นไหว ซ่ึงทําใหเ้ กิดปรากฏการณ์แปรเปล่ยี นของแสงและสีตอ่ วัตถุ การจดั วางองคป์ ระกอบและการเขียนทัศนยี ภาพแบบมองจากบนลงลา่ ง ซงึ่ เหน็ ได้จากใกลไ้ ป จนไกล
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 57 ภาพท่ี 3.53 Renoir : Luncheon of the Boating ภาพท่ี 3.54 Rodin : The Kiss, 1888-89. Party,1880-81. Oil on canvas, 129.7 x 172.7 cm. Marble, 183.6 x 110.5 x 118.3 cm. ท่มี า : พัฒนาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ศิลปะ .ท่ีมา : พัฒนาการแนวคดิ และแบบลกั ษณ์ ตะวันตกอย่างสงั เขป. (น.151), ศิลปะตะวนั ตกอย่างสงั เขป. (น.151), โดย วรี ะจกั ร สุเอียนทรเมธี, 2557. โดย วรี ะจกั ร สเุ อียนทรเมธี, 2557.
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 58 ใบความรทู้ ่ี 14 เรือ่ ง งานทศั นศลิ ป์รปู แบบตะวนั ตก ศลิ ปะในศตวรรษที่ 20 ในสมัยนี้มรี ูปแบบของศลิ ปะเกดิ ข้ึนหลายลทั ธิ เชน่ ลกั ธิโฟวิชึม (Fauvism) ลัทธนิ าอีฟหรือ แนฟว์(Naive) ลักธบิ าศกนยิ ม(Cubism) ลัทธอิ นาคตนยิ ม ( Fauvism)ลทั ธินามธรรม (Abstract) ศิลปะประชานิยม(Pop Art) ลทั ธโิ ฟวิชึม (Fauvism) ลทั ธิโฟวิชมึ เป็นลทั ธิทแี่ สดงออกชึ่งความรุนแรง ตนื่ เตน้ เร่ิมขึน้ ใน ฝร่งั เศส โดยมี อองรี มาตีส (Henri Matisse) เป็นผู้นาํ กลุม่ ลัทธนิ ี้แสดงออกช่ึงความรู้สกึ และความ เป็นตัวเองมากขน้ึ นยิ มระบายสีสดและรนุ แรง รูปทรงของวตั ถุแสดงออกมาหยาบๆ ไม่เน้น รายละเอยี ดและหลักทัศนยี ภาพ สุนทรยี ภาพของงานศิลปะในลัทธินี้เกิดจากความตอ้ งการท่ีจะแสดงออกอย่างเต็มที่ ผลงานจึง แสดงออกถงึ ลีลาความสนกุ สนานทเ่ี กิดมาจากเสน้ รูปทรง สีและแสงวาดตดั เส้นด้วยสสี ดใส หรอื ใส่ลวดลายทาํ ให้เกิดความรู้สึก แปลกใหม่ ทีต่ า่ งไปจากลลี าแบบอิมเพรสชันนชิ มึ ลทั ธนิ าอีฟ หรือ แนฟว์ (Naïve) เป็นลทั ธิท่แี สดงออกทางศิลปะด้วยความตั้งใจท่จี ะวาดให้ เหมือนจรงิ มากท่สี ดุ เนอ้ื หาเร่อื งราวลว้ นสะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพธรรมชาตทิ ่ถี กู ตัดแปลงไปตามความ ต้องการของจิตรกร มลี ักษณะและรูปแบบเฉพาะตนเนน้ อารมณ์ความรสู้ ึกต่อวิถแี หธ่ รรมชาติมี รายละเอียดในภาพมา ผลงานแบบนาอฟี ดคู ลา้ ยกบั งานของเด็ก ศิลปนิ นาอีฟดคู ลา้ ยกบั งานของเดก็ ศิลปนิ นาอีฟทส่ี าํ คัญ เช่น อองรี รูโซ (Henri Rousseau) ผลงานของเขามีลกั ษณะเปน็ แบบพวกอ นารยชน ไดแ้ ก่ ภาพยิปหลบั (The Sleeping Gypsy) และภาพสงิ โตหวิ (The Hungry Lion) ลัทธบิ าศกนิยม (Cubism) เปน็ ลทั ธทิ ถี่ า่ ยทอด ศิลปกรรมเป็นรปู ทรงแบบเรขาคณิต สนุ ทรี ภาพของลัทธินี้อยทู่ โ่ี ครงสรา้ งปริมาตรและรูปทรง ผลงานสว่ นใหญ่เปน็ สีทึมๆ ไมน่ ิยมใชส้ ที ่ี รุนแรง ลทั ธิน้ีเร่ิมเคล่ือนไหวในประเทศฝร่งั เศสโดยจติ รกร 2 คน คือ ชอรช์ บราก (Georges Braque) ชาวฝรั่งเศส และ ปาโบล ปีกสั โซ (Pablo Picasso) ชาวสเปยช่ึงต่างไดอ้ ิทธิพลมาจากปอล เซ ซาน ชง่ึ มีความคิดวา่ “เรขาคณติ เปน็ โครงสรา้ งพื้นฐานของรปู ทรงธรรมชาติ” จติ รกรคนสาํ คัญใน ลทั ธนิ ี้ คือ ปาโบล ปีกสั โซ สรา้ งผลงานท่ีเปน็ ทรี่ จู้ กั ไปอย่างแพร่หาย คือ ภาพหญงิ สาวแห่งเมอื งอา วยิ อง (Les Demoiseelles) และภาพเกอนคี า (Guernica) สาํ หรบั งานประตมิ ากรท่เี กดิ ข้ึนจากลัทธนิ ี้ ได้แก่ ประตมิ ากรรมหญงิ สาวกําลงั หวีผม (Woman combing her hair) ของอะเลก็ ซานเดอร์ อารค์ ิ เพงโก(Aleksander Archipenko) และประตมิ ากรรมคนอาบน้าํ (The Large Bathers)ของยาด ลปิ ซติ ซ์ (Jacques Lipchitz)
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 59 ภาพที่ 3.55 Picasso : Les Demoiselles d’Avignon ภาพท่ี 3.56 Picasso : Girl with a Mandolin 1907. Oil on canvas, 243.9 x 233.7 cm. (Fanny Tellier), 1910. Oil on canvas, ทม่ี า : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ ทมี่ า : พฒั นาการแนวคิดและแบบลักษณ์ศิลปะ ศิลปะตะวันตกอยา่ งสังเขป. (น.176), ตะวันตกอย่างสังเขป. (น.175), โดย วรี ะจักร สเุ อียนทรเมธี, 2557. โดย วรี ะจักร สเุ อยี นทรเมธี, 2557. ลัทธิอนาคตนิยม (Futurism) เป็นลัทธทิ ่เี กดิ ข้ึนในอติ าลโี ดยมหี ลักการเน้นในเรอื่ งความ เคลอ่ื นไหวแสดงความเป็นอยู่ในชวี ิตประจาํ วนั มีการนําหลักวิทยาศาสตร์ในเรอ่ื งความเร็วมาเขียน เป็นจังหวะชํา้ ๆกนั เพ่ือสร้างความเร็วให้มองเห็นได้มองเห็นไดศ้ ลิ ปนิ ลัทธนิ ้ีปฏเิ สธความเพอ้ ฝันแต่ ยกยอ่ งการเคลอ่ื นไหวของรา่ งกายและวัตถุ เชน่ การวาดภาพคนกาํ ลังว่งิ สุนขั กาํ ลงั กระดกิ หาง วง ล้อของรถยนต์ และมือในขณะกาํ ลังสีไวโอลนิ จติ รกรและประติมากรทีส่ ําคัญ ไดแ้ ก่ อแุ บร์โต บอชโชนี(Umberto Boccioni) เป็นศิลปินชาวอิตาลที ี่มีความสามารถท้งั ในดา้ นจิตรกรรมและ ประตมิ ากรรมผลงานท่ีสําคัญคือ รปู ทรงท่ีเป็นเอกภาพของอวกาศ (Uniqe Forms of Continuity Space แรงดลใจหรืออทิ ธพิ ลตอ่ เทคนิคและแนวคิดของศลิ ปินอนาคตนยิ ม ได้แก่ - กรรมวธิ วี ิภาคอณูสี สามารถสาํ แดงความส่นั ไหวของแสงได้ โดยศิลปนิ อนาคตนยิ มถือว่า แสงคอื อนุภาค - ภาพถ่ายบนั ทกึ การเคลอ่ื นทเ่ี คล่อื นไหวของสัตว์และมนุษย์ โดยชา่ งภาพอเมรกิ นั มาย บรดิ จ์ (Eadweard
เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 60 Muybridge) ซง่ึ สอดคล้องกับความสนใจในเรื่องอากัปกิริยาความเคล่ือนไหว - ภาพถ่ายบนั ทกึ สิ่งเคลอื่ นท่ตี ามลาํ ดับเวลา (chrono-photographs) ของนกั ฟิสิกส์ชาว ฝร่ังเศส มาแร(Étienne-Jules Marey) งานศกึ ษาเชงิ ภาพน้ี ทาํ ใหเ้ ห็นข้อเทจ็ จรงิ ของวัตถทุ ี่เคลือ่ นท่ี และเคลอ่ื นไหวในธรรมชาตไิ ดม้ ากข้ึน นําไปสูก่ ารทดลองทางศลิ ปกรรมของศิลปินอนาคตนิยมท้งั ในงานจิตรกรรม ประตมิ ากรรม ภาพท่ี 3.57 ภาพถ่ายบันทึกการบนิ ของนก ทมี่ า : พฒั นาการแนวคิดและแบบลกั ษณ์ ภาพที่ 3.58 Balla : Street Light, 1909. ศลิ ปะตะวนั ตกอยา่ งสงั เขป. (น.181), Oil on canvas, 174.7 x 114.7 cm. โดย วีระจกั ร สุเอียนทรเมธี, 2557. ท่ีมา : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ ศลิ ปะตะวนั ตกอย่างสงั เขป. (น.182), โดย วรี ะจักร สุเอียนทรเมธี, 2557. ลัทธินามธรรม (Abstract Art) ไม่ใ ช่ ลัทธศิ ลิ ปะแต่เป็นรปู แบบของลกั ษณะงานทนี่ ําเสนอส่ิงที่ไร้รูปลักษณ์ (นิรลักษณ์) และปราศจาก เร่ืองราว เนอ้ื หาใดใดจากธรรมชาติ วัตถหุ รือสังคมวัฒนธรรม สร้างโดยใช้ทัศนมูลฐานบริสุทธ์ิหรือ รปู ทรงอิสระเปา้ หมายเพ่อื การรบั รู้ทางความรู้สึกเชิงการเห็นหรอื กระตุ้นเร้าแรงขับภายในจิต เป็น ศลิ ปะทน่ี ิยมกนั มากในศตวรรษท่ี 20 มลี กั ษณะท่เี น้นในดา้ นรูปทรงมากกว่าการเสนอเร่ืองราว และ ตดั ทอนรายละเอียดต่างๆ ทาํ ใหม้ ีรูปทรงท่งี า่ ย ในงานบางช้ินเน้นพื้นผิวหรือสี ตลอดจนมีการจัด องคป์ ระกอบ เพื่อการแสดงออกของจิตภายใน ศลิ ปินผูร้ ิเรมิ่ สรา้ งงานตามแนวลัทธิน้ี คือ วาชิลี คัน ดินสกี (Wassily Kandinsky) จิตรกรชาวรัสเซียสุนทรียภาพอยู่บนพื้นฐานของการใช้สีเข้มข้น สดใส และการทําพ้นื ผวิ ใหด้ เู หมอื นเคล่อื นไหว แนวคิดศิลปะนามธรรมศิลปินที่สร้างสรรค์งานลักษณะน้ีในยุคหลังมีแนวคิดว่า งาน นามธรรม
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 61 ท่สี ูงสดุ ต้องไม่ใช่งานท่ตี ดั ทอนหรือคล่ีคลายรูปทรงจากธรรมชาติจนเหลือแก่นบริสุทธิ์แล้วมา สร้างงานนามธรรม แต่ตอ้ งเปน็ ส่ิงทีม่ นุษยส์ ร้างสรรคข์ ึน้ มาด้วยรูปทรงบริสุทธิ์แท้ ไม่อิงตัดทอนมา จากธรรมชาติใดใด ซ่ึงก็คือ ทัศนมูลฐาน (visualelements) ท้ังหลาย จึงจะเป็นศิลปะนามธรรมที่ แท้จริง และงานศลิ ปะนามธรรมต้องไม่ใชเ่ ลียนแบบธรรมชาติหรือสื่อความรู้สึกจากธรรมชาติ แต่ มันต้องสอ่ื สรา้ งความรู้สึกด้วยตัวของมันเองและมนษุ ย์มีอสิ ระในการรับรู้ศิลปะนามธรรมได้ อยา่ งเสรี ภาพที่ 3.59 Kandinsky : on White II, ภาพท่ี 3.60 Kandinsky : Improvisation 27, 1923. Oil on Canvas 79.5 x 79.5 cm. 1912. Oil on Canvas. 120.3 x 140.3 cm. ท่มี า : พฒั นาการแนวคิดและแบบลกั ษณ์ ทีม่ า : พัฒนาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ ศิลปะตะวันตกอย่างสังเขป. (น.228), ศิลปะตะวันตกอย่างสงั เขป. (น.228), โดย วีระจักร สเุ อยี นทรเมธี, 2557. โดย วรี ะจักร สุเอยี นทรเมธี, 2557. ลัทธิดาดา (Dadaism) เป็นลัทธทิ ่เี กิดขึ้นมาเพราะความขัดแย้ง เช่น ความขัดแย้งในเรื่อง เช้ือชาติและเศรษฐกจิ ทําใหเ้ กิดสงคราม จงึ เกิดการต่อต้านโดยแสดงออกในรูปแบบของศิลปะท่ี ต่อต้านทุกอย่างผลงานจงึ มลี กั ษณะแปลกมากกว่าความงาม บางผลงานมีลักษณะน่าเกลียด สร้า งข้ึน เพื่อเตือนใจมนษุ ย์ใหน้ ึกถงึ ผลร้ายของสงครามและภัยของวัตถุนิยม ศิลปินในลัทธิน้ี ได้แก่ ฮันส์ อาร์ป (Hans Arp) มาร์เซล ดูชอง (Marcel Duchamp) มักซ์ เอินสต์ (Maz Ernst) และพอลลา โม เดอร์สนั เบคเกอร์ (Paula Modersohn Becker) ลทั ธิเหนือจริง (Surrealism) เปน็ ศิลปะทแี่ สดงออกอยา่ งเสรีของจติ ไรส้ าํ นึก มีลักษณะของ ความฝันและความคดิ ท่ีไม่ถูกชักนาํ แสดงออกซ่ึงความกลัว ความผิดหวังความรัก และแสดงออก ซง่ึ ความสัมพนั ธ์ของอดีตและปัจจบุ นั ศิลปะลัทธินไี้ ด้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดของซิกมันด์ฟรอยด์ (Sigmund) นกั จติ วทิ ยาชาวออสเตรเลยี และคาร์ล จุง (Carl Jung) นักจิตวิทยาชาวสวิตเซอร์แลนด์
เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 62 เซอรเ์ รยี ลิซึม คอื วิญญาณนยิ ม ท่ีถือวา่ ชีวิตมอี ยไู่ ด้เพราะวญิ ญาณ ศิลปินในลัทธิน้ีจึงเปรียบเสมือน บุคคลที่สามารถสรา้ งสรรค์สิ่งซ่ึงไร้วิญญาณให้ฟื้นกลับมามีชีวิต เช่น ภาพลางร้ายของสงคราม กลางเมือง (Premonition of Civil War) ของชาลวาดอร์ ดาลี (Salvador Dali) ภาพวันเกิด (Birthday) ของมาร์ก ชากัลล์ (Marc Chagall) และผลงานต่างๆ ของพอล เคล ( Paul Klee) นอกจากน้ียังมี ปฏิมากรคนสําคญั คอื อลั แบร์โต จากอเมตตี (Alberto Giacometti) ศิลปะประชานิยม ( Pop Art) เป็นศิลปะที่แสดงออกซึ่งวิถีชีวิตของคนสมัยใหม่ ไม่ เก่ยี วข้องกบั ศาสนาและพยายามหาทางสรา้ งศลิ ปะท่ีไม่จําเป็นต้องอยู่บนผืนผ้าใบหรือแผ่นไม้ แต่ นําเอาวสั ดุต่างๆ มาติดเขา้ กบั ผนื ภาพงานศิลปะแบบน้ีจึงเป็นท่ีนิยมอยู่ช่ัวระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น ศิลปนิ ทส่ี ําคัญไดแ้ ก่ รอเบิร์ต เราเชนเบิร์ก (Robert Rauschenberg) ได้นําเอาวัสดุต่างๆ เช่น หัว แพะสตฟั ยางรถยนต์ สายไฟ มาประกอบกัน และใหช้ ื่อวา่ “อักษรย่อ (Monogram)” นอกจากน้ีงาน ศิลปะประชานิยมจะมีลักษณะคล้ายกับงานโฆษณา เช่น ผลงานของรอย ลิชเทนสไตน์ ( Roy Lichtenstein) มีผลงานภาพวาดคลา้ ยกบั งานการ์ตนู โดยนาํ เอาเทคนิคทางพาณิชยเ์ ขา้ มาช่วย ศิลปะประชานยิ มนาํ เสนอรูปลักษณใ์ นแบบทป่ี ระสบการณ์ของมนุษย์สามารถรับรู้ได้อีก คร้งั และไม่มกี ารจําแนกวา่ รปู แบบใดเป็นศิลปะสูงหรอื งานเชิงพานิชศิลป์ ลักษณะมิติสื่อของงานท่ี ไม่สามารถจาํ แนกได้วา่ เปน็ สองมิตหิ รอื สามมติ ิวสั ดุต่างๆ สามารถเป็นวัตถุดิบท่ีศิลปินจะนํามาใช้ สร้างสรรคไ์ ดท้ ้งั นัน้ ภาพที่ 3.61 Hamilton : Just what is it that ภาพท่ี 3.62 Warhol : Triple Elvis,1963. Acrylic makes today's homes so different, so and silkscreen ink on canvas. 208 × 300 cm. appealing? 1956. Collage. ท่ีมา : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ ที่มา : พฒั นาการแนวคิดและแบบลักษณ์ ศิลปะตะวันตกอยา่ งสังเขป. (น.250), ศลิ ปะตะวนั ตกอยา่ งสงั เขป. (น.252), โดย วีระจกั ร สุเอียนทรเมธี, 2557. โดย วรี ะจักร สุเอียนทรเมธี, 2557.
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 63 ออปอารต์ (Op Art) คําว่า Op Art มาจากคําวา่ Optical Art เป็นศิลปะที่เก่ียวกับตาและการ รับรทู้ างตา เพราะฉะน้นั ผลงานในลทั ธินจี้ งึ เน้นสีเขม้ และสด โดยเฉพาะสีขาวและสีดําว่าเส้นง่ายๆ ทกี่ ่อให้เกิดผลกระทบทางสายตา ย่งิ สะดุดตามากเท่าใดก็แสดงว่าประสบความสําเร็จมากเท่านั้น ศลิ ปะแบบนจ้ี งึ นิยมใช้ในงานโฆษณา การจัดเวที การจัดร้าน ศิลปนิ ในงาน ออปอาร์ต เช่น บริดเจต ไรลยี ์ (Bridget Riley) ศิลปินกล่มุ น้ีมคี วามเหน็ ว่า ตามีความสําคัญกว่าสมอง เป็นศิลปินท่ีมุ่งเน้นตามทฤษฎีการ มองเหน็ (Visual theory)เก่ียวข้องกับประสาทตา บางทกี ็เรยี กว่า ทฤษฎีของการรับรู้ ซึ่งมีหลักสําคัญ 3 ประการ 1.ทฤษฎแี สงและเงา (Light and Shode) 2.ทฤษฎีรูปและพน้ื (Figure and Ground) 3.ทฤษฎสี มดุล และตัดกนั (Balance and Coutrast) การมองเหน็ ท้งั 3 วธิ ีน้มี ีการคดิ คน้ เพอ่ื เขยี นภาพกนั มากจนทาํ ให้ศลิ ปะออปอาร์ตได้รับ ความนิยมกวา้ งขวางไปท่ัวโลกอย่างรวดเร็ว ศิลปะออปอาร์ต คํานงึ ถึงสเี ป็นสิ่งสําคญั ทส่ี ุด นยิ มใช้สี ทม่ี คี วามเขม้ มาก หรอื มคี วามสดใสมาก แสดงให้เหน็ ว่าตัดกนั ทบั กนั หรอื เหลือ่ มล้ํากัน เพ่อื ให้ ความรูส้ ึกเคล่ือนไหวและสะดดุ ตา บางคร้งั ทาํ ให้ดูตืน้ ลกึ ดว้ ยเส้น หรือ รู้สกึ วูบวาบ เคลอ่ื นไหว คล้ายคลืน่ ล้อสายตาอยู่ สที ี่ศิลปนิ ออปอาร์ต นยิ มใชม้ ากที่สุดคอื สีดาํ กบั สีขาว ผู้บกุ เบิกศลิ ปะออป อาร์ต คอื วาสารี และอลั เอร์ล ทั้งสองไดร้ ับความสาํ เรจ็ อย่างมากในอเมรกิ า ภาพท่ี 3.63 ภาพออปอารต์ (Op Art) สามารถนาํ มาประยุกตใ์ ชก้ ับสนิ ค้าต่างๆ ทม่ี า : http://westernartandculturedpu02kunrat.blogspot.com/2010/09/ post-modern-op-art.html. 30 พฤศจิกายน 2561.
เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 64 ใบงานท่ี 10 เรื่อง งานทัศนศิลป์รปู แบบตะวนั ตก ชือ่ .......................................ชัน้ ............. เลขท่ี ............... ชอ่ื .......................................ช้นั ............. เลขท่ี ............... ชอ่ื ......................................ชน้ั ............. เลขท่ี ............. ช่อื .......................................ชน้ั ............. เลขที่ ............... ชอื่ .......................................ชั้น ............. เลขท่ี .............. ช่อื .......................................ชน้ั ............. เลขท่ี ............... ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันศกึ ษาค้นควา้ ข้อมูลศิลปะตะวนั ตกตามทก่ี ลมุ่ ตนเองไดร้ ับ ในหวั ขอ้ ดงั นี้ 1. รปู แบบของผลงาน 2. ความหลากหลายของผลงาน 3. ลักษณะของผลงาน 1. รปู แบบของผลงาน 2. ความหลากหลายของผลงาน ................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ ........................................................................ ศลิ ปะ ..................... .................................................................. 3. ลักษณะของผลงาน ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................
เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 65 สรปุ ทา้ ยบทเรียน ศลิ ปะตะวันตก เปน็ ศลิ ปกรรมของกลุ่มประเทศในยุโรป ปัจจบุ ันรวมถงึ สหรัฐอเมรกิ าด้วย มี รากฐานมาจากศิลปะของอยี ิปต์ และกรีก ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมยุคโบราณของโลก และพัฒนาข้ึนมา ภายใตอ้ ทิ ธิพลของคริสตศ์ าสนา เป็นตน้ แบบของศิลปะสากลในปัจจุบนั โดยแยกเปน็ ศลิ ปะสมยั ต่าง ๆ ดงั นี้ 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 2. สมัยประวตั ิศาสตร์ 3. สมัยกลาง 4. สมยั เฟื่องฟูศิลปวทิ ยา 5. สมยั ใหม่ 6. ศลิ ปะในศตวรรษท่ี 20 ในแตล่ ะยคุ สมยั รูปแบบงานทัศนศลิ ป์ก็มีความแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กบั แนวคดิ แรงบันดาลใจ และสภาพทัว่ ไปในแตล่ ะยุค ศลิ ปะตะวันตกจดั เป็นศลิ ปะแบบเหมือนจรงิ (Realistic Art) เนอื่ งจากศิลปนิ ได้สรา้ งสรรค์ ผมงานโดยยึดความเหมือนจรงิ ตามธรรมชาติ ท้งั เร่ืองแสง-เงา สีสนั ซึง่ จะเห็นได้ว่าผลงานศิลปะ ตะวนั ตกจะมีรูปแบบตามธรรมชาติอย่างสมบรู ณ์ เช่น ประตมิ ากรรมรูปมนุษย์หรอื สัตว์ ทีม่ ีลักษณะ โครงสรา้ งร่างกายกลา้ มเน้ือท่ีมีความเหมือนจริง ลกั ษณะของศิลปะตะวนั ตกจะมคี วามคลา้ ยคลงึ กันในแต่ละท้องที่ เพราะคนส่วนใหญ่นับ ถอื ศาสนาครสิ ต์เหมือนกัน แม้จะต่างลัทธิก็ตาม นอกจากนี้ภาพแวดล้อมและภูมิอากาศของฝั่ง ตะวันตกท่มี คี วามหนาวเยน็ เหมือนกัน รวมทง้ั วัฒนธรรมประเพณีท่ีมีความใกล้เคียงกัน ส่งผลให้ ศิลปะตะวันตกมีลักษณะที่รว่ มกันไม่แยกเป็นเอกลักษณป์ ระจาํ ชาตเิ ด่นชัดเหมอื นศิลปะตะวันออก การสร้างสรรคง์ านศลิ ปะของชาวตะวันตกนัน้ มีจุดเริ่มต้นจากความศรัทธาในศาสนา จึงมี ความตอ้ งการสร้างสรรคศ์ ลิ ปะเพ่ือจรรโลงศาสนาครสิ ตด์ ้วยความเลื่อมใส จากความเชื่อในพระเจ้า ทาํ ให้ผลงานท้งั จติ รกรรมและประติมากรรมแสดงใหเ้ หน็ ถึงอนุภาพของพระเจ้า ศลิ ปนิ ตะวนั ตกมักคดิ หาวิธกี ารสร้างสรรคง์ านศิลปะใหม่ ๆ อยู่เสมอ เพื่อหาแนวทางของ ตนเองทําให้ผลงานของศลิ ปนิ แตล่ ะรุ่นมีความแตกต่างกัน เชน่ การสร้างสรรค์ผลงานของ ปาโบล ปีกสั โซ ทใี่ ช้วธิ ีการตัดทอนรายละเอยี ดของรปู ร่าง รปู ทรง สี แสง-เงา ให้ลดน้อยลงหรือผิดไปจาก
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 66 ความเปน็ จริง หรือการสร้างสรรค์งานใหเ้ ปน็ รปู แบบนามธรรม ( Abstraction) ท่ีใช้ความรู้สึก เช่น ความสุข ความเศร้า เปน็ สือ่ แทนรปู ร่างทรง ผงั สรปุ สาระสาคัญ ศลิ ปะตะวันออก ศลิ ปะอินเดีย เกดิ จากแรงบนั ดาลใจทางศาสนาและลัทธิความ เช่ือต่างๆ ศลิ ปะจนี เก่ยี วขอ้ งกบั มนุษยส์ ังคมและธรรมชาติ ศลิ ปะขอม มกี ารผสมผสานระหว่างศิลปะอินเดยี และจีน สถาปัตยกรรมขอม มีลักษณะใหญ่โตเปน็ ปกึ แผน่ มรี ะเบยี บ แสดงให้เห็นถงึ อาํ นาจ ศลิ ปะไทย เกี่ยวข้องกบั พระพทุ ธศาสนามีวัฒนธรรมและ สภาพแวดลอ้ มศิลปะไทยมีความอ่อนหวาน สอดแทรก วัฒนธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณคี วามเปน็ ไทย งานทัศนศลิ ป์รปู แบบตะวันออก และรปู แบบตะวันตก ศิลปะตะวันตก - เป็นศลิ ปะแบบเหมอื นจริง ยึดความเหมือนจริงตามธรรมชาติ อยา่ งสมบรู ณ์ - ศิลปะตะวันตกแต่ละท้องที่มีลักษณะท่ีเหมือนกันเพราะ คนส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาคริสต์เหมือนกันสภาพแวดล้อม และภูมิอากาศคลา้ ยกัน - ศิลปะตะวนั ตกมีการคดิ วธิ ีการสร้างสรรค์งานทําให้ผลงาน ของศิลปนิ แตล่ ะรุ่นมีความแตกต่างกัน
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 67 ใบงานที่ 11 เรื่อง เปรยี บเทียบงานทัศนศลิ ป์รปู แบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวันตก ชื่อ .......................................ชน้ั ............. เลขท่ี ............... ได้.....................คะแนน ชื่อ ......................................ชัน้ ............. เลขท่ี ............. คะแนนเต็ม 10 คะแนน ช่ือ .......................................ช้นั ............. เลขที่ .............. ให้นกั เรียนเปรยี บเทียบงานทัศนศลิ ปร์ ูปแบบตะวนั ออกและรปู แบบตะวนั ตกตามหัวขอ้ ที่กาหนดให้ หัวข้อ รปู แบบตะวนั ออก รปู แบบตะวันตก รูปแบบของผลงาน ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ลกั ษณะของผลงาน ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ตัวอย่างงานทัศนศิลป์ ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ………………………………
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 68 แบบทดสอบหลังเรยี น เอกสารประกอบการเรียน ชดุ ท่ี 3 เรื่อง งานทัศนศลิ ป์รูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวนั ตก ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน คาช้แี จง 1. แบบทดสอบเป็นแบบทดสอบ 4 ตวั เลอื กจานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน 2. ใชเ้ วลาในการทาแบบทดสอบ 15 นาที 3. ใหน้ กั เรยี นทาเครื่องหมาย กากบาท X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดมีอทิ ธิพลต่อการสรา้ งรูปเคารพของศลิ ปิน ก วัสดุ ข ประวัติศาสตร์ ค ความเช่ือและศาสนา ง ภูมิศาสตร์และดนิ ฟา้ อากาศ 2. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของศิลปะตะวันออก ก มีความเปน็ อดุ มคติ ข มีรากฐานมาจากศลิ ปะของอียิปต์ และกรกี ค มรี ากฐานสําคญั จากศลิ ปะของอนิ เดียและจีน ง ได้รับอิทธพิ ลมาจากวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อม 3. ภาพพิมพร์ อยมอื (imprints) ทถี่ าํ้ โชเวต์ (Chauvet) คอื งานทศั นศิลปใ์ นยุคใด ก สมัยกลาง ข สมยั ประวตั ศิ าสตร์ ค สมยั เฟอ่ื งฟูศิลปวิทยา ง สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์
เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 69 4. ข้อใดกล่าวถงึ งานประติมากรรมในภาพได้ถกู ต้องทส่ี ุด ก ประตมิ ากรรมดินเผารปู ทหารเท่าคนจรงิ ข ประติมากรรมดนิ เผาแสดงวิถีชวี ิตของชาวบ้าน ค ประติมากรรมดนิ เผาในโรงงานผลิตเคร่ืองปั้นดนิ เผา ง ประตมิ ากรรมดินเผารูปทหารขนาดเล็กเตรียมทาํ สงคราม 5. ชาวจีนยกย่องว่าหยกเป็นสัญลกั ษณ์แห่งคณุ ธรรม 5 ประการ คอื ขอ้ ใด ก ใจบุญ สติ กล้าหาญ ยตุ ิธรรม และมสี ตปิ ัญญา ข ใจบญุ สมถะ รักชาติ ยุตธิ รรม และมีสติปัญญา ค ใจบญุ สมถะ กล้าหาญ ยุติธรรม และมสี ติปัญญา ง กตัญํู สมถะ กลา้ หาญ ยตุ ิธรรม และมีสตปิ ญั ญา 6. ทัชมาฮาล เปน็ สถาปัตยกรรมของชาตใิ ด ก จีน ข ไทย ค ขอม ง อินเดีย
เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 70 7. จากภาพข้อใดกลา่ วถกู ต้อง ก มหาวิหารอะบูชิมเบล สมยั อียิปต์ ข วหิ ารพาร์เทนอน Parthenon สมยั กรกี ค สวนลอยแหง่ บาบโิ ลน สมัยเมโสโปเตเมยี ง มหาวหิ ารโนเตอะดามแหง่ ปารีส์ สถาปัตยกรรมแบบโกธกิ 8. แรงดลใจหรืออิทธิพลตอ่ เทคนิคและแนวคิดของศิลปินอนาคตนิยม ไดแ้ ก่ ก กรรมวธิ ีวิภาคอณูสี ข ภาพถา่ ยบนั ทกึ การเคลอื่ นที่ เคลอ่ื นไหว ค ภาพถา่ ยบันทึกสง่ิ เคลื่อนที่ตามลาํ ดับเวลา ง ถูกทกุ ข้อ 9. งานศลิ ปกรรมสมัยใดมเี น้ือหาและรูปแบบมุ่งแสดงแนวคิดทางศาสนาครสิ ต์ สอนมนุษยใ์ หห้ ยุด ทําช่วั ทําแต่ความดีเพ่อื ชวี ิตในโลกหน้า ก สมยั ใหม่ ข สมยั กลาง ค สมยั เฟื่องฟูศลิ ปวทิ ยา ง ศลิ ปะในศตวรรษท่ี 20 10. ภาพพรี ะมิดแหง่ เมอื ง Dashur โดยมีมมุ ฐาน 53 องศา ซ่งึ ชนั มากเกินไป ช่ือเรยี กพีระมดิ นี้ คอื ก พีระมิดหักมุม ข พีระมดิ ทรุดตัว ค พีระมดิ แบบสมบูรณ์ ง พรี ะมิดแบบข้ันบนั ได
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 71 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียน เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า ศ33102 ศิลปะ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เรื่อง งานทัศนศลิ ป์รูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ชื่อ ............................................................. เลขท่ี ...................... ทดสอบก่อนเรียน รวมคะแนน ขอ้ ก ข ค 1. ง 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 72 ภาคผนวก
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 73 เฉลยใบงานที่ 8 เรอื่ ง งานทศั นศิลปร์ ปู แบบตะวันออก ชอ่ื .......................................ชนั้ ............. เลขท่ี ............... ช่อื .......................................ช้นั ............. เลขท่ี ............... ชื่อ ......................................ช้นั ............. เลขท่ี ............. ชือ่ .......................................ช้นั ............. เลขที่ ............... ชอ่ื .......................................ช้ัน ............. เลขที่ .............. ช่อื .......................................ชนั้ ............. เลขท่ี ............... ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันศึกษาค้นควา้ ขอ้ มูลศิลปะตะวันออกตามท่กี ลุ่มตนเองได้รบั ในหัวข้อดังน้ี 1. รปู แบบของผลงาน 2. อทิ ธพิ ลทีม่ ตี อ่ การสร้างงานศลิ ปะ 3. ลักษณะของผลงาน 1. รูปแบบของผลงาน 2. อทิ ธพิ ลท่ีมตี ่อการสร้างงานศิลปะ จี น ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ล จ า ก ป รั ช ญ า ท า ง รปู แบบงานศิลปะของจนี มีความเก่ยี วข้องกับ พระ พุทธศาสนาลัทธิเต๋า ลัทธิขง จ๊ือ และ มนษุ ย์ สังคมและธรรมชาติเนอื่ งจากชาวจีน อทิ ธพิ ลทางวฒั นธรรมทีม่ งุ่ เน้นความสัมพันธ์ นบั ถอื กราบไหว้บรรพบุรุษมาตง้ั แต่โบราณ ของ คน ใ นสัง คมและ ใ ห้ความสําคัญกับ กาล มวี ฒั นธรรมทมี่ ุง่ เน้นความสัมพันธ์ของ คนในสังคมและใหค้ วามสาํ คัญกบั ธรรมชาติ ธรรมชาติ ศลิ ปะจีน 2. ลักษณะของผลงาน จิตรกรรมของจีนจะ สัมพันธ์กับธรรมชาติ โดยกา รใ ช้สี และ เ ส้น อ่อ น ช้อย ง ดง า ม ประติมากรรมของจีนนิยมตกแต่งโดยรูปสัตว์ ห รือรูปเ กี่ยวกับธรรมช าติ รูปเ คารพ ท่ี เก่ยี วขอ้ งกับพระพทุ ธศาสนา สถาปัตยกรรมเช่น เจดีย์ที่มีหลัง คาทุกชั้น ภายนอกอาคารตกแต่งดว้ ยกระเบือ้ งเคลือบ
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 74 เฉลยใบงานท่ี 8 เรอื่ ง งานทศั นศลิ ปร์ ปู แบบตะวันออก ชอ่ื .......................................ชั้น ............. เลขท่ี ............... ชอื่ .......................................ชน้ั ............. เลขท่ี ............... ชื่อ ......................................ชัน้ ............. เลขท่ี ............. ชอ่ื .......................................ช้ัน ............. เลขท่ี ............... ชอื่ .......................................ชัน้ ............. เลขท่ี .............. ช่อื .......................................ช้ัน ............. เลขท่ี ............... ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมลู ศิลปะตะวนั ออกตามทีก่ ลุม่ ตนเองได้รับ ในหัวขอ้ ดงั น้ี 1. รูปแบบของผลงาน 2. อทิ ธิพลท่มี ตี ่อการสรา้ งงานศลิ ปะ 3. ลกั ษณะของผลงาน 2. รปู แบบของผลงาน 2. อิทธพิ ลที่มีต่อการสรา้ งงานศลิ ปะ ขอมได้รับอิทธิพลรูปแบบศิลปะจากอินเดีย รูปแบบผลงานศิลปะส่วนใ หญ่ได้รับแรง และศิลปะจีนร่วมด้วย ในระยะเร่ิมแรกนั้น บันดาลใจจากศาสนา มีความแตกต่างกันไป ศิลปะ ขอ มมีลักษ ณะ คล้าย กับศิลป ะ อิน เ ดี ย ตามความเชือ่ ของศาสนานั้น ๆ ลทั ธิความเช่ือ มาก ต่อมาจึงได้มีการพัฒนามาเป็นรูปแบบ ต่างๆ เชน่ ความเชือ่ เร่ืองเทพเจา้ เฉพาะของตนเอง ศลิ ปะขอม 2. ลกั ษณะของผลงาน ประตมิ ากรรมเปน็ ภาพจาํ หลกั นูนเรือ่ งราว เกยี รตแิ ละมหาภารตะ ส่ือถึงความเช่ือของ ศาสนาพราหมณ์ฮินดูหรือ ภาพแสดงความ เช่อื เกย่ี วกบั เรอ่ื งนรกสวรรค์ประดับอยใู่ น วิหารโดยมีความมุ่งหมายเพือ่ สร้างความ ยิ่งใหญ่อลงั การให้กบั สถาปตั ยกรรม สถาปตั ยกรรมขอมมีลักษณะทีใ่ หญโ่ ตเปน็ ปึกแผน่ มรี ะเบียบแสดงใหเ้ ห็นถึงอํานาจ
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 75 เฉลยใบงานที่ 8 เร่อื ง งานทศั นศลิ ปร์ ปู แบบตะวันออก ช่ือ .......................................ชนั้ ............. เลขที่ ............... ชื่อ .......................................ช้นั ............. เลขที่ ............... ช่อื ......................................ช้ัน ............. เลขที่ ............. ช่อื .......................................ช้ัน ............. เลขที่ ............... ชื่อ .......................................ชน้ั ............. เลขที่ .............. ชอ่ื .......................................ชัน้ ............. เลขท่ี ............... ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั ศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู ศิลปะตะวันออกตามทก่ี ลมุ่ ตนเองไดร้ ับ ในหวั ขอ้ ดังนี้ 1. รปู แบบของผลงาน 2. อทิ ธพิ ลที่มีต่อการสร้างงานศลิ ปะ 3. ลักษณะของผลงาน 3. รูปแบบของผลงาน 2. อทิ ธิพลท่มี ตี ่อการสร้างงานศิลปะ ไทยเปน็ ชาตทิ ี่มกี ารผสมสารกนั ในหลายเช้ือ ศลิ ปะไทยมีรูปแบบเฉพาะในเรอื่ งความ ชาติ ทง้ั มอญ เขมร มลายู ทาํ ให้วัฒนธรรม อ่อนหวาน และได้สอดแทรกวัฒนธรรม ไทยได้รับอทิ ธพิ ลจากชนชาตเิ หล่าน้ันด้วย ขนบธรรมเนียมประเพณี ของแตล่ ะท้องถ่นิ โดยชนชาติเหล่าน้ันเองตา่ งก็ได้รบั อทิ ธิพล และเกีย่ วขอ้ งกบั ศาสนา จากอารยธรรมอนิ เดยี และจีน ดังนั้นศิลปะ ไทยจึงมีลกั ษณะคล้ายกบั ศลิ ปะของอินเดีย รวมท้ังศิลปะจีน ศลิ ปะไทย 2. ลักษณะของผลงาน จติ รกรรมจะมีความเก่ยี วขอ้ งกับ พระพุทธศาสนา ประตมิ ากรรมส่วนใหญ่จะเปน็ พระพุทธรูปท่ี มีรูปแบบเปลยี่ นแปลงไปตามสมยั สถาปตั ยกรรมเก่ยี วขอ้ งกบั ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์และเกยี่ วกับที่อยอู่ าศัยของ ประชาชน
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 76 เฉลยใบงานท่ี 9 เรือ่ ง งานทัศนศลิ ป์รปู แบบตะวนั ตก ชื่อ .......................................ชัน้ ............. เลขท่ี ............... ช่ือ .......................................ช้ัน ............. เลขที่ ............... ชือ่ ......................................ช้นั ............. เลขท่ี ............. ชอ่ื .......................................ชน้ั ............. เลขท่ี ............... ชือ่ .......................................ชั้น ............. เลขที่ .............. ชอื่ .......................................ชัน้ ............. เลขท่ี ............... ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ศกึ ษาค้นคว้าขอ้ มลู ศิลปะตะวันตกตามทกี่ ลุ่มตนเองได้รบั ในหวั ขอ้ ดงั นี้ 1. รปู แบบของผลงาน 2. อิทธิพลทีม่ ตี ่อการสรา้ งงานศิลปะ 3. ลักษณะของผลงาน 4. รูปแบบของผลงาน 2. อิทธิพลที่มีต่อการสร้างงานศลิ ปะ ความเช่อื ในเรือ่ งวญิ ญาณ ความเชื่ออันล้ีลับ เครือ่ งมือเครื่องใชแ้ ละอาวุธ มีลวดลายเรขาคณิต ทางปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและภูตผีปศี าจ และรปู สญั ลักษณ์ปรากฏอยู่ เป็นงานจติ รกรรมที่ ปรากฏอยบู่ นงานประตมิ ากรรม อนสุ รณห์ นิ สันนิษฐานว่าอาจจะเปน็ สถานทีท่ าํ พิธกี รรม สนามกีฬา หรืออาจเปน็ เครือ่ งมอื ในการคาํ นวณ ทางดา้ นดาราศาสตร์ ศิลปะ 2. ลกั ษณะของผลงาน สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ จิตรกรรมภาพเขียนเลยี นแบบธรรมชาติ ตาม ผนงั ถา้ ต่างๆ เป็นภาพสัตวม์ องจากด้านข้าง ประตมิ ากรรม ขนาดเลก็ ตกุ๊ ตาวนี ัส งานแกะ รูปสัตวบ์ นเขาสตั ว์ กระดูกสัตว์ หรือทา้ ดว้ ย หนิ และงาชา้ ง งานเครอ่ื งดนิ เผา สถาปัตยกรรมอนสุ รณ์หนิ
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 77 เฉลยใบงานที่ 9 เร่ือง งานทัศนศลิ ปร์ ูปแบบตะวันตก ชอื่ .......................................ช้ัน ............. เลขที่ ............... ช่ือ .......................................ชน้ั ............. เลขที่ ............... ช่ือ ......................................ชน้ั ............. เลขที่ ............ ช่ือ .......................................ช้นั ............. เลขท่ี ............... ช่อื .......................................ชนั้ ............. เลขที่ .............. ชื่อ .......................................ชน้ั ............. เลขที่ ............... ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั ศึกษาค้นควา้ ขอ้ มลู ศิลปะตะวันตกตามทก่ี ลมุ่ ตนเองได้รับ ในหวั ข้อดังน้ี 1. รปู แบบของผลงาน 2. อทิ ธพิ ลที่มีต่อการสรา้ งงานศิลปะ 3. ลกั ษณะของผลงาน 5. รูปแบบของผลงาน 2. อิทธิพลที่มตี ่อการสรา้ งงานศิลปะ เกยี่ วกบั ความเช่ือและศาสนา ทีต่ งั้ และสภาพ ศิลปกรรมสร้างสรรค์ขน้ึ จากภูมปิ ญั ญา ภมู ิศาสตร์มอี ิทธิพลต่อการสร้างงานศิลปะ ศิลปะแบบเหมอื นจริง ศลิ ปะ 2. ลกั ษณะของผลงาน สมยั ประวัตศิ าสตร์ จิตรกรรมจะมีความเกี่ยวข้องกับศาสนา นยิ มเขียน ภาพฝาหนงั นยิ มวาดลวดลายรูปสตั วแ์ ละรูป เรขาคณิตตลอดจนภาพวถิ ีชีวติ ความเป็นอยู่ ประตมิ ากรรมนยิ มแกะสลักรูปผนู้ ําและนักบวช รูป คนหรอื เทพเจา้ เพอื่ บนั ทึกเร่อื งราว สถาปตั ยกรรมเกย่ี วขอ้ งกับศาสนาพระมหากษัตริย์ และเก่ยี วกับทอ่ี ย่อู าศัยของประชาชน สรา้ งเพ่อื ประโยชนใ์ ชส้ อยและความยงิ่ ใหญ่
เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 78 เฉลยใบงานท่ี 9 เร่อื ง งานทศั นศิลป์รปู แบบตะวันตก ชอ่ื .......................................ช้นั ............. เลขท่ี ............... ชื่อ .......................................ชน้ั ............. เลขท่ี ............... ชอื่ ......................................ชนั้ ............. เลขที่ ............. ชือ่ .......................................ช้นั ............. เลขท่ี ............... ช่อื .......................................ชั้น ............. เลขที่ .............. ชือ่ .......................................ชั้น ............. เลขที่ ............... ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู ศิลปะตะวันตกตามทกี่ ลุ่มตนเองไดร้ บั ในหัวขอ้ ดังนี้ 1. รูปแบบของผลงาน 2. อทิ ธพิ ลท่ีมีต่อการสรา้ งงานศิลปะ 3. ลกั ษณะของผลงาน 1. รูปแบบของผลงาน 2. อิทธพิ ลที่มตี อ่ การสรา้ งงานศิลปะ - จติ รกรรมและประติมากรรมเปน็ เร่ืองราวทาง - ความเช่ือในศาสนาคริสต์ เนอ้ื หาคริสต์ ศาสนา ศาสนาและเรอ่ื งราวจากพระคมั ภีรพ์ ันธะ สญั ญาเกา่ และใหม่ ศิลปะ 2. ลักษณะของผลงาน สมัยกลาง จติ รกรรม ภาพประกอบพระคมั ภรี ต์ า่ งๆ เทคนคิ เขียนสีเฟรสโก้, งานกระจกสี ประติมากรรม ประติมากรรมนนู สูงประกอบ สถาปตั ยกรรม สถาปัตยกรรม มกี ารนาํ รูปโค้งแบบโรมนั เข้า มาประกอบการสรา้ ง ใชเ้ สามารบั นํา้ หนักคาน
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรบั นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 79 เฉลยใบงานที่ 9 เรือ่ ง งานทัศนศิลป์รปู แบบตะวนั ตก ช่ือ .......................................ชั้น ............. เลขที่ ............... ช่ือ .......................................ชน้ั ............. เลขที่ ............... ชื่อ ......................................ชน้ั ............. เลขที่ ............. ชอื่ .......................................ชนั้ ............. เลขที่ ............... ชอื่ .......................................ชน้ั ............. เลขท่ี .............. ชอื่ .......................................ช้นั ............. เลขท่ี ............... ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั ศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลศิลปะตะวันตกตามทกี่ ลุ่มตนเองไดร้ บั ในหัวขอ้ ดังนี้ 1. รูปแบบของผลงาน 2. อทิ ธพิ ลทม่ี ีต่อการสร้างงานศลิ ปะ 3. ลกั ษณะของผลงาน 1. รปู แบบของผลงาน 2. อิทธิพลท่ีมตี ่อการสรา้ งงานศิลปะ เน้นความกลมกลนื ใหจ้ ุดสนใจอยตู่ รงกลาง มี แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ เรขาคณติ และ องค์ประกอบเป็นแบบสามเหลี่ยมหรอื ผงั กากบาท ฟิสกิ ส์ มีผลต่อการสรา้ งสรรคง์ านศิลปะ ดลุ ยภาพแบบสมมาตรเทา่ กัน และกายวิภาค ถกู ต้องชดั เจน เทคนคิ สนี ํ้ามันบนผ้าใบกลายเป็น 2. ลักษณะของผลงาน ส่อื และเทคนิคสําคัญในการสร้างสรรคง์ าน ใช้ จิตรกรรมการวาดภาพนิยมวาดใหม้ ี หลกั ทัศนียมิติหรอื ทศั นยี ภาพทง้ั แบบเชิงเสน้ ทัศนยี ภาพแบบ 3 มิติ และแบบเชิงบรรยากาศ ประตมิ ากรรม มีความเปน็ 3 มิติ ใชส้ ําหรบั การตกแต่งเปน็ มณั ฑนศิลป์ภายในหอ้ ง 1. สถาปตั ยกรรม นิยมสรา้ งสถาปัตยกรรมท่มี ี ความแน่นหนาถาวร คํานงึ ถึงสัดส่วนอย่าง ศลิ ปะ เป็นเหตเุ ป็นผล สมัยเฟอ่ื งฟูศลิ ปวิทยา
เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6 80 เฉลยใบงานท่ี 9 เร่ือง งานทศั นศลิ ปร์ ูปแบบตะวนั ตก ชือ่ .......................................ชั้น ............. เลขท่ี ............... ชอ่ื .......................................ชั้น ............. เลขที่ ............... ชอ่ื ......................................ชนั้ ............. เลขที่ ............. ช่ือ .......................................ชัน้ ............. เลขที่ ............... ชื่อ .......................................ช้ัน ............. เลขที่ .............. ชอื่ .......................................ชัน้ ............. เลขท่ี ............... ให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกันศึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู ศิลปะตะวันตกตามท่กี ลมุ่ ตนเองได้รบั ในหัวขอ้ ดังน้ี 1. รปู แบบของผลงาน 2. อทิ ธพิ ลทีม่ ตี อ่ การสร้างงานศิลปะ 3. ลักษณะของผลงาน 1.รูปแบบของผลงาน 2. อทิ ธพิ ลที่มตี อ่ การสร้างงานศลิ ปะ เป็นการบนั ทึกเรอื่ งราวและวตั ถุทป่ี รากฏอยู่ ศลิ ปินแต่ละคนสรา้ งสรรคง์ านตามความ ตรงหนา้ ในชว่ งเวลาหนงึ่ การจดั วาง สนใจของตนเอง ตามกาลเวลาและการ องค์ประกอบและการเขียนทัศนยี ภาพแสง สแี ละ เปลยี่ นแปลง ความเคลื่อนไหว ใช้เทคนคิ ท่ีหลากหลาย ศิลปะ 2. ลกั ษณะของผลงาน สมยั ใหม่ จิตรกรรมการวาดภาพนยิ มวาดใหม้ ี ทศั นียภาพแบบ 3 มิติ ประติมากรรม มีความเปน็ 3 มิติ สถาปัตยกรรม นยิ มสรา้ งสถาปัตยกรรมทมี่ ี ความแน่นหนาถาวร คํานงึ ถงึ สัดสว่ นอย่าง เปน็ เหตเุ ป็นผล
เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 81 เฉลยใบงานท่ี 9 เรอื่ ง งานทศั นศลิ ป์รูปแบบตะวันตก ชือ่ .......................................ช้ัน ............. เลขท่ี ............... ชื่อ .......................................ช้นั ............. เลขท่ี ............... ชอื่ ......................................ช้ัน ............. เลขที่ ............. ช่อื .......................................ชั้น ............. เลขท่ี ............... ช่ือ .......................................ช้ัน ............. เลขที่ .............. ชอ่ื .......................................ชน้ั ............. เลขที่ ............... ใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกันศึกษาคน้ คว้าขอ้ มูลศิลปะตะวนั ตกตามทกี่ ลุม่ ตนเองไดร้ บั ในหวั ขอ้ ดังนี้ 1. รูปแบบของผลงาน 2. อิทธิพลทมี่ ตี ่อการสร้างงานศลิ ปะ 3. ลักษณะของผลงาน 1.รูปแบบของผลงาน 2. อิทธพิ ลท่ีมีตอ่ การสรา้ งงานศลิ ปะ เป็นการบันทึกเร่อื งราวและวัตถุที่ปรากฏอยู่ ศลิ ปินแต่ละคนสร้างสรรคง์ านตามความ ตรงหนา้ ในชว่ งเวลาหน่ึง การจดั วาง สนใจของตนเอง ตามกาลเวลาและการ องคป์ ระกอบ แสง สแี ละความเคล่อื นไหว ศิลปะ เปลย่ี นแปลง ท่เี กย่ี วกบั การรับรทู้ างตา การแสดงออกอย่างเสรี ของจติ ไร้สาํ นกึ ใช้เทคนิคท่ีหลากหลาย ศิลปะ 2. ลักษณะของผลงาน ศตวรรษท่ี 20 จิตรกรรมการวาดภาพแบบนามธรรม ศิลปะ รูปลักษณ์ ประติมากรรม มคี วามเปน็ 3 มติ ิ สถาปตั ยกรรม นิยมสร้างสถาปัตยกรรมท่มี ี ความแนน่ หนาถาวร คํานึงถงึ สดั สว่ นอย่าง เป็นเหตุเปน็ ผล
เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 82 เฉลยใบงานที่ 10 เรอื่ ง เปรียบเทยี บงานทัศนศลิ ป์รปู แบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ชื่อ .......................................ชั้น ............. เลขที่ ............... ได้.....................คะแนน ชือ่ ......................................ช้ัน ............. เลขท่ี ............. คะแนนเตม็ 10 คะแนน ชอื่ .......................................ชนั้ ............. เลขที่ .............. ให้นกั เรยี นเปรยี บเทยี บงานทัศนศลิ ปร์ ปู แบบตะวันออกและรปู แบบตะวันตกตามหวั ขอ้ ที่ กาหนดให้ หวั ขอ้ รูปแบบตะวนั ออก รปู แบบตะวนั ตก รูปแบบของผลงาน จดั เปน็ ศิลปะแบบจิตนาการ จัดเ ป็นศิลปะ แบบเห มือน จริง ลักษณะของผลงาน (Idealistic Art) โดยใชร้ ปู แบบ เนอ่ื งจากศลิ ปนิ ได้สรา้ งสรรค์ผม ธรรมชาติเปน็ พน้ื ฐาน แตไ่ มไ่ ดย้ ดึ งานโดยยึดความเหมือนจริงตาม ตัวอย่างงานทัศนศิลป์ ติดความเหมือนจรงิ ตามธรรมชาติ ธรรมชาติ ทั้งเร่อื งแสง-เงา สสี ัน จนเกินไป มลี กั ษณะเปน็ สองมิติ ไม่ เนน้ แสง-เงา หรอื สีสันทถี่ กู ต้อง ศิ ล ปิ น มั ก คิ ด ห า วิ ธี ก า ร การสร้างสรรค์ศิลปะเพอ่ื จรรโลง สรา้ งสรรคง์ านศิลปะใหม่ ๆ อยู่ ศาสนาแตกตา่ งกนั เน่ืองจากมีความ เสมอ เพ่อื หาแนวทางของตนเอง หลากหลายทางศาสนา มลี กั ษณะ ทําใหผ้ ลงานของศลิ ปินแต่ละรุ่น เดน่ ด้านเอกลักษณ์ ทีม่ าจากความคิด มคี วามแตกต่างกัน ลักษณะของ ประดษิ ฐข์ ้ึนอยา่ งวจิ ติ รบรรจงของ ศลิ ปะมคี วามคลา้ ยคลึงกันในแต่ คนในชาติ โดยศลิ ปนิ รุ่นตอ่ มายังคง ละท้องท่ี เพราะคนส่วนใหญ่นับ รกั ษาแนวคดิ เดมิ ไว้ ถือศาสนาคริสต์เหมือนกัน แม้ จะต่างลัทธกิ ัน มหาสถูปสาญจี ประติมากรรมวีนสั กําแพงเมอื งจนี ประตมิ ากรรมฟาโรห์ นครวัด ประติมากรรมวงกบย่อมุม ภาพสลักนกั ดนตรี ประตมิ ากรรมหินออ่ นเดวิด พระพทุ ธรูปทรงเคร่ืองใหญ่ ภาพถา่ ยบันทึกการบินของนก
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 83 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลงั เรยี น เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 เรื่อง งานทัศนศิลปร์ ปู แบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวันตก ก่อนเรยี น หลงั เรยี น ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ 1. ข 2. ค 1. ค 3. ง 2. ข 4. ค 3. ง 5. ก 4. ก 6. ง 5. ค 7. ก 6. ง 8. ข 7. ง 9. ง 8. ง 10. ง 9. ข 10. ก
เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 84 บรรณานกุ รม เกยี รตคิ ณุ สรสั วดี ออ๋ งสกุล. ประวตั ิศาสตรล์ ้านนา ฉบับสมบูรณ.์ พมิ พค์ ร้ังท่ี 12. กรงุ เทพมหานคร: อมรนิ ทรพ์ ร้ินตง้ิ แอนดพ์ บั ลชิ ช่ิง. (2561). ธงชัย รักประทมุ . หนังสอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน ทศั นศิลป์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4-6. กรงุ เทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. (2557). ธงชัย รกั ประทุม. หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน ทัศนศิลป์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ. (2560). มยั ตะติยะ. สนุ ทรียภาพทางทศั นศลิ ป์. พิมพค์ ร้งั ที่ 3. กรงุ เทพฯ : วาดศิลป.์ (2555). ร่งุ โรจน์ ธรรมรุ่งเรอื ง และ ศานติ ภักดคี ํา. ศิลปะเขมร. พิมพ์ครง้ั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สํานกั พมิ พ์มติชน. (2561). รงรอง วงศโ์ อบอ้อม. ประวัติศาสตรจ์ ีน เรียนร้แู ละเข้าใจประวตั ิศาสตร์จนี ภายใน 1 วัน. พิมพ์ครงั้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พ์ ทอรช์ . (2562). วีระจกั ร สเุ อยี นทรเมธี. พัฒนาการแนวคิดและแบบลกั ษณ์ศิลปะตะวันตกอย่างสังเขป. ตําราประกอบการบรรยายเพื่อศกึ ษาในรายวิชา ศป.201 พัฒนาการทางศลิ ปะ วัฒนธรรม และสงั คมตะวันตก. มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, 2557. http://palanla.com/index.php?op=abroadLocation-detail&id=269. (10 ตุลาคม 2561). https://pxhere.com/th/photo/484654. (10 ตลุ าคม 2561). https://www.winnews.tv/news/10649. (30 พฤศจกิ ายน 2561). http://westernartandculturedpu02kunrat.blogspot.com/2010/09/post-modern-op-art.html. (10 ตลุ าคม 2561).
Search