Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก

งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก

Published by krurattana, 2019-05-14 23:13:57

Description: งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 1 คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน สาหรับครู 1. เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 มที ั้งหมด 5 เลม่ สาํ หรบั เล่มน้ี เปน็ เลม่ ที่ 3 มเี นอื้ หาในหน่วยท่ี 2 เร่อื ง งานทัศนศลิ ปร์ ูปแบบตะวันออกและ รูปแบบตะวนั ตก โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสง่ เสริมให้นกั เรียน สามารถศึกษาคน้ คว้าและเรียนรู้ด้วยตัวเองได้ตลอดเวลา 2. แนะนาํ การใช้เอกสารประกอบการเรียนให้นักเรยี นก่อนนําไปใช้ 3. ใหน้ กั เรียนใชเ้ อกสารประกอบการเรยี นเพอ่ื ไปศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตัวเองได้ตลอดเวลา 4. ครูใหค้ าํ แนะนาํ เม่ือนกั เรียนเกิดปญั หาในการใช้เอกสารประกอบการเรียน สาหรับนักเรียน 1. ให้นกั เรียนทําความเข้าใจวิธีการใช้เอกสารประกอบการเรียน 2. นกั เรียนควรเรยี นรู้ไปตามขั้นตอนของเอกสารประกอบการเรยี น เพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์ สงู สุดตอ่ นกั เรียน 3. เม่อื เกดิ ปญั หาในการใช้เอกสารประกอบการเรียนสามารถปรกึ ษาครูผู้สอนได้ 4. สง่ คนื เอกสารประกอบการเรียนในเวลาท่ีกําหนด และรกั ษาใหอ้ ยใู่ นสภาพดี

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 2 สาระ/ มาตรฐานการเรยี นรู้/ ตัวชวี้ ดั สาระที่ 1 ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างทัศนศิลปป์ ระวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรมภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ภูมิปญั ญาไทย และสากล ตัวชว้ี ัด ม.4-6/1 วเิ คราะห์และเปรยี บเทียบงานทศั นศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรปู แบบ ตะวันตก จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เปรยี บเทยี บงานทัศนศลิ ปอ์ นิ เดยี จนี ขอมและไทย 2. เขียนแผนภาพความคิดรูปแบบงานทัศนศิลปอ์ นิ เดีย จีน ขอมและไทย 3. บรรยายรูปแบบงานทัศนศลิ ป์ตะวันตก 4. เขยี นแผนภาพความคิดรปู แบบงานทศั นศิลป์ตะวันตก 5. บรรยายความแตกตา่ งงานทัศนศิลปใ์ นรูปแบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวันตก 6. เขยี นเปรียบเทยี บงานทัศนศิลปใ์ นรูปแบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวันตก

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 3 เรอ่ื ง งานทัศนศิลปร์ ปู แบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 จานวน 10 ขอ้ 10 คะแนน คาชแี้ จง 1. แบบทดสอบเป็นแบบทดสอบ 4 ตัวเลอื กจานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน 2. ใชเ้ วลาในการทาแบบทดสอบ 15 นาที 3. ให้นักเรยี นทาเครื่องหมาย กากบาท X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลกั ษณะของศิลปะตะวันออก ก มคี วามเป็นอุดมคติ ข มรี ากฐานมาจากศลิ ปะของอยี ิปต์ และกรกี ค มรี ากฐานสาํ คญั จากศิลปะของอนิ เดยี และจีน ง ไดร้ บั อิทธิพลมาจากวฒั นธรรมและสภาพแวดล้อม 2. ข้อใดมีอทิ ธิพลตอ่ การสรา้ งรูปเคารพของศลิ ปิน ก วัสดุ ข ประวัติศาสตร์ ค ความเชือ่ และศาสนา ง ภูมศิ าสตรแ์ ละดินฟา้ อากาศ 3. ทัชมาฮาล เป็นสถาปตั ยกรรมของชาตใิ ด ก จีน ข ไทย ค ขอม ง อินเดยี

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 4 4. ชาวจีนยกยอ่ งวา่ หยกเป็นสญั ลกั ษณแ์ หง่ คุณธรรม 5 ประการ คอื ข้อใด ก ใจบุญ สติ กล้าหาญ ยตุ ธิ รรม และมสี ตปิ ญั ญา ข ใจบญุ สมถะ รักชาติ ยตุ ธิ รรม และมสี ติปญั ญา ค ใจบุญ สมถะ กลา้ หาญ ยุติธรรม และมสี ตปิ ญั ญา ง กตญั ํู สมถะ กล้าหาญ ยุตธิ รรม และมีสติปญั ญา 5. ข้อใดกลา่ วถึงงานประตมิ ากรรมในภาพไดถ้ ูกต้องทส่ี ุด ก ประตมิ ากรรมดินเผารปู ทหารเท่าคนจริง ข ประติมากรรมดินเผาแสดงวิถีชีวิตของชาวบ้าน ค ประตมิ ากรรมดินเผาในโรงงานผลิตเครอื่ งป้นั ดินเผา ง ประติมากรรมดินเผารปู ทหารขนาดเล็กเตรียมทาํ สงคราม 6. ภาพพิมพร์ อยมอื (imprints) ทถ่ี า้ํ โชเวต์ (Chauvet) คืองานทัศนศิลป์ในยุคใด ก สมัยกลาง ข สมยั ประวัตศิ าสตร์ ค สมัยเฟือ่ งฟูศลิ ปวิทยา ง สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 5 7. ภาพพรี ะมิดแห่งเมือง Dashur โดยมีมมุ ฐาน 53 องศา ซ่ึงชนั มากเกนิ ไป ชอ่ื เรียกพรี ะมดิ น้ี คือ ก พรี ะมิดหกั มมุ ข พรี ะมิดทรดุ ตวั ค พีระมดิ แบบสมบูรณ์ ง พีระมดิ แบบขนั้ บนั ได 8. งานศลิ ปกรรมสมยั ใดมเี น้อื หาและรูปแบบมุ่งแสดงแนวคิดทางศาสนาครสิ ต์ สอนมนุษยใ์ หห้ ยดุ ทําชวั่ ทาํ แต่ความดีเพอื่ ชวี ิตในโลกหน้า ก สมัยใหม่ ข สมยั กลาง ค สมยั เฟอื่ งฟศู ิลปวทิ ยา ง ศลิ ปะในศตวรรษท่ี 20 9. แรงดลใจหรืออทิ ธิพลตอ่ เทคนคิ และแนวคดิ ของศิลปินอนาคตนยิ ม ได้แก่ ก กรรมวธิ วี ิภาคอณูสี ข ภาพถ่ายบันทกึ การเคลื่อนท่ี เคล่อื นไหว ค ภาพถา่ ยบันทึกสง่ิ เคลื่อนท่ีตามลําดับเวลา ง ถกู ทกุ ขอ้ 10. จากภาพข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ ง ก มหาวหิ ารอะบชู ิมเบล สมยั อยี ปิ ต์ ข วหิ ารพาร์เทนอน Parthenon สมัยกรกี ค สวนลอยแหง่ บาบิโลน สมัยเมโสโปเตเมีย ง มหาวหิ ารโนเตอะดามแหง่ ปารีส์ สถาปัตยกรรมแบบโกธกิ

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรับนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 6 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 เรอ่ื ง งานทัศนศิลปร์ ูปแบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวันตก ชือ่ ............................................................. เลขที่ ...................... ทดสอบก่อนเรียน รวมคะแนน ขอ้ ก ข ค 1. ง 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรับนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 7 เร่ือง งานทัศนศิลปร์ ปู แบบตะวนั ออก งานทศั นศิลป์ของวัฒนธรรมตะวนั ออก ศิลปะตะวันออก ศิลปะตะวันออก มรี ากฐานสําคัญจากศิลปะของอนิ เดยี และจีน เนือ่ งจากท้ังสองประเทศน้ีมี อารยธรรมทยี่ ง่ิ ใหญ่มาเปน็ ระยะเวลายาวนาน ส่งผลให้ท้องถิ่นใกล้เคียงได้รับอิทธิพลด้านศิลปะ จากอนิ เดยี และจนี เชน่ ไทย เมียนมาร์ ลาว ได้รับอิทธิพลทางด้านศิลปวัฒนธรรมจากอินเดีย ส่วน ญีป่ ุน่ เกาหลี เวยี ดนาม ได้รับอิทธพิ ลจากจีน ลักษณะของศิลปะตะวันออกมีความเป็นอุดมคติ น่ันคือไม่ยึดหลักความเป็นจริงตาม ธรรมชาติท้งั หมด จะสรา้ งสรรค์รปู แบบตามจินตนาการผสานไวใ้ นงานศลิ ปะ ศลิ ปะตะวนั ออกได้รับอิทธิพลมาจากวฒั นธรรมและสภาพแวดลอ้ มเป็นสําคัญ เช่น ศาสนา ประเพณี ภมู ปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ โดยศิลปะตะวันออกจะมีความหลากหลายกันไปในแต่ละท้องถิ่น เนือ่ งจากมีการนับถือศาสนาวัฒนธรรมความเช่อื ที่แตกตา่ งกนั ออกไป

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 8 ใบความรู้ท่ี 5 เรอ่ื ง งานทศั นศิลป์รปู แบบตะวนั ออก ศลิ ปะอนิ เดยี ประเทศอินเดยี เป็นประเทศที่มี อารยธรรมของตนเองและได้รับวัฒนธรรมจากชนชาติอื่น ร่วมด้วยได้แก่ เมโสโปเตเมีย อิหร่าน กรีก โรมัน วัฒนธรรมของอินเดียมีอิทธิพลแก่ชนชาติ ตะวันออกทงั้ ทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะด้านศิลปะซึ่งได้ขยายอิทธิพลอย่างกว้างขวางไปสู่ ภูมิภาคเอเชยี ใต้ เอเชยี ตะวันออก และเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ศลิ ปะอนิ เดียนั้นเกิดจากแรงบันดาล ใจทางศาสนาและลัทธิความเชื่อต่างๆ เช่น ความเชือ่ เรอ่ื งเทพเจา้ อิน เ ดียเ ป็น ประ เทศที่มีการนับถือ ศาสนาหลากหลาย ได้แก่ ศาสนา พราหมณ์- ฮนิ ดู พระพุทธศาสนาทาํ ให้ศิลปะซ่ึงส่วนใหญ่ ไดร้ ับแรงบันดาลใจจากศาสนา มีความแตกต่าง กันไปตามความเ ช่ือของ ศาสนานั้นๆศิลปะ ภาพที่ 3.1 มหาสถูปสาญจี อินเดียแบ่งออกได้ดงั นี้ ท่ีมา : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.98), ศิลปะแบบส าญจี เป็น ศิลปะ สมัยท่ี โดย ธงชยั รกั ปทุม, 2557. เ ก่าแก่ ที่สุด อ ยู่ใ น ร าช วง ศ์ เ มารย ะ แล ะ ราชวงศศ์ กุ คะ (สมยั พระเจ้าอโศกมหาราช) โดยเปน็ ช่วงที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง ส่งผลให้ งานศิลปะเก่ยี วขอ้ งกับพระพุทธศาสนา สถาปัตยกรรม ไดแ้ ก่ สถปู ต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นรูปโอคว่ํามี ฉตั รปกั อยบู่ นยอดและมีฐานรองรบั ตวั สถปู ลกั ษณะพระพุทธศาสนาของศิลปะอินเดียที่สําคัญอีก อย่างหนึง่ คือ ร้ัวและเสา โดยรว้ั จะสรา้ งขน้ึ ล้อมรอบบรเิ วณอันศักด์ิสิทธ์ิทางศาสนา เช่น บริเวณท่ี พระพุทธเจา้ ประทับหรอื สงั่ สอนพระธรรม หรอื ลอ้ มรอบองค์สถูป ส่วนเสานั้นมีวัตถุประสงค์ที่ใช้ หลายอยา่ ง เช่น ใช้สาํ หรับประดิษฐฐ์ านสัญลกั ษณ์ของศาสนา ใช้สําหรับจารึกเร่ืองราวต่างๆ หรือ ใช้เป็นเสาโคมไฟ ประติมากรรมส่วนใหญจ่ ะนาํ มาประกอบกับสถาปัตยกรรมเช่ น ภาพสลักบนร้ัว และประตลู ้อมรอบสถปู รปู แบบของศิลปะทเี่ ก่ียวกับพระพุทธศาสนาในสมัยท่ีนิยมใช้สัญลักษณ์ แทนรูปมนษุ ย์ ดงั เชน่ ภาพสลักพระพุทธเจ้า 4 ปาง คือ ประสูติ ตรัสรู้ปฐมเทศนา และปรินิพพาน จะใช้ รปู สญั ลักษณ์แทน ได้แก่ ดอกบวั ต้นโพธิ์ ธรรมจักร พระสถปู แทนปางเหลา่ น้นั ตามลําดับ ศิลปะแบบคัน ธาระ (พุทธศตวรรษ ท่ี 6 หรือ 7) เป็นศิลปะท่ีมีความเกี่ยวข้องกับ พระพทุ ธศาสนาโดยได้รับอิทธิพลศิลปะจากกรีกและโรมัน และศิลปะในยุคน้ีได้เริ่มประดิษฐ์ พระพุทธรปู ทม่ี รี ูปลกั ษณข์ องมนุษย์ แต่มลี กั ษณะคลา้ ยชาวกรีกและโรมัน

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 9 ภาพท่ี 3.2 พระพทุ ธรปู ศลิ ปะแบบคันธาระ ภาพที่ 3.3 จติ รกรรมฝาผนังศิลปะแบบคุปตะ ทมี่ า : ทัศนศลิ ป์ ม.4-6 . (น.51), พบทีผ่ นังถํา้ อชนั ตา โดย ธงชยั รกั ปทุม, 2557. ท่มี า : ทศั นศิลป์ ม.4-6 . (น.98), โดย ธงชัย รกั ปทุม, 2557. ศิลปะแบบมถุรา (พุทธศตวรรษที่ 6 ห รือ 9) ประ ติมากรรมใน ยุคนี้นิยมการสลัก พระพุทธรูปหรอื เร่ืองราวทางพระพทุ ธศาสนาด้วยหินทราย บางผลงานมีลักษณะของศิลปะกรีก และโรมัน โดยพระพทุ ธรปู ในยคุ น้ีมลี ักษณะคลา้ ยชาวอนิ เดยี มากขนึ้ ศิลปะแบบอมราวดี (พุทธศตวรรษท่ี 6 หรือ 7) ศิลปะในสมัยนี้มีรูปแบบอุดมคติ เน้น ลกั ษณะแสดงการเคลื่อนไหว ประติมากรรมท่ีพบ คือ พระพุทธรูปซ่ึงมีลักษณะพระพักตร์ คล้าย แบบ กรกี และโรมนั ห่มจีวรเป็นรวิ้ ท้งั องค์ ศลิ ปะแบบคุปตะ (พุทธศตวรรษที่ 9 หรือ 13) จัดเป็นศิลปะสมัยใหม่ ประติมากรรมใน สมัยนี้นิยมการสลักรูปนูนสูงมากกว่ารูปลอยตัว ส่วน พระพทุ ธรูปมลี ักษณะแบบอนิ เดียแท้ ศลิ ปะที่มีช่ือเสียงใน สมัยน้ไี ดแ้ กง่ านจติ รกรรม ซ่ึงคน้ พบทีผ่ นังถ้ําอชันตา ด้าน สถาปตั ยกรรมเร่ิมมีการก่อสร้างด้วยอิฐ นิยมสร้างเทวส ถานซึ่งมลี กั ษณะใหญ่โตกวา่ ในสมัยกอ่ น ศิลปะแบบทมิฬ (พุทธศตวรรษท่ี 14) ภาพที่ 3.4 ศิวนาฏราช ศลิ ปะแบบทํามดี หรือดาราวิเดียนมีประติมากรรมท่ีทําจาก ศลิ ปะแบบทมฬิ หนิ สาํ รดิ และการสลักลูกจากไม้ ส่วนสถาปัตยกรรมส่วน ใหญน่ ้นั สร้างจากหินซ้อนกันเป็นช้ันๆ และนิยมสร้าง ท่ีมา : ทัศนศิลป์ ม.6 . (น.87), เทวสถาน โดย ธงชัย รกั ปทุม, 2560.

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 10 ศิลปะแบบปาละ-เ สน ะ ( พุทธศตวรรษท่ี 14-18) เป็นศิลปะ ที่มีความเก่ียวข้องกับ พระพทุ ธศาสนา โดยมีการผสมความเชื่อของลัทธิฮนิ ดู เข้าไปงานประติมากรรมได้แก่ภาพสลักจาก หินการหล่อด้วยสําริด โดยพ ระพุทธรูปใ นสมัยนี้ มีลักษณะ การทรงเครื่องมากข้ึน และพ บ ประติมากรรมรปู พระโพธิสตั ว์ โดยสรปุ แลว้ ศิลปะอนิ เดียจะมีความเก่ียวข้องกับศาสนา โดยส่วนมากจะนิยมการสร้าง งานประตมิ ากรรมเพอ่ื การบชู า สถาปัตยกรรมสร้างข้ึนเพ่ือเป็นเทวสถานหรือประกอบพิธีทาง ศาสนาสว่ นจติ รกรรมมักไม่ค่อยกล่าวถึง ซึ่งจิตรกรรมอินเดียโดยรวมแล้วมีความเก่ี ยวข้องทาง ศาสนาเชน่ เดียวกัน โดยเปน็ ภาพจิตรกรรมฝาผนัง หรอื ภาพเขียนประกอบคัมภีร์ ซ่ึงมีการใช้สีสัน สดใส ไมเ่ น้นแสง-เงา

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 11 ใบความรู้ท่ี 6 เร่ือง งานทัศนศิลปร์ ูปแบบตะวนั ออก ศลิ ปะจีน ประเทศจีนเป้นประเทศทีม่ ปี ระวัตศิ าสตร์สืบต่อกันมายาวนานที่สุดประเทศหน่ึงในโลก และยงั มีการพบหลกั ฐานดว้ ยว่าเปน็ ถิ่นท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์มาแต่ยุคดึกดําบรรพ์ท่ีเก่าแก่ท่ีสุดแห่ง หนง่ึ ของโลกด้วย ชาวจีน นับถือกราบไห ว้บรรพ บุรุษมาต้ัง แต่โบราณกาล มีวัฒน ธรรมท่ีมุ่ง เ น้น ความสมั พนั ธข์ องคนในสงั คมและให้ความสําคญั กบั ธรรมชาติงานศิลปะของจีนจึงมีความเกี่ยวข้อง กับมนุษย์ สังคมและธรรมช าติได้ มีการค้นพ บหลักฐาน ทางโบราณคดีของจีน ในสมัยก่อน ประวตั ิศาสตร์หลายอย่างเช่น การเกษตร มคี วามรทู้ างฝีมอื ช่างมายาวนาน ประติมากรรมของจีนทีม่ ีมาแตโ่ บราณ ได้แก่ ภาชนะ ต่างๆ ที่ทํา ด้วยสัมฤทธ์ิ ใช้ สําหรับงานพธิ ีกรรมการเคารพบรรพบรุ ษุ ภาชนะนิยมตกแตง่ โดยรูปสัตว์หรือรูปเก่ียวกับธรรมชาติ มปี ระตมิ ากรรมดนิ เผารปู ทหารขนาดเท่าคนจรงิ ปรากฏในสมยั ราชวงศ์จิ๋น และประติมากรรมหลาย ชน้ิ ทีพ่ บแสดงให้เหน็ ถึงความเช่ือด้านศาสนา เช่นรูปสลักหินที่มีเร่ืองราวเกี่ยวกับเทพนิ ยายตาม ความเชื่อของลัทธิเตา๋ เห็นรปู เคารพท่เี กีย่ วข้องกับพระพุทธศาสนาประติมากรรมท่ีมีชื่อเสียงของจีน ได้แก่การแกะสลกั หยก เพือ่ ใช้เปน็ เครือ่ งประดบั และเคร่อื งเคลือบที่มีความแข็งแรง ลวดลายสีสัน สวยงาม จิตรกรรมของจีนจะสัมพันธก์ ับธรรมชาติ โดยการใช้สีและเส้นอ่อนช้ อยงดงาม เต็มไป ด้วยพลังนอกจากธรรมชาตแิ ล้วจติ รกรรมกนิ ยังไดร้ บั อิทธพิ ลจากปรัชญาทางพระพุทธศาสนาลัทธิ เต๋า ลัทธิขงจือ๊ จงึ ปรากฏภาพพุทธประวตั ิควบคไู่ ปกับสวรรค์ สถาปตั ยกรรมของจนี ที่มชี ื่อเสยี งทส่ี ดุ คอื กาํ แพงเมืองจีนสร้างข้ึนในสมัยราชวงศ์จิ๋นเพ่ือ ปอ้ งกันการรกุ ราน จากชนเผ่าทางเหนือนอกจากนีย้ งั มสี ถาปัตยกรรมอ่ืนๆ เช่น เจดีย์ท่ีมีหลังคาทุก ช้นั ภายนอกอาคารตกแตง่ ด้วยกระเบอื้ งเคลือบ

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 12 ภาพที่ 3.5 สถาปตั ยกรรม กาํ แพงเมืองจีน ภาพที่ 3.6 หมอ้ 3 ขา ที่มา : https://www.winnews.tv/news/10649. ท่มี า : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.99), 30 พฤศจกิ ายน 2561 โดย ธงชยั รักปทุม, 2557.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 13 ใบความรู้ที่ 7 เร่ือง งานทัศนศิลปร์ ูปแบบตะวันออก ศลิ ปะขอม ดินแดนไทยมีความสัมพันธ์อย่างไกล้ชิดกับกัมพูชามาแล้วนับสู้ครั้งพุทธศตวรรษที่ 12 หรือสมัยก่อนเมืองพ ระนคร ยิ่งล่วงเข้าสู่สมัยเมืองพระน คร หรือราวพุทธศตวรรษท่ี 14-18 ความสมั พันธด์ ้านต่าง ๆ ย่ิงทวีตัวมากขึ้น ทําให้เกิดการค้นพบศิลปกรรมเขมรในดินแดนไทย จํานวนมาก นักวิชาการเรียกศลิ ปกรรมกลุ่มน้ีซ่ึงมีอายุระหว่างราวพุทธศตวรรษท่ี 12-18 ออกเป็น หลายช่ือไดแ้ ก่ ศลิ ปะลพบุร,ี ศิลปะเขมร (ศิลปะขอม), ศิลปะเขมรในประเทศไทย ( ศิลปะขอมใน ประเทศไทย) ชอื่ เรยี กแตล่ ะแบบเกิดข้ึนจากเง่ือนไขและมุมมองท่แี ตกต่างกันออกไป ชนชาติของขอม เป็นชนชาติหน่งึ ท่ีได้รบั อิทธพิ ลรปู แบบศิลปะจากอินเดีย ในระยะเริ่มแรก นั้นศิลปะขอมมลี กั ษณะคล้ายกับศิลปะอินเดยี มาก ตอ่ มาจึงได้มีการพัฒนามาเป็นรูปแบบเฉพาะของ ตนเองซึ่งจะพบงานดา้ นสถาปัตยกรรมและประติมากรรมเป็นส่วนมาก ภาพที่ 3.7 นครวดั ประเทศกมั พูชา ทม่ี า : http://palanla.com/index.php?op=abroadLocation-detail&id=269. 30 พฤศจิกายน 2561 สถาปตั ยกรรมของขอมสว่ นใหญไ่ ด้รบั แบบอยา่ งมาจากอนิ เดียแต่ก็มีลักษณะของศิลปะจีน ร่วมด้วยและปรับเปลีย่ นให้เข้ากับศิลปะของตนเอง สถาปัตยกรรมขอมมีลักษณะท่ีใหญ่โตเป็น ปึกแผ่น มีระเบยี บแสดงใหเ้ หน็ ถงึ อํานาจ วหิ ารของขอมได้รับอิทธิพลจากอินเดีย โดยสถาปนิกได้ สร้างงานสถาปตั ยกรรมของตนข้นึ มาเป็นรูปแบบของขอม สว่ นหลงั คาแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของ จีน แต่เ สาสี่เ ห ล่ียมซึ่งมีหัวเ สารูปครุฑยังคง เป็นรูปแบบของ ขอม โดยมีการประดับด้วย ประตมิ ากรรมตา่ งๆ เชน่ ประติมากรรมนนู สูงรูปนางอปั สรรูปพญานาคตกแต่งบริเวณหน้าจ่ัวหรือ ราวบันได มีการสร้างปรางค์ข้ึนตามมุมวิหารล้อมรอบ ปรางค์องค์ให ญ่ ซ่ึงอาจประดิษฐาน

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 14 เทวรูปหรอื ศิวลงึ ค์ โดยถือว่าภายในวิหารเป็นที่ประทับของเหล่าเทพยดา ศาสนสถาน ที่ยังคงมี ความสมบูรณแ์ ละงดงามท่ีสดุ ในศิลปะขอม ได้แก่ ปราสาทนครวัด ซึ่งสร้างข้ึนในสมัย พระเจ้าสุ ริยวรมันท่ี 2 ลักษณะประติมากรรมทพ่ี บในนครวดั ได้แก่ ภาพจําหลักนูนเร่ืองราวเกียรติและมหาภา รตะ หรือ ภาพแสดงความเช่ือเกยี่ วกบั เรอ่ื งนรกสวรรค์ประดับอยู่ในวิหารโดยมีความมุ่งหมายเพื่อ สรา้ งความยง่ิ ใหญอ่ ลังการให้กับสถาปัตยกรรม ประตมิ ากรรมของขอมในระยะแรกเปน็ ภาพสลักเหมือนจริงซ่ึงได้รับอิทธิพลจากศิล ปะ อนิ เดยี โดยมลี ักษณะแขง็ กร้าว แต่ก็ปรากฏงานประติมากรรมท่ีมีความอ่อนช้อยด้วย ได้แก่ ภาพ สลักนางอัปสรท่ีมคี วามอ่อนช้อยงดงาม สว่ นพระพุทธรูปในช่วงแรกมีความแข็งกร้าวเช่นเดียวกัน แต่หลังจากพุทธศตวรรษท่ี 18 ศิลปะไทยได้มีอิทธิพลต่อศิลปะเขมร ส่งผลให้พระพุทธรูปมี ลกั ษณะคลา้ ยพระพุทธรปู แบบสโุ ขทยั ของศิลปะไทยซึง่ มีความอ่อนชอ้ ยสวยงาม ประติมากรรมที่มีช่ือเสียงของศลิ ปะขอม ได้แก่ ทับหลงั ทป่ี ราสาทบันทายสรีซึ่งสลกั บน หนิ ทรายสชี มพู โดยสลบั เปน็ เรอ่ื งราวในมหาภารตะท่สี ื่อถึงความเช่อื ของศาสนาพราหมณฮ์ ินดู ภาพที่ 3.8 ภาพสลกั นางอัปสร ที่มา : ทัศนศลิ ป์ ม.4-6 . (น.101) โดย ธงชัย รกั ปทุม, 2557.

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 15 ใบความร้ทู ี่ 8 เร่อื ง งานทัศนศลิ ปร์ ปู แบบตะวันออก ศลิ ปะไทย ชนชาตไิ ทยเป็นชาติท่ีมีการผสมสารกันในหลายเช้ือชาติ ทั้งมอญ เขมร มลายู ทําให้ วฒั นธรรมไทยได้รบั อทิ ธิพลจากชนชาตเิ หล่านัน้ ด้วย โดยชนชาติเหล่าน้ันเองต่างก็ได้รับอิทธิพล จากอารยธรรมอินเดยี ดังน้นั ศลิ ปะไทยจงึ มลี กั ษณะคล้ายกับศิลปะของอินเดี ย รวมทั้งศิลปะจีนซ่ึง ไทยได้รับอิทธิพลจากการติดต่อค้าขายและ มีการ พฒั นารูปแบบเป็นของตนเอง ลกั ษณะของศิลปะไทย จงึ มีความเกยี่ วข้องกับพระพุทธศาสนาวัฒนธรรมและ สภาพแวดล้อม ศิลปะไทยมีรูปแบบเ ฉพ าะ ในเ ร่ืองความ อ่ อ น ห ว า น แ ล ะ ไ ด้ ส อ ด แ ท ร ก วั ฒ น ธ ร ร ม ขนบธรรมเนียมประ เ พ ณี แ ละ ควา มรู้ สึ กของ คน ไทย ศลิ ปะไทยเรมิ่ ตน้ ต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งมี ภาพที่ 3.9 เครื่องปนั้ ดนิ เผาพบท่ี การค้นพบเครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ต่างๆที่ทําบุญบ้านเชียง ตาํ บลบ้านเชยี ง จังหวดั อดุ รธานี อําเ ภอหน องห าน จัง หวัดอุดรธานี รวมถึงภ าพ ที่ ทีม่ า : ทัศนศลิ ป์ ม.4-6 . (น.102), เกีย่ วกับพธิ ีกรรมและการใช้ชีวติ เชน่ ภาพการล่าสัตว์ ที่ผาแตม้ อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ส่วน โดย ธงชยั รกั ปทมุ , 2557. ศลิ ปะสมัยประวตั ศิ าสตรส์ ามารถจาํ แนกได้ดงั น้ี ศลิ ปะสมัยทวารวดี พทุ ธศตวรรษท่ี 12-16 ศิลปะสมยั ทวารวดีสร้างขนึ้ เพ่ือพระพทุ ธศาสนานิกายมหายานการสร้างพระพุทธรูปใน สมัยนรี้ ะยะแรกเปน็ การเรียนแบบศิลปะคุปตะของอินเดีย ต่อมาจึงพัฒนาเป็นรูปแบบของตนเอง งานประติมากรรมในสมัยน้ีเป็นงานสําริดดินเผาไฟและปูนปั้น สันนิษฐานว่าศูนย์กลางของ อาณาจักรอย่บู ริเวณจังหวดั นครปฐม เพราะพบโบราณสถานและโบราณวัตถุจํานวนมาก นอกจากน้ี ยงั ปรากฏในภาคตะวนั ออกและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือด้วย หลกั ฐานทางศิลปะท่ีพบในสมัยทวาร วดี ไดแ้ ก่ ภาพสลกั ด้วยหนิ พระพุทธรปู ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะ คือ พระนาสกิ ไมโ่ ดง่ พระโอษฐห์ นา ศลิ ปะสมัยศรวี ชิ ัย (พุทธศตวรรษที่ 13-14) สันนษิ ฐานวา่ อาณาจกั รศรวี ิชยั มีอาณาเขตต้ังแต่บริเวณภาคใต้ของประเทศไทย ไปจนถึง เกาะ สมุ าตราและเกาะชวา ศลิ ปะสมัยศรีวิชัยไดแ้ พรเ่ ข้ามาพร้อมกับพระพุทธศาสน าแบบมหายาน และศาสนาฮินดู จึงมักพบประติมากรรมรูปพ ระโพธิสัตว์ เช่น พระโพธิสัตว์อว โลกิเตศว ร

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 16 อําเภอไชยา จังหวดั สุราษฎรธ์ านี ซ่งึ สลักจากศิลา มลี ักษณะเฉพาะ คือ พระโพธิสัตว์จะทรงอาภรณ์ และเครอื่ งประดับอย่างกษตั รยิ ์ พระพักตร์อ่อนโยน ส่วนด้านสถาปัตยกรรมที่มีช่ือเสียง ได้แก่ พระ บรมธาตไุ ชยา จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ซงึ่ มีองคเ์ จดีย์เป็นแปดเหลี่ยม มีมุมย่อและมีเจดีย์ประจําทิศตั้ง ซอ้ นอยู่ ภาพที่ 3.10 ภาพสลกั นักดนตรี ภาพที่ 3.11 พระโพธิสัตวอ์ วโลกิเตศวร ศิลปะสมยั ทวารวดี อาํ เภอไชยา จงั หวัดสุราษฎ์ธานี ท่ีมา : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.103), ทม่ี า : ทศั นศิลป์ ม.4-6 . (น.102), โดย ธงชัย รักปทุม, 2557. โดย ธงชยั รกั ปทมุ , 2557. ศลิ ปะสมยั ลพบรุ ี (พทุ ธศตวรรษที่ 16-18) อาณาจักรลพบุรหี รือละโว้ มอี าณาเขตบรเิ วณภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย ศิลปะในสมยั ลพบรุ ีได้รับอิทธิพลจากขอม ประตมิ ากรรมมัก สร้างขนึ้ จากโลหะและการแกะสลกั หินพระพุทธรูปจะมีลักษณะพระพักตร์ส้ันเปน็ รูปสเ่ี หล่ยี ม พระ โอษฐแ์ บะกว้าง พระกรรณยาวประดับด้วยกณุ ฑล ส่วนดา้ นสถาปัตยกรรมนิยมสร้างประสาทหิน เชน่ ปราสาทหินพิมาย จงั หวัดนครราชสีมา ปราสาทเขาพนมรุ้ง จงั หวัดบรุ รี มั ย์ ภาพที่ 3.12 ปราสาทหนิ พมิ าย ภาพท่ี 3.13 เจดยี ว์ ัดเจด็ ยอด จังหวดั เชียงใหม่ จังหวดั นครราชสมี า ทีม่ า : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.103), โดย ธงชัย รกั ปทุม, 2557. ทีม่ า : ทศั นศลิ ป์ ม.4-6 . (น.103), โดย ธงชยั รักปทุม, 2557.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 17 ศิลปะสมัยล้านนา (พุทธศตวรรษที่ 18-23) อาณาจกั รล้านนาหรอื เชียงแสน มีศูนย์กลางอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทยโดยพบ โบราณสถานและโบราณวัตถจุ ํานวนมากท่ีจังหวดั เชยี งรายและจังหวัดเชียงใหม่ ศิลปะสมัยน้ีได้รับ อทิ ธิพลจากพระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาท ประตมิ ากรรมทป่ี รากฏ ได้แก่ พระพุทธรูปและลวดลาย ประดบั โบราณสถาน พระพุทธรูปสมยั ล้านนาในชว่ งแรกจะมลี กั ษณะพระวรกายอบอูม พระพักตร์ อม่ิ ท่านงั่ ขัดสมาธิเพชร ซึง่ เปน็ ลกั ษณะของศิลปะแบบคปุ ตะ สว่ นชาติช่วงหลัง ได้รับอิทธิพลจาก ศลิ ปะสุโขทยั สถาปัตยกรรมแบบลา้ นนาท่ีพบ เช่น เจดยี ว์ ัดเจ็ดยอด จงั หวดั เชียงใหม่ อุโบสถ์วิหารในศิลปะแบบเชียงแสนที่ยังคง อยู่ในปัจจุบันน้ีส่วนมากเป็นสมัยหลัง เนอื่ งจากดินแดนทางภาคเหนือของประเทศไทยได้ถกู ประเทศพม่าเข้าครอบครองต้ังแต่ปลายพุทธ ศตวรรษที่ 22 ลงมาจนถึงปลายพุทธศตวรรษท่ี 24 บรรดาอุโบสถวิหารจึงมีอิทธิพลของศิลปะพม่า เข้าปนอยู่ รวมไปถึงการกล้าวถึงกู่สําหรับประดิษฐานพระพทุ ธรูปในวหิ าร ศิลปะสมยั สโุ ขทัย พทุ ธศตวรรษที่ 19-20 อาณาจักรสโุ ขทัยมีศนู ย์กลางอยูบ่ ริเวณจังหวัดสุโขทัยศิลปะสุโขทัยได้รับอิทธิพลมาจาก พระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาท ลทั ธิลังกาวงศ์ประตมิ ากรรม ในสมัยสุโขทัยมีรูปแบบท่ีงดงาม นิยม หล่อพระพทุ ธรูปด้วยโลหะผสมสํารดิ พระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยจะมีพระวรกายโปร่ง พระเกศมี รศั มเี ป็นเปลว พระโอษฐ์ยม้ิ พระศกแบบก้นหอย ท่ีมีชื่อเสียงมาก ได้แก่ พระพทุ ธชินราช วัดพระศรีมหาธาตุ จังหวัดพษิ ณโุ ลก นอกจากพระพทุ ธรูปแล้ว ศิลปะประยุกต์ที่มีช่ือเสียง อีกอยา่ งหน่งึ คอื เคร่ืองสังคโลก วัตถุประสงค์การใช้งานด้านสถาปัตยกรรมมีความเ กี่ยวข้องกับ ศาสนาโดยมีลักษณะของสถาปัตยกรรมหลายรปู แบบ ซึง่ เกดิ จากการรับอิทธิพลจากท่ีอ่ืน ก่อนที่จะ พัฒนามาเปน็ รูปแบบของตนเอง เชน่ สถปู ทรงพมุ่ ขา้ วบิณฑ์หรือทรงดอกบัวตูม เจดีย์แบบลังกาซึ่ง มีรปู ทรงกลม สว่ นลา่ งขององคร์ ะฆังมักมีลายกลีบบัว จิตรกรรมส่วนใหญ่เป็นภาพเขี ยนลายเส้น และภาพสฝี ุ่นโดยเปน็ ภาพประกอบเรือ่ งราวทางศาสนา ภาพที่ 3.14 เจดียท์ รงดอกบัวตูม วดั ตระพงั เงนิ ภาพที่ 3.15 เจดีย์วัดเจด็ แถว จังหวัดสุโขทัย ที่มา : ทศั นศลิ ป์ ม.4-6 . (น.104), ท่ีมา : ทัศนศลิ ป์ ม.4-6 . (น.104), โดย ธงชยั รักปทุม, 2557. โดย ธงชยั รักปทมุ , 2557.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 18 ศิลปะสมยั อยธุ ยา พทุ ธศตวรรษที่ 19-24 อาณาจักรอยุธายามีศูนย์กลางอยู่บริเวณลุ่ม แมน่ ้ําเจ้าพระยา รูปแบบทางศิลปะในสมัยนี้มีความ หลากหลายเนื่องจากอาณาจักมีระยะเวลายาวนาน โดยสว่ นใหญ่จะเกี่ยวเนอื่ งกบั พระพุทธศาสนาและ พระมหากษัตรยิ ์ ด้าน ประ ติมากรร มส่วน ใ ห ญ่จะ เ ป็ น พระพุทธรูปที่มีรูปแบบเปลี่ยนแปลงไปตามสมัย ภาพที่ 3.16 พระศรศี ากยทศพลญาณ พระพุทธรูปนิยมห ล่อด้วยสําริด ใน สมัยอยุธยา ท่มี า : ทศั นศลิ ป์ ม.4-6 . (น.105), ตอนต้นพระพทุ ธรูปเป็นศิลปะแบบอู่ทอง ซึ่งเป็น โดย ธงชยั รกั ปทุม, 2557. ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ศิ ล ป ะ ท ว า ร ว ดี กั บ ล พ บุ รี ในสมัยอยุธยาตอนกลางเ ร่ิมมีการสร้าง พระพุทธรูปทมี่ เี ครอื่ งทรง เช่น มงกุฎ ทบั ทรวงแต่ยงั มเี ครอ่ื งทรงไม่มากจึงเรียกว่า ทรงเคร่ืองน้อย จนถึงสมัยอยุธยาตอนปลายพระพุทธรูปมีเครื่องทรงมากขึ้นจึกเรียกว่า ทรงเคร่ืองใหญ่ ด้าน สถาปตั ยกรรมซึง่ นอกเหนือจากด้านศาสนาและพระมหากษัตริย์แล้ว ได้มีสถาปัตยกรรมเก่ียวกับท่ี อยอู่ าศัยของประชาชนดว้ ย สถาปัตยกรรมดา้ นศาสนาและพระมหากษัตริย์ที่ปรากฏในสมัยอยุธยา ช่วงแรกคอื พระปรางค์และเจดยี ต์ ามแบบอยา่ งศิลปะ ลพบุรแี ละสุโขทัย และพระราชวังพระตาํ หนกั ภาพท่ี 3.17 พระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งใหญ่ ภาพที่ 3.18 วดั เทพธิดารามวรหิ าร ทมี่ า : ทศั นศลิ ป์ ม.4-6 . (น.105), รบั อิทธพิ ลมาจากจีน ในสมยั รชั กาลที่ 3 โดย ธงชยั รกั ปทมุ , 2557. ท่มี า : ทัศนศลิ ป์ ม.4-6 . (น.105), โดย ธงชัย รักปทมุ , 2557. ท่ีได้รับอิทธพิ ลจากขอมเช่นเจดียแ์ ละโบสถท์ ี่วดั ไชยวัฒนารามจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา พระราชวังนารายณร์ าชนิเวศน์ จงั หวดั ลพบรุ ี ต่อมาสถาปตั ยกรรมไดเ้ ปลยี่ นแปลงเป็นรูปแบบของ

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 19 ตนเองปรากฏใหเ้ หน็ อยูท่ วั่ ไปในเมืองโดยเฉพาะตอนกลางของประเทศสว่ นสถาปตั ยกรรมประเภท ท่อี ยอู่ าศยั ของประชาชนคอื เรอื นไทย เคร่ืองปลกู สรา้ ง ด้วยไมไ้ ผ่ และเรอื นไทย เคร่อื งสบั สร้าง ด้วยไมต้ ่างๆ เช่น ไมส้ กั ไม้ตะแบก ดา้ นจิตรกรรมจะมีความเก่ียวข้องกับพระพทุ ธศาสนา โดยเป็นเร่ืองราวเก่ียวกับชาดก พุทธ ประวัติจติ รกรรมทปี่ รากฏ ได้แก่ การจําหลักลายเส้นบนแผ่นหิน ภาพจิตรกรรมฝาผนังพระที่น่ัง พทุ ธไธสวรรย์ กรงุ เทพมหานคร โดยการใช้สีในสมัยน้ีจะใช้สีเอกรงค์หรือใช้เพียงไม่ก่ีสี เช่น เหลือง แดง ดาํ นอกจากน้ยี งั มีศิลปะแขนงอ่นื ๆ เกิดขนึ้ มาในสมัยอยุธยา ได้แก่ การประดับมุกการเขียน ลายรดน้ําลวดลายปนู การแกะสลกั เครื่องเคลอื บดนิ เผาลายเบญจรงค์ ศิลปะสมยั รัตนโกสินทร์ (พทุ ธศตวรรษที่ 25 - ปัจจุบนั ) ศิลปะ สมัยรัตน โกสิน ทร์เ ป็น ศิลปะท่ีถ่ายทอดมาจากศิลปะ อยุธยา เริ่มต้น ต้ัง แต่ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช (รชั กาลที่ 1) ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครข้ึน เปน็ ราชธานีจนถึงปจั จุบัน ดา้ นประติมากรรม ในช่วงแรกรปู แบบงานยังคง สืบทอดมาจากสมัยอยุธยา จนถึงสมัยรัช กาลท่ี 3 ได้มี อิทธพิ ลจากศลิ ปะจนี เขา้ มาจากการนาํ เขา้ รูปสลักฝีมือช่าง ชาวจนี มาประดบั อาคาร ในสมัยรชั กาลท่ี 4-6 ทําให้ศิลปะ ตะวันตกหลั่งไหลเขา้ สู่ประเทศไทยเกิดการผสมผสานกับ ศลิ ปะไทย จนมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบเป็นศิลปะไทย ร่วมสมยั การปน้ั พระพทุ ธรปู มีลกั ษณะเหมือนมนุษย์มาก ข้ึน เช่น พระศรีศากยทศพลญาณ พระ ประธานพุทธ มณฑลสุทรรศน์ จงั หวัดนครปฐม เป็นพระพุทธรูปปาง ภาพท่ี 3.19 พระศรศี ากยทศพลญาณ ลีลา ที่ผสมผสานความงามแบบสุโขทัยเ ข้ากับความ ท่ีมา : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.105), เหมือน จริง ห ลัง พ.ศ 2475 มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัย ศลิ ปากร โดยการนําของศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พีระศรี ทําให้ โดย ธงชยั รกั ปทมุ , 2560. เกดิ การสรา้ งประติมากรรมสมัยใหม่และร่วมสมัยมากข้นึ

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 20 ด้านสถาปตั ยกรรม ในระยะแรกเป็น การสื บทอ ดแ บ บจา กศิล ปะ อ ยุธย าแ ต่ มีกา ร ตกแต่งประดบั ประดามากขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีสถาปัตยกรรมแบบลายจีนเข้ามา มีการ ตกแต่งสถานเป็นลวดลายแบบจีน เช่น อุโบสถ วัดราชโอรส วัดเทพธดิ ารามในสมัยราชกาลที่ ภาพท่ี 3.20 พระทีน่ ง่ั จกั รีมหาปราสาท 4 เ ป็น ต้น มาเ กิดการผสมผสาน ระ ห ว่าง ที่มา : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.106), สถาปัตยกรรมไทยและสถาปตั ยกรรมตะวันตก โดย ธงชยั รกั ปทุม, 2557. เช่น พระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาท พระ ท่ีนั่ง อนันตสมาคม ส่วนที่อาศัยของประชาชน ก็ นยิ มสรา้ งบา้ นดว้ ยคอนกรตี แทนการสร้างด้วย ไม้ ดา้ นจิตรกรรมมที ั้งรปู แบบของไทยและแบบร่วมสมัย ในช่วงแรกยังคงเน้นการวาดภาพ ประ ดับฝาผนังโบสถ์ วิหาร โดยใ ช้สีท่ีมีความหลากหลายมากกว่าใน สมัยอยุธยา นิยมปิด ทองคาํ เปลวเพื่อให้ภาพดสู วยงาม ตอ่ มาไดม้ ีความหลากหลายภาพท่ีวาดมีความเหมือนจริงและเป็น 3 มิติ เรอื่ งราวของภาพมที ้ังความเชอื่ ทางพระพุทธศาสนา ประเพณี ทิวทัศน์ และมีการนําเร่ืองราว ในวรรณกรรมหรอื วัฒนธรรมของตา่ งชาติมาสรา้ งในงานจติ รกรรมด้วย จิตรกรเอกผู้มีช่ือเสียงท่ีนํา เทคนิคใหม่มาใช้ในงานจติ รกรรมไทย ได้แก่ ขรวั อินโข่ง ภาพท่ี 3.21 ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในพระทน่ี ่งั พทุ ไธสวรรย์ ท่ีมา : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.105), โดย ธงชยั รกั ปทุม, 2557.

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 21 ใบงานท่ี 9 เรอ่ื ง งานทศั นศิลป์รูปแบบตะวันออก ชอ่ื .......................................ชั้น ............. เลขที่ ............... ชอ่ื .......................................ชั้น ............. เลขที่ ............... ช่ือ ......................................ชั้น ............. เลขท่ี ............. ชอ่ื .......................................ชน้ั ............. เลขที่ ............... ชื่อ .......................................ชั้น ............. เลขที่ .............. ชือ่ .......................................ชนั้ ............. เลขที่ ............... ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศึกษาค้นควา้ ข้อมลู ศลิ ปะตะวนั ออกตามท่ีกลุ่มตนเองไดร้ บั ในหวั ขอ้ ดังน้ี 1. รปู แบบของผลงาน 2. ความหลากหลายของผลงาน 3. ลักษณะของผลงาน 1. รปู แบบของผลงาน 2. ความหลากหลายของผลงาน ................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ .............................................................................. ........................................................................ ........................................................................ ศลิ ปะ ..................... .................................................................. 3. ลกั ษณะของผลงาน ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 22 สรปุ ทา้ ยบทเรียน รปู แบบงานทศั นศิลป์ตะวนั ออก ศิลปะตะวนั ออกจดั เป็นศลิ ปะแบบจติ นาการ (Idealistic Art) โดยใช้รูปแบบธรรมชาติเปน็ พื้นฐาน แต่ไมไ่ ดย้ ดึ ตดิ ความเหมือนจรงิ ตามธรรมชาติจนเกินไป ภาพจงึ มลี กั ษณะเปน็ สองมติ ิ ไม่ เนน้ แสง-เงา หรอื สสี นั ทถ่ี ูกต้อง เชน่ พระพุทธรูปศลิ ปะตะวันออกจะมาสว่ นประกอบของ พระวรกายเชน่ เดยี วกบั มนุษย์ แต่ไมไ่ ด้มกี ารปรบั เปล่ียนลักษณะต่างๆ ตามความเช่ือ ทําให้ พระพุทธรปู ไมเ่ หมือนจริง ตามธรรมชาติทงั้ หมด เช่น พระพุทธชนิ ราช ท่มี พี ระกรทั้ง 4 น้ิวยาว เทา่ กัน ลักษณะของศลิ ปะตะวนั ออกในแตล่ ะท้องที่จะมีความหลากหลาย เนื่องจากชาวตะวันออก ไม่ได้นับถือศาสน าใดศาสน าห น่ึง เ ป็น ห ลักร่วมกัน ศาสนาที่นับถือใ นภูมิภ าคนี้ ได้แก่ พระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ทําให้ความเชื่อท่ีเกิดจากศาสนามีความ แตกต่างกนั สง่ ผลใหก้ ารสร้างสรรคศ์ ิลปะเพือ่ จรรโลงศาสนาแตกต่างกนั อย่างชดั เจน ศิลปะตะวนั ออกมีลักษณะเดน่ ในดา้ นเอกลกั ษณ์ ท่ีมาจากความคิดประดิษฐ์ขึ้นอย่างวิจิตร บรรจงของคนในชาติ โดยศลิ ปนิ รุ่นต่อมายงั คงรักษาแนวคิดเดิมไว้ แต่รูปแบบอาจเปล่ียนแปลงไป บ้างตามยคุ สมยั ผลงานศลิ ปะจงึ เปน็ การพัฒนามาจากรากฐานเดิม ทศั นศลิ ปข์ องวฒั นธรรมตา่ งๆ ศิลปะอินเดยี ศิลปะอินเดยี ในแต่ละสมัยมีความแตกตา่ งกนั ข้ึนอยู่กบั อิทธพิ ลของศาสนาและวฒั นธรรม ระหวา่ งประเทศ ศิลปะจนี ศลิ ปะจีนมคี ามหลากหลายรูปแบบทง้ั เครื่องสาํ ริด การแกะสลกั หยก ประตมิ ากรรมดนิ เผา จิตรกรรมและสถาปัตยกรรม ศลิ ปะขอม ศลิ ปะขอมได้รบั อิทธิพลจากอนิ เดียมากและมีการพัฒนาเป็นรปู แบบของตนเอง ศลิ ปะไทย ศลิ ปะไทยไดร้ บั อทิ ธิพลจากหลายเช้ือชาติ และไดห้ ลอมรวมจนเป็นรูปแบบของตนเอง มี เนอ้ื หาเกี่ยวข้องกบั พระพทุ ธศาสนา วฒั นธรรม และสภาพแวดลอ้ ม

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 23 เรอ่ื ง งานทัศนศลิ ป์รปู แบบตะวันตก ทัศนศิลป์ตะวันตก คือ ทัศนศิลป์ของกลมุ่ ซกี โลกตะวนั ตก ท่มี ีทวปี ยุโรปเปน็ ศูนย์กลาง ใหญ่ มรี ากฐานมาจากทศั นศิลป์อียิปตแ์ ละกรีก ซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรมของโลกในยคุ โบราณ ผลงานทศั นศิลป์ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขน้ึ บนโลก ตา่ งก็ได้รบั อิทธพิ ลสบื เนือ่ งต่อ ๆ กนั เปน็ ลําดบั โดยเชื่อวา่ จุดเรม่ิ ต้นของการสรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์ของมนุษย์ทีเ่ กิดข้ึนนั้นเกดิ ข้นึ พรอ้ มกับความเจริญด้าน อืน่ ๆ ของมนุษย์ดว้ ย นกั โบราณคดี และนกั ประวตั ิศาสตร์ศลิ ป์พยายามค้นคว้าหาหลกั ฐานตา่ ง ๆ เพอื่ คลค่ี ลายความเจรญิ ของมนุษย์ การตัง้ บา้ นเรือน การสร้างภาชนะเครือ่ งมือเครอื่ งใช้ ตลอดจน อารยธรรมที่ถ่ายทอกสืบต่อกันมา การวิวัฒนาการของมนุษย์จากอดีตก่อนคริสตกาลจนถึงยุค ปจั จบุ ัน

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 24 ใบความรูท้ ่ี 9 เรือ่ ง งานทศั นศลิ ปร์ ูปแบบตะวันตก ศลิ ปะสมยั ก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหินเก่า (Old Stone Age) ประมาณ 1,000,000 – 10,000 ปกี ่อนครสิ ตกาล พบหลักฐานงานศิลปะด้านประ ติมากรรมที่ สําคญั คอื ภาพจาํ หลักสตรี ซ่ึงเรียกกันว่า วีนัสแห่งวิล เลนดอร์ฟ (Venus of Willendorf ) ถกู ค้นพบในประเทศ ออสเตรีย สนั นษิ ฐานวา่ สร้างข้ึนเพ่อื เป็นสัญลักษณ์แห่ง ความสมบูรณ์ ด้านจติ รกรรมพบภาพเขยี นเลียนแบบธรรมชาติ ไม่มีลักษณ ะ ของ จิน ต น าการที่แ ปลกไปจา กของ จริ ง ภาพที่ 3.22 ประตมิ ากรรมวีนัส ตามผนังถํ้า บริเวณฝร่ังเศสตอนกลางและตอนใต้และ แห่งวลิ เลนดอร์ฟ ประเทศออสเตรีย ภาคเหนือของสเปน ส่วนมากมักจะเขียนภาพอยู่ตรง ทม่ี า : ทศั นศลิ ป์ ม.4-6 . (น.107), สว่ นท่ลี ึกท่สี ดุ แคบท่สี ุดหรือที่ยากต่อการเข้าถึงภายใน เพดานหรอื ผนงั ถ้าํ ซ่ึงยงั ปรากฏมรี อยพิมพ์เท้าตามพ้ืนท่ี โดย ธงชยั รักปทมุ , 2557. ภายในถ้ําดว้ ย การวาดในผนงั ถํ้าท่มี ดื มดิ จะใช้แสงจากตะเกียงนํ้ามันไขสัตว์ ลักษณะเทคนิคการ สร้างภาพจะมี 3ลักษณะ 1) ใช้การพ่นเปา่ สี 2) ใช้น้ิวมือหรือพิมพ์อย่างอ่ืนในการวาดและ 3) ใช้ แปรงทที่ าํ มาจากขนสัตว์ สีที่ใช้มาจากแรธ่ าตทุ ่ีหาได้ มีถ้ําที่สําคัญๆ ในยุโรปที่มีผลงานปรากฏอยู่ ตามผนงั ถา้ํ เชน่ ถาํ้ โชเวต์ (Chauvet) มีจิตรกรรมผนังถ้าํ อยเู่ ป็นจาํ นวนมาก ภาพสตั ว์ได้แก่ ม้า วัวไบซัน ช้าง แมมมอธ หมี เสอื แพนเธอร์ นกเคา้ แมว กวาง แรด แพะไอเบกซ์ ยังรวมไปถึงรอยท่ีเกี่ยวกับมนุษย์ ทั้งชายและหญงิ รปู เรขาคณติ เช่นตารางเหลีย่ ม วงกลม จุด ถา้ํ ลาสโ์ กซ์ (Lascaux) เปน็ ถา้ํ ทรี่ จู้ ักเกี่ยวกับจิตรกรรมผนังถ้ําดีที่สุด อยู่บริเวณลุ่มน้ําดอร์ โดน (Dordogne) แถบภาคใต้ของฝร่ังเศส ภาพจะปรากฏอยู่ตามเพดานหินปูนผิวเนียนกั บบริเวณ ผนังถ้ําสูงเน้ือหินผิวหยาบ มีภาพวาดประมาณ 600 ภาพและภาพแกะสลัก ราว 1 ,500 ภาพ อากปั กริ ิยาของสัตว์จะปรากฏเปน็ ไปตามรอยพื้นผิวธรรมชาติของหิน เช่นภาพแพะไอเบกซ์ และ หมี แกะตามรอยพ้ืนผิวของหนิ ลักษณะภาพจะมีหลายขนาด หน้าของสัตว์ซ้อนต่อกันหรือไม่ก็เดิน ตามรอยต่อหางเป็นแถวกัน และมีการวาดทับลงจากภาพเดมิ ขึ้นมาเป็นช้ันๆ ภาพสัตว์จะมีขนาดเท่า จริงและใหญ่กวา่ ขนาดจรงิ จะวาดแบบภาพเงาดาํ และแบบเปน็ เส้นขอบนอก

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 25 ถ้ําอัลตามีรา (Altamira) ภาพปรากฏอย่บู ริเวณข้างบนหรือตรงตําแหน่งไม่ปกติในผนังถ้ํา เขยี นวัวไบซันอยู่บนเพดานถํ้าด้วยสีแดงและน้ําตาล ภาพทรงพลังเป็นอย่างมาก เส้นขอบนอก เด็ดขาดและใช้พื้นผวิ แงม่ มุ ของหนิ ใหเ้ ปน็ สว่ นหน่ึงของภาพไปในตัว ใส่รายละเอียดของหัว เขา หางและขาดว้ ยสีดําและนํ้าตาล ผสมสีเหลืองและน้ําตาลจากดินท่ีมีแร่เหล็กเจือปน เพื่อให้ออกสี แดงและสดี าํ มาจากแมงกานสี หรือถ่าน ภาพท่ี 3.23 ถ้าํ ลาสโ์ กซ์ (Lascaux) ภาพที่ 3.24 ลกั ษณะภาพพมิ พ์รอยมือ ทีม่ า : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ (imprints) ท่ีถํา้ โชเวต์ (Chauvet) ศิลปะตะวนั ตกอยา่ งสงั เขป. (น.2), ท่มี า : พัฒนาการแนวคิดและแบบลกั ษณ์ โดย วรี ะจกั ร สเุ อยี นทรเมธี, 2557. ศิลปะตะวนั ตกอย่างสงั เขป. (น.2), โดย วรี ะจักร สเุ อยี นทรเมธี, 2557. ยุคหนิ กลาง (Middle Age หรือ Mesolithic) ประมาณ 10,000 ปี ลงมาก่อนคริสตกาล มนุษยใ์ นยุคน้เี ริม่ รจู้ ักนําไฟมาประกอบอาหารและสร้างความอบอุ่นให้กับร่างกาย ฝึกหัด สัตว์บางชนิดไวใ้ ชง้ าน เช่น สนุขและแพะ อาวธุ หนิ ขัดในยุคนี้มีขนาดเล็กลงและประณีตมากขึ้น มกี ารพฒั นาการทําอาวธุ ซ่งึ ทําจากกระดูกสัตว์ ในยคุ น้ีพบงานศิลปะด้านประติมากรรมทําด้วยหิน และงาช้าง และงานด้านจิตรกรรมใน หุบผาดอร์ดอญวัลเลย์ ( Dordogne Valley) ของประเทศ ฝรงั่ เศส ยุคหนิ ใหม่ (New Stone Age หรอื Neolithic) ประมาณ 8,000 ปกี อ่ นคริสตกาล มนุษย์ในยคุ น้รี ้จู ักต้ังถนิ่ ฐานเปน็ หลักแหลง่ และยุตกิ ารดาํ รงชีวิตแบบเร่ร่อน แต่ละดินแดน มีพฒั นาการและความเจรญิ แตกตา่ งกนั บางดนิ แดนเรม่ิ มีการนําโลหะ ทองแดง และสําริดมาหลอม เพ่อื ทาํ อาวุธและเครอื่ งมอื เคร่ืองใช้ดว้ ย งานศิลปะในยคุ สมัยน้ีมลี วดลายเรขาคณิตและรูปสัญลักษณ์ปรากฏอยู่ เป็นงานจิตรกรรม ทป่ี รากฏอยบู่ นงานประตมิ ากรรม ในยุคนมี้ นษุ ย์มีความเชื่อในเรื่องวิญญาณมากขึ้น พบหลักฐาน ภาชนะใสอ่ าหารและเครือ่ งประดบั ท่ีมลี วดลายคล้ายขดน้ําวนถูกฝังไว้พร้อมกับเครื่องใช้อ่ืนๆ ใน หลมุ ฝังศพของผูต้ ายแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความเชื่อเก่ียวกับการนําส่งิ ของไปใช้ในโลกวญิ ญาณ

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 26 ในยคุ หินใหม่น้มี กี ารคน้ พบอนุสรณส์ รา้ งด้วย ภาพท่ี 3.25 กองหนิ megalithic หินแทง่ ใหญ่ (Megalithic monuments) ซึง่ ยังไม่สามารถ monuments ทปี่ ระเทศฝรง่ั เศษ หาข้อสรปุ ได้ว่าถกู สร้างขึ้นเพอื่ วตั ถปุ ระสงค์ใด ทม่ี า : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.108), สนั นษิ ฐานว่าอาจจะเป็นสถานที่ทาํ พิธกี รรม สนามกีฬา หรืออาจเป็นเครอ่ื งมือในการคาํ นวณทางด้านดาราศาสตร์ โดย ธงชยั รักปทมุ , 2557. เปรียบเทียบคณุ ลกั ษณ์ท่ีสาคญั และโดดเด่นของศิลปกรรมก่อนประวตั ศิ าสตรท์ ้งั สองยุค ยคุ หนิ เกา่ (paleolithic) ยคุ หนิ ใหม่ (neolithic) ช่วงเวลา 30,000-10,000 BC. 10,000-5,000 BC. สภาพ ล่าสัตว์ เกบ็ ของป่า อยตู่ ามถ้ํา ย้ายถิน่ อยเู่ ป็นหลักแหล่ง ชายฝ่ังน้ํา เกบ็ โดยทว่ั ไป ไปเร่ือย ยงั ไมม่ ีเครือ่ งนุง่ ห่ม อาวธุ ทาํ อาหาร ทําเครื่องดินเผา รวมตวั เป็นเผ่า จากกระดูกและหินอยา่ งหยาบ มกี ารทําการเกษตร เล้ยี งสตั ว์ (ยคุ หนิ ต่อย) อาวธุ เครือ่ งมือทาํ จากหนิ อย่าประณีต (ยุคหินขัด) ลกั ษณะงาน จติ รกรรม : ตามผนังถา้ํ ต่างๆ เปน็ ภาพ อนสุ รณห์ ิน (Megalithic) ศลิ ปกรรม สัตว์มองจากด้านข้างเปน็ หลกั ภาพ -หนิ ตัง้ เดยี่ ว (menhir) พมิ พ์รอยมือ(imprints) ภาพจิตรกรรม -หินตง้ั เรียงแถว (alignment) เอ๊กซเรย์ (X-raypainting) มภี าพคน -โต๊ะหิน (dolmen) ประกอบน้อยมาก -หินทบั ซ้อนเป็นวงล้อม (cromlech) ประติมากรรม : ขนาดเล็ก ตุ๊กตาวนี ัส งานเครือ่ งดินเผา (pottery) เกิดขึน้ งานแกะรปู สัตว์บนเขาสตั ว์หรอื อยา่ งโดดเด่น กระดูกสัตว์ รปู ลอยตวั และงานนูนต่ํา ร่องลึก

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 27 ยคุ โลหะ (Metal Age) ประมาณ 4,000 ปีกอ่ นครสิ ตกาล ในยคุ นม้ี นุษยส์ ามารถพฒั นาเทคโนโลยสี ูงขน้ึ รจู้ ักนาํ แรโ่ ลหะตา่ ง ๆ เช่น ทองแดง ดบี ุก และเหล็กมาหลอมเพอื่ ประดษิ ฐ์เครื่องมือเครื่องใช้และอาวุธมลี ักษณะของการอยู่ร่วมกนั เป็นสังคม เกิดลกั ษณะต้ังถิน่ ฐานถาวร อย่ตู ามรมิ ฝง่ั แม่นาํ้ มเี คร่อื งนุ่งห่ม รู้จกั ทาํ เครือ่ งดนิ เผาเชิงภาชนะ (ceramic pottery) ทาํ เกษตรกรรม การถนอมและกักเก็บอาหาร มีการเลี้ยงสัตว์ ลกั ษณะเครือ่ งมือ เคร่อื งใช้และอาวธุ ยงั คงทํามาจากหิน เขาสตั ว์หรือกระดกู สัตวแ์ ต่มีความประณีต ขดั แตง่ มากข้นึ งานศิลปกรรมที่โดดเด่นจะเปน็ งานจําพวกเคร่ืองดนิ เผาและอนุสรณ์หินขนาดใหญ่ เพ่อื เป็นถาวรวัตถุ มากกว่างานด้านจิตรกรรมหรือประติมากรรมขนาดเล็ก งานท่ีปรากฏไม่ได้เป็นการ จาํ ลองแบบในธรรมชาติหรือให้เหมอื นจริงดง่ั ยุคหินเกา่ ลกั ษณะแบบสงิ่ สรา้ งเหลา่ นี้ เปน็ ไปในดา้ น ของพธิ กี รรม ความเชื่อหรอื เพือ่ เคารพธรรมชาติ สอื่ นามธรรม และเปน็ สุสานสําหรับบุคคล เกิด ความหมายเชงิ สญั ลกั ษณแ์ ละเกยี รติยศมากขึน้ แสดงถงึ ความซบั ซอ้ นและมีระบบแบบแผนมากขน้ึ ของกลมุ่ ชนและสังคม อนสุ รณ์หนิ จะปรากฏเป็น 4 ลกั ษณะ 1. หินต้ังเดี่ยว (menhir) มลี กั ษณะสูงมากกว่า 64 ฟุต 2. หินตง้ั เรียงเปน็ แถวยาว (alignment) 3. หนิ วางพาดซ้อนทบั (โต๊ะหนิ ) (dolmen) ดูแลว้ คลา้ ยโต๊ะหินขนาดใหญ่ 4. หินวางพาดซอ้ นทบั ลอ้ มเปน็ วง (cromlech) จัดวางเรียบรอ้ ยมรี ะยะและวางเป็นวง ลอ้ มลกั ษณะอนุสรณห์ ินเหลา่ นี้ ก่อให้เกดิ โครงสรา้ งทางสถาปตั ยกรรมในยุคแรกเร่ิมของ มนษุ ย์ เกิดระบบ เสาและคานวางพาด (ทบั หลงั ) (post & lintel system) ท่จี ะพฒั นาตอ่ ไปเปน็ ที่อยู่ อาศยั และสถาปัตยกรรมที่ซับซ้อนขน้ึ ในยคุ ถัดไป

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 28 ใบความรู้ท่ี 10 เรื่อง งานทัศนศิลปร์ ปู แบบตะวนั ตก ศลิ ปะสมยั ประวตั ศิ าสตร์ สมัยเมโสโปเตเมยี (3,000 ปกี อ่ นคริสตศ์ ักราช หรือ 5,000 ปีมาแลว้ ) “เมโสโปเตเมยี ” เป็นชื่อเรียกดินแดนทอ่ี ยรู่ ะหว่างแม่นาํ้ 2 สายในตะวันออกกลาง คอื แม่นาํ้ ไทกรสิ (Tigris) และยเู ฟรทีส (Euphrates) ปจั จบุ ัน คอื ดินแดนในประเทศอริ กั ศลิ ปกรรมสมยั เมโสโปเตเมียสร้างสรรค์ข้ึนจากภมู ิปัญญาของชนเผ่าต่าง ๆ ที่สลับ สบั เปล่ยี นกนั เข้าครอบครองดนิ แดง มีลักษณะเดน่ ชัดในดา้ นประติมากรรมและสถาปัตยกรรม อาทิ ชาวสเุ มเรียนทาํ อิฐจากดินแดนเหนยี วและฟางซ่ึงมีน้ําหนักเบากว่าหินแต่ก็มีความทนทาน และใช้ อิฐกอ่ สร้างสถานทีต่ ่าง ๆ รวมทงั้ กําแพงเมอื ง นอกจากน้ี ยังใชด้ ินเหนยี วเปฯ็ วสั ดสุ ําคัญในการประดษิ ฐ์อักษรรปู ลิ่มดว้ ย ชาวแคลเดียนก่อสร้างอาคารท่ีสวยงาม โดยเฉพาะการสรา้ ง “สวนลอยแห่งบาบิโลน น อกจา กน้ีได้ มีการ ค้น พ บ ห ลักฐ าน ด้า น ประ ติมากรรมท่ีสําคัญของสมัยเ มโสโปเตเ มีย ซึ่ง มี ลกั ษณะเป็นประตมิ ากรรมลอยตวั โดยส่วนใหญ่เป็นการ ภาพที่ 3.26 สวนลอยแห่งบาบโิ ลน แกะสลกั ยิปซัมรูปผูน้ ําและนกั บวช รวมถึงสุสานเก่าแก่ท่ี ท่มี า : ทศั นศิลป์ ม.4-6 . (น.109), ปรากฏประติมากรรมแกะสลกั เป็นรูปใบหน้าด้วยหินอีก โดย ธงชัย รักปทมุ , 2557. ด้วย สมยั อียิปต์ (3,500 ปีก่อนคริสตศ์ กั ราช หรือ 5,500 ปีมาแลว้ ) อารยธรรมอียิปตไ์ ด้ช่ือว่าเป็นของขวญั จากแม่น้ําไนล์ (The Gift of Nile) เนื่องจากลักษณะ ทต่ี งั้ ของอียปิ ตแ์ ละสภาพภมู ศิ าสตร์ในลุ่มแมน่ ้ําไนลม์ ีอทิ ธพิ ลต่อการดํารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการสรา้ งสรรค์อารยธรรมของชาวอียิปต์ แม้ว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ของอียิปต์จะเป็นทะเลทรายท่ี แห้งแล้ง แตบ่ ริเวณสองฝ่งั แม่น้ําไนล์กป็ ระกอบด้วยหินแกรนิตและหินทรายซึ่งเป็นวัสดุสําคัญท่ี ชาวอยี ปิ ต์ใชใ้ นการกอ่ สรา้ งและพัฒนาความเจริญรงุ่ เรอื งทางด้านสถาปัตยกรรม วัสดุเหล่าน้ีมีความ คงทนแขง็ แรงและช่วยรกั ษามรดกทางดา้ ยอารยธรรมของอียิปตใ์ ห้ปรากฏแก่ชาวโลกมาจนกระทั่ง ทุกวนั น้ี นอกจากนี้ ความเชื่อเร่ืองการไม่สูญของวิญญาณเป็นอีกหน่ึงปัจจัยท่ีทําให้ชาวอียิปต์ สรา้ งสรรค์งานจิตรกรรมและประติมากรรมข้ึนมาอย่างนับไม่ถ้วน ความเช่ือที่ว่าวิญญาณอาจ กลับคืนมาสู่ร่างกายของผู้ตาย ภายในสุสานของผู้ตายจึงประกอบไปด้วยงานจิตรกรรมและ

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 29 ประตมิ ากรรมประดบั ประดาไวศ้ ิลปกรรมของอียิปต์ท่ีโดดเด่นส่วนใหญ่ยังปรากฏหลักฐานและ รอ่ งรอยจนถงึ ปจั จบุ ัน ศิลปะสมยั อยี ปิ ตห์ ากแบง่ ตามอาณาจักร จะมอี ยู่ 3 ยุค คือ ยุคอาณาจักรเก่า เปน็ สมัยของการสรา้ งสสุ าน ซงึ่ เป็นทเ่ี ก็บร่างของผูต้ าย จากระยะแรกใช้การฝังแบบง่าย ๆ ในหลมุ ทรายแล้วกลบทรายใหส้ งู ววิ ัฒนาการมาเปน็ รูปสี่เหลีย่ มผนื ผ้าหลังคาเรียบ เรียกว่า “มาสตา บา (Mastaba)” ภายในลึกลงไปใต้ดนิ เป็นห้องเกบ็ ศพขนาดใหญ่ ใชไ้ มท้ ําคานแล้วปูทับด้วยอิฐหรือ ดนิ อีกช้ันหนง่ึ จากนน้ั ก็มกี ารสร้างพรี ะมิดข้ันบันได ( Stepped Pyramid) คล้ายกับพีระมิดท่ีพบใน เม็กชโิ กและเปรูทเี่ รยี กกนั ว่า “ชิกูแรต” นอกจากนยี้ งั มกี ารสรา้ งพีระมิดแบบโค้งหัก ( Bent Pyramid) คือ มจี ุดหกั มุมกึง่ กลางของแตล่ ะดา้ น ต่อมามีการสร้างพรี ะมดิ ซง่ึ เป็นโครงร่างพีระมิดในสมัยต่อมา คอื มฐี านส่ีเหลยี่ มสว่ นดา้ นขา้ งจะสอบขึน้ ไปจนถงึ ปลายแหลมสุดเป็นรูปสามเหลยี่ ม ภาพท่ี 3.27 มหาพีระมดิ ภาพท่ี 3.28 ชิกูแรต ประเทศแมก็ ซิโก แหง่ เมอื งกีซา ประเทศอียปิ ต์ ท่ีมา : ทัศนศลิ ป์ ม.4-6 . (น.110), ทม่ี า : ทัศนศลิ ป์ ม.4-6 . (น.109), โดย ธงชัย รกั ปทุม, 2557. โดย ธงชัย รักปทุม, 2557. ลักษณะศิลปกรรมในยคุ เกา่ นยิ มสร้างประติมากรรมเป็นแท่ง มีขนาดใหญ่ ทึบต้น มีท้ัง แบบนูนตํา่ และลอยตัว ประติมากรรมรปู คนหรอื เทพเจ้า ไม่นิยมสร้างให้เห็นกล้ามเนื้อชัดเจน จะ เป็นแบบอดุ มคติ (Idealism) นยิ มตกแต่งประติมากรรมด้วยแก้ว ด้านจิตรกรรมนิยมเขียนภาพฝา หนังในสสุ าน มลี ักษณะเป็น 2 มิติ นยิ มตดั เสน้ รปู คน นิยมเขยี นด้านข้างของใบหน้า ขา และสะโพก แต่ดวงตาและหนา้ อกเปน็ ด้านตรง จึงมีลกั ษณะอุดมคติมากกว่าความเปน็ จริง ยคุ อาณาจกั รกลาง การสร้างสุสานได้เปลย่ี นมาเปน็ การสรา้ งสุสานโดยสกัดหนา้ ผาแทนการสร้างพีระมิด และ เน่ืองจากความเชื่อเร่ืองเทพเจ้าลดลง ความคิดในด้านเหตุผลธรรมชาติมีมากข้ึน ลักษณะของ ศลิ ปกรรมจงึ เปลี่ยนแปลงไป ในยุคนนี้ ยิ มสร้างวิหารมากกว่าสุสานโดยใช้วัสดุที่มีราคาถูกกว่าคือ

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 30 ภายในใช้อิฐ ภ ายนอกใช้ปูน ประติมากรรมนิยมสร้างให้เห มือนจริงมากกว่าเน้นความงาม จิตรกรรมยงั คงนิยมเขยี นภาพในสสุ านเชน่ เดมิ แต่มีการสร้างงานที่เกี่ยวข้องกับราชินีและสตรีมาก ขน้ึ กวา่ เดมิ ยุคอาณาจกั รใหม่ ลักษณะของงานศิลปะในยุคนี้ มกี ารสร้าง สุสานโดยนิยมเจาะเขา้ ไปในภูเขา เพอื่ ปอ้ งกันการ ขโมยทรัพย์สมบัติ นยิ มใชโ้ ครงสรา้ งแบบคานพาด เป็นส่วนใหญ่ มีการประดิษฐห์ วั เสาเปน็ ลวดลาย ต่างๆ โดยนาํ เอารูปแบบมาจากธรรมชาติ เช่น หวั เสารปู ดอกบัว รูปใบต้นปาปิรสั และตอนกลางของ ภาพท่ี 3.29 มหาวิหารอะบูชมิ เบล เสานยิ มสลกั เร่ืองราวของฟาโรหใ์ นขณะท่ยี งั มีชีวิต ที่มา : ทัศนศิลป์ ม.6 . (น.65), นิยมสรา้ งสง่ิ กอ่ สรา้ งแบบสมดุลเท่ากัน นาํ โดย ธงชัย รกั ปทมุ , 2560. ประตมิ ากรรมมาประกอบสถาปตั ยกรรมตามฝาผนัง สลักเป็นแบบนนู ตํา่ คล้ายกับกรกี จติ รกรรมยังคงรูปแบบเดิม งานโลหะและศิลปะตกแตง่ อืน่ ๆ มี การทาํ น้ํายาเคลอื บลงยาดว้ ย จติ รกรรมและประติมากรรม งานจติ รกรรมและประติมากรรมใน ยุคนี้เปน็ งานลกั ษณะบันทึกเรือ่ งราวและเพ่ือ การตกแ ต่ ง ใ น สุ สา น มา สตา บา ห รื อพี ร ะ มิ ด เสียเป็นสว่ นใหญ่ เชิงเทคนิคงานก็คล้ายดั่ง งานร่างแบบจากกฎเกณฑ์หรือแบบวิธีท่ีต้อง ดําเนนิ การตามนนั้ สดั ส่วนของภาพบุคคลไม่ สัมพัน ธ์กับบริบทภาพ ที่รายล้อม เ พราะ เน้ือห าเ ป็น เ ชิง สัญลักษณ์ที่ต้อง การส่ือ ภาพที่ 3.30 ประติมากรรมฟาโรห์ Menkhaure ความหมาย ซึ่งก็มักจะสัมพันธ์กับเทพเจ้า และองคร์ าชนิ ี จากเมอื ง Gizeh สูง 1.42 เมตร หรือเ ร่ือง ราวต่างๆ ท่ีเ ก่ียวข้องกับผู้ตาย ท่ีมา : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ศิลปะ ประติมากรรมอยู่ในโครงสร้างบังคับจากแท่ง หิน ไมม่ ีการเอี้ยวตัวไปทิศทางอื่นนอกจาก ตะวนั ตกอย่างสงั เขป. (น.11), มองตรงไปขา้ งหน้า ในงานประเภทนูนต่ํามี แนวภาพดัง่ งานจิตรกรรม วัสดุที่ใช้จะเน้น โดย วรี ะจกั ร สเุ อียนทรเมธี, 2557.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 31 หนิ เพ่ือความแขง็ แรงทนทาน ดูมีปริมาตรแน่นทบึ ตนั และควบคู่ไปกับสถาปัตยกรรม เมื่อเสร็จแล้ว จะมกี ารทาสดี ว้ ย ประติมากรรมบุคคลช้ันรองๆ ลงไปสร้างด้วยวัสดุอื่นได้เช่นไม้หรือหินท่ีไม่ ทนทานมากนัก หน้าที่ประติมากรรมจะบอกเรื่องราวและจําลองบุคลิกผู้ตายหรือมิฉะน้ันต้อง สมั พันธก์ บั เจา้ ของสสุ าน นอกจากนนั้ ยังบง่ บอกถึงพระราชอาํ นาจของฟาโรหอ์ ีกด้วย ลําดบั พฒั นาการของพีระมดิ จากพีระมิดแบบขั้นบนั ไดในชว่ งแรกๆ จดั สร้างโดยฟาโรห์โซเซอร์ (Djoser) ต้งั อยทู่ เ่ี มอื งซคั คารา เมอ่ื ราว 2680 ปีก่อนครสิ ตกาล ถัดมาคือ พีระมดิ ทรดุ ตัว เป็นพรี ะมดิ ชว่ งคน้ หาพัฒนารูปแบบโครงสร้างเปน็ สองช้ัน ชั้นในคงลักษณะแบบขนั้ บันไดอยู่ ชั้นนอกเกดิ การ ยบุ สลายตวั ลง ลําดับถดั มาอกี คอื พีระมิดหักมุมแหง่ เมือง Dashur โดยมีมุมฐาน 53 องศา ซงึ่ ชนั มาก เกินไป ตรงช่วงกลางเลยลดมุมลงเหลือ 43องศา จึงกลายเป็นบทเรียนนาํ ไปสพู่ รี ะมดิ แบบสมบูรณ์ ตอ่ ไป และพรี ะมิดแบบสมบูรณ์ของฟาโรห์ Khufu ท่ีเมือง Gizeh ซึ่งเป็นพรี ะมิดทใี่ หญท่ สี่ ดุ มีความ สงู 150 เมตร ผวิ นอกหมุ้ ดว้ ยหินปนู สมยั กรกี (Greek) ประมาณ 750 ปกี อ่ นคริสตศ์ ักราช อารยธรรมกรกี เรม่ิ ขน้ึ เมอ่ื ประมาณ 750 ปกี ่อนคริสตศ์ กั ราช มีศูนยก์ ลางอย่ทู ก่ี รุงเอเธนส์ (Athens) เมืองหลวงของประเทศกรีซในปจั จุบนั เปน็ อารยธรรมทเ่ี จริญรุ่งเรือง และมอี ทิ ธิพลต่อ โลกตะวันตกมากศิลปะของกรีกสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 4 ยคุ ดังนี้ ยคุ เร่ิมต้น มอี ายปุ ระมาณ 800 - 650 ปกี ่อนครสิ ตศ์ กั ราช ศิลปกรรมในสมยั นีม้ ีพวกเครื่องป้ันดนิ เผา และงานประติมากรรมชน้ิ เล็ก ๆ นอกจากน้ยี งั รู้จักนาํ รูปทรงเรขาคณิตเข้ามาใชใ้ นงานศลิ ปะรูปคน และสตั ว์ ยุคโบราณ มอี ายปุ ระมาณ 651 – 450 ปกี อ่ นครสิ ต์ศกั ราช เปน็ ยุคทศ่ี ึกษาสถาปตั ยกรรมอยา่ งกวา้ งขวาง และนยิ มสรา้ งประตมิ ากรรมนยิ มวาดรูประบายด้วยสีดาํ บนพื้นแดง

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรบั นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 32 ยุคทอง มีอายุประมาณ 450- 300 ปกี ่อนคริสตศ์ กั ราช นิยมวาดรปู คนโดยระบายสแี ดงบนพ้ืนดาํ เรา อาจกล่าวได้ว่ายคุ นเ้ี ปน็ ช่วงท่ีปรชั ญาและศลิ ปกรรมเจรญิ อย่างมากและเปน็ ต้นเค้าของรูปแบบท่ีคน ตะวนั ตกในสมยั ต่อมานิยมทาํ ตาม ยคุ เฮลเลนิสตกิ มีอายปุ ระมาณ 300 – 146 ปกี ่อนคริสตศ์ กั ราช ในสมยั นีน้ ยิ มวาดลวดลายทั้งรูปคน รปู สัตว์ ดอกไม้ ใบไม้โดยใชส้ ีหลายสี งานสว่ นมากท่ีเกดิ ขึ้นในสมยั น้ใี ช้สาํ หรับงานศพ จิตรกรรม งานจติ รกรรมของกรีกมนี ้อยมาก แตเ่ ดิมมกี ารเขียนภาพแบนราบและพัฒนาให้มีรูปทรง คลา้ ยของจรงิ โดยอาศยั แสง – เงา งานจติ รกรรมของกรีกยังมใี ห้เหน็ บนงานประติมากรรม เช่น สี เหลือง แลว้ เคลอื บน้ํายา นิยมวาดลวดลายรูปสตั วแ์ ละรูปเรขาคณิตตลอดจนภาพวถิ ีชีวิตความ เป็นอยู่ของคนในสมยั นนั้ จิตรกรท่มี ชี ่ือเสียงในสมยั นน้ั เชน่ ภาพท่ี 3.31 จติ รกรรมเขยี นรปู คนสดี าํ เรียกว่า black figure บนพนื้ สสี ้มแดง ภาพที่ 3.32 เขยี นสีรปู คนสีดํา(black figure) ตกแตง่ เพม่ิ เตมิ ดว้ ยสขี าวและสีมว่ ง ทีม่ า : พฒั นาการแนวคิดและแบบลกั ษณ์ศิลปะตะวนั ตกอยา่ งสงั เขป. (น.33), โดย วีระจักร สเุ อยี นทรเมธี, 2557. โพลิกโนตสุ (470-440 ปีก่อนครสิ ตศ์ กั ราช) เปน็ บิดาแห่งจิตรกรรม สามารถเขียนภาพทา ให้เกิดความลึกและมีแสงเงาในตวั ภาพ ผลงานทม่ี ชี อ่ื เสยี ง ไดแ้ ก่ ภาพสงครามกรุงทรอย ภาพการ ผจญภัยของยลู ิซิส ซซู สิ (420-390 ปกี อ่ นครสิ ต์ศักราช) เป็นจิตรกรรมท่มี คี วามกา้ วหนา้ ในดา้ นการใช้เงาและ สี ผลงานท่ีมชี อ่ื เสยี ง คือ ภาพองุน่ ทว่ี าดเหมือนจริงมากจนนกบนิ ลงมาจิก

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 33 อพลั (4 ปกี ่อนครสิ ตศ์ กั ราช) ผลงานที่มชี อ่ื เสียง คอื เทพอี โพรไดต์ และรปู เหมือนของพระ เจ้าอะเลก็ ซานเดอร์กบั สายฟา้ หลงั จากสมัยพระเจา้ อะเล็กซานเดอร์ จิตรกรรมกรกี เริ่มเส่ือมลงกลายเปน็ ศิลปะเลยี นแบบ ไม่มีจติ รกรท่ีมชี อื่ เสยี งอกี ต่อไป ชาวกรกี หันไปนยิ มจิตรกรรมประดับหิน ทเ่ี รยี กวา่ หินโมเสก (Mosaic) ใช้ตกแตง่ พืน้ และผนงั เปน็ ลวดลายทวิ ทศั น์ วรรณคดี และรูปสัตว์ เป็นตน้ ประติมากรรม นิยมสร้างให้เหมือนคนมากท่ีสดุ อยใู่ นอริ ิยบถท่าทางต่างๆ เพราะกรกี เช่ือ วา่ มนุษย์ทส่ี มบูรณแ์ บบที่สุดคือมนษุ ย์ที่มีการพฒั นาสรีระอยา่ งเต็มที่ ศิลปินนิยมทา่ ทางของนกั กรีฑามากท่ีสุดเพราะเป็นท่าท่สี มบรู ณ์แบบ ประตมิ ากรรมมีทงั้ นูนต่ํา นูนสงู และลอยตวั กรีกนยิ ม ประตมิ ากรรมมากกวา่ จิตรกรรม เพราะนยิ มในรูปรา่ งมากกว่าสีสนั จึงมรี ูปแบบหลายชนดิ ทั้งดนิ เผา รปู สลกั หนิ และรูปสําริดขนาดใหญ่ งานประติมากรรมของกรกี ไม่จํากัดเฉพาะเร่อื งศาสนา แต่ ทําเพ่อื ใชป้ ระดบั เชน่ รปู นักกฬี า และรปู หญิงสาวทีใ่ ชป้ ระดบั กลางแจ้ง งานประติมากรรมกรีกมี ชวี ิตชีวา ให้ความรู้สึกเคล่อื นไหวและถ่ายทอดลักษณะของคนจรงิ ๆ ไดอ้ ยา่ งอ่อนช้อยงดงาม มากกวา่ ประติมากรรมของอยี ิปต์และเมโสโปเตเมียประติมากรท่ีมีช่ือเสียงในสมยั นี้ เชน่ ไมรอน (450 ปีกอ่ นครสิ ต์ศักราช) มผี ลงานทสี่ ําคญั คือ รูปนักกฬี าขว้างจานซ่ึงแกะสลัก จากหนิ โพลิเคลติอสุ (430 ปกี ่อนคริสตศ์ ักราช) มีผลงานทสี่ าํ คญั คอื จําหลักรูปนักรบแอมะซอน และนักรบถอื หอก เป็นต้น ภาพท่ี 3.33 ประติมากรรมรปู เทพีอะธนี า ภาพท่ี 3.34 วหิ ารพาร์เทนอน Parthenon ทม่ี า : ทศั นศิลป์ ม.4-6 . (น.113), ที่มา : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.113), โดย ธงชัย รักปทมุ , 2557. โดย ธงชยั รกั ปทุม, 2557.

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 34 ฟดี อี สั (500-431 ปีกอ่ นครสิ ต์ศักราช) มีผลงานทสี่ ําคัญ คอื รูปเทพีอะธีนา ในวิหารพารเ์ ท นอน และรปู เทพีมเี นอรว์ าในอัครปรุ ะ ( Acropolis) ทกี่ รงุ เอเธนส์ แพรกซเิ ธเลส (385-320 ปกี อ่ นคริสต์ศักราช) มผี ลงานที่สาํ คัญ คือรปู เฮรเ์ มสแบกเด็ก รปู ไดโอนิซสุ และอฟไี ดต์ เป็นต้น ไลซปิ ปุส รอน (380-318 ปกี ่อนคริสต์ศักราช) เป็นชา่ งประจาํ องคอ์ ะเลก็ ซานเดอร์มหาราช มผี ลงานทส่ี าํ คัญ คือ รูปสลกั นักมวยปล้าํ รูปสลกั เฮอร์ควิ ลิส เป็นตน้ สถาปตั ยกรรม กรีกนิยมสัดสว่ นอาคารเป็ฯรูปส่เี หลย่ี มผืนผา้ เรียกว่า Golden Mean Ractangle งานสถาปตั ยกรรมของกรีกจะเก่ียวเน่ืองกับงานสาธารณชนมีลักษณะเรยี บง่าย นิยม ประตูเดยี ว มเี สาเปน็ แถวอย่ภู ายนอก มีห้องเดียวหรอื สองห้อง มีการสร้างโคลอสเซยี มและวหิ าร จาํ นวนมาก โดยมีลักษณะสาํ คญั ท่ี “หวั เสา” ทบ่ี ง่ บอกได้ถงึ สมัยของสถาปัตยกรรมในกรีก มี 3 แบบ ดังนี้ - สถาปัตยกรรมหวั เสาแบบดอริก ไอโอนกิ และคอรินเทยี น ดอรกิ เปน็ แบบทีเ่ รยี บง่าย มั่นคงแข็งแรง เป็นแบบแพร่หลายมากท่ีสุด และเก่าแก่ท่ีสุด ลักษณะของเสาส่วนล่างจะใหญ่แลว้ เรยี วขึ้นเลก็ นอ้ ย ตามเสาจะแกะเปน็ รอ่ งลึกเว้า 20 ร่อง ตอนบน ของเสาจะมีคิ้วทโ่ี คง้ ออกมารองรับแผน่ หนิ ส่เี หล่ยี มตอ่ จากนัน้ จึงเปน็ โครงสร้างจ่ัว ไอโอนกิ เปน็ แบบท่ีให้ความรู้สกึ ออ่ นช้อย นุ่มนวล ตอนบนและตอนล่างของเสามีขนาด เทา่ กนั มรี ่องเวา้ 20 ร่อง ระหว่างรอ่ งมแี ถบเรียงคน่ั แต่ละร่องเวา้ ตอนบนของเสาแกะสลักเป็นรูปก้น หอยส่วนบนจะมีแผน่ หนิ ส่ีเหลี่ยมค่นั ไว้ เสาแบบไอโอนกิ นี้มีขนาดเล็กกว่าเสาแบบดอริก และนิยม สรา้ งฐานทําให้รูปทรงระหงมากข้ึน ตา่ งจากเสาแบบดอริกที่ไมน่ ยิ มสรา้ งฐานรองรบั คอรนิ เทยี น ใหค้ วามร้สู กึ หรูหราฟุม่ เฟอื ย นยิ มนํามาเป็นแบบอย่างในสมัยโรมัน ลักษณะ หัวเสามีการตกแต่งโดยแ กะ เ ป็ น รู ปดอกไม้ ใ บไม้ โ ดยดั ดแ ปลง มา จา กใ บอะ แ คน ทั สรู ปร่ า ง คล้ า ย ผกั กาด ทําเป็นใบซ้อนกันสองชั้นแล้วแต่งดว้ ยไม้ สว่ นลา่ งของเสามีฐานรองรบั ภาพที่ 3.35 สถาปัตยกรรมหัวเสาแบบดอริก ไอโอนกิ คอรินเทยี น ทมี่ า : https://pxhere.com/th/photo/484654. (30 พฤศจิกายน 2561).

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 35 สมยั โรมนั (Roman) ประมาณ 146 ปีกอ่ นครสิ ต์ศักราช อารยธรรมโรมนั มศี ูนย์กลางอยทู่ ่แี หลมอิตาลี เป็นอารยธรรมของพวกอินโด-ยูโรเปียน เผ่า ละตนิ (Latin) จิตรกรรม โรมนั ไม่นิยมวาดภาพนัก สามารถพบงานจิตรกรรมได้จากคฤหาสน์ของผู้มี ฐานะงานจิตรกรรมสว่ นมากเปน็ ภาพสฝี นุ่ วาดตามฝาผนัง ลักษณะเหมือนคนจริง และมีการวาด ภาพทวิ ทัศน์นอกจากภาพฝาผนงั แล้ว โรมันยงั นิยม ทาภาพโมเสก (Mosaic) ซ่ึงเป็นศิลปกรรมที่มี ตั้งแตส่ มัยเมโสโปเตเมยี ซงึ่ กรีกได้นํามาใช้ เม่ือโรมันได้รับอิทธิพลจากกรีกจึงนํามาดัดแปลง โดย ทําบนฝาผนงั และมกี ารเลน่ แสง-เงา จงึ คล้ายกับการวาดภาพสี ภาพที่ 3.36 ผนงั ด้านตะวนั ออกและ ภาพที่ 3.37 ภาพภมู ทิ ศั นส์ วน (gardenscape) ตะวันตกของหอ้ งแห่งหนา้ กาก ของบ้านสวนผลไม้ ปอมเปอี บา้ นออกสุ ตสุ เนินพาลาทีน กรงุ โรม ท่มี า : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ ที่มา : พัฒนาการแนวคิดและแบบลกั ษณ์ ศิลปะตะวันตกอยา่ งสงั เขป. (น.47), โดย วีระจกั ร สุเอยี นทรเมธี, 2557. ศลิ ปะตะวนั ตกอยา่ งสงั เขป. (น.46) โดย วีระจกั ร สเุ อยี นทรเมธี, 2557. ประติมากรรม ชาวโรมนั นยิ มสร้างงานศิลปกรรมท่ีมขี นาดใหญ่โตและแข็งแรง เพ่ือแสดง ถึงพลังอํานาจของจกั รวรรดิ งานโรมันจึงแตกต่างจากกรีกที่เน้นความประณีตและแสดงออกซึ่ง พลงั แหง่ ความคิด งานประติมากรรมของ โรมัน แม้จะได้รับอิทธิพล ( Individualism) แต่เน้ือหา เร่อื งราวต่างกนั โดยกรีกมุง่ สร้างรูปเหมือนจักรพรรดิและสลักเร่ืองราวทางประวัติศา สตร์ เพื่อ บันทกึ เหตกุ ารณไ์ วเ้ ป็นหลักฐานใหอ้ นุชนรุ่นหลังไดศ้ รัทธาในผลงานของผ้นู าํ

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 36 งานประติมากรรมโรมันมีทั้งแกะสลักด้วย หินอ่อนแลว้ ขดั ผิวจนเป็นเงา และยังมีการหล่อด้วย โลหะต่าง ๆ เช่น งานประ ติมากรรมหินอ่อนรูป จักรพรรดิคลอดิอสุ งานประติมากรรมจักรพรรดิทรา จนั ซ่ึงบันทึกเรื่องราวการต่อสู้ระหว่างชาวโรมัน ภายใต้การนําของจักรพรรดิทราจันกับดาเ ชียน (Trajan’s Campaign against the Daccians) เ สาน้ี ภาพท่ี 3.38 เสาหินอ่อน สลกั เร่ืองราว สรา้ งด้วยหนิ อ่อน โคนเสาเป็นท่ีบรรจุพระศพของ การต่อสขู้ องชาวโรมนั จกั รพรรดิทราจัน ที่มา : ทศั นศลิ ป์ ม.4-6 . (น.113), สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมแบบโรมัน โดย ธงชัย รักปทมุ , 2557. นยิ มการสรา้ งหลงั คาแบบทรงกลม ผลงานด้านการก่อสรา้ งเปน็ มรดกทย่ี ิง่ ใหญ่ของชาวโรมัน โรมัน เรียนรพู้ ้ืนฐานและเทคนคิ การก่อสร้าง การวางผังเมืองและระบบระบายน้ําจากกรีก จากนั้นได้ พัฒนาระบบก่อสร้างของตนเอง ชาวโรมนั ได้สร้างผลงานไวเ้ ป็นจํานวนมาก เช่น ถนน สะพาน ท่อ สง่ นํา้ ประปา อฒั จนั ทร์ครงึ่ วงกลม สนามกีฬา อน่ึงในสมัยน้ีมีการใช้ปูนซีเมนต์เป็นวัสดุก่อสร้าง อยา่ งแพรห่ ลาย นอกจากน้ีแล้ว โรมันยังมีผลงานด้านสถาปัตยกรรมซ่ึงได้รับการยกย่องว่าเป็น ศิลปกรรมทงี่ ดงามจาํ นวนมาก เชน่ พระราชวัง วหิ ารอย่างไรก็ตามแม้ว่าโรมันจะรับสถาปัตยกรรม กรกี เปน็ ตน้ แบบงานสถาปัตยกรรมของตน แต่ชาวโรมนั กไ็ ดพ้ ฒั นารูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของตน ด้วยสถาปตั ยกรรมของชาวโรมนั นิยมสร้างเพื่อประโยชน์ใช้สอยและความย่ิงใหญ่ สามารถจําแนก เป็นประเภทตา่ งๆ เช่น 1. วิหาร โรมันสร้างวหิ ารตั้งบนฐานสงู มบี ันไดขึ้นด้านหนา้ ทางเดยี ว ไมม่ ีระเบยี ง ทาํ เสา ติดกับผนงั ตึก นอกจากนี้ยงั มีวหิ ารทรงกลมแบบกรกี และนยิ มสร้างวหิ ารบนแผนผังรปู ส่ีเหลีย่ มผนื ผ้าด้วย วหิ ารของโรมนั ที่มีชอื่ เสยี ง คอื วิหาร ปาเอสตุม (Paestum) 2. สุสาน ชาวโรมันสร้างสุสานให้จักรพรรดิมีการประดับด้วยประติมากรรม ตัวสุสานมี โครงสร้างแบบทรงกลม โดยนําโวลต์แบบต่าง ๆ มาช่วย สุสานท่ี มีช่ือเสียงได้แก่ สุสานของ จักรพรรดฮิ าเดรยี น (Hadrian’s Mausoleum) 3. โรงมหรสพและสนามกฬี า เป็นสถานที่ ทชี่ าวโรมันนิยมมาก สนามกีฬาที่มีช่ือเสียงคือ โคลอสเซียม (Colosseum) มีลักษณะเป็นรูปไข่สร้างเป็นอัฒจันทร์ล้อมรอบสนาม โจทย์คนได้ ประมาณ 50,000 คน พื้นสนามเป็นพื้นทราย ใตส้ นามเป็นห้องขังสําหรับนักโทษ และสัตว์ดุร้ายมี หอ้ งเกบ็ อาวธุ และเครอ่ื งใช้ในการแสดง

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 37 ภาพท่ี 3.39 วหิ ารPaestum, สุสานจกั รพรรดฮิ าเดรยี น, โคลอสเซียม Colosseum ตามลําดบั ทมี่ า : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.115), โดย ธงชยั รักปทุม, 2557. 4. ประตูชัย สรา้ งขน้ึ มาเพอ่ื ฉลองชยั ชนะจากสงคราม ตรงกลางเจาะเป็นช่องทางรอดและ เปน็ ประตโู คง้ บริเวณสว่ นหน้าและส่วนหลงั ของประตนู ยิ มสลักรูปและอักษร เพื่อบันทึกเหตุการณ์ ของสงครามตลอดจนเพอ่ื ยกย่องจกั รพรรดิ ประตชู ัยทีม่ ชี ่อื เสียง เช่น ประตูชัยของจักรพรรดิ พระ ราชัน ประตชู ัยของจกั รพรรดคิ อนสแตนติน สรุปได้วา่ งานศลิ ปกรรมของโรมัน มเี อกลักษณ์ที่แสดงออกถึงความยิ่งใหญ่ โอ่อ่าหรูหรา แตกตา่ งจากของกรกี ทั้งนเี้ พราะมีหลักปรัชญาแบบประโยชน์นิยมและสุขนิยมเป็นพื้นฐาน โรมัน จึงสรา้ งส่ิงต่างๆ ข้นึ มาเพ่ือรับใช้จกั รพรรดิและประชาชน โรมันเป็นนักดัดแปลงท่ีเก่งกาจสามารถ นํามาปรับใชไ้ ดเ้ หมาะสมและได้ประโยชน์มากที่สุด

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 38 ตารางเปรียบเทียบลักษณะตา่ งๆ ระหวา่ งศิลปกรรมกรีกกับศิลปกรรมโรมัน กรีก โรมนั ปรัชญา คติ มีอุดมคติ มีแบบของความงาม รบั ปรชั ญาและความงามกรีกมาใช้ นยิ ม ศิลปก รรม ตาม ห ลัก อดุ มคติ แล ะ ศลิ ปกรรมเพือ่ จกั รวรรดิและมหาชน บทบัญญัติ สัดส่วน บูชาเ ทพเจ้า เป็น เพื่อสาธารณประโยชน์ ดโู อ่อ่า หรหู รา นกั อุดมคติ เปน็ นกั ปฏบิ ัติ จติ รกรรม บนเครอ่ื งป้ันดินเผา ชนิด black figure ภาพผนังปูนเปยี กและโมเสก red figure การสร้างภาพแบบโมเสก มีความเสมือนธรรมชาติ การสร้างมิติ ลวงตา โดยเฉพาะแถบเมืองปอมเปอี (Pompeii) สถาปัตยกรรม ผงั เปน็ สมดลุ แบบดุลยภาพสมมาตร หันหน้าเขา้ ส่โู ฟรมุ เปน็ สําคัญ เ น้ น สั ดส่ วน แ บบ อุด มค ติ ( golden เพื่อบชู าเทพ ประโยชน์ แก่ประชาชน section) หนั หนา้ ไปทางอะโครโปลิส และ สาธารณะ โครงสร้าง คาน โค้ง โครงสร้างเสาและคานวางพาด เพ ดาน โค้ง และห ลัง คาโดม ( arch, (post & lintel system) มีเสาเรียงรายมาก vault, dome) มีเ ส า ( เ ก็จ ) ห ล อ ก (pilaster) ในการตกแตง่ ลกั ษณะ ยึดหลัก ความงามและอดุมคติ ใน เป้าหมายเพ่ือบัน ทึกเป็นสําคัญ นิยม ประตมิ ากรรม ยุคเฮเลนนสิ ตกิ ถา่ ยทอดอารมณ์ ภาพคนเหมอื น แสดงบคุ ลิกภาพบุคคล ความสมจริงธรรมชาติและบุคลิกภาพ และอุดมคติแบบกรีกบางส่วน ท้ังรูป เพ่ิมมากขน้ึ ลอยตวั ภาพนูนจําหลกั ประดบั ตา่ งๆ

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 39 สมยั ไบแซนไทน์ (ครสิ ต์ศักราช 330 – คริสตศ์ กั ราช 1453) ศิลปกรรมของไบแซนไทน์ มีลักษณะ ผสมระหว่างวัฒนธรรมเฮลเลนิสติกของกรีก กับ วัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตก ทําให้รูปลักษณะ ค่อนข้างแปลก และแตกต่างจากงานโรมันท่ัวๆ ไป แต่ เน้ือหามลี ักษณะโดดเด่นในเร่ืองของศาสนา จึงไม่มุ่ง ความงามเป็นหลักแต่มีเป้าหมาย เพ่ือส่งเสริมศาสนา และศลี ธรรม ในระยะแรกการสรา้ งงานศิลปะนิยมสร้าง รปู สัตวเ์ ป็นสัญลักษณ์ทางศาสนา เช่น นกพิราบ ปลา ตอ่ มาจงึ เร่ิมแสดงออกซ่งึ รูปเคารพทางศาสนา เช่น พระ ภาพที่ 3.40 จติ รกรรมไบแนไทน์ เยซู พระแม่และนกั บุญตา่ งๆ งานศิลปกรรมของไบแซน เน้อื หาของภาพเกย่ี วกบั พระเจา้ ไทน์จําแนกได้ ดงั น้ี ทมี่ า : ทัศนศลิ ป์ ม.4-6 . (น.116), จติ รกรรม งานจิตรกรรมของไบแซนไทน์ใช้สี โดย ธงชัย รกั ปทุม, 2557. ทีฉ่ ดู ฉาดมกี ารนาํ สที องมาตกแต่งให้เกิดความอลังการ และความขลงั ตามแนวของศิลปกรรมตะวันออก การวาด ภาพนอกจากจะมกี ารวาดภาพฝาผนังแบบ เฟรสโกแล้วยัง นิ ยมกา รทํ า โมเ สกประ ดั บ ตกแ ต่ ง ฝา ผนั ง แ ละ พ้ื น ห้ อ ง นอกจากนี้ยงั นยิ มการเขียนภาพประกอบในคัมภีร์ เนื้อหา ของภาพเกีย่ วกับพระเจา้ นิยมวาดภาพการแต่งกายมิดชิด โครงสร้างของคนค่อนข้างผอมสูงไม่เน้นความถูกต้อง ทางกายภาพแต่เน้นการแสดงออกซึ่งความรู้สึกและจิต ภาพท่ี 3.41 ประติมากรรม วิญญาณของชา วคริ สเ ตี ยน ที่ มี ควา มภั กดี แ ละ ศ รั ทธ า ใ น บานพบั กงสุล สมัยไบแนไทน์ พระผเู้ ป็นเจ้า ท่ีมา : ทัศนศลิ ป์ ม.4-6 . (น.117), ประติมากรรม งานประติมากรรมของไบเซน โดย ธงชยั รักปทมุ , 2557. ไทนน์ ยิ มสร้างงานเก่ียวกบั บุคคลในศาสนา มีท้ังภาพนูน สงู นนู ตาํ่ และลอยตวั ตลอดจนมีการแกะสลกั ฉลลุ ายอย่างสวยงาม โดยใช้วัสดุจากงาช้างและหิน อ่อนโดยเฉพาะการนาํ หนิ อ่อนมาฉลุลายเปน็ รูปใบไม้ ดอกไม้ และตัวสัตว์ สําหรับทําฉากก้ัน การ ทาํ หวั เสามคี วามละเอยี ดประณีต นิยมการเลน่ แสงและเงา สถาปตั ยกรรม ในสมัยนสี้ ถาปัตยกรรมมีหลายรูปแบบ แต่นิยมโครงสร้างบาซิลิกาแบบ โรมนั หลังคาโดมหรืออาจทาํ โครงสรา้ งแบบกรีกครอส หรือกากบาท ( Greek Cross) ซึ่งนับว่าเป็น

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 40 รูปแบบไบแซนไทน์ แทๆ้ เชน่ โบสถ์เซนต์โซเฟีย รปู แบบน้ีต่อมาได้มีอิทธิพลต่อการสร้างสุเหร่า ของชาวมสุ ลิม สรุปได้ว่า งานศิลปกรรมของไบแซนไทน์ เป็นการนํา ศิลปะมารับใช้ศาสนา รับเอา ศลิ ปกรรมของกรกี และตะวนั ออก รวมถึงตะวันตกมาผสมผสาน งานศิลปกรรมจึงแสดงออกซึ่ง ศรทั ธามากกว่าเหตุผล โดยสร้างรปู เคารพในศาสนาและสัตว์ท่ีเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนา รวมถึง การประกอบพิธีกรรมในศาสนาด้วย

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาํ หรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 41 ใบความรทู้ ี่ 11 เร่ือง งานทศั นศิลปร์ ปู แบบตะวันตก สมัยกลาง (ประมาณครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 6-15) ยุคกลาง คือ ยุคท่ีอยูร่ ะหว่าง ยคุ ก่อนหนา้ ทเี่ คยเจริญรงุ่ เรอื งในอดีต คือ สมัยโรมัน กับ สมัย ฟนื้ ฟูศลิ ปวทิ ยาการ(Renaissance) หลงั จากโรมันตะวันตกลม่ สลายไป แต่ความเชื่อในด้านศาสนา ครสิ ต์ยังคงมอี ยู่ เหล่าอนารยชน ท่ีเข้ามามีอํานาจในอาณาจักรโรมันตะวันตก ได้ยอมรับความ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิของศาสนาคริสต์ ทาํ ใหค้ วามเข้มแขง็ ของศาสนาคริสต์เพิ่มมากข้ึนเรื่อยๆ ส่งผลให้พระ สันตะปาปาเป็นประมุขในกรงุ โรมมีอํานาจเหนือสถาบันตา่ งๆ ตลอดจนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคน ในสมยั กลาง จึงเป็นทีร่ ูจ้ ักในนาม“สมัยแหง่ ความศรัทธา (Age of Faith)” การแสดงออกทางศิลปกรรมในสมัยกลาง มีววิ ัฒนาการมาตั้งแต่ศลิ ปะแบบโรมาเนสก์ (Romanesque) ซง่ึ เกิดขึน้ ภายใตอ้ ทิ ธิพลของผา้ ซ่ึงเปน็ ผูน้ าํ ในดา้ นศาสนาและการปกครอง มีการนํา รูปโคง้ แบบโรมันเข้ามาประกอบการสร้าง ลักษณะกําแพงโบสถ์หนาและทบึ ตัน จงึ มปี ระตูลึก ลดหลั่นเป็นตอนๆ หน้าต่างปล่อยแสงเขา้ มาในอาคารนอ้ ย ทาํ ใหภ้ ายในอาคารค่อนข้างมืด นยิ ม ตกแตง่ อาคารดว้ ยรปู พระเยซู และนักบญุ ตา่ งๆ จติ รกรรมและประตมิ ากรรมจึงเปน็ เรอ่ื งราวทาง ศาสนาในตอนปลายพทุ ธศตวรรษที่ 12 มีการสรา้ งงานศิลปะแบบกอทิก (Gothic) ซึ่งถกู สรา้ งข้ึนมา จากความรว่ มมือร่วมใจของประชาชน จงึ ทาํ ให้เกดิ ความรสู้ ึกมชี ีวติ ชีวาและละเอียดประณีตมาก อีก ทัง้ ยังเป็นศูนยก์ ลางทางการศกึ ษาอีกด้วย ศลิ ปะแบบกอทิกมีความอ่อนชอ้ ย แสดงออกซ่งึ ศรัทธาต่อ พระศาสนาอยา่ งแรงกลา้ การตกแต่งมีทั้งจติ รกรรมและประติมากรรม ศลิ ปกรรมที่โดดเดน่ และ กลายเป็นสญั ลักษณข์ องศลิ ปะแบบกอทกิ คือ กระจกสเตนแกลส (Stained Glass) ซ่ึงเกิดจากการนาํ กระจกสมี าตดั เปน็ รปู ร่างและเรอ่ื งราวตามท่ีตอ้ งการ จากน้ันจงึ นํามาเชอื่ มตอ่ กนั ดว้ ยโลหะประเภท ตะกั่ว นิยมประดับตามหนา้ ต่างและประตู ทาํ ให้เกดิ ความอลงั การ เมอื่ แสงอาทติ ยม์ าตกกระทบ อยา่ งรปู ภาพเหลา่ นี้ กจ็ ะเกิดการสะท้อนของสตี ่างๆ มากมาย ทาํ ใหส้ วยงามและแปลกตานอกจากน้ี ยงั มีการหล่อรปู พระเยซแู ม่พระและนกั บุญต่างๆ ประดับตามหลงั คา หนา้ ต่าง และประตูของโบสถ์ ประกอบการสรา้ งหลงั คายอดแหลมสงู ทาํ ให้โบสถแ์ บบกอทกิ มีความงดงามประดุจสวรรค์ของ พระผเู้ ป็นเจา้ เชน่ โบสถโ์ นเตรอดาม กรุงปารีส (Notre Dame de Paris) สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ ระบบเสาในสถาปัตยกรรมโรมาเนสต์ เรียกว่า piers หมายถึง เสาท่สี ามารถรับน้าํ หนกั กนั กาํ แพงพงั ได้ ซึง่ จะมีลักษณะเป็นกลุ่มเสา (compound piers) หรือจาํ แลงรปู ทรงคลา้ ยมีเสาหลายต้น เกาะอยู่ด้วยกนั หรอื ทาํ เป็นรูปเสาครึ่งต้นหรอื เสาหลอกประกอบกัน เซาะรปู ทรงใหด้ ไู ม่ใหญ่หนา เกนิ ไปหรอื ไม่ก็ตกแตง่ รปู ทรงลวดลายรวมไปถึงหวั เสาทรงสี่เหลี่ยมที่มรี ูปสลกั แปลกตา

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 42 สถาปตั ยกรรมโรมาเนสก์จะใชเ้ สามารับคานโค้ง (arch) จะแตกต่างจากแบบโรมนั ท่ใี ช้เสามารบั คานตรง (lintel) สําหรบั งานจิตรกรรม มงี านประเภท เขยี นตกแต่งพระคัมภรี ์ (illuminated manuscript) ลงบนหนังแกะ(parchment) ซึง่ สว่ นใหญจ่ ิตรกรกค็ อื บาทหลวงเพราะเป็นผูร้ ู้ หนังสอื และมีเวลามากพอทจ่ี ะจารนยั ความงาม ตกแต่งลงในพระคมั ภีรไ์ ด้อย่างวิจิตร รปู รา่ ง ภาพที่ 3.42 ภาพSt. Matthew, Gospel of หรอื สัดส่วนของคนในภาพไมม่ ีความถูกต้อง ไม่ Grimbald เป็นภาพเขยี นตกแต่งพระคัมภรี ์ มคี วามสาํ คญั หรอื สัมพันธก์ ับฉากหลังภาพ จึง ทมี่ า : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลักษณ์ มักเขียนแตง่ เปน็ ลวดลายหรือเขียนเป็นเชิง สัญลักษณ์ นยิ มตกแตง่ ลายกรอบภาพอยา่ งวจิ ิตร ศิลปะตะวนั ตกอย่างสังเขป. (น.77), สีที่นยิ มใช้จะเปน็ สีสดเป็นการระบายแต้มสใี ห้ โดย วรี ะจักร สุเอียนทรเมธ,ี 2557. สดใสและสที ี่ทําใหด้ มู ีคณุ ค่าสงู เชน่ สที อง สี ม่วง สีแดง ประตมิ ากรรมสมยั โรมาเนสก์ ประตมิ ากรรมโรมาเนสก์จะสัมพนั ธอ์ ยู่กับสถาปตั ยกรรมเปน็ อยา่ งมาก โดยเน้ือหา สอดคล้องสืบเนอ่ื งมาจากคติทางคริสตศาสนา ซง่ึ จะตกแตง่ ประดบั อยตู่ ามซุ้มประตทู างเขา้ ของ โบสถ์โดยเฉพาะทางเขา้ หลักด้านทศิ ตะวันตก (ซมุ้ ประตทู างเข้าทิศอน่ื กม็ )ี ลกั ษณะซ้มุ ประตทู างเขา้ ของโบสถ์น้เี องท่ีเป็นเอกลกั ษณจ์ ําเพาะเดน่ ชัดของแบบอยา่ งโรมาเนสก์ท่สี ถาปัตยกรรมแบบโรมนั ไมม่ ี รปู สลกั ลวดลายตา่ งๆ ตามลําเสาและหวั เสาท่ปี ระกอบอาคาร รปู สลกั สว่ นมากเป็นรปู นูนตาํ่ และนนู สูง ประตมิ ากรรมแบบลอยตัวนอ้ ยมาก รูปคนจะสูงยาว สว่ นมากลําตัวจะแบนแนบติดกับ ผนังอาคารมแี ต่สว่ นศีรษะที่จะเป็นรูปทรงสามมิติสมบรู ณ์ วัสดุที่ใช้สรา้ งกค็ อื หินและอิฐ (ถา้ เกย่ี วข้องกับงานสถาปัตยกรรม) ส่วนประตูวิหารกย็ ังนิยมหลอ่ สาํ ริดภาพนูน (ท่ีสบื เนือ่ งมาจาก สมัยออตโตเนยี น) นอกจากนัน้ ยังมีงานประตมิ ากรรมประเภทจุลประติมากรรม เชน่ งานแกะสลกั งาชา้ ง แกะไม้ รูปพระเยซูตรึงกางเขน งานแกะดุนลายภาพนูนปกพระคัมภรี ์

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 43 ศลิ ปะโกธกิ (Gothic Art) สถาปตั ยกรรมแบบโกธกิ อาคารแรกคอื โบสถใ์ นนกิ ายเบเนดิกทีนแห่งแซงตเ์ ดอนสี ์ (the Benedictineabbey of Sainte-Denis) มหาวหิ ารโนเตอะดามแหง่ ปารสี ์ (the Cathedral Notre-Dame of Paris) หมายถึงมหาวิหารพระแม่มารีผบู้ ริสุทธ์ิ เป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมท่เี ชอ่ื มต่อระหวา่ ง รูปแบบโบสถแ์ ซงต์-เดอนสี ์ ไปส่แู บบโกธกิ ยคุ รุง่ เรอื งในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 13 มหาวิหารโนเตอะ ดามโดดเด่นดว้ ยแผงหนา้ อาคารดา้ นทศิ ตะวนั ตกประกอบด้วยช่องหนา้ ต่างขนาดใหญ่ท่ีเรียกว่าrose window ส่วนเพดานโคง้ ทส่ี ูงขึ้นไป 15 ฟตุ และมีระบบครบี ลอยยันกําแพงหรือสะพานบนิ (flying buttresses)สมบูรณแ์ บบจรงิ เป็นครงั้ แรก ซงึ่ พฒั นาการมาจากคานโคง้ แบบหน่ึงส่วนสี่ (quadrant arch) ทีม่ หาวิหารเดอแรห์มสมยั โรมาเนสก์ สร้างหอระฆังส่เี หลย่ี มใหญ่ขนาบคู่ไม่มียอดแหลมดา้ น ประตทู ศิ ตะวันตก ภาพที่ 3.43 มหาวหิ ารโนเตอะดาม ภาพที่ 3.44 ประตมิ ากรรมบริเวณวงกบย่อ มองจากทศิ ตะวันตกเฉียงเหนอื มุม (jamb) มหาวิหารแหง่ เมอื งรางส์ ทีม่ า : พัฒนาการแนวคิดและแบบลกั ษณ์ ทม่ี า : พฒั นาการแนวคิดและแบบลักษณ์ ศิลปะตะวนั ตกอย่างสงั เขป. (น.83), ศลิ ปะตะวนั ตกอย่างสังเขป. (น.90), โดย วีระจักร สเุ อยี นทรเมธี, 2557. โดย วรี ะจกั ร สเุ อียนทรเมธี, 2557. ประติมากรรมโกธกิ จะสัมพันธแ์ ละสง่ เสริมความสมบูรณ์ใหก้ ับสถาปัตยกรรมเป็นอย่าง มาก เหมือนอยา่ งเช่นสมยั โรมาเนสก์ แตส่ ิง่ ทเี่ ห็นพฒั นาการแตกตา่ งได้คือ รปู ทรงของ ประตมิ ากรรมจะไมแ่ บนแนบกับผนังอาคารหรือตามลาํ เสาต่างๆ เหมอื นอย่างโรมาเนสก์ มลี กั ษณะ เสมอื นลอยตัวออกมา แต่ก็ยงั มีลกั ษณะเชงิ การเหน็ คล้ายภาพนูนสงู (แตร่ ปู ลักษณเ์ ป็นแบบลอยตัว) งานจติ รกรรม มงี านประเภทเขียนตกแต่งพระคัมภีร์ ( illuminated manuscript) ลงบนหนัง แกะ(parchment) เนอ้ื หาสว่ นใหญย่ งั เปน็ เร่ืองจากพนั ธะสญั ญาลงในพระคมั ภรี ์ ในแผ่นไม้ป้ายบูช า มจี ิตรกรท่ีพยายามสรา้ งภาพจิตรกรรมให้มีความสมจรงิ อย่างธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นเรื่องของรูปทรง

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 44 ระยะมติ ิ ความเปน็ ทัศนียวทิ ยาและความสมั พันธ์ของตัวบุคคลเรื่องราวกับฉากหลัง เช่ น ชิมาบูเอ (Cimabue) และจอ็ ตโต (Giotto di Bondone) และยงั ร่วมสมัยกับงานจิตรกรรมในยุโรปตอนเหนือ แถบฟลานเดอรช์ ่วงปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 14 ท่ีวาดภาพจิตรกรรมลงบนแผ่นไม้ป้ายบูชาแบบพับ ตอนต่างๆ ซึง่ ภาพมรี ายละเอียดประณีตมีความสมจริงเชิงธรรมชาติมากกว่ารูปแบบจิตรกรรมโ กธิก ในฝรั่งเศสและประเทศอื่นๆ ในยุโรป เช่นในผลงานของ อูแบร์ตและยาน ฟาน ไอกค์ (อิกค์) (Hubert and Jan van Eyck) ศลิ ปกรรมในสมัยนี้ไม่ได้มแี ต่การสร้างโบสถ์ และ วิ ห าร แก ะ สลั กรูป เ คา รพ ห รือ การ เ ขีย น ภาพประกอบเร่ืองราวในพระคัมภีร์เท่าน้ัน ยังมีการ แกะสลักส่วนประ กอบที่ใช้ตกแต่ง อาคาร เช่นการ แกะสลกั ฉากก้ันห้อง การแกะสลักเสาวิหาร การสลัก รูปตดิ บนสันหลงั คาและทเ่ี หนือบานประตูอกี ด้วย สรปุ ไดว้ ่า งานศิลปกรรมสมัยกลางมีเนื้อหา และรปู แบบทีม่ ุ่งแสดงแนวคิดทางศาสนาคริสต์ทําให้ เกดิ ความนิยมในการสร้างรูปเคารพของพระเยซู แม่ ภาพที่ 3.45 ภาพ May Hôtel de Nesle, พระและนักบุญต่างๆ มากมาย โดยไม่ต้องการเน้น the Duke's Parisresidence ความงามมากนัก แต่เน้นด้านเน้ือหาเพื่อเตือนใจและ โดยสามพน่ี ้องตระกูลลิมบูร์ก สอนมนุษย์ใหห้ ยุดความช่ัวร้ายกระทําแต่ความดีงาม ท่มี า : พัฒนาการแนวคดิ และแบบลกั ษณ์ เพ่ือชีวิตในโลกหน้า ศิลปะในสมัยนี้จึงเปรียบเสมือน ศิลปะตะวันตกอยา่ งสังเขป. (น.91), เครอ่ื งมือที่จะทาํ ให้มนุษยเ์ ขา้ ใจศาสนามากยิง่ ขน้ึ โดย วรี ะจักร สุเอยี นทรเมธี, 2557.

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 45 ลกั ษณะสาคญั ของศิลปกรรมในยุคกลาง ลักษณะ ศลิ ปกรรมในยุคกลาง ศลิ ปกรรม (กาโรแลง็ เฌยี ง, โรมาเนสก์, โกธกิ ) คติในการสรา้ ง -เนอ้ื หาคริสต์ศาสนาและเรือ่ งราวจากพระคัมภีรพ์ ันธะสญั ญาเก่าและใหม่ งานและ -ความงามเพ่อื ศรัทธาและธํารงศาสนา สนุ ทรียภาพ -ละเลยหลักความจรงิ และวิทยาการจากสมัยคลาสสิกทถ่ี ือวา่ นอกรีดศาสนา -ความงามเป็นแบบกําหนดนยิ ม เทคนิควธิ ีการ -ไม่ มี ควา มสมจริ ง ตา มห ลั กธ ร ร มช า ติ สร้ า ง เ ป็ น รู ปแ บบกํ า ห น ดนิ ยมผน ว ก ทางศิลปกรรม รูปแบบพนื้ ถิ่น -เทคนคิ เขียนสีเฟรสโก้, งานกระจกสี -โครงสรา้ งเพดานโคง้ (vault) ชนดิ ต่างๆจนพัฒนาเปน็ เพดานโค้งสันนูนและ คานโค้งยอดแหลม (pointed arches) -ผังโบสถ์แบบละตินครอสและทางสาํ หรับกษัตริย์ด้านทศิ ตะวันตก(westwork) -นิยมสรา้ งหอคอยระฆงั ขนาบอาคาร -ภาพประกอบพระคัมภรี ์ต่างๆ -ประตมิ ากรรมนูนสูงประกอบสถาปัตยกรรม

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรับนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 46 ใบความรู้ท่ี 12 เร่อื ง งานทศั นศลิ ป์รปู แบบตะวันตก ศิลปะฟ้ืนฟศู ิลปวิทยา (คริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึงตอนตน้ ครสิ ต์ศตวรรษที่ 18) หลกั สุนทรียภาพและลักษณะสาคญั หลักมนุษยนยิ ม (Humanism) ทีถ่ ือว่ามนษุ ยค์ ือมาตรของทุกส่ิง พลังในปัจเจกและศักยภาพ ของมนุษยเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลางทั้งมวล ทงั้ ในเรือ่ งธรรมชาติของมนุษยแ์ ละรูปทรงของมนุษย์ การรื้อฟื้นคืนใหม่ (renascent หรือ rinascita-rebirth) ของวิทยาการและศิลปกรรมกรีก- โรมัน (revival of Greek–Roman art, culture and texts) เกิดการแสวงหาเหตุและผล ความรู้ วิทยาการตา่ งๆ เช่น ดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ การใส่ใจ ต่อหลักโครงสรา้ งไมว่ ่าจะเป็นสถาปัตยกรรม วิทยาศาสตร์กายภาพ ธรรมชาติ การศึกษากายวิภาค (anatomy) หลักทศั นียมิติเชิงเส้น(linear perspective) ทัศนียมิติเชิงบรรยากาศ (aerial perspective) งานศิลปะส่วนหนงึ่ จึงเปน็ เครื่องมอื ในการบันทึกการใฝ่รู้วัตถุและธรรมชา ติโดยการสังเกตและ พิจารณาด้วยทักษะทางการเห็นโดยตรง ขณะเดียวกันความรู้ทางวิทยาศา สตร์กายภาพถูกศิลปิน นํามาใช้ทดลองสรา้ งสรรค์งานศิลปกรรมในยุคนี้ นอกจากจะเป็นไปทางด้านศาสนาแล้ว ล้วน แลว้ แตแ่ สดงให้เหน็ คุณปู การซง่ึ กนั และกันของวิทยาศาสตรแ์ ละศลิ ปะแทบจะแยกกนั ไม่ออก -ในเรอื่ งของความงามและองค์ประกอบทางศลิ ปะ เนน้ ความกลมกลืน ให้จุดสนใจอยู่ตรง กลางภาพ มีองค์ประกอบเป็นแบบสามเหล่ียมหรือผังกากบาท ดุลยภาพแบบสมมาตรเท่ากัน (symmetrical balance) มีความสงบนิง่ แสงเงาและกายวิภาคถูกตอ้ งชัดเจน แม้ว่าเรื่องราวจะเก่ียวกับ ศาสนา แต่มีหลกั ความเป็นจริงของกายภาพวัตถุที่ถูกต้องมากข้ึน โดยเฉพาะระยะใกล้ไกลของ ทัศนียภาพเชิงบรรยากาศดว้ ยวธิ ีการลดหล่ันของน้ําหนักสี ( recession) ความสัมพันธ์กันของฉาก หนา้ และฉากหลงั (ซง่ึ งานจติ รกรรมกอ่ นหน้าน้ไี ม่เคยมมี ากอ่ น) ส่วนศิลปินแถบยุโรปเหนือจะเก็บ รายละเอียดมาก ในทกุ ส่วนประกอบไม่ว่าจะเปน็ ระยะหน้าหรอื ทิวทัศนฉ์ ากหลงั ไกลๆ - เทคนิคสนี ํา้ มันบนผ้าใบกลายเปน็ ส่ือและเทคนิคสําคัญในการสร้างสรรค์งาน (ในกลุ่ม ประเทศยโุ รปเหนอื และเมืองเวนซิ ) มากกวา่ แต่ก่อนท่ีใช้สีฝุ่นผสมข้ีผึ้งเขียนภาพบนแผ่นไม้หรือ เขยี นสีบนผนงั ปูนเปียก (fresco) เทคนิคสีนํ้ามันน้ีทําให้สามารถสร้างสีสัน การไล่น้ําหนักเก็บ รายละเอียดของภาพ สร้างลกั ษณะพน้ื ผวิ และความเป็นสามมติ ิได้มากกว่า - หลักทศั นียมติ ิหรอื ทัศนยี ภาพทั้งแบบเชงิ เส้น (linear perspective) และแบบเชิงบรรยากาศ (aerialperspective หรือ atmospheric perspective) เป็นห ลักสําคัญมากท่ีศิลปิน นํามาใช้ใ นการ

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สําหรับนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 47 สรา้ งสรรค์ผลงาน โดยเฉพาะภาพทัศนียมิติเชิงเส้นแบบจุดรวมสายตาจุดเดียว ( single vanishing point) ถูกนํามาใชอ้ ย่างได้ผลในการสรา้ งความสมจรงิ ของมิติ ระยะใกล้ไกลของวตั ถุและรูปทรง ศิลปะแบบเรอเนซองส์ (Renaissance) ศิลปะแบบเรอเนซองส์มเี อกลักษณ์อยู่ทค่ี วามพยายามสร้างงานศิลปะให้เหมือนธรรมชาติ มากทีส่ ุดและแสดงออกถงึ จิตใจของกลุ่มชนมากกวา่ แสดงออกซ่ึงความรู้สึกของใครคนใดคนหน่ึง ศิลปะในสมยั นีจ้ งึ เป็นการแสดงออกซ่ึงคุณค่าของความเป็นมนุษย์ มิได้สรรค์สร้างเพ่ื อยกย่อง เทดิ ทูนพระมหากษัตรยิ ์หรอื ศาสนา จติ รกรรม ในสมยั นี้มคี วามกา้ วหนา้ ทางการวาดภาพเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ วาดภาพบนฝาผนังแบบเฟรสโก (Fresco) ซงึ่ เปน็ วิธวี าดภาพบนผนงั ปูนเปยี กให้เสร็จเรียบร้อยก่อน ผนังปูนแหง้ เพอ่ื จะไดง้ ่ายต่อการดูดซึมของสี วิธีการนใ้ี ห้ความคงทนถาวรเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ การวาดภาพยงั นยิ มวาดใหม้ ีทัศนียภาพทาํ ใหเ้ กิดเป็นภาพ 3 มิติ (Perspective) ภาพวาดจึงดูสมจริง และมีชวี ติ ชีวา เลโอนาร์โด ดา วินชี ( Leonardo da Vinci) เป็นศิลปิน ท่ีมีอัจฉริยภาพในสมัยน้ี ซึ่ง มี ความสามารถรอบดา้ น เขาได้คิดคน้ การวาดภาพโดยใช้เทคนิคสฟูมาโต ( Sfumato) คือ การทําให้ ภาพดา้ นหลงั เรียนนางเหมือนมีหมอก อนั เป็นการสรา้ งระยะไกลใหเ้ กิดข้ึนและทําให้ภาพเด่นมาก ขนึ้ ด้วย การนาํ หลักวาดภาพท่ีเรียกวา่ แวนชิ ชงิ พอยต์ (vanishing Point) เป็นการนําจุดนําสายตามา ใชใ้ นการวาดภาพ ทําใหง้ านของเขามีความงดงามอยบู่ นพนื้ ฐานความกลมกลืนระหว่า งศีรษะของ มนุษย์กบั ทศั นียภาพทเ่ี ปน็ ธรรมชาติ จงึ สรา้ งอารมณ์ให้แก่ผู้ชม ผลงานจิตรกรรมท่ีสําคัญของเขา ได้แก่ ภาพโมนาลซิ ่า(Monalisa) ภาพอาหารม้อื สุดท้าย (The Last Supper) นอกจากน้ยี ังมีศิลปนิ คนสําคัญอีก เช่น รัฟฟาเอลโล ซันซีโอ ( Raffaello Sanzio) ผลงาน ของเขาเน้นความงามของรปู ร่างมนุษย์ทแี่ สดงอารมณ์หลากหลาย เน้นสีสด กายวิภาคความงดงาม ออ่ นชอ้ ยเคลื่อนไหว ภาพทมี่ ชี ่อื เสียงที่สุด คือ ภาพโรงเรียนเอเธนส์ ( The School of Athens)เป็น ภาพท่เี กีย่ วกับนักปรชั ญากรกี หลายคน ศิลปินอีกท่านหน่ึงซ่ึงเป็นต้นแบบของศิลปกรรมในสมัย ต่อมา คอื มีเกลันเจโล หรือไมเคิลแองเจโล (Michelangelo) ผู้มีความสามารถท้ังทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ผลงานจติ รกรรมทมี่ ีชื่อเสียง คือ ภาพการตัดสินครั้งสุดท้าย( The Last of Judgemant) งานจติ รกรรมของไมเคิลแองเจโล มีลักษณะโดดเด่นแสดงออกให้เห็นการ เปลือยกาย เห็นกล้ามเนอ้ื และกายวิภาคอยา่ งชัดเจน

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สําหรบั นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 48 ภาพท่ี 3.46 ประติมากรรมหินอ่อนเดวิด ภาพที่ 3.47 ภาพอาหารม้อื สุดท้าย สูง 13 ฟุต 5 นว้ิ กะสลักจากแทง่ หนิ ทีม่ า : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.119), ทมี่ า : พฒั นาการแนวคดิ และแบบลกั ษณ์ ศิลปะตะวันตกอย่างสงั เขป. (น.102), โดย ธงชัย รักปทุม, 2557. โดย วรี ะจักร สเุ อียนทรเมธี, 2557. ประตมิ ากรรม งานแกะสลักเกิดข้ึนมากมายในสมัยน้ี วัสดุที่นิยมแก่เป็นพวกหินอ่อน มากกว่าหนิ ชนิดอ่นื ๆ ศิลปินทม่ี ชี อ่ื เสียงมากทีส่ ุด คือ ไมเคลิ แองเจโล ผลงานของเขาส่วนมากได้รับ อทิ ธิพลจากศาสนาครสิ ต์แตร่ ปู แบบยงั คงดําเนินตามแบบกรกี และโรมัน งานประติมากรรมท่ีนับว่า เปน็ ช้ินเอกของโลก คือ ปเี อตา (Pieta) ซง่ึ ตัง้ อยใู่ นวหิ ารเซนตป์ ีเตอร์ งานแกะสลักรูปเดวิด ( David) วีรบรุ ุษของชาวยิว ปจั จุบนั อยทู่ ี่สถาบนั วจิ ิตรศลิ ปแ์ ห่งเมอื งฟลอเรนช์ สถาปัตยกรรม ในสมัยนี้มีการสร้างสถาปัตยกรรมท่ีมีความแน่นหนาถาวร คํานึงถึง สดั ส่วนอยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผล ไมม่ ลี กั ษณะหรหู ราแปลกตา สถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงมากท่ีสุด คือ โบสถ์เซนตป์ เี ตอร์ สร้างเม่ือ พ. ศ. 1506 - 1626 ใช้เวลาก่อสร้าง 120 ปี ทําให้โบสถ์เซนต์ปีเตอร์มี ความวจิ ติ รพิสดาร ได้รบั การยกยอ่ งให้เปน็ ศิลปกรรมชิน้ เอกของโลก สรุปได้วา่ ศลิ ปกรรมเรอเนซองซแ์ สดงออกซึง่ จิตวิญญาณตามแบบคริสเตียนอย่างแท้จริง แม้วา่ จะใหค้ วามสําคัญกับการสร้างสรรค์สรีระแบบเหมือนจริงตามวิถีแบบกรีกและโรมัน แต่ก็ เปน็ ไปเพือ่ รบั ใช้ศาสนาผา่ นการสร้างสรรค์งานของศิลปิน ศิลปะแบบบาโรก ชว่ งเวลาที่ศิลปะแบบเรอเนซองซ์ ( Renaissance)กําลังแพร่หลายทั่วยุโรปจนเกิดความ อิ่มตัวน้ันประมาณคริสต์ศตวรรษท่ี 17 และ 18 ได้เกิดศิลปะแน วใ หม่ท่ีเรียกว่า “บาร์โรก (Baroque)” ซง่ึ กระจายอย่ใู นหลายประเทศของยุโรป เชน่ อติ าลี ฝรงั่ เศส เนเธอรแ์ ลนด์ สเปน

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาํ หรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 49 ลักษณะศลิ ปะของบาโรกให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวมากกว่า ถ้าวาดภาพคนก็มักจะตกแต่งเกินปกติ เส้อื ผ้าอาภรณ์รวมทงั้ การประดับตกแต่งอาคารมักจะฉูดฉาด สีสนั แพรวพราว ระยิบระยบั สมัยนีเ้ ปน็ ช่วงเวลาทนี่ ักปราชญท์ างคณิตศาสตร์เฟ่ืองฟู เช่น เรอเน เดส์การ์ตส์ (Rene Descartes) เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei) โยฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) ดงั นน้ั แนวคิดทางวทิ ยาศาสตร์ เรขาคณิต และฟิสิกส์ จึงมีผลต่อการสร้างสรรค์ งานศิลปะบาโรก โดยเฉพาะงานสถาปัตยกรรมซึ่งนยิ มออกแบบให้มีลวดลายเรขาคณิตจําพวกเส้น โค้ง และการจัดลวดลายท่ีวางระยะห่างเหมาะสมกับพ้ืนที่ว่าง มีการตกแต่งลวดลายอย่างวิจิตร บรรจง การตกแตง่ ภายในอาคารเนน้ ความหรูหรา สง่า น่าเกรงขาม แสดงออกซึ่งความรู้สึกของ ความมนั่ คง่ั หรูหรา ในสมัยนี้ชนชั้นศักดินาต่างๆ นิยมตกแต่งประดับประดาอาคารท่ีพักอย่าง หรหู ราในเชงิ แข่งขนั กัน โดยเฉพาะกรงุ ปารสี เปน็ ศนู ย์กลางแห่งศิลปะและวัฒนธรรมท่ีสําคัญใน สมยั นน้ั ศิลปินบาโรกที่สําคัญโดยส่วนใ หญ่เ ป็นจิตรกร ได้แก่ ดิเอโก เวลาซ์เ ควซ ( Diego Velazquez) ศิลปนิ ชาวสเปน มผี ลงานท่สี าํ คัญ คือ ภาพลาสเมนีนาส (Las Meninas ) เรมบรันต์ ฮาร์ เมนช์ ฟาน ริเจน (REMBRANDT Harmensz van Rijn) ศิลปินชาวดัตช์ มีผลงานวาดภาพเหมือน ของตนเอง และภาพสมาคมพ่อค้า ( Syndics of the Cloth Guild) จูลส์ อาดวง มองซารต์ (Jules Hardouin Monsart) ผู้ออกแบบโรงสวดในพระราชวังแวร์ซาย ภาพท่ี 3.48 การยกตรึงกางเขน สนี าํ้ มันบนผ้าใบขนาด 4.60 × 3.40 เมตร ท่มี า : พัฒนาการแนวคิดและแบบลกั ษณ์ ศิลปะตะวันตกอย่างสังเขป. (น.120), โดย วีระจกั ร สเุ อียนทรเมธี, 2557.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สําหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 50 ลกั ษณะสาคญั ศิลปะบาโรก หลกั การสําคญั ความทรงพลงั เหลือลน้ เกินพอดี ความวิจิตรหรูหราน่าตื่นตา กระตุ้นเพศ หรอื ธรรมชาตเิ รอื่ งธรรมดาสามัญโลก อทิ ธิพลท่ไี ดร้ บั พัฒนาต่อจากศิลปะเรอเนสซองส์และแมนเนอริสมการตีความใหม่ จาก พัฒนาการต่อเน่ือง บริบทและ การค้นพ บ ไม่ว่าจะ เ ป็น วิทยาศาสตร์หรือศาสน าคริสต์ นกิ ายโปรเตสแตนต์ สุนทรยี ภาพ ความนุ่มนวลตา ความรู้สกึ โอ่อา่ หรูหรารายละเอยี ดมาก มวล ลวดลาย องคป์ ระกอบ องค์ประกอบเกลยี วสวา่ น วนเวียนหลากทิศทาง กระจายท่ัว ให้ความรู้สึก เทคนิคสําคญั เคลอื่ นไหวท่าทางกริ ิยาคล้ายด่งั นาฏลกั ษณ์แสดงการตัดกันของค่าต่างแสง (chiaroscuro) อย่างสูงเนน้ ความมดื กับความสว่าง แสงจะตดั กบั เงามืด เพ่ือสรา้ ง dramatically contrastedรอยยบั ยน่ ของผ้าและสีผิวคนภาพภูมิทัศน์ จากกลอ่ งทาบเงา (cameraobscura)Assembly Line มวลลนื่ ไหล การสร้างมติ ิลวงตาอย่างหวือหวา มหัศจรรย์ ศิลปะแบบโรโกโก หลังจากพระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 สวรรคตแล้ว ฝร่ังเศสยังคงเป็นศูนย์กลางทางศิลปะและ วัฒนธรรมโดยเฉพาะกรงุ ปารสี แตศ่ ิลปะไดเ้ รม่ิ เปลย่ี นจากบาโรกเปน็ โรโกโก ศิลปะโรโกโกนั้นได้ รถทอนบางอยา่ งลงไป เชน่ ลวดลายทีห่ นาแนน่ ในแบบบาโรกได้ถูกลดลงเพ่ือทําให้ดูบอบบาง และ ปรับปรุงลวดลายเพื่อทําให้เกิดความอ่อนหวาน ส่วนเส้นโค้งท่ีนิยมมากในสมัยบาโรก ได้ถูก ปรบั เปล่ยี นใหน้ ้อยลงและเพ่มิ เส้นตรง งานสถาปตั ยกรรมของโรโกโกน้ันไมไ่ ด้จํากัดเฉพาะการสร้างพระราชวัง แต่ยังแพร่หลาย ไปสู่การสรา้ งคฤหาสนข์ องชนชัน้ สูง โดยเฉพาะในฝร่ังเศสน้ันโรโกโกมีบทบาทมากในด้านการ ตกแต่งภายในและ สว่ นมากกวา่ ตัวอังคารสาํ หรับงานจิตรกรรมของโรโกโกน้ัน มีการใช้สีสันที่สด ช่นื น่มุ นวล ดมู ีชวี ติ ชวี า แต่แสดงออกซ่ึงความกลมกลืนกนั ของสแี ละรปู ทรง เช่น ผลงานของชอง - อองตวน วาโต (Jean-Antoine Watteau) ศลิ ปนิ ฝรั่งเศส ผู้สร้างผลงานภาพการกลับมาจากไซเธรา (Return from Cythera) ฟรองซัว บูแช (Francois Boucher) วาดภาพกามเทพ (Cupid a Captive) ชอง-โอโนเร ฟรากอนาร์ (Jean-Honore Fragonard) วาดภาพโล้ชิงช้า (The swing) ประติมากรท่ีมี ช่อื เสยี งด้านศลิ ปะโรโกโก ได้แก่ โกลดียง ( Clodion : Claude Michel) สลักรูป “Nymph and Satyr” และ ชอง-อองตวน อูดง (Jean-Antoine Houdon) สลักรปู เหมือนของวอลแตร์ (Voltaire)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook