Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง

งานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง

Published by krurattana, 2019-05-14 23:21:07

Description: งานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 1 คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน สาหรบั ครู 1. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 มีทงั้ หมด 5 เลม่ สาหรับเล่มน้ี เปน็ เล่มท่ี 4 มเี นื้อหาในหน่วยท่ี 2 เร่ือง เรื่อง งานทัศนศิลป์ของศิลปินทม่ี ี ช่อื เสยี งและผลตอบรบั ของสงั คมโดยมีวัตถุประสงค์เพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและส่งเสริม ให้นกั เรยี นสามารถศกึ ษาค้นควา้ และเรียนรู้ดว้ ยตัวเองได้ตลอดเวลา 2. แนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรยี นใหน้ ักเรียนก่อนนาไปใช้ 3. ให้นักเรยี นใชเ้ อกสารประกอบการเรยี นเพื่อไปศกึ ษาค้นคว้าด้วยตัวเองได้ตลอดเวลา 4. ครูให้คาแนะนาเมือ่ นกั เรยี นเกิดปญั หาในการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน สาหรบั นกั เรยี น 1. ใหน้ ักเรยี นทาความเข้าใจวิธีการใช้เอกสารประกอบการเรยี น 2. นกั เรยี นควรเรียนรไู้ ปตามขัน้ ตอนของเอกสารประกอบการเรียน เพื่อให้เกดิ ประโยชน์ สงู สดุ ต่อนักเรยี น 3. เม่ือเกิดปัญหาในการใช้เอกสารประกอบการเรียนสามารถปรกึ ษาครูผ้สู อนได้ 4. ส่งคนื เอกสารประกอบการเรยี นในเวลาที่กาหนด และรกั ษาใหอ้ ยู่ในสภาพดี

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 2 สาระ/ มาตรฐานการเรยี นรู้/ ตวั ช้วี ัด สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างทศั นศิลป์ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็น คณุ ค่างานทศั นศิลปท์ เ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินภมู ิปัญญาไทย และสากล ตัวช้วี ดั ม.4-6/2 ระบุงานทศั นศิลป์ของศลิ ปนิ ท่ีมชี อ่ื เสยี งและบรรยายผลตอบรับของสงั คม จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บรรยายผลตอบรบั ของสงั คมตอ่ ผลงานทศั นศิลป์ของศิลปนิ ท่ีมชี ื่อเสยี ง (K) 2. นาเสนอผลตอบรบั ของสังคมท่ีมตี ่อผลงานทศั นศิลป์ของศิลปินท่ีมีชือ่ เสยี ง (P) 3. เห็นความสาคญั ของศิลปะทม่ี ีต่อสังคม (A)

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรับนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 3 แบบทดสอบก่อนเรียน เอกสารประกอบการเรียนชดุ ที่ 4 เร่อื ง งานทัศนศิลป์ของศลิ ปินท่ีมีช่ือเสียงและผลตอบรบั ของสังคม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 จานวน 10 ขอ้ 10 คะแนน คาชแี้ จง 1. แบบทดสอบเปน็ แบบทดสอบ 4 ตวั เลือกจานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 15 นาที 3. ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมาย กากบาท X ลงในกระดาษคาตอบ 1. งานทัศนศิลป์ของศิลปนิ ท่มี ีช่อื เสียงกบั ผลตอบรับของสังคม ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ ง ก สร้างความขดั แยง้ ใหค้ นในสงั คม ข สะท้อนความเป็นไปของสงั คมในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง ค ผลงานศลิ ปะบางช้ินกลายเป็นประวัติศาสตรใ์ ห้คนรุ่นหลงั ได้เรียนรู้ ง ผลงานบางช้ินเป็นทชี่ ืน่ ชม ถูกยกยอ่ งและสร้างความจรรโลงใจใหก้ ับผูค้ นในสงั คม 2. ผลงาน ขล่ยุ ทิพย์ เป็นผลงานประติมากรรมของใคร ก อ.เขยี น ยม้ิ ศริ ิ ข อ.ศิลป์ พรี ะศรี ค อ.ปรชี า เถาทอง ง อ.เฉลมิ ชัย โฆษิสพิพฒั น์ 3. ศลิ ปนิ แหง่ ชาตทิ ่ีมชี ื่อเสียงในการสร้างสรรคผ์ ลงานภาพพมิ พแ์ กะไม้ (Woodcut) คอื ใคร ก ปรชี า เถาทอง ข เดชา วราชนุ ค ประหยัด พงษ์ดา ง วชิ ัย สทิ ธิรตั น์

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 4 4. สถาปตั ยกรรมไทยประเภทบ้านเรอื น สร้างโดยใหส้ อดคลอ้ งกบั สง่ิ ใด ก ศาสนา ความเช่อื ข วฒั นธรรม ประเพณี ค สภาพภูมปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ ง ชวี ติ ความเปน็ อยู่ อาชีพ 5. ภาพโมนาลซิ า (Monalisa) ของลีโอนาโด ดาวินซี (Leonaldo da Vinci) มีการใชส้ ิง่ ใดในการจัด องคป์ ระกอบศลิ ปม์ ากทส่ี ุด ก ความกลมกลืน ข เนน้ สตี ่างวรรณะกนั ค เนน้ ด้วยเสน้ ใหเ้ กดิ ระยะ ง การเน้นจดุ เด่น และ ความสมดลุ 6. ภาพ Guernica แสดงใหเ้ ห็นถงึ โศกนาฏกรรมของสงครามและความทุกขท์ รมาน เป็นผลงาน ของศิลปินทา่ นใด ก โกลด มอแน (Claude Monet) ข ปาโบล ปีกสั โซ (Pablo Picasso) ค วนิ เซนต์ แวนโก๊ะ (Vincent van Gogh) ง เลโอนารโ์ ด ดา วินชี (Leonardo da Vinci)

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 5 7. เอกลกั ษณ์ท่ีโดดเดน่ ในงานศิลปะของอาจารยช์ ว่ ง มูลพนิ ิจ คือ ก เรื่องราววัฏสงสารของชวี ติ และปรัชญา ศาสนา ข เรอ่ื งราวจากศาสนาและวรรณคดีมาสรา้ งจนิ ตนาการใหม่ ค ความงามของลายเส้นหรอื ลายไทยท่ีออ่ นช้อยผสมผสานกับศิลปะสมัยใหมอ่ ย่างกลมกลนื ง ถูกทกุ ข้อ 8. ขอ้ ใดไมใ่ ช่แนวความคิดของผลงาน ‚ชวี ติ ยายในลา้ นนา‛ (ดาหวั ป๋ีใหม่เมอื ง) ก การบูชาพิธีกรรมทางศาสนา ข เปน็ ประเพณีทด่ี ีงาม ของชาวพทุ ธในล้านนา ค การขออโหสกิ รรม สิง่ ทีไ่ ด้ล่วงเกนิ ญาติผู้ใหญ่ครูบาอาจารย์ ง แสดงออกถึงความเคารพ นบั ถอื กตัญํกู ตเวที ตอ่ ผมู้ ีพระคณุ 9. ศิลปินทา่ นใดเป็นผู้ออกแบบงาน \"สัปปายะสภาสถาน - รัฐสภาแห่งใหม่\" ก นายธีรพล นิยม ข อนพุ งษ์ จนั ทร ค เฉลมิ นาคีรักษ์ ง เฉลิมชัย โฆษติ พพิ ฒั น์ 10. ศลิ ปินท่านใดเป็นผ้สู ร้างสรรคผ์ ลงานประติมากรรม Pieta ก โกลด มอแน (Claude Monet) ข โยฮัน เฟอรเ์ มร์ (Johan Vermeer) ค ไมเคลิ แอนเจโล (Michelangelo) ง ซานโดร บอตติเชลลี (Sandro Botticelli)

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรับนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 6 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 เรอื่ ง งานทัศนศิลปข์ องศิลปินทม่ี ชี อื่ เสยี งและผลตอบรบั ของสงั คม ช่อื ............................................................. เลขที่ ...................... ทดสอบกอ่ นเรียน รวมคะแนน ข้อ ก ข ค 1. ง 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 7 ใบความร้ทู ่ี 15 เร่อื ง งานทัศนศลิ ปข์ องศลิ ปินทีม่ ชี ่ือเสยี งและผลตอบรบั ของสังคม ผลงานทศั นศิลปข์ องศิลปินไทยท่มี ชี ื่อเสียง 1. ชลูด น่มิ เสมอ เกิดเม่ือวันที่ 2 พฤษภาคม 2472 เขาเป็นนักศึกษา คน แรก ท่ีสาเ ร็จกา รศึกษ าระ ดั บปริญ ญาตรี สาข า ประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และสาเร็จการศึกษา ระ ดับประกาศนียบัตร จาก Accademia il Belle Arti di Roma ประเทศอิตาลี และได้รับประกาศนียบัตรด้านการ พิมพ์ จาก Pratt institute นครนิวยอรค์ ประเทสหรัฐอเมรกิ า ภาพที่ 4.1 ชลดู นิม่ เสมอ ชลูดเป็นลูกศิษย์ ของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ที่มา : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.83), และไดร้ ับการยกยอ่ งนับถือวา่ เป็นเสาหลกั ของมหาวิทยาลัย โดย ธงชยั รักปทมุ , 2557. ศลิ ปากร เขาเป็นผจู้ ัดต้ังภาควิชาการพมิ พ์ เมื่อปี พ.ศ.2508 และภาควิชาศิลปะไทย เม่ือปี 2519 ใน คณะจติ รกรรมประตมิ ากรรมและการพิมพ์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ชลูดเป็นศิลปินที่มีความเชี่ยวชาญ ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ วาดเส้น ส่ือผสม ศิลปะ จัดวาง ฯลฯผลงานศิลปะของเขามีความโดดเดน่ จากรปู แบบแนวคดิ อนั เรียบง่ายมีเอกลักษณ์ความเป็นไทย ท่อี อ่ นช้อยงดงาม มีลักษณะของงานศิลปะแบบไทยประเพณีท่ีแฝงซ่อนไว้ด้วยแนวคิดแบบร่วม สมยั ไดร้ บั การยกย่องเป็นศลิ ปินชัน้ เยี่ยม สาขาจติ รกรรม เมื่อปี พ.ศ.2522 และเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทศั นศิลป์(ประติมากรรม)เม่ือปี .ศ.2541 ภาพที่ 4.2 นมัสการรอยพระพุทธบาท. 1995. ภาพที่ 4.3 สมาธิ 2. 1995. ทม่ี า : Living with Art Intanate’s Collection : ทีม่ า : Living with Art Intanate’s Collection : (น.42), โดย หัสภพ ต้ังมหาเมฆ, 2557. (น.42), โดย หัสภพ ตงั้ มหาเมฆ, 2557.

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 8 2. เดชา วราชุน เกิดเมื่อวนั ที่ 6 พฤศจิกายน 2488 สาเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีและปริญญาสาขาภ าพพิมพ์ จากคณะ จิตรกรรมประ ติมากรรมและ ภ าพ พิมพ์ มห าวิทยาลัย ศิลปากร เดชาเปน็ ศิลปนิ ทม่ี ีชอื่ เสียงโด่งดังเป็นที่รู้จักอย่าง กว้างขวาง ใ นวง การศิลปะ ระ ดับประเ ทศและระ ดับ ภาพที่ 4.4 เดชา วราชุน นานาชาติ ผลงานที่โดดเด่นของเขาในช่วงแรกสร้างสรรค์ ท่ีมา : ทัศนศิลป์ ม.4-6 . (น.82), ข้ึนด้วยเ ทคนิคการพิมพ์ตะ แกรงไห ม โดยมักมีการใ ช้ รูปทรงเรขาคณติ และรูปทรงอิสระอันเดน่ ชัดท่ามกลางพื้นที่ โดย ธงชัย รกั ปทุม, 2557. ว่าง ภายใต้รปู แบบของศิลปะนามธรรม จากนั้นจึงพัฒนาแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานมาสู่การ เลือกใ ช้วัสดุแผ่นไม้ แผ่น โลหะ ทองแดง ทอง เห ลือง อะลูมีเ นียม หรือวัสดุเ ก็บตกอ่ื น ๆ มาผสมผสานกบั เทคนิคการปะติดเชอื่ มตอ่ การตอกตุนแบบส่ือผสม ผลงานภาพพิมพ์และสื่อผสม ของเ ขาเคยได้รับการจัดแสดงใน นิทรรศการท่ีสาคัญท้ัง ในประเทศบราซิล สห รัฐอเ มริกา ยูโกสลาเวีย นอรเ์ วย์ เดนมารก์ เยอรมณี อติ าลี นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ ญ่ีปุ่น บังกลาเทศ มาเลเซียชิลี และเกาหลี นอกจากน้นั เขายังเป็นนักวิชาการและอาจารย์สอนศิลปะดารงตาแหน่งศาสตราจารย์ สาขาวจิ ติ รศิลป์ ทส่ี ถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังได้รับการยกย่องเป็น ศิลปินชนั้ เยี่ยม สาขาภาพพมิ พ์ เม่อื ปี พ. ศ.2525 และเป็นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพพิมพ์ และส่ือผสม) เมื่อ พ.ศ.2551 ภาพท่ี 4.5 ชวี ิต. 26-6-94. 1964. ภาพที่ 4.6 ของสะสม หมายเลข 3. 1965. ทีม่ า : Living with Art Intanate’s Collection : ท่ีมา : Living with Art Intanate’s Collection : (น.92), โดย หัสภพ ตั้งมหาเมฆ, 2557. (น.92), โดย หสั ภพ ตั้งมหาเมฆ, 2557.

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 9 3. ประหยัด พงษค์ า เกิดเมือ่ วันท่ี 28 ตลุ าคม 2477 สาเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาจิตรกรรม จากคณะจิตรกรรม ประ ติมากรรมและภ าพพิมพ์ มห าวิทยาลัยศิลปกร และ สาเ ร็จการศึกษาระ ดับประ กาศนียบัตร จาก Accademia di Belle Arti di Roma ประเทศอติ าลี ประหยดั เป็นลูกศิษยร์ ุ่นท่ี 9 ของศาสตราจารย์ ศิลป์ พรี ะศรี เขาเปน็ ศลิ ปินภาพพิมพ์ที่มีช่ือเสียงเป็นท่ี ยอมรบั อย่างกว้างขวางทง้ั ในระดับประเทศและระดับ ภาพที่ 4.7 ประหยัด พงษค์ า นานาชาติ เขาเปน็ อาจารย์สอนศิลปะผู้สร้างคุณูปการ ที่มา : ทศั นศิลป์ ม.6 . (น.28), อย่าง มากแก่วง การศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย โดย ธงชยั รกั ปทมุ , 2558. ด้วยการคิดค้นและถ่ายทอดกระบวนการสร้างสรรคผ์ ลงานภาพพมิ พท์ ่ีแตกต่างไปจากขนบประเพณี เดิมๆผลงานภาพพมิ พ์เขาโดดเด่นด้วยรูปแบบของงานศิลปะแบบไทยประเพณีที่ผสมผสานกับ แนวคดิ แบบร่วมสมัย รูปทรงองค์ประกอบส่วนใหญ่มักมีที่มาจากวิถีชีวิตของผู้คนท้องถ่ินไทย การประกอบสมั มาอาชีพ ภาพสรรพสัตวใ์ นท่วงท่าต่างๆ ท่ามกลางทิวทัศน์มลังเมลือง มีลักษณะ การใช้เส้นทีเ่ รียบงา่ ยสสี ันสดใส น้าหนักขาวดาเข้มจัดชัดเจน นอกเหนือจากผลงานศิลปะและ การสอนศิลปะแลว้ เขายงั ดารงตาแหน่งศาสตราจารย์ นักวชิ าการ วิทยากร ท่ีปรึกษาทางศิลปะ ฯลฯ เขาไดร้ ับการยกยอ่ งใหเ้ ป็นศลิ ปินชนั้ เยี่ยม สาขาภาพพมิ พ์ เม่อื ปี พ.ศ.2524 และเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทศั นศิลป์ (ภาพพิมพ)์ เมอ่ื ปี พ.ศ.2541 ประหยัดถึงแก่กรรมเม่ือวันที่ 19 กนั ยายน 2557 ภาพที่ 4.8 Rooster (Cock) Fighting– ชนไก.่ 1963. ภาพที่ 4.9 Thirsty – กระหาย. 1967. ท่มี า : Living with Art Intanate’s Collection : ท่ีมา : Living with Art Intanate’s Collection : (น.209), โดย หัสภพ ต้ังมหาเมฆ, 2557. (น.208), โดย หสั ภพ ต้งั มหาเมฆ, 2557.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 10 4. ถวลั ย์ ดัชนี เกดิ เม่ือวันที่ 27 กันยายน 2482 สาเร็จการศึกษา ระ ดับปริญญาตรี สาขาจิตรกรร ม จากคณะ จิตรกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปกร สาเร็จ การศึกษาระดับปรญิ ญาโทดา้ นจิตรกรรมฝาผนัง อนุสาวรีย์ และผังเมือง และสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขา อภิปรัช ญาแล ะ สุน ท รียศาส ตร์ ท่ี Rijksakadmie van ภาพท่ี 4.10 ถวลั ย์ ดัชนี beeldende kunsten ณ ก รุ ง อั ม ส เ ต อ ร์ ดั ม ป ร ะ เ ท ศ ที่มา : ทศั นศิลป์ ม.4-6 . (น.79), เนเธอรแ์ ลนด์ โดย ธงชัย รกั ปทมุ , 2557. ถวลั ย์เป็นลูกศิษย์ ของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เขาเปน็ ศิลปินทีม่ ชี ่อื เสียงโดง่ ดังเปน็ ท่รี จู้ กั อย่างกวา้ งขวางทัง้ ในระดับประเทศและระดับนานาชาติ ผลงานของเขาโดดเด่นดว้ ยรปู แบบของงานจิตรกรรมผสมผสานกับการวาดเส้นแบบฉับพลับทันที มลี ักษณะของงานศลิ ปะแบบไทยประเพณีผสมผสานกับการสาแดงอารมณ์ความรู้สึกที่ทรงพลัง และเตม็ เปย่ี มไปด้วย ความเคล่ือนไหวท่เี ฉยี บขาด เขเปน็ ศิลปินท่ีมีความรู้อย่างลึกซ้ึงในศาสตร์เชิง ปรัชญาหลากหลาย มคี วามคิดอันลุ่มลึกเชิงปรัชญา เขาเป็นผู้ก่อต้ังพิพิธภัณฑ์บ้านดา นางแล ที่ จังหวัดเชียงราย และได้รบั การยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์(จิตรกรรม) เมื่อปี พ.ศ. 2544 ถวัลย์ถึงแกก่ รรมเมอ่ื วนั ท่ี 3 กันยายน 2557 ภาพที่ 4.11 The Nemi Jataka. 1976. ภาพท่ี 4.12 Jataka – ชาดก. 1971” ท่มี า : Living with Art Intanate’s Collection : ที่มา : Living with Art Intanate’s Collection : (น.265), โดย หัสภพ ตัง้ มหาเมฆ, 2557. (น.266), โดย หัสภพ ต้ังมหาเมฆ, 2557.

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 11 5. เขียน ยม้ิ ศิริ เกดิ เม่ือวนั ท่ี 22 พฤษภาคม 2465 สาเร็จการศึกษาจาก โรงเรียนประณีตศิลปกรรมและไดศ้ ึกษาศิลปะกับศาสตราจารย์ ศิลป์ พรี ะศรี โดยตรง จากนั้นจึงเดินทางไปศึกษาต่อจนสาเร็จ การศึกษาระดับประกาศนียบัตร จาก Accademia di Belle Arti di Roma ประเทศอติ าลี และเดินทางไปศึกษาประติมากรรมที่ Cheisea School of Art กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ภาพท่ี 4.13 เขยี น ยม้ิ ศริ ิ เขยี นเปน็ หนึ่งในลูกศษิ ย์ของศาสตราจารยศ์ ิลป์ พีระศรี ท่ีมา : ทัศนศลิ ป์ ม.6 . (น.26), โดย ธงชัย รักปทุม, 2558. เขาเปน็ ทงั้ ศลิ ปินและอาจารย์สอนศิลปะที่มีบทบาทสาคัญอย่าง มากต่อมหาวิทยาลัยศิลปากร และ วงการศิลปะร่วมสมัยใ น ประเทศไทยด้วนทกั ษะและแนวความคดิ ในการสร้างสรรค์รวมการเผยแพร่สอนส่ังความรู้ความ เข้าใจทางศิลปะ สามารถผสมผสานอัตลักษณ์และรากฐานของความเป็นไทยให้ปรากฏข้ึนเป็น ผลงานประตมิ ากรรมร่วมสมยั ได้อย่างงดงาม มีความโดดเด่นด้วยการตัดทอนรูปทรงให้เรียบง่าย และจัดวางองคป์ ระกอบของผลงานใหล้ ื่นไหลสอดประสานกันได้อย่างลงตัว นอกเหนือจากการ สร้างงานศลิ ปะแลว้ เขายงั ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ เป็นอาจารย์สอนศิลปะคนสาคัญท่ีมี ผลงานเขียนตาราวชิ าการแปลและรวบรวมผลงานทางวิชาการของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี อัน เป็นรากฐานการศึกษาที่สาคัญของคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร เขาได้รบั การยกยอ่ งเป็นศิลปินช้ันเยี่ยม สาขาประติมากรรม เม่ือปี พ.ศ.2496 และถึงแก่ กรรมเมื่อวนั ที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2514 ภาพท่ี 4.14 ชนไก.่ 1963. ราวง. 1956. สยามเมอื งย้มิ . 1950. ท่ีมา : Living with Art Intanate’s Collection : (น.121), โดย หสั ภพ ตงั้ มหาเมฆ, 2557.

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรับนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 12 6. ปรชี า เถาทอง ศาสตราจารย์ปรชี า เถาทอง จึงได้รับการยกย่องเชิดชู เกียรติเ ป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง เป็นศิลปินที่มีแนวคิด ที่ทันสมัย สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานให้เกิดดุลยภาพระหว่าง ภาพท่ี 4.15 ปรีชา เถาทอง การอนุรกั ษ์กับการพฒั นาศิลปะให้เป็นแนวทางสร้างสรรค์ ที่มา : ทัศนศลิ ป์ ม.6 . (น.29), ศิลปกรรมไทยร่วมสมัยอย่างมีเอกลักษณ์ ในการสร้างสรรค์ โดย ธงชัย รกั ปทมุ , 2558. ศลิ ปะพรอ้ มกับผสมผสานกับการศึกษาค้นคว้าด้านวิชาการ ศลิ ปะ อกี ท้ังยังไดค้ ้นพบทฤษฎแี สงเงา โดยนาไปสร้างสรรค์ผลงานในแบบนามธรรมที่มีบุคลิก เฉพาะตัว และพัฒนาไปสูค่ วามสาเร็จสูงสุดในการสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปกรรม โดยใช้เอกลักษณ์ของแสง เงา หรอื สที องเป็นสว่ นประกอบ ต่อมาใช้วัตถทุ ี่มีความแวววาวเพ่ือสื่อความคิดของความเป็นไทย โดยใช้เทคนคิ แบบจติ รกรรมแบบไทยประเพณีมาผสม ผสานกบั เทคนิคแบบศิลปะตะวันตก วิธีการ ในการแสดงออก สะทอ้ นถงึ สาระทางพุทธปรัชญา เพ่ือชี้นาสังคมและพัฒนาสังคม และแสดง แนวคิดถึงความเป็นไทย ความศรัทธา ความสงบนิ่ง ความศักด์ิสิทธิ์ ในทางศาสนา จนเป็นท่ี ประจกั ษข์ องวงการศิลปะและได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินช้ันเยี่ยม เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ จาก การแสดงศลิ ปกรรมแห่งชาติ ภาพที่ 4.16 ยมกปาฏิหาริย์ 1. 2528. ภาพท่ี 4.17 รปู ทรงแสงในวัดพระแก้ว. 2527. ทีม่ า : งานจาหนา่ ยผลงานศลิ ปกรรมจากแสงเงา ทมี่ า : งานจาหน่ายผลงานศลิ ปกรรมจากแสงเงาสู่ สู่ปา่ หมิ พานต์ : (006), ปรชี า เถาทอง, ป่าหิมพานต์ : (004), ปรชี า เถาทอง,

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 13 7. นาวนิ ลาวัลยช์ ัยกุล เกิดเม่ือวันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2514 สาเร็จการศึกษา ระ ดับปริญญาตรี สาขาจิตรกรรม จากขณะ วิจิตรศิลป์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ นาวิน เป็นศิลปินอิสระช าวไทยเช้ือสายอินเดียที่ มีชอื่ เสยี งเป็นทย่ี อมรับอย่างมากในระดับนานาชาติผลงาน สร้าง สรรค์ของน าวินส่วน ใ หญ่ เ กิดขึ้น จากแน วคิดใ น การสร้าง คว ามสัมพัน ธ์กั บสถาน ท่ีส่ิง แ วดล้อม แล ะ ภาพท่ี 4.18 นาวนิ ลาวลั ย์ชัยกลุ ท่ีมา : https://www.rcac84.com/ ม่งุ สมั พนั ธ์กับผู้ชมตลอดจนสารณชนท่ัวไป ซ่ึงเป็นแนวทาง portfolio_page /นาวนิ -ลาวัลย์ชัย ศลิ ปะทีน่ าวนิ ไดร้ ับความช่นื ชมอย่างมากในความสาเร็จของ กลุ รางว/.30 พฤศจิกายน 2561. ศิลปินทีส่ ามารถส่ือสารระหว่างผู้ชม ชุมชน และมีบทบาท เป็นนักวิจารณ์สังคมผ่านเร่ือง เล่าในผลงาน ตลอดจน การสร้างผลงานโดยสร้างนวัตกรรม ของผลงานร่วมกับชุมชนด้วยวิธีการต่างๆ ผลงานของนาวินจึงเป็นการต่อรองระหว่างอัตลักษณ์ ท้องถ่นิ เฉพาะท่ีกบั แรงแคลื่อนที่ของโลกาภิวัตน์ โดยใช้สื่อผสมในการจัดวาง เช่น ภาพยนตร์ การแสดงสด หอศิลป์เคลื่อนที่ ป้ายโฆษณาขนาดยักษ์ การ์ตูน เกม สินค้าและเคร่ืองด่ืม ฯลฯ นาวนิ ได้รบั รางวัลศิลปากร สาขาทศั นศิลป์ เมอ่ื ปี พ.ศ.2553 ภาพที่ 4.19 Lost in the City (details) ทม่ี า : Living with Art Intanate’s Collection : (น.148), โดย หสั ภพ ตง้ั มหาเมฆ, 2557.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 14 ผลงานศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ประจาปี 2556 ศลิ ปินแห่งชาติสาขาทศั นศลิ ป์ นายชว่ ง มูลพินิจ (จติ รกรรม) ผลงานของอาจารยช์ ่วง มูลพินิจ ในระยะแรก เปน็ ภาพวาดลายเส้นทมี่ ีความงดงามอ่อนช้อย เริ่มด้วย การเขยี นภาพลายเส้นประกอบในหนังสือสยามสมัย โดยการชกั ชวนจากปัญญาชนสยาม อาจารย์สุลักษณ์ ศิวรกั ษ์ หรือ \"ส.ศิวรักษ์\" และต่อมาได้เขียนภาพปก และภาพประกอบในหนังสือและนิตยสารต่างๆ เช่น ชอ่ ฟ้า ชาวกรุง เฟ่ืองนคร ทาให้มีชื่อเสียงเป็นท่ีรู้จัก ภาพท่ี 4.20 นายช่วง มูลพนิ ิจ ด้วยผลงานเขยี นลายเสน้ อิสระท่ีมีแบบฉบับเฉพาะตัว ทม่ี า : ศลิ ปินแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2556: นอกจากนี้ยงั มีผลงานออกแบบตวั หนังสือช่ือเร่ืองและ (น.24), โดย กระทรวงวฒั นธรรม , 2556. โปสเตอรภ์ าพยนตรไ์ ทยสว่ นใหญท่ ่เี ปน็ วรรณคดีหรือ เรือ่ งราวพื้นบา้ น เชน่ แผลเก่า เลือดสุพรรณ เพือ่ น-แพง ไกรทอง พระรถ-เมรี ซ่ึงเปน็ ผลงานที่เปน็ ที่รจู้ ักกนั ดีอีกประเภทหนงึ่ เม่อื ประมาณ 30-40 ปีก่อน เอกลักษณท์ ่โี ดดเด่นในงานศิลปะของอาจารย์ ช่วง มูลพินิจ คือความงามของลายเส้นหรือลายไทยที่ อ่อนช้อยผสมผสานเ ข้ากับศิลปะ สมัยใ หม่ได้อย่าง กลมกลืน งานศิลปะ ท่ีสร้างสรรค์ขึ้น แต่ละชิ้น ผนึก เร่ืองราวทางอุดมคติกับธรรมชาติ จนกระทั่ง ถึงนัยการ มองเห็นในวัฏสงสารของชีวติ และปรชั ญา ศาสนา เข้าไว้ ด้วยกันอย่าง งดง าม แน บเนียน ลง ตัว บาง คร้ัง ก็น า เร่อื งราวจากศาสนาและวรรณคดมี าสร้างจนิ ตนาการใหม่ ทาให้ผลงานศิลปะเหล่านน้ั มีรปู แบบหลากหลายจนยาก ภาพที่ 4.21 ไกช่ น / Fighting. ท่จี ะให้คาจากดั ความวา่ จัดอยู่ในประเภทใด แต่ท้ังหมด ทม่ี า : ศิลปนิ แหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2556: ล้วนมาจากรากฐาน ความคิดท่ีว่า ‚ธรรมชาติคือครูผู้ (น.42), โดย กระทรวงวฒั นธรรม , 2556. ยิ่ง ใ หญ่ ‛ เ ป็น แรง บันดาลใ จใ นการทาง านตลอด ระยะเวลาราว 50 ปี หลังจบจากมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยเป็นลกู ศษิ ยข์ องศาสตราจารย์ ศลิ ป์ พรี ะศรี

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 15 ภาพที่ 4.22 แมงกะพรุน / Jelly Fish. ภาพที่ 4.23 ฝันกลางวนั ทม่ี า : ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช 2556: ที่มา : ศิลปินแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช 2556: (น.46), โดย กระทรวงวัฒนธรรม , 2556. (น.50), โดย กระทรวงวัฒนธรรม , 2556. ศลิ ปินแห่งชาติสาขาทศั นศลิ ป์ นายธรี พล นยิ ม (สถาปตั ยกรรม) นายธรี พล นยิ ม จึงได้รับการยกย่องเชิดชู เ กียรติเ ป็ น ศิลปิน แห่ ง ช าติ สา ขาทัศน ศิล ป์ (สถาปัตยกรรม) พุทธศักราช 2556 นายธีรพล นิยม ปัจจุบัน อายุ 63 ปี เกิด วันท่ี 17 พฤษภาคม 2494 ท่ีจังหวัดพังงา สาเร็จ การศึกษาปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬ า ลง กรณ์ มห าวิท ยา ลัย แล ะ ปริ ญญ าโ ท การ พัฒ น า ชุ มช น แ ละ ช น บ ท จาก สถ าบั น ภาพที่ 4.24 นายธีรพล นยิ ม เทคโนโลยีเอเ ชีย กรุง เทพมห านคร โดยได้รับ ที่มา : ศลิ ปินแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2556: ทนุ การศกึ ษาจากรฐั บาลประเทศเยอรมัน หลังจาก (น.52), โดย กระทรวงวัฒนธรรม , 2556. สาเร็จการศึกษา ได้เป็นผู้นาในการก่อตั้งบริษัท แปลน

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 16 ภาพที่ 4.25 สัปปายะสภาสถาน - รัฐสภาแหง่ ใหม่ รางวลั ชนะเลศิ การออกแบบรัฐสภาแห่งใหม่ ทีม่ า : ศลิ ปินแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช 2556: (น.84), โดย กระทรวงวัฒนธรรม , 2556. นายธรี พล นิยม ได้สร้างสรรค์ผลงานสถาปัตยกรรมของตนเองอย่างต่อเนื่อง ด้วยการ สเก๊ตซภ์ าพจากทีจ่ ริง ได้ฝึกสมาธิ ซึมซับพลังจากธรรมชาติ และรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม ต่าง ๆ จากการเดนิ ทางท่องเทยี่ วและการพบปะเรยี นรจู้ ากปราชญ์ทอ้ งถน่ิ ท้งั ในประเทศและ ต่างประเทศ ทาใหไ้ ดซ้ ึมซับวถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม ภูมปิ ัญญา อารยธรรม ประสบการณ์ท่ีได้สัมผัสจึงก่อ เกดิ การสร้างงานสถาปัตยกรรมท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีดี ให้สัมพันธ์ภาพระหว่างเพ่ือนมนุษย์ ความเขม้ แขง็ ของวฒั นธรรมองค์กร สังคม ด้วยการรณรงค์ให้เจ้าของโครงการเพ่ิมพื้นที่สาธารณะ หรอื กง่ึ สาธารณะขน้ึ ภายในโครงการต่าง ๆ หรอื สร้างงานสถาปัตยกรรมโดยคานึงสภาพแวดล้อม ภมู ิปัญญาท้องถิ่น เกบ็ รกั ษาสภาพแวดลอ้ มและต้นไมเ้ ดิมในพน้ื ทไ่ี ว้ใหธ้ รรมชาติ ภาพท่ี 4.26 บ้านต้นสน รางวัล ARCASIA Award for Architecture Winner 1994 ท่มี า : ศลิ ปนิ แห่งชาติ พุทธศักราช 2556: (น.62), โดย กระทรวงวฒั นธรรม , 2556.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 17 ผลงานศิลปนิ แหง่ ชาติสาขาทัศนศิลป์ ประจาปี 2558 นายกฤษฎา โรจนกร (สถาปัตยกรรม) น าย กฤษ ฎ า โรจ น กร ปั จจุบั น อา ยุ 68 ปี เ กิด เ ม่ือ วัน ที่ 10 กัน ย ายน พ . ศ. 2490 ท่ีกรุงเทพมหานคร สาเร็จการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศญี่ปนุ่ (ทุนรฐั บาลญีป่ ุน่ ) นายกฤษฎา โรจนกร เป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถอย่าง สูง ย่ิง ใน การออกแบบงาน สถาปัตยกรรมหลากหลายประการ ประกอบกับ มีผลงานออกแบบใ น ห ลา กห ลา ยปร ะ เ ทศ ใ น แ ถบ ภูมภิ าค เอเชีย เชน่ โรงแรมแกรนด์หลวงพระบาง ภาพที่ 4.27 นายกฤษฎา โรจนกร ประเทศลาว และรีสอร์ทซิกส์เซนส์ นิน วัน เบย์ ท่ีมา : ศิลปินแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2558: ประเทศ เวยี ดนาม เปน็ ตน้ จึงทาใหม้ องเห็นมุมมอง (น.24), โดย กระทรวงวฒั นธรรม , 2558 สภ าพ แว ดล้อม ส ถาปัตย กรรมพื้น ถ่ิน แล ะ สถาปัตยกรรม รว่ มสมัยอยา่ งชดั เจน มผี ลงานออกแบบในรปู แบบและรายละเอียด เทคนิคการก่อสร้างเข้ากับยุคสมัย สภาพสังคม และสงั คมโลกท่เี ปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีพล วตั ร มคี วามสอดคลอ้ งกลมกลืนกับบริบท และ สภาพแวดล้อมพ้ืนถิ่น นาความดีงามในอดีต รากเหง้าทางวฒั นธรรมมาต่อยอด เข้ากับสภาพ ภาพท่ี 4.28 รสี อร์ท ซิกสเ์ ซนส์ นนิ วนั เบย์ วิถี ชี วิต คว า มเ ป็ น อ ยู่ ใ น ปั จจุ บั น แ ล ะ รางวลั Hotteln of the Year ปี 2549 จาก Tatler U.K. ประยุกต์ใชใ้ นการออกแบบตอ่ ไปในอนาคต ทม่ี า : ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2558: (น.32), โดย กระทรวงวัฒนธรรม , 2558

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 18 ศาสตราจารยว์ ิชยั สิทธิรตั น์ (ประติมากรรม) ศาสตราจารย์วิชัย สิทธิรัตน์ ปัจจุบัน อายุ 68 ปีเกดิ เม่ือวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.2490 ที่จัง หวัดน ครพ นม สาเ ร็จการศึกษาระ ดับ ป ริ ญ ญ า ต รี แ ล ะ ป ริ ญ ญ า โ ท ใ น ส า ข า ป ร ะ ติ ม า ก ร ร ม จ า ก ค ณ ะ จิ ต ร ก ร ร ม ภาพท่ี 4.29 ศาสตราจารย์วิชยั สิทธิรตั น์ ประติมากรรมและภ าพพิมพ์ มห าวิทยาลัย ทีม่ า : ศลิ ปินแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2558: , ศลิ ปากร เข้ารบั ราชการเป็นอาจารย์ สอนศิลปะ ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร มาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2515 โดย กระทรวงวัฒนธรรม , 2558 ศาสตราจารยว์ ชิ ัย สิทธริ ตั น์เม่อื เริ่มตน้ ศกึ ษาศิลปะจะค้นคว้าสรา้ งผลงานจากแรงบันดาลใจ ในธรรมชาตทิ ั้งภาพคน สตั วท์ วิ ทัศน์และสิง่ แวดลอ้ มอนื่ ๆ โดยมีความเช่ือว่าธรรมชาติเป็นบ่อเกิด ของความงามทนี่ าไปสคู่ วามสมั พันธก์ บั วิถชี ีวิตในท่สี ุด จากรูปแบบแนวเหมือนจริง ค่อย ๆ พัฒนา ผลงานไปสู่ลักษณะก่ึง นามธรรม และก้าวสู่รูปแบบนามธรรมในท่ีสุด ผลงาน ในช่วงแรก สรา้ งสรรค์ ประติมากรรมตามแนวทาง Academic ใช้เทคนิคการสร้างด้วยปูนปลาสเตอร์ไม้และ แผ่นเหล็ก มาเชอ่ื มกนั ต่อมาสนใจปรัชญาและคาสอนในพระพุทธศาสนา ท่ีกล่าวถึงชีวิตท่ีไม่ยืน นาน มีการ เปลี่ยนแปลงไปไม่สิน้ สุด จากส่งิ ท่ีมกี ลายเปน็ ไม่มีวนเวียนอยู่เช่นนี้ภายในร่างกายและ จิตใจ ใช้เทคนิค การสรา้ งสรรคผ์ ลงานโดยใช้ส่อื ต่าง ๆ เขา้ มาเป็นองคป์ ระกอบ เช่น การใช้วีดีทัศน์ แสง เสียง เข้ามา ผสมกบั ประติมากรรม ศาสตราจารย์วิชัย สิทธิรัตน์มีความสามารถ เป็นท่ียอมรับ ในวงการประตมิ ากรรม ท้ังในระดับชาตแิ ละนานาชาติ ภาพที่ 4.30 จิตถงึ จิต ธรรมถงึ ธรรม ภาพท่ี 4.31 ระฆงั ทิพย์ ท่ีมา : ศิลปนิ แห่งชาติ พุทธศกั ราช 2558: (น.55), ท่ีมา : ศลิ ปินแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2558: โดย กระทรวงวัฒนธรรม , 2558 (น.57), โดย กระทรวงวัฒนธรรม , 2558

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 19 ผลงานศลิ ปนิ รนุ่ ใหมท่ ี่โดดเด่นจากการประกวด วถิ ี พุทธ ล้านนา 25 ตุลาคม – 25 พฤศจกิ ายน 2555 รางวัลท่ี 1นายทรงวฒุ ิ ขาววเิ ศษ ผลงาน ‚ชวี ิตยายในลา้ นนา‛ (ดาหัวป๋ใี หม่เมอื ง) แนวความคดิ การดาหวั หรอื สระผม หมายถึงการชาระล้างสง่ิ อัปมงคลในชีวิต แสดงออกถึง ความเคารพ นับถอื กตัญํูกตเวที ต่อผู้มีพระคุณ รวมท่ังขออโหสิกรรมส่ิงท่ีได้ล่วงเกินญาติใหญ่ ครูบาอาจารย์ ฯลฯ และเป็นประเพณีท่ีดงี ามของชาวพทุ ธในล้านนา ภาพท่ี 4.32 ชวี ติ ยายในล้านนา (ดาหวั ปใี๋ หมเ่ มือง) ที่มา : วถิ ี พทุ ะ ลา้ นนา. รางวัลท่ี 1. นทิ รรศการศิลปกรรม ART EXHIBITION. 2555.

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 20 รางวัลท่ี 2 นายสวุ ิน มักได้ ผลงาน ‚สลากย้อม วัดหลวงหละปูน‛ แนวความคิดประเพณีตานกว๋ ยสลาก เป็นประเพณขี องชาวพุทธล้านนา แห่ตานสลากหลวง หรือสลากย้อม ทเี่ หลืออยมู่ แี ห่งเดยี วของล้านนาคือท่ีจังหวัดลาพูน เป็นประเพณีที่มีความงดงาม ทางวฒั นธรรมแฝงซง่ึ คติธรรมความศรัทธาตอ่ พระพุทธศาสนา สลากยอ้ มมีความงดงามในแง่ศิลปะ จงึ เป็นแรงบันดาลใจในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ในหวั ข้อ วถิ พี ุทธลา้ นนา ภาพที่ 4.33 สลากยอ้ ม วัดหลวงหละปูน ทม่ี า : วถิ ี พทุ ะ ล้านนา. รางวลั ท่ี 2. นิทรรศการศลิ ปกรรม ART EXHIBITION. 2555.

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 21 รางวัลท่ี 3 นายทศพร หงส์มณี ผลงาน ‚ฮอมบญุ ‛ แนวความคิด พธิ กี ารสืบชะตาให้แก่เมือง เป็นพิธีกรรมอันเก่าแก่และศักด์ิสิทธ์ิของชาว ล้านนาเปน็ การแสดงถงึ ความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง และร่วมทาบุญให้แก่เมืองไปพร้อมกัน ขา้ พเจ้าไดม้ ีโอกาสสัมผัสในบรรยากาศและมีความประทับใจใน เส้น สี และ รูปทรงของวัตถุ จึงถา่ ยทอดออกมาตามอารมณ์และแนวทางทเ่ี ป็นของตัวเอง ภาพท่ี 4.34 ฮอมบญุ ท่มี า : วถิ ี พุทะ ล้านนา. รางวลั ท่ี 3. นิทรรศการศิลปกรรม ART EXHIBITION. 2555.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 22 ศิลปนิ ที่สงั คมไทย ไมย่ อมรบั วสันต์ สทิ ธิเขตต์ เกดิ เมื่อ 7 ตลุ าคม 2500 เป็นคน นครสวรรค์ รางวัลที่ไดร้ ับ รางวัลศลิ ปาธร ประจาปี พ.ศ. 2550 สาขาทศั นศลิ ป์ เปน็ ท่รี ู้จัก เรอ่ื ง จติ รกรรม ประตมิ ากรรม ศลิ ปะการแสดง วสนั ต์ สทิ ธิเขตต์ ศิลปนิ และนัก เคล่ือนไหวทางสงั คม ศิลปะแนวเซก็ ส์ ของ วสนั ต์ เน้นการหยิบยกประเดน็ ทางสังคมมา ภาพที่ 4.35 วสันต์ สิทธิเขตต์ เผยแพรส่ ู่สาธารณชนแบบตรงไปตรงมา เพ่อื ท่มี า : Living with Art Intanate’s Collection , กระตนุ้ ใหป้ ระชาชนเกิดการคดิ วิเคราะหแ์ ละ โดย หสั ภพ ตัง้ มหาเมฆ, 2557. นาไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หา เปน็ ทร่ี ู้กันดีวา่ ผลงาน ในลกั ษณะนมี้ ักจะไมค่ อ่ ยจัดแสดงในไทยเท่าไรนัก เนือ่ งจากไปขัดกบั ประเพณอี นั ดีงามทางสงั คม ซึง่ มักจะถูกมองว่า เปน็ การอนาจารเสยี มากกวา่ รวมถึงไม่ไดร้ ับการสนบั สนนุ ทด่ี ีจากภาครฐั อย่างไรก็ตาม ความชดั เจนของแนวทางการทางานศิลปะ ทาให้ วสนั ต์ สทิ ธเิ ขตต์ ไดร้ ับ รางวัลทางศลิ ปะระดับชาติและนานาชาติ อาทเิ ช่น รางวลั กวีโลก จากสภากวโี ลก (International poet Academy of India), รางวัลศลิ ปินเพอ่ื สนั ติภาพและความเป็นธรรม (มนสั เศียรสงิ ห์) และเขา ยงั เป็น 1 ในศลิ ปินร่วมสมัย ผไู้ ด้รบั รางวัล ‚ศลิ ปาธร‛ สาขาทศั นศลิ ป์ ประจาปี 2550 ภาพท่ี 4.36 หมารบั ใชว้ นั นี้ ภาพที่ 4.37 โลกร้อน 1 ทีม่ า : https://www.brandbuffet.in.th/2018/03/ ท่ีมา : Living with Art Intanate’s Collection : i-am-you-exhibition/. 30 ตลุ าคม 2561. (น.279), โดย หสั ภพ ตั้งมหาเมฆ, 2557.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 23 อนพุ งษ์ จนั ทร เ กิด เ มื่อ วัน ที่ 15 มี น า คม 2523 สา เ ร็ จ การศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโท สาขา ศิลปะ ไทย จา กคณะ จิตรกรร มประ ติมากรร ม และภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร อนุพงษ์เปน็ ศลิ ปนิ ท่มี ีแนวทางการ ภาพท่ี 4.38 อนุพงษ์ จนั ทร สร้างสรรคผ์ ลงานแนวจติ รกรรมไทยประเพณี โดยมี ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki ความคดิ เกี่ยวข้องกับหลกั ปรชั ญาและคาสอนใน / อนพุ งษ์_จนั ทร. 30 ตุลาคม 2561. พระพุทธศาสนา มีรูปแบบการสร้างงานท่แี บ่งไว้ดว้ ย รูปทรงเสน้ ลายสสี ันอันเปน็ เอกลักษณ์ของความเป็นไทย และมคี วามโดดเดน่ จากการใช้นาจีวรมา ขึงเปน็ พ้ืนภาพในงานจติ รกรรม อย่างไรก็ตาม หัวข้อหลักทเ่ี ขานามาเป็นแรงบันดาลใจในการ สรา้ งสรรค์ผลงานมักปรากฏออกมา ในแง่ของความมดื บาป ความประพฤติมิชอบ และจินตนาการ เกยี่ วกับนรกภูมิ ผลงานท่สี รา้ งชอ่ื เสยี งใหก้ ับเขาเปน็ อยา่ งมากคอื ภาพ “ภิกษุสันดานกา” ซึง่ ไดร้ ับ รางวัลประกาศนยี บัตรเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรยี ญทอง จากการแสดงศลิ ปกรรมแห่ชาติ คร้งั ท่ี 53 จนเกดิ กระแสวพิ ากษว์ ิจารณ์ในสังคมเปน็ วงกว้าง อนพุ งษไ์ ดร้ ับการยกย่องเปน็ ศลิ ปินชั้นเย่ยี ม สาขาจิตรกรรม เม่ือปี พ.ศ.2551 ปจั จบุ นั ดารงตาแหนง่ อาจารย์ประจาภาควชิ าวิจติ รศลิ ป์ คณะ สถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั ภาพท่ี 4.39 กน้ บาตร ภาพท่ี 4.40 กอ้ นแหง่ ความทกุ ข์ ทม่ี า : Living with Art Intanate’s Collection : ทมี่ า : Living with Art Intanate’s Collection (น.23), โดย หัสภพ ต้งั มหาเมฆ, 2557. : (น.28), โดย หสั ภพ ตงั้ มหาเมฆ, 2557.

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 24 ภาพภิกษุสันดานกา ของ อนุพ ง ษ์ ภาพที่ 4.41 ภกิ ษสุ ันดานกา มีปัญหาต่อกลุ่มพระ สงฆ์กลุ่มหน่ึงนาโดย ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki พระมหาโชว์ ทัศนีโย แกนนาสมัชชาชาว / อนพุ งษ์_จนั ทร. 30 ตลุ าคม 2561. พทุ ธแหง่ ชาติ ซึ่งกล่าววา่ เปน็ การดูหม่ินสงฆ์ โดยภ าพ ที่แสดง พ ระ ภิกษุ 2 รูปห ลับตา เ อ า ศี รษ ะ ช น กัน แ ล ะ มี ป า ก เ ป็ น ป า ก ของกา นอกจากน้ียัง มีรอยสักเ ต็มตัว และ แ สดง กิ ริ ย า แ ย่ ง สา ย สิ ญ จน์ กั บต ะ กรุ ดท่ี อ ยู่ ใ น บ าตร ส่วน ลาย สักเ ป็น รู ปกบ กาลั ง ผสมพนั ธุ์ และตุ๊กแกกาลังผสมพนั ธ์ุกัน

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 25 ผลงานทัศนศลิ ป์ศิลปินระดับโลก 1. เลโอนาร์โด ดา วนิ ชี (Leonardo da Vinci) ดา วินชี เปน็ ศิลปนิ ผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่ง ยุคเรอเน สซอง ส์ เ กิดท่ีหมู่บ้าน Vinci ใกล้เมือง ฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี เม่ือปี 1452 เขาเติบโตและ เรียนศิลปะทบี่ ้านเกิดจนมอี ายไุ ด้ 20 ปีจึงได้เป็นศิลปิน มอื อาชีพอย่างเต็มตวั ภาพท่ี 4.42 Leonardo da Vinci ท่มี า : https://www.takieng.com/ stories/4132. 30 พฤศจิกายน 2561 ผลงาน The Last Supper, Virgin of the Rocks, Lady with an Ermine และ Vitruvian Man เป็น ภาพที่ 4.43 The Last Supper ห น่ึง ใ น บรรดา ภ าพ สเ ก็ตช์อั น ลือลั่น ซ่ึง เ ป็ น ท่มี า : https://www.takieng.com/stories/4132. ความ สาม ารถ ท่ีโด ดเ ด่น เ ป็น เ อก ลักษ ณ์ 30 พฤศจกิ ายน 2561. เฉพาะตัว ยากจะมใี ครเทยี บได้ ปี 1503 ดา วินชี ไดส้ รา้ งผลงานภาพเขียนท่ี มีชือ่ เสียงมากที่สุดในโลก ‘Mona Lisa’ เขาใช้เวลา ในการเขยี นภาพสดุ พเิ ศษนีน้ านหลายปี ในปี 1515 ดา วินชี เดนิ ทางไปกรงุ ปารีสเพ่ือรับตาแหน่งจิตรกร เอกและวศิ วกรของราชสานักฝรั่งเศส พร้อมกับห้ิว ภาพสุดรักสดุ หวงท่ยี ังไม่เสร็จสมบูรณ์ไปด้วย แล้ว ไมไ่ ด้กลับมาที่อติ าลีอีกเลย ภาพท่ี 4.44 Mona Lisa ดา วินชี เสียชวี ติ ในปี 1519 มีอายุรวม 67 ปี ท่มี า : https://www.takieng.com/stories/ ทงิ้ ผลงานชั้นยอดไว้มากมายท้ังผลงานด้านศิลปะ 4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. และดา้ นวิทยาศาสตร์ ดา วินชี ได้รับการยกย่องว่า เปน็ ผู้รอบรู้ เชี่ยวชาญในศาสตร์ต่างๆเกือบทุกสาขา เปน็ ศิลปินเอก นกั วิทยาศาสตร์ นักประดษิ ฐ์ ฯลฯ เขาคือ ‘บุรุษแหง่ ยคุ เรอเนสซองส์’ อยา่ งแทจ้ รงิ

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 26 2. ปาโบล ปกี ัสโซ (Pablo Picasso) ปีกัสโซ เป็นผู้ทรงอิทธิพลแห่งศิลปะ สมัยใ ห ม่ เ กิดเ มื่อปี 1881 ที่เ มือง มาลาก า ประเทศสเปน ผลงานของปีกัสโซมีพัฒนาการ เปล่ียนแปลงตามห้วง เวลาใ นช่วง ชีวิตและ แน วคิดใ นการสร้างสรรค์ ช่วง แรกเรียกว่า ยุคสีน้าเงนิ (Blue Period) ใช้สีฟ้ากับฟ้าอมเขียว เปน็ หลกั ภาพออกมาในโทนหม่นหมองเศร้าซึม ภาพที่ 4.45 Les Demoiselles d’Avignon ภาพท่ีโดดเด่นในยุคนี้ได้แก่ The Old Guitarist ที่มา : https://www.takieng.com/stories/ และ La Vie ถัดมาเป็นยุคสีชมพู (Rose Period) 4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. ภาพจะมสี สี นั สดใสมากขึน้ ดว้ ยสีสม้ และสีชมพู มักจะมีลายข้าวหลามตัดและนักแสดงละครสัตว์ เปน็ สว่ นประกอบ ภาพเดน่ ยคุ น้คี ือ Boy with a Pipe และ Family of Saltimbanques ปี 1907 ปกี สั โซไดเ้ ปล่ียนสไตล์ดว้ ยการเขยี นภาพ Les Demoiselles d’Avignon ท่ีไดร้ ับ อทิ ธิพลจากศลิ ปะแอฟริกา ซ่ึงนาไปสกู่ ารสร้างสรรคง์ านศลิ ปะสมัยใหมใ่ นยคุ ต่อมาคือศลิ ปะแบบ ควิ บิสม์ (Cubism) ปกี สั โซได้เขยี นภาพเขียนทีม่ ีชอ่ื เสยี งมากที่สดุ ของเขา ‘Guernica’ ซ่งึ นาเสนอ ภาพสญั ลกั ษณท์ สี่ ะทอ้ นความโหดร้ายและความเจ็บปวดทุกข์ทรมานอันเปน็ ผลพวงจากสงคราม ปีกสั โซไดร้ ับการยกย่องให้เป็นศลิ ปินเอกของโลกต้ังแตย่ งั มชี วี ิตอยู่ มโี อกาสได้ชื่นชมกบั ความสาเร็จของตัวเอง ได้ใชช้ วี ติ ทีร่ ่ารวยหรหู รา ไม่ไดเ้ ปน็ ศิลปินไส้แห้งแบบคนอน่ื ปกี สั โซ เสยี ชวี ิตในปี 1973 ดว้ ยวยั 91 ปี เป็นผทู้ ีไ่ ด้รบั การยกย่องใหเ้ ปน็ ศิลปินท่ีมีพรสวรรค์ในการ สร้างสรรค์มากที่สุดในศตวรรษที่ 20 ภาพที่ 4.46 Guernica ท่ีมา : https://www.takieng.com/stories/4132. 30 พฤศจิกายน 2561.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 27 3. ไมเคลิ แอนเจโล (Michelangelo) ไมเคลิ แอนเจโล เปน็ ทั้งจติ รกร ประติมากร และ สถาปนิก เ ป็นศิลปินผู้ยิ่งให ญ่แห่ง ยุคเรอเนสซอง ส์ ทัดเทียมกับเลโอนาร์โด ดา วินชี เขาเกิดเม่ือปี 1475 ที่ เมืองอาเรซโซ ประเทศอติ าลี อายุ 15 ปกี ็เร่ิมมีผลงานด้าน ประติมากรรม ปี 1497 เดินทางไปทางานท่ีกรุงโรม และ เมือ่ อายุ 24 ปี ไมเคิลแอนเจโลไดส้ ร้างงานประติมากรรม ภาพที่ 4.47 Michelangelo ชิ้นสาคญั ของโลกคือ Pietà เขากลับมาที่ฟลอเรนซ์ในปี ทีม่ า : https://www.takieng.com/ 1499 คราวน้ีเขามีโอกาสทางานช้ินสาคัญท่ีค้างเต่ิงมา stories/4132. 30 พฤศจิกายน 256 เกอื บ 40 ปคี อื งานแกะสลักรปู เดวดิ (David) เขารับงานนีต้ อนอายุ 26 ปี ใช้เวลากว่า 2 ปีจึงแล้วเสร็จ และกลายเป็นผลงานที่มีช่อื เสียงมากทีส่ ุดของเขา ระหว่างเวลาช่วงนี้ไมเคิลแอนเจโลยังได้สร้าง ผลงานอกี หลายชนิ้ รวมท้งั ภาพเขียน Doni Tondo และ Manchester Madonnaม ปี 1505 รบั งานสร้างสสุ านของพระสนั ตะปาปา Pope Julius II ซึ่งมีผลงานรปู แกะสลกั Moses และ Dying Slave รวมอยู่ด้วย และในระหวา่ งน้เี องเขากไ็ ดส้ ร้างผลงานสาคญั ยิ่งใหญอ่ ีกชิ้น หนงึ่ คือภาพเขียนบนเพดานโบสถน์ อ้ ยซิสตนิ (Sistine Chapel Ceiling) บนพ้ืนทก่ี วา่ 500 ตรม. ประกอบดว้ ยภาพกวา่ 300 ภาพ และหน่ึงในนัน้ เป็นภาพเขยี นทีม่ ชี ่อื เสยี งที่สุดของเขาคือ The Creation of Adam เขาได้รบั งานใหญช่ ิ้นสดุ ทา้ ยคอื การออกแบบมหาวิหารเซนต์ปีเตอรท์ ่ีมีโดมใหญ่ เด่นสงา่ เป็นสญั ลักษณ์ เขาเสียชีวติ ในปี 1564 ดว้ ยวยั 88 ปี ก่อนท่โี ดมจะสร้างเสร็จ ภาพท่ี 4.48 Creation of Adam ภาพท่ี 4.49 David ท่มี า : https://www.takieng.com/stories/ ท่ีมา : https://www.takieng.com/stories/ 4132. 30 พฤศจิกายน 2561. 4132. 30 พฤศจิกายน 2561.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 28 4. วินเซนต์ แวนโกะ๊ (Vincent van Gogh) แวนโกะ๊ เป็นหนึ่งในศิลปินท่ีมีช่ือเสียงและ มี อิ ทธิ พ ลมา กที่ สุ ดใ น ปร ะ วั ติ ศ า สตร์ ศิ ลปะ ตะ วั น ต ก ผลงานของเขาโดดเด่นด้วยความงดงาม เต็มไปด้วย อารมณค์ วามร้สู กึ และมีสีสันสดใส แต่ชีวิตจริงของเขา กลบั หมน่ หมองทกุ ข์ระทม เขาต้องทางานหลายอย่าง ตัง้ แต่เปน็ วัยรุน่ แต่ไมเ่ คยประสบความสาเร็จ ก่อนที่จะ ภาพท่ี 4.50 Vincent van Gogh หนั มาสนใจและเรมิ่ ต้นเขียนภาพในวัย 27 ปี และในปี ทมี่ า : https://www.takieng.com/ 1885 เขากม็ ีผลงานสาคญั ชน้ิ แรกคือ The Potato Eaters stories/4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. ปี 1886 แวนโกะ๊ ย้ายไปอยู่ท่ีกรุงปารีสที่ซึ่งเขา ไดเ้ รียนรเู้ ทคนิคและแนวทางใหม่ในการเขียนภาพ ได้ พบกับศิลปินหลายคนรวมทั้งปอล โกแก็ง เขาได้พัฒนา ฝี มื อ ใ น ก า ร เ ขี ย น ภ า พ แ ล ะ ส ร้ า ง แ น ว ท า ง ของตัวเองที่มีสีสันสดใสขึ้น ผลงานที่มีช่ือเสียง เช่น ภาพที่ 4.51 The Starry Night Sunflowers, Café Terrace at Night, Irises รวมทั้งผลงาน ท่มี า : https://www.takieng.com/stories/ ท่มี ีชอ่ื เสยี งมากท่สี ุดของเขา The Starry Night 4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. แวน โก๊ะต้องทนทุกข์กับความเ จ็บป่วยและ อาการโรคจติ ผิดปกติ จนในทสี่ ดุ เขาก็จบชีวิตด้วยการ ยิงตวั เองเมอ่ื ปี 1890 ดว้ ยวยั เพยี งแค่ 37 ปี แต่ในช่วงเวลา เพียง 10 ปขี องการเปน็ จติ รกร เขามีผลงานภาพเขียนกว่า 800 ภาพ จากฝแี ปรงที่หยาบและหนาไมเ่ หมือนใครกลับ ถา่ ยทอดอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างยอดเยี่ยม กลายเป็น ภาพที่ 4.52 Sunflowers เอกลกั ษณท์ โ่ี ดดเดน่ หลงั จากเขาเสยี ชีวิตภาพเขียน ท่ีมา : https://www.takieng.com/stories/ ของเขากลับโดง่ ดังเป็นท่ีต้องการ แต่ละภาพถูกซ้ือขาย ด้วยราคาท่ีแพงลบิ ลวิ่ 4132. 30 พฤศจิกายน 2561.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 29 5. แรมบรนั ต์ (Rembrandt) แร ม บ รั น ต์ เ ป็ น ทั้ ง จิ ต รก ร ช่ า ง พิ ม พ์ และช่างเขยี นแบบ เป็นศิลปินผู้ย่ิงใหญ่อีกคนหน่ึงใน ประวัติศาสตร์ศิลปะ ผลงาน ของเ ขามีส่วน ทาใ ห้ เนเ ธอร์แลนด์เข้าสู่ยุคทอง ท่ีรุ่งเ รืองสุดขีดใน ช่วง ศตวรรษที่ 17 แรมบรันต์ ศึกษาและเรียนศิลปะที่บ้าน เกิดจนอายุได้ 19 ปี จึงไปเรียนศิลปะที่อัมสเตอร์ดัม ภาพท่ี 4.53 Rembrandt ช่วง ส้ัน ๆกับศิลปิน ดัง ยุคนั้น แล้วกลับมาทาง าน ทม่ี า : https://www.takieng.com/ เป็นศิลปินท่บี า้ นเกิด เขามชี ือ่ เสียงตง้ั แต่วยั เยาว์ stories/4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. ปี 1632 แ รม บ รั น ต์ ย้ า ย ไป ปั ก ห ลั ก อ ยู่ ท่ี อัมสเตอร์ดมั แต่งงานและมสี ตดู ิโอของตวั เอง สร้างผลงานช้ันยอดมากมายที่นี่ เช่น The Anatomy Lesson of Dr. Nicolaes Tulp, Danaë และ The Night Watch ทีเ่ ป็นผลงานท่โี ดง่ ดังทีส่ ุดของเขา ผลงานของแรมบรันต์มเี อกลกั ษณโ์ ดดเด่นในเรอ่ื งแสงและเงา ท่ีทาให้ภาพสวยงามดูมีมิติ สามารถ บอกระยะตน้ื ลึกของภาพไดเ้ สมอื นจริง เปน็ ทีย่ อมรบั ของนกั วิทยาศาสตร์และนกั ศิลปะศาสตร์ จนนาช่อื ของเขามาใชเ้ ป็นหนงึ่ ในประเภทของการจัดแสงถ่ายภาพคอื Rembrandt Lighting ภาพที่ 4.54 The Night Watch ภาพที่ 4.55 Danaë ท่มี า : https://www.takieng.com/stories/ ท่ีมา : https://www.takieng.com/stories/ 4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. 4132. 30 พฤศจิกายน 2561.

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรับนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 30 6. โกลด มอแน (Claude Monet) มอแน เป็นผู้รเิ ร่มิ ศิลปะอิมเพรสชั่นนิสม์ เป็น จิตรกรคนสาคัญของฝรง่ั เศสในศตวรรษท่ี 19 ถึง 20 เขา เกดิ ทก่ี รุงปารีสเม่อื ปี 1840 มอแน กับเ พ่ือน ห ลายคนช่วยกัน ผลักดัน ภาพเขียนแนวใหมจ่ นได้จัดแสดงนิทรรศการคร้ังแรก ภาพท่ี 4.56 Claude Monet ในกรุง ปารีสเ มื่อปี 1874 มอแนใ ช้ภาพ ‘Impression, ทม่ี า : https://www.takieng.com/ Sunrise’ เปน็ ภาพหน่งึ ในการจดั แสดงซ่ึงต่อมาชื่อภาพ stories/4132. 30 พฤศจิกายน 2561. ถูกนาไปใช้เรยี กศิลปะแนวใหม่วา่ อิมเพรสชนั นิสม์ แต่ถูกตอ่ ตา้ นจากกลุ่มนยิ มศลิ ปะด้งั เดิม ภาพที่ 4.57 Woman with a Parasol – Madame ภาพที่ 4.58 Water Lilies Monet and Her Son ทม่ี า : https://www.takieng.com/stories ทมี่ า : https://www.takieng.com/stories/ /4132. 30 พฤศจิกายน 2561. 4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. ปี 1883 มอแนย้ายไปอยูท่ ีเ่ มืองจิแวรน์ ีย์ ในนอรม์ ็องดี และทาสวนดอกไม้ขนาดใหญ่ ใช้ เปน็ สถานทีเ่ ขยี นภาพไปตลอดจนถงึ ป้ันปลายของชีวติ ภาพชดุ Water Lilies ท่มี ีชื่อเสยี งมากทีส่ ดุ ของเขา เขยี นจากสวนหลงั บา้ นของเขาเอง ชว่ งหลงั มอแนนยิ มเขียนภาพชดุ ทมี่ อี งคป์ ระกอบ เดียวกันแต่ต่างมุมมอง ต่างเวลา ต่างสภาวะอากาศและแสงสี เกิดเปน็ ภาพชุดทม่ี ีชอ่ื เสยี งโดง่ ดงั มากมาย เชน่ ชดุ Rouen Cathedral, ชดุ Poplars, ชุด Haystacks มอแนเสียชวี ิตเมือ่ ปี 1926 ด้วยวัย 86 ปี ท้ิงผลงานให้ผ้คู นไดช้ น่ื ชมด้วยความ ‘ประทบั ใจ’ มากมาย

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 31 7. ปแี ยร์-โอกสุ ต์ เรอนวั ร์ (Pierre-Auguste Renoir) เรอนัวรเ์ ป็นหนง่ึ ในผสู้ ร้างศลิ ปะอิมเพรสชั่นนิสม์ ทีใ่ ห้ความสาคัญของการใช้สสี นั สะท้อนอารมณ์ความรู้สึก มากกวา่ ใหร้ ายละเอียดที่เหมือนจรงิ งานของเรอนัวร์จะใช้ สสี ดใสมีชวี ิตชวี า เนน้ ความสวยงามและเสน่ห์ของผู้หญิง เรอนวั ร์เกิดในปี 1841 ท่ีเมือง Limoges ประเทศฝร่ังเศส ภาพท่ี 4.59 Pierre-Auguste Renoir เขาไดร้ ับแรงบันดาลใจในการเขียนภาพจากศิลปินรุ่นพ่ี ทมี่ า : https://www.takieng.com/ หลายคนรวมท้งั เอดัวร์ มาแน stories/4132. 30 พฤศจิกายน 2561 เรอนัวรม์ ีผลงานเข้ารว่ มในนทิ รรศการ ศลิ ปะอิมเพรสชั่นนสิ มห์ ลายครง้ั โดยเฉพาะครง้ั ที่ 3 ในปี 1877 ทเ่ี ขาสง่ Dance at Le Moulin de la Galette ภาพเขียนทีโ่ ดง่ ดงั ทีส่ ุดของเขาเข้าร่วม ภาพท่ี 4.60 Dance at Le Moulin de la Galette ด้วย แต่เขามาประสบความสาเร็จกลายเปน็ ท่มี า : https://www.takieng.com/stories/ ศิลปินยอดนยิ มดว้ ยภาพ Madame Georges 4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. Charpentier and Her Children ราวปี 1892 เรอนัวรเ์ ปน็ โรคข้ออกั เสบรูมาตอยด์ สิง่ ทปี่ ลอบประโลมใจเขาในปั้นปลายของ ชวี ิตคอื การไดก้ ลับไปที่พิพิธภัณฑล์ ฟู วรเ์ พ่ือดภู าพเขียนของเขาเองท่แี ขวนเคยี งคอู่ ยกู่ ับศิลปนิ ชน้ั นา คนอน่ื ๆ เขาเสียชวี ติ ในปี 1926 ด้วยวัย 78 ปี ภาพที่ 4.61 Two Sisters (On the Terrace) ภาพท่ี 4.62 Dance at Bougival ทมี่ า : https://www.takieng.com/stories/ ทมี่ า : https://www.takieng.com/stories/ 4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. 4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 32 8. ซานโดร บอตติเชลลี (Sandro Botticelli) บอต ติเ ช ล ลีเ ป็น ศิล ปิน ท่ีโ ดด เ ด่ น ใ น ยุคเรอเนสซองส์ตอนต้น ก่อนหน้ายุคของดา วินชี และไมเคิลแอนเจโล เขาเกิดในปี 1445 ท่ีเมืองฟลอ เรนซ์ ผลงานส่วนใหญ่ทาให้กบั ตระกูลเมดิชีซ่ึงเป็น ผู้ปกครองเมืองฟลอเรน ซ์ บอตติเชลลี ภาพเขียน ของบอตติเ ชลลี เป็นสไตล์โบราณ แต่โดดเ ด่น ภาพท่ี 4.63 Sandro Botticelli ที่ควา มอ่อน ห วา น ประ ณีตง ด ง าม อย่า ง เ ช่ น ที่มา : https://www.takieng.com/ ภาพ The Birth of Venus และ Primavera ที่มีชื่อเสียง stories/4132. 30 พฤศจิกายน 2561. มากทส่ี ดุ ไปจนถึงภาพ Portrait of a Young Woman และ Madonna of the Book บอตติเชลลี ยังได้ รว่ มสรา้ งภาพเฟรสโกทผี่ นังของโบสถน์ ้อยซสิ ตินเช่นเดยี วกับศลิ ปินชั้นนาในยุคนั้น แม้ว่าจะไม่ใช่ งานทเ่ี ขาถนดั มากนักแตผ่ ลงานภาพ Trial of Moses ก็ทาออกมาได้อยา่ งยอดเยี่ยม ภาพที่ 4.64 The Birth of Venus ภาพที่ 4.65 Madonna of the Book ทมี่ า : https://www.takieng.com/stories/ ท่ีมา : https://www.takieng.com/stories/ 4132. 30 พฤศจกิ ายน 2561. 4132. 30 พฤศจิกายน 2561.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 33 9. อันโตนี เกาดี ( Antoni Gaudi ) ภาพที่ 4.66 Antoni Gaudi อนั โตนี เกาดี เปน็ สถาปนิกชาวสเปนท่ีมีช่ือเลียง ท่ีมา : ทัศนศิลป์ ม.6 : (น.92), เรอ่ื งงานออกแบบอันมีความเปน็ เอกลักษณ์เฉพาะตัวอย่าง โดย ธงชยั รักปทมุ , 2560. สูงโดยนาลกั ษณะเด่นของศิลปะบาโรกและโรโกโก มา ผสมผสานกับนวศิลปก์ อ่ ให้เกิดความแปลกตา ผลงานของ เกาดีแม้จะมีจานวนไม่มาก แต่ผลงานแจ่ละชิ้นมีขนาด ใหญ่แผ่งไว้ด้วยความวิจิตรพิสดาร ผลงานท่ีมีช่ือเสียง เช่น มห าวิหารกราดาฟามิเ ลีย ( Sasa Mila) ชึ่ง เ ป็น สถาปัตยกรรมอัน เ ลื่องชื่อประ จาเ มืองบาร์เซโลน า ประเทศสเปน ภาพท่ี 4.67 มหาวหิ ารชากราดาฟามิเลยี ที่มา : ทัศนศิลป์ ม.6 : (น.92), โดย ธงชัย รกั ปทุม, 2560.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 34 10. แฟรงก์ โอเวน เกหร์ ี (Frank Owen Gehry) แฟ รงก์ โอเ วน เ กห์รี เป็น สถาปนิกช าว แคนาดาผไู้ ดร้ บั การยกย่องว่าเป็นตานานแห่งวงการ สถาปตั ยกรรมโลกที่ยังมีชวี ิตในปัจจุบัน งานออกแบบ ของเกหร์ ี มลี ักษณะลา้ สมัยและหลุดออกจากกรอบที่ มกี ฎเกณฑต์ ายตวั อนั เป็นรปู แบบทางสถาปัตยกรรมท่ี เรียกว่า คตินิยมเปลี่ยนแนว ห รือดีคอนสตรักชัน ภาพที่ 4.68 Frank Owen Gehry (Deconstruction)โดยผลงานท่ีมีช่ือเลยี งของเกห์รี เช่น ที่มา : ทัศนศิลปป์ ริทรรศน.์ (น.104). อาคาพิพิธภัณฑ์กุกเกนไฮม์ (Guggenheim Museum) เมืองบิลเบา ประเทศสเปน อาคารเรียนสตาตาเซ็น สุรชาติ เกษประสทิ ธ.์ิ 2561 เตอร์ (Stata Center)ของสถาบนั เทคโนโลยีแมสชาชูเชตส์ เมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ภตั ตาคารฟชิ แดนซ์(Fish Dance Restaurant) เมืองโกเบ ประเทศญ่ีปนุ่ ภาพท่ี 4.69 พิพธิ ภณั ฑศ์ ลิ ปะเฟรดเดอรกิ ไวส์แมน ภาพที่ 4.70 Walt Disney Concert Hall ท่ีมา : ทัศนศิลป์ปรทิ รรศน์. (น.104). ทีม่ า : ทัศนศลิ ป์ปริทรรศน์. (น.104). สรุ ชาติ เกษประสิทธิ.์ 2561 สรุ ชาติ เกษประสิทธิ์. 2561

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 35 ผลงานทศั นศลิ ป์อทิ ธพิ ล ตอ่ สงั คมและผลตอบรบั ผลงานทศั นศลิ ปท์ ถี่ กู สร้างสรรคข์ ึ้นมาไม่ว่าจากศิลปินคนใด เม่ือผลงานนั้นถูกส่งไปถึง สายตาของคนในสังคมแล้ว ส่ิงท่ีสะท้อนกลบั มาสู่ศิลปินคือผลตอบรับของสังคมที่มีต่อผลงาน ว่า จะชืน่ ชอบและเข้าใจวัตถุประสงคข์ องศิลปนิ มากน้อยเพียงใด ผลงานบางช้ินอาจเป็นท่ีชื่นชมและ ได้รบั ยกย่อง กระทั่งกลายเป็นผลงานศิลปะทางประวัติศาสตร์ ให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ในทาง กลับกันผลงานบางชิ้นอาจไม่เ ป็นท่ียอมรับและถูกต่อต้านจากสังคม เช่น ผลงานท่ีถ่ายทอด ความรูส้ กึ ทางด้านลบต่อศาสนาหรอื การเมอื ง จะเหน็ ไดว้ ่า ทัศนศิลป์มีความสัมพันธ์และมีอิทธิพล ตอ่ สังคมเปน็ อยา่ งมาก  ผลงานทัศนศิลป์เปน็ กระจกสะท้อนความเป็นไปของสังคมในช่วงเวลาใดเวลา หนงึ่ เห็นไดจ้ ากผลงานศิลปะในยุคต่างๆท่มี กี ารถ่ายทอดเรือ่ งราวความเช่ือที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาน้ัน เช่น สะท้อนความรนุ แรงของ สงคราม ปญั หาสังคม เหตกุ ารณท์ างการเมือง วิถีชีวิตผู้คน ซ่ึงศิลปิน ไดถ้ ่ายทอดความรสู้ ึกที่มีต่อเหตุการณ์ในช่วงเวลาน้ันผา่ นทางผลงานศิลปะของตน  ผลงานทศั นศิลป์ส่วนหนงึ่ ซ่ึงนอกเหนือจากการสะทอ้ นภาพให้เห็นความเป็นไป ในสังคมหรอื สิง่ ท่ศี ิลปินพบเหน็ แล้วยงั มสี ่วนชว่ ยสร้างความจรรโลงใจ ให้กับผู้คนในสังคม ช่วย ให้มจี ติ ใจที่ละเอยี ดออ่ น เชน่ ผลงานศิลปะท่ีถ่ายทอดความงามของธรรมชาติประเพณี  ผลงานทัศนศลิ ปเ์ ป็นเครื่องมอื ท่ชี ่วยชกั จูงความคิดความเช่ือของคนในสังคมให้ เหน็ คล้อยตามความคดิ ของศลิ ปนิ เชน่ ผลงานศลิ ปะท่ีถา่ ยทอดถงึ ผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการทาลาย ส่ิงแวดลอ้ ม การรณรงคใ์ นเรื่องตา่ งๆ

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 36 ส่ือการสอน เกมรกั แท้แพ้งานศิลป์ เกมรักแท้แพ้งานศิลป์ ปัจจบุ นั การจดั การเรยี นการสอนสว่ นใหญไ่ ดเ้ น้นใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี นรดู้ ้วยตนเองมาก ท่ีสุด หรือจดั การเรียนการสอนทีใ่ หผ้ ู้เรียนมีส่วนรว่ มในการเรียนน้ันๆ ดว้ ย เพราะเมอ่ื ผเู้ รยี นมสี ว่ น รว่ มในการเรียนแล้วจะทาใหผ้ เู้ รียนเข้าใจ จดจา ไมเ่ พยี งแต่จะไดค้ วามรู้และผลสัมฤทธิ์ทส่ี ูงข้นึ เท่านัน้ แตผ่ ูเ้ รียนยังจะได้รบั ความสนุกสนานเพลิดเพลนิ อีกด้วย การสอนโดยใชเ้ กมจงึ เป็นอกี วธิ ี หนึง่ ที่จะทาให้ผู้เรียนสนกุ สนานในการเรยี นและทาใหผ้ ู้เรียนเข้าใจเน้อื หาจากบทเรยี นได้ดียิง่ ข้ึน วธิ ีการเลน่ เกม 1. คน้ หาภาพศลิ ปนิ และภาพผลงานของศิลปนิ 2. คลกิ เพื่อจับคภู่ าพศิลปนิ และภาพผลงานของศลิ ปนิ ให้ถูกต้อง 3. จบั คู่ภาพทงั้ หมดในเวลาท่กี าหนด 4. เมื่อหมดเวลาจะปรากฏผลคะแนนที่ได้ 5. สามารถเล่นเกมได้ทัง้ คอมพวิ เตอรแ์ ละโทรศัพท์ Ipad ประโยชน์ของเกม นักเรยี นสามารถจดจาภาพศลิ ปินและผลงานของศิลปนิ ได้อย่างถูกต้อง และในขณะเล่น เกมก็ไดร้ บั ทง้ั ความรแู้ ละความสนกุ สนาน ขน้ั ตอนการเล่นเกม 1. เลือกทปี่ ่มุ START

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 37 2. เปดิ ดูภาพแลว้ จาตาแหนง่ ของภาพท่เี หน็ เพอื่ จับคู่ภาพศลิ ปินกับผลงานให้ถกู ต้อง 3. เม่อื จับคู่ถูกตอ้ งภาพจะหายไป ทาแบบเดิมจนกว่าจะหมดเวลาภายใน 2 นาที

เอกสารประกอบการเรียนรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 38 4. เมื่อหมดเวลา 2 นาที จะปรากฏผลคะแนนให้ทราบ 5. หากทาไมท่ นั ในเวลาทกี่ าหนด เกมจะเริม่ ใหม่ภาพกจ็ ะสลบั ตาแหน่งใหม่ท้งั หมด

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 39 ใบงานที่ 12 เร่ือง งานทัศนศิลปข์ องศลิ ปนิ ทม่ี ชี ือ่ เสยี งและผลตอบรบั ของสังคม ชื่อ ...........................................ชนั้ ............. เลขที่ ............... ใหน้ ักเรียนติดภาพผลงานทศั นศลิ ป์ของศิลปนิ ทมี่ ชี ่อื เสยี งมา 1 ภาพ ลงในชอ่ งว่าง บอกชอื่ ผลงานของ ศิลปนิ และบรรยายผลตอบรับของสงั คมทมี่ ีตอ่ ผลงาน รวมท้ังความรสู้ ึกที่มี ตอ่ ผลงานด้านลา่ ง ช่อื ผลงาน ………………………………………………………….. ศลิ ปิน ………………………………………………………….. ผลตอบรบั ของสังคมท่ีมตี ่อผลงาน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ความรสู้ กึ ทมี่ ีตอ่ ผลงาน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 40 สรุปทา้ ยบทเรียน ศลิ ปินท่ีมชี อื่ เสียง บางคนโชคดีเกิดมาพร้อมกับพรสวรรค์ดา้ นศิลปะ และอกี หลายคนที่ตอ้ ง ขวนขวายเรยี นรู้จึงจะเปน็ ศลิ ปนิ ได้ ทุกคนมีความเปน็ ศิลปินอยู่ในตัวเพียงตามหาความพเิ ศษนนั้ ให้ เจอ ศลิ ปินทีม่ ีชื่อเสยี งแต่ละคนใชว่ ่าจะประสบความสาเร็จตงั้ แต่แรก พวกเขาล้วนเจอปัญหาท่ี แตกตา่ งกนั แตส่ ่งิ ที่เหมอื นกนั คือความรักในศิลปะและพยายามใหม้ ากท่ีสดุ หาจดุ เดน่ ทเี่ ป็น เอกลกั ษณข์ องตนเองแลว้ เดนิ ตามฝนั การสร้างงานทศั นศลิ ปใ์ ห้เปน็ ทย่ี อมรับของคนในสงั คมได้ ศลิ ปินตอ้ งสร้างงานทัศนศลิ ป์ท่ี แสดงเร่อื งราวทส่ี งั คมนั้น ยอมรบั ได้ ไมข่ ัดกบั วฒั นธรรมประเพณแี ละความรู้สกึ ของผู้คนในสังคม สร้างงานทัศนศลิ ปท์ ี่สะทอ้ นภาพใหเ้ หน็ ความเป็นไปในสังคมที่มสี ่วนช่วยสรา้ งความจรรโลงใจ ให้กับผูค้ นในสังคม

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 41 แบบทดสอบหลังเรียน เอกสารประกอบการเรยี น ชุดท่ี 4 เรื่อง งานทศั นศิลปข์ องศิลปินที่มชี ่ือเสียงและผลตอบรับของสังคม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเปน็ แบบทดสอบ 4 ตัวเลอื กจานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ใชเ้ วลาในการทาแบบทดสอบ 15 นาที 3. ใหน้ ักเรียนทาเคร่ืองหมาย กากบาท X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ภาพ Guernica แสดงใหเ้ หน็ ถึงโศกนาฏกรรมของสงครามและความทุกข์ทรมาน เปน็ ผลงาน ของศลิ ปินท่านใด ก โกลด มอแน (Claude Monet) ข ปาโบล ปีกสั โซ (Pablo Picasso) ค วนิ เซนต์ แวนโกะ๊ (Vincent van Gogh) ง เลโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci) 2. ศิลปนิ ทา่ นใดเปน็ ผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานประติมากรรม Pieta ก โกลด มอแน (Claude Monet) ข โยฮนั เฟอรเ์ มร์ (Johan Vermeer) ค ไมเคลิ แอนเจโล (Michelangelo) ง ซานโดร บอตตเิ ชลลี (Sandro Botticelli)

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรับนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 42 3. งานทศั นศิลป์ของศิลปนิ ทม่ี ีชือ่ เสียงกบั ผลตอบรับของสงั คม ข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกต้อง ก สร้างความขัดแย้งให้คนในสงั คม ข สะทอ้ นความเปน็ ไปของสังคมในชว่ งเวลาใดเวลาหน่งึ ค ผลงานศลิ ปะบางชิ้นกลายเป็นประวตั ิศาสตร์ใหค้ นรนุ่ หลงั ได้เรียนรู้ ง ผลงานบางชนิ้ เปน็ ที่ช่นื ชม ถกู ยกยอ่ งและสร้างความจรรโลงใจให้กับผคู้ นในสงั คม 4. ศลิ ปนิ ทา่ นใดเป็นผู้ออกแบบงาน \"สปั ปายะสภาสถาน - รัฐสภาแห่งใหม่\" ก นายธรี พล นิยม ข อนพุ งษ์ จนั ทร ค เฉลมิ นาครี กั ษ์ ง เฉลมิ ชัย โฆษติ พิพัฒน์ 5. ข้อใดไมใ่ ช่แนวความคิดของผลงาน ‚ชวี ิตยายในลา้ นนา‛ (ดาหัวป๋ใี หม่เมอื ง) ก การบูชาพธิ กี รรมทางศาสนา ข เปน็ ประเพณที ่ดี งี าม ของชาวพทุ ธในล้านนา ค การขออโหสิกรรม ส่ิงทไ่ี ด้ลว่ งเกิน ญาติผใู้ หญ่ครบู าอาจารย์ ง แสดงออกถึงความเคารพ นบั ถือ กตัญํกู ตเวที ต่อผู้มีพระคุณ 6. สถาปตั ยกรรมไทยประเภทบ้านเรอื น สรา้ งโดยให้สอดคล้องกับสิง่ ใด ก ศาสนา ความเชอื่ ข วัฒนธรรม ประเพณี ค สภาพภมู ิประเทศ ภูมอิ ากาศ ง ชีวิตความเปน็ อยู่ อาชพี

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 43 7. ภาพโมนาลซิ า (Monalisa) ของลโี อนาโด ดาวินซี (Leonaldo da Vinci) มกี ารใชส้ งิ่ ใดในการจัด องคป์ ระกอบศิลปม์ ากที่สุด ก ความกลมกลืน ข เนน้ สตี า่ งวรรณะกนั ค เน้นด้วยเส้นให้เกดิ ระยะ ง การเน้นจุดเดน่ และ ความสมดลุ 8. เอกลกั ษณ์ทโ่ี ดดเดน่ ในงานศลิ ปะของอาจารยช์ ว่ ง มูลพินิจ คอื ก เรอ่ื งราววัฏสงสารของชวี ิตและปรชั ญา ศาสนา ข เรือ่ งราวจากศาสนาและวรรณคดีมาสร้างจนิ ตนาการใหม่ ค ความงามของลายเส้นหรอื ลายไทยท่ีอ่อนช้อยผสมผสานกับศิลปะสมัยใหม่อยา่ งกลมกลนื ง ถูกทกุ ขอ้ 9. ศิลปนิ แหง่ ชาติทมี่ ีชอื่ เสียงในการสรา้ งสรรค์ผลงานภาพพิมพแ์ กะไม้ (Woodcut) คือใคร ก ปรีชา เถาทอง ข เดชา วราชุน ค ประหยดั พงษด์ า ง วชิ ยั สทิ ธริ ตั น์ 10. ผลงาน ขลุ่ยทพิ ย์ เปน็ ผลงานประตมิ ากรรมของใคร ก อ.เขียน ยม้ิ ศิริ ข อ.ศิลป์ พีระศรี ค อ.ปรีชา เถาทอง ง อ.เฉลมิ ชัย โฆษสิ พิพฒั น์

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศิลปะ สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 44 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 เร่อื ง งานทศั นศลิ ป์ของศลิ ปนิ ทมี่ ีชือ่ เสยี งและผลตอบรบั ของสงั คม ช่อื ............................................................. เลขท่ี ...................... ทดสอบกอ่ นเรยี น รวมคะแนน ข้อ ก ข ค 1. ง 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 45 ภาคผนวก

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 46 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า ศ33102 ศลิ ปะ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 เรือ่ ง งานทศั นศิลปข์ องศิลปินทมี่ ชี ื่อเสียงและผลตอบรับของสังคม กอ่ นเรียน หลงั เรียน ขอ้ คาตอบ ขอ้ คาตอบ 1. ก 2. ก 1. ข 3. ค 2. ค 4. ค 3. ก 5. ง 4. ก 6. ข 5. ก 7. ง 6. ค 8. ก 7. ง 9. ก 8. ง 10. ค 9. ค 10. ก

เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา ศ33102 ศลิ ปะ สาหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 47 บรรณานกุ รม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2556. อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ต้ิงแอนด์แอนดพ์ บั ลิชซิ่ง. 2556 กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม. ศิลปินแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2558. ร่งุ ศลิ ป์การพิมพ์ (1977). 2558 ธงชยั รกั ประทมุ . หนังสือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐาน ทัศนศลิ ป์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6. กรงุ เทพฯ : สถาบนั พัฒนาคุณภาพวิชาการ. (2557). ธงชัย รักประทมุ . หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ทัศนศิลป์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6. กรุงเทพฯ : สถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ. (2560). นทิ รรศการศิลปกรรม วถิ ี พุทธ ลา้ นนา. 2555. ปรีชา เถาทอง. งานจาหน่ายผลงานศิลปกรรม จากแสงเงาส่ปู า่ หิมพานต.์ ในโอกาสสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 72 พรรษา. มัย ตะติยะ. สนุ ทรียภาพทางทัศนศลิ ป์. พิมพค์ ร้ังที่ 3. มิตรสัมพนั ธ์กราฟฟคิ : กรุงเทพฯ. 2555. หสั ภพ ตัง้ มหาเมฆ. Living with Art Intanate’s Collection. พมิ พค์ รง้ั ที่ 1. 2557. สรุ ชาติ เกษประสิทธ์.ิ ทัศนศิลปป์ ริทรรศน์. พิมพ์คร้งั ที่ 1. โรงพิมพร์ ตั นสุวรรณ 3.พิษณุโลก. 2561 https://www.rcac84.com/portfolio_page /นาวิน-ลาวลั ยช์ ยั กลุ รางว/.(30 พฤศจกิ ายน 2561). https://th.wikipedia.org/wiki /อนพุ งษ์_จนั ทร. (30 พฤศจิกายน 2561). http://www.psstainlessthailand.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539683657&Ntype=2. (30 พฤศจิกายน 2561). https://www.takieng.com/stories/4132. (30 พฤศจกิ ายน 2561).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook