Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานสุขภาพ

งานสุขภาพ

Published by achanchira, 2021-12-25 14:07:49

Description: ส่งงานครูแล้วนะคะ

Search

Read the Text Version

การปฏบิ ัตติ นระหว่างตงั้ ครรภ์ อ.พญ.ธนาภา เรขาวศิน ภาควิชาสตู ศิ าสตร์ นรเี วชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล เมือ่ ผหู้ ญิงคนหนึ่งทราบว่าตนเองต้ังครรภ์ ความร้สู กึ ของการจะไดเ้ ปน็ แม่คนย่อมมีหลากหลาย ความรสู้ ึก ไม่ว่าจะตน่ื เตน้ ดใี จ หรอื แมก้ ระท่งั กังวล อยา่ งไรก็ตามสิ่งแรกท่ีคุณควรทา คือ รบี ไปปรึกษาแพทย์ ทันที เพ่ือยืนยนั การตั้งครรภ์ ให้การรกั ษา ให้คาแนะนาในการดูแลรกั ษาสขุ ภาพ รวมถึงการปฏิบัตติ นอย่าง เหมาะสมในระหวา่ งการต้ังครรภ์ ในชว่ งไตรมาสแรก การเปลี่ยนแปลงต่างๆของร่างกายจะเร่ิมปรากฏข้ึน ความรูส้ ึกอยากอาหารเพมิ่ มากข้นึ เวลาแปรงฟันอาจมเี ลือดออกตามไรฟนั บา้ งบางครั้ง หรือแม้กระท่ังมีอาการท้องผูกมากขึน้ ซงึ่ หญิง ต้งั ครรภ์ควรดม่ื น้า และผักผลไม้ให้มากๆเพอ่ื ลดอาการท้องผูกดังกลา่ ว แตป่ ัญหาหน่ึงที่สาคญั ของหญิง ต้ังครรภ์ในช่วงน้ีคงหนีไมพ่ น้ อาการแพ้ท้อง ซึ่งมกั เป็นมากในชว่ งอายคุ รรภ์ประมาณ 2 เดอื น หากคุณเผชิญ กบั อาการดังกล่าว อันดับแรกคงตอ้ งหลีกเลยี่ งอาหารทก่ี ระตุน้ ให้มีอาการแพ้ท้องมากยิง่ ขนึ้ ในการรบั ประทาน อาหารควรทานในปริมาณที่น้อยๆ แตบ่ ่อยๆ นอกจากน้ีการดม่ื น้าขิงยังชว่ ยลดอาการดังกลา่ วไดอ้ ีกดว้ ย หาก อาการยังไม่ทเุ ลา แนะนาให้ปรึกษาแพทยเ์ พ่ือรับยาบรรเทาอาการแพท้ ้องเพ่ิมเติม แต่หากคณุ ไม่มีอาการแพ้ ทอ้ งเลย กส็ ามารถรบั ประทานอาหารได้ตามปกติ โดยควรเปน็ อาหารท่มี ีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และหลีกเลี่ยง การด่มื สุรา สบู บุหรี่ เนื่องจากสง่ ผลกระทบต่อลูกน้อยในครรภ์ได้ ท้งั น้ีหากคณุ พบวา่ น้าหนกั ตัวลดลงในชว่ งที่ แพท้ ้อง คุณไม่ต้องกงั วล เน่อื งจากไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ การเจรญิ เติบโตลูกนอ้ ยในครรภ์แต่อยา่ งใด สาหรบั ยา บารุงครรภ์ทีส่ าคัญในช่วง 3 เดอื นแรก คือ วติ ามนิ บี 9 หรือ โฟลิค เพื่อลดโอกาสท่ที ารกในครรภจ์ ะมีความผดิ ปกติของระบบประสาทนน่ั เอง อาการท่ีตอ้ งสังเกตในชว่ งอายคุ รรภ์นี้ คือ เลอื ดออกผิดปกตจิ ากช่องคลอด หากคณุ มอี าการดงั กล่าวควรรบี ไปพบแพทยท์ ันที เมอ่ื เข้าสูไ่ ตรมาสที่สอง อาการแพ้ท้องมักจะดีขน้ึ คุณจะสามารถรับประทานอาหารได้มากข้นึ และ น้าหนักตวั จะเพิม่ มากข้ึนเชน่ กัน โดยเฉลยี่ นา้ หนักควรเพ่ิมประมาณ 0.5 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ นอกจากนีห้ ญงิ ตง้ั ครรภบ์ างรายอาจมอี าการปวดหน่วงๆบรเิ วณท้องน้อยได้ เปน็ ผลจากการที่มดลูกเรมิ่ ขยายขนาดเมือ่ อายุ ครรภเ์ พม่ิ มากขึน้ ซ่ึงอาการดังกลา่ วจะยังคงเกดิ ได้ตลอดการตั้งครรภ์ เมือ่ อายุครรภ์ไดป้ ระมาณ 5 เดือน คุณ จะเร่ิมรับรไู้ ด้ถึงการขยับตัวของลกู น้อยของคุณซงึ่ จะเพ่ิมมากขนึ้ เร่ือยๆตามอายุครรภ์ สาหรบั ยาบารุงครรภ์ท่ี สาคญั ในชว่ งไตรมาสสอง คือ ยาบารงุ เลอื ด เนื่องจากจาเป็นตอ่ การเพิม่ ปริมาณเลือดในหญงิ ตัง้ ครรภ์ การสรา้ ง รก รวมถึงการเจรญิ เตบิ โตของลูกนอ้ ยในครรภ์ และแคลเซียม ซึง่ จาเปน็ ตอ่ การเสรมิ สร้างกระดูกและการ เจริญเติบโตของลูกน้อยในครรภ์ อาการทตี่ ้องสังเกตในชว่ งอายคุ รรภ์น้ี คือ เลือดออกผดิ ปกติจากช่องคลอด

น้าเดิน หรือท้องแข็งสมา่ เสมอทุก 10 นาที หากคณุ มีอาการข้อใดขอ้ หน่งึ ดังกลา่ วควรรีบไปพบแพทย์ทันที เน่ืองจากอาจเปน็ สัญญาณบง่ ชว้ี า่ คณุ อาจคลอดก่อนกาหนดกเ็ ปน็ ได้ เมอื่ เข้าสไู่ ตรมาสสดุ ทา้ ยของการตง้ั ครรภ์ คุณจะรบั รู้ถงึ การดน้ิ ของลูกน้อยในครรภม์ ากยิ่งขึ้น โดยทวั่ ไปแนะนาใหห้ ญิงตง้ั ครรภ์นบั จานวนครั้งของลกู ด้นิ ตั้งแตอ่ ายุครรภ์ 7 เดอื นเปน็ ตน้ ไป ซ่ึงในแตล่ ะวันลูก น้อยควรดิน้ อย่างนอ้ ย 10 คร้ัง อาการท่พี บไดบ้ ่อยในชว่ งอายุครรภ์น้ี คือ อาการปวดเมื่อยบรเิ วณบ้ันเอวหรือ ท้องน้อย อนั เปน็ ผลจากการท่ีสรรี ะของหญิงตง้ั ครรภต์ อ้ งรองรบั มดลกู ท่ีลูกน้อยอาศยั อยู่ท่ีมีขนาดใหญ่มากขน้ึ อาการดังกลา่ วมักสัมพันธก์ ับเวลาที่คุณอยู่ทา่ ใดท่าหน่งึ เป็นเวลานานๆ ฉะน้นั คุณอาจต้องมกี ารปรับเปล่ยี น ทา่ ทางอยู่เสมอเพ่ือลดอาการดังกล่าว นอกจากนี้บางคร้ังคุณอาจร้สู ึกว่ามีทอ้ งแขง็ ซ่ึงอาการดังกลา่ วท้องจะมี ลกั ษณะแข็งตึงทว่ั ทัง้ ท้องตามขนาดของมดลูก เกดิ จากการทมี่ ดลูกมีการหดรัดตัวเม่ืออายคุ รรภ์เพิ่มมากขึน้ และมกั เกิดหา่ งกวา่ ทุก 10 นาที ในช่วงน้นี ้าหนกั ของหญิงต้ังครรภย์ งั คงเพม่ิ ข้ึนเร่ือยๆเช่นเดียวกบั ในชว่ งไตร มาสทีส่ อง โดยน้าหนกั ตวั ท่ีเพ่ิมขึน้ ตลอดการต้งั ครรภใ์ นผู้หญิงทมี่ ีค่าดัชนมี วลกายอยู่ในเกณฑป์ กติก่อนการ ตัง้ ครรภ์ ควรจะอยู่ระหวา่ ง 11-16 กิโลกรัม สาหรับยาบารุงครรภ์ทจ่ี าเปน็ ในช่วงไตรมาสน้ี คือ ยาบารุงเลือด และแคลเซยี ม เช่นเดยี วกับไตรมาสท่ีสอง อาการทตี่ ้องสงั เกตในช่วงอายคุ รรภน์ ้ี คือ ลูกด้ินน้อยกว่า 10 ครั้งต่อ วนั ทอ้ งแข็งถี่ทุก 10 นาที นา้ เดิน หรอื เลอื ดออกจากช่องคลอด หากคุณมีอาการขอ้ ใดข้อหน่ึงดังต่อไปนี้ ควร รีบไปพบแพทย์ทนั ที เน่ืองจากอาจเปน็ อาการแสดงวา่ คุณเขา้ สู่ระยะคลอดนน่ั เอง ในอีกหนึง่ ประเด็นสาคัญทห่ี ญิงต้งั ครรภ์มกั จะให้ความสนใจ คือ การออกกาลังกายระหวา่ งต้งั ครรภ์ ซง่ึ สามารถทาได้และแนะนาในหญิงตั้งครรภ์ทไ่ี มม่ ีข้อหา้ ม เช่น เลอื ดออกจากช่องคลอด น้าเดนิ เป็นตน้ ทง้ั นี้ หากคุณไม่แน่ใจว่ามขี ้อห้ามหรอื ไม่ ควรปรกึ ษาแพทย์ก่อนทุกครัง้ สาหรบั ประโยชนข์ องการออกกาลงั กาย ระหว่างตัง้ ครรภ์ พบว่าช่วยลดการเกดิ ภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสงู ขณะตงั้ ครรภ์ การคลอดก่อน กาหนด การผา่ ตดั คลอด เปน็ ต้น ตวั อย่างชนิดของการออกกาลังกายที่ปลอดภัยในหญงิ ตง้ั ครรภ์ ไดแ้ ก่ การ เดิน การป่ันจกั รยานอยู่กับท่ี การยดื กล้ามเน้ือ เป็นตน้ กลา่ วโดยสรปุ ในระหว่างการตั้งครรภ์ หญิงตง้ั ครรภค์ วรดแู ลสุขภาพ ปฏิบัติตนตามคาแนะนาของ แพทย์ และพบแพทย์ตามนดั สม่าเสมอ ทั้งนเี้ พื่อให้หญิงต้ังครรภ์และลูกน้อยในครรภ์ได้รับการดแู ลอย่าง เหมาะสมต่อไป

ภาวะแทง้ คกุ คาม (Threatened abortion) ผศ.พญ,ธชั จารยี ์ พนั ธช์ าลี ภาควชิ าสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ภาวะแท้งคุกคาม หรือ Threatened abortion คอื ภาวะผดิ ปกติของการตัง้ ครรภท์ ่เี กิดขน้ึ ในช่วง 20 สัปดาหแ์ รกของการตั้งครรภ์ โดยหญงิ ตัง้ ครรภจ์ ะมีอาการเลือดออกทางชอ่ งคลอด ซ่ึงอาจเป็นเลอื ดสดหรือมูก เลอื ด ในขณะท่ีปากมดลกู ยงั ไม่เปิด อาการของภาวะแท้งคกุ คาม หญิงตัง้ ครรภ์ท่ีมีภาวะแท้งคุกคามจะมมี ูกเลอื ดหรือเลือดสดออกมาจากช่องคลอดปรมิ าณเล็กนอ้ ยถึงปาน กลาง อาจมเี ลือดออกระปริกระปรอยเป็นระยะเวลาหลายวันจนถงึ หลายสปั ดาห์ และมักจะไมม่ ีอาการอ่ืนๆรว่ ม ดว้ ย แต่ในบางรายอาจมอี ากรปวดหนว่ งท้องนอ้ ยคล้ายปวดประจาเดือน ปวดบีบๆรัดๆตรงกลางท้องน้อยเปน็ ๆ หายๆ หรือปวดรา้ วไปหลงั ได้ อยา่ งไรกต็ ามภาวะเลือดออกนี้ อาจพบได้ในช่วง 4-5 สปั ดาหห์ ลังจากวนั แรกของ ประจาเดือนครัง้ สุดทา้ ย หรือ ประมาณ 2 สปั ดาหห์ ลงั การปฏิสนธิ ซงึ่ เปน็ ระยะเวลาที่ทารกหรือถุงการตงั้ ครรภน์ ั้น มีการฝงั ตัวเขา้ ไปในเนื้อมดลูก ทาให้มเี ลอื ดออกได้เลก็ น้อยและมักจะไมม่ ีอาการผดิ ปกติอื่นๆร่วมดว้ ย เรียกภาวะนี้ วา่ Implantation bleeding การทม่ี เี ลือดออกจากชอ่ งคลอดหรือภาวะแท้งคกุ คามนี้สามารถพบไดใ้ นหญงิ ตงั้ ครรภท์ ่ีมีอายคุ รรภไ์ มเ่ กนิ 20 สัปดาห์ ไดถ้ ึงร้อยละ 20-25 โดยในหญงิ ตั้งครรภก์ ลุ่มน้ีคร่ึงหนึ่ง (รอ้ ยละ 50) จะมีการแท้งเกดิ ขึ้นจริงๆ โดยเฉพาะในรายทีม่ ีอาการปวดหนว่ งทอ้ งน้อยร่วมด้วย แต่อยา่ งไรก็ตามอีกรอ้ ยละ 50 ก็จะสามารถดาเนินการ ต้งั ครรภต์ ่อไปได้เหมอื นหญิงตงั้ ครรภป์ กติรายอ่นื ๆ สาเหตุของภาวะแท้งคุกคาม ภาวะแทง้ คุกคามนั้นมกั จะไม่ทราบสาเหตทุ ี่แน่ชดั ท่ีทาให้เกิดภาวะเลือดออกดังกล่าว แต่อยา่ งไรกต็ ามกย็ งั มีปจั จยั ทอี่ าจเกี่ยวข้องหรือสัมพนั ธ์กบั ภาวะแทง้ คุกคาม และทาให้เกดิ การแทง้ ขึน้ จรงิ ๆได้ คอื - ความผิดปกติของทารกในครรภ์ เชน่ โครโมโซมผิดปกติ ความพิการแต่กาเนิด หรืออาจไดร้ บั ยาหรือ สารเคมที ท่ี าให้ทารกเกิดความผิดปกตติ ง้ั แต่อยู่ในครรภ์ เป็นต้น - หญงิ ต้งั ครรภ์มีโรคประจาตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหติ สงู ไตวายเรื้อรงั เปน็ ต้น - อายขุ องหญิงต้งั ครรภ์ คือ หญงิ ตัง้ ครรภอ์ ายุมากกวา่ 35 ปี มีโอกาสเกิดภาวะแทง้ ไดร้ ้อยละ 15 แตห่ ญิง ต้งั ครรภท์ ี่อายุ 15-34 ปี มโี อกาแทง้ ได้ร้อยละ 4 - ความผิดปกติของมดลูกและโพรงมดลกู เชน่ พงั ผดื ในโพรงมดลูก มดลูกมรี ูปรา่ งผิดปกติต้ังแตก่ าเนดิ

เปน็ ตน้ - การขาดฮอร์โมนเพศทช่ี ่วยประคับประคองการต้ังครรภ์ ทาใหก้ ารฝงั ตวั ของตัวออ่ นหรือถงุ ตั้งครรภ์ทาได้ ไม่สมบรู ณ์ - มีประวตั เิ คยเกดิ การแท้งมาก่อน - ปจั จยั อ่นื ๆ เช่น อุบัติเหตุทก่ี ระทบต่อมดลูกหรือบรเิ วณท้องน้อย มกี ารตดิ เชื้อทชี่ ่องคลอด นา้ หนักตัว มากหรือโรคอว้ น ดื่มสุรา สบู บุหรี่ หรอื การใช้สารเสพตดิ เปน็ ตน้ การวนิ ิจฉัย หญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่พบวา่ ตนเองมีเลือดออกทางช่องคลอด ควรรีบไปพบแพทย์ เพ่ือทาการตรวจหา สาเหตแุ ละเพ่ือจะไดร้ บั คาแนะนาหรอื การรกั ษาที่ถูกต้องต่อไป รวมทงั้ ทาการวนิ ิจฉัยแยกโรคทีอ่ าจเป็นอนั ตรายตอ่ ชวี ติ ของหญงิ ตัง้ ครรภไ์ ด้ คือ การต้งั ครรภน์ อกมดลูก โดยข้ันตอนในการตรวจวินจิ ฉัยมดี ังน้ี 1. ซกั ประวตั ิ ประจาเดือนคร้ังสุดทา้ ย เพื่อกาหนดอายุครรภ์ ลักษณะของเลือดท่ีออกและอาการรว่ มอน่ื ๆ ที่ผา่ นมา รวมท้งั ซักประวตั ิอน่ื ๆ เพือ่ หาสาเหตหุ รือปจั จัยที่อาจทาให้เกิดภาวะเลือดออกหรอื แทง้ คกุ คาม 2. ตรวจร่างกาย เพื่อประเมินสญั ญาณชพี และภาวะซีด ซึง่ ถ้าเลือดออกปรมิ าณมาก ก็อาจทาใหห้ ญิง ตั้งครรภร์ ายนน้ั มคี วามดนั โลหติ ตา่ ชพี จรเตน้ เร็ว หรอื ตรวจพบภาวะซดี ได้ รวมท้งั ตรวจบรเิ วณหนา้ ท้อง เพ่อื หา ตาแหนง่ ของอาการปวดท่ีเกิดขน้ึ รว่ มด้วย 3. ตรวจภายใน เพ่ือประเมินปรมิ าณและลกั ษณะของเลอื ดท่อี อกมา มกี ารเปดิ ของปากมดลูกหรือไม่ ประเมนิ ขนาดของมดลูก และความผิดปกติอื่นๆ เช่น มกี ารติดเชือ้ ที่ช่องคลอด จนทาใหม้ ีมูกเลือดออกมาหรอื ไม่ เป็นต้น 4. ตรวจปัสสาวะ เพื่อประเมินวา่ ยังมีการต้ังครรภ์อยหู่ รือไม่ แต่ในรายท่เี กดิ การแทง้ หรือทารกในครรภ์ เสียชีวติ ไปเวลาไมน่ าน ก็ยังอาจตรวจพบการตงั้ ครรภจ์ ากการตรวจปสั สาวะอยู่ จงึ ไม่นิยมใช้วธิ กี ารตรวจนี้ 5. การตรวจเลือดเพ่ือวดั ระดับฮอร์โมนการตง้ั ครรภ์ (Beta human chorionic gonadotropin - β- hCG) ซึ่งวิธีน้ีเป็นวธิ ที ่ีแม่นยา และสามารถบอกระดับของฮอร์โมนการตัง้ ครรภไ์ ด้ โดยพบว่ารอ้ ยละ 85 ของการ ตั้งครรภท์ ่ปี กติ ระดบั ของ β-hCG จะเพมิ่ ขน้ึ ร้อยละ 53-66 ในระยะเวลา 48 ช่ัวโมง รวมท้ังถ้าประเมนิ ร่วมกับ การตรวจอลั ตร้าซาวนด์ผา่ นทางชอ่ งคลอด จะทาให้การวนิ ิจฉัยภาวะแทง้ คุกคามและการวางแผนการรักษาถูกตอ้ ง แมน่ ยามากย่ิงขน้ึ 6. การตรวจอลั ตรา้ ซาวนดผ์ ่านทางชอ่ งคลอด เป็นการตรวจท่สี ามารถตรวจหาตาแหนง่ ของการต้ังครรภ์ วา่ อยู่ในโพรงมดลูก หรือ นอกมดลูก ได้อยา่ งถูกต้อง ตรวจประเมนิ ว่าการตั้งครรภ์นี้เป็นการตง้ั ครรภท์ ป่ี กติหรือไม่ ตรวจว่าทารกในครรภย์ งั มชี วิ ติ หรือไม่ และยงั สามารถตรวจ รปู รา่ งของมดลูกและรังไขว่ า่ ปกตหิ รอื ไม่อีกด้วย แต่ อยา่ งไรกต็ ามในรายท่ีอายุครรภไ์ ม่แนน่ อน หรือระดบั ของ β-hCG ยงั ต่ากว่า 1500-2000 mIU/mL อาจจะไม่

สามารถบอกวา่ การตั้งครรภ์ครั้งนีป้ กติหรือไม่ หรือทารกยงั มชี วี ติ หรือไม่ ซ่ึงจาเปน็ ตอ้ งนดั ตรวจติดตามอกี ใน ระยะเวลาทเ่ี หมาะสมต่อไป ในกรณที ่ีไดร้ บั การวนิ จิ ฉัยว่ามภี าวะแทง้ คกุ คามจากการซักประวตั แิ ละตรวจร่างกาย ร่วมกับการตรวจ อัลตร้าซาวนด์ผ่านทางช่องคลอดแลว้ พบวา่ มีการตง้ั ครรภ์ในมดลูก และพบวา่ ทารกยงั มีชีวิตอยู่ โดยเหน็ หวั ใจทารก เต้นชดั เจน และเลอื ดออกเล็กนอ้ ยเท่านั้น ผลการตรวจพบเช่นนี้แสดงใหเ้ ห็นว่าการต้ังครรภท์ ่ีมภี าวะแท้งคกุ คาม ครง้ั นม้ี ีโอกาสสูงท่ีจะตง้ั ครรภ์ตอ่ ไปได้อย่างปกติ ภาวะแทรกซอ้ นท่อี าจเกิดขึ้น ภาวะแทง้ คุกคาม โดยเฉพาะถา้ มอี าการปวดท้องน้อยรว่ มด้วย มักจะเกิดการแทง้ ขนึ้ จริงๆได้ หรือถ้ามี ปริมาณเลือดออกมาก หรอื แทง้ ช้นิ สว่ นของการตั้งครรภ์ออกมาไมค่ รบ อาจจาเปน็ ต้องได้รบั การยุตกิ ารตั้งครรภ์ โดยการขดู มดลูกหรือใช้เคร่ืองดูดสุญญากาศ นอกจากน้ีในบางรายที่สามารถตั้งครรภต์ ่อไปได้ อาจพบความ ผิดปกติอ่ืนๆ เช่น ภาวะรกเกาะต่า ภาวะรกลอกตัวก่อนกาหนด การคลอดกอ่ นกาหนด หรือทารกในครรภ์ เจริญเติบโตและมีน้าหนักนอ้ ยได้ เป็นตน้ แต่อยา่ งไรก็ตามสว่ นใหญข่ องหญิงต้ังครรภท์ ่เี ลอื ดหยดุ ไหลได้เองและไม่ พบปัจจัยเสี่ยงอืน่ ๆทที่ าให้เกิดภาวะแท้ง หญิงตั้งครรภร์ ายนนั้ ก็จะสามารถดาเนินการตั้งครรภต์ ่อไปได้อย่างปกติ การรกั ษาและการปอ้ งกัน ภาวะแท้งคุกคามมกั จะรกั ษาดว้ ยการประคบั ประคองหรือการรกั ษาตามอาการเป็นหลัก โดยไม่จาเปน็ ต้อง ใหย้ าหรอื รักษาดว้ ยการผา่ ตดั 1. แนะนาใหห้ ญงิ ต้ังครรภส์ งั เกตลกั ษณะและปริมาณเลือดทอี่ อก ร่วมกบั อาการอื่นๆ ถา้ เป็นมากขน้ึ ควร รีบมาโรงพยาบาล เพ่ือทาการตรวจรักษาเพ่ิมเตมิ 2. ในรายที่เลือดออกนอ้ ย แต่ยังมอี าการปวดหน่วงท้องนอ้ ยรว่ มดว้ ย สามารถรับประทานยาแก้ปวดได้ ยกเวน้ ยาแก้ปวดในกล่มุ NSAIDs 3. ในรายทีม่ เี ลือดออกมาก ควรได้รับการดแู ลรกั ษาในโรงพยาบาล เพ่อื ตรวจติดตามสญั ญาณชพี และ ตรวจวัดระดบั ความเข้มข้นของเลือด หากเลือดไม่หยดุ ไหลหรือมีการแทง้ เกดิ ข้นึ จริง อาจพิจารณายตุ ิการตง้ั ครรภ์ 4. แนะนาการปฏบิ ัติตวั ดงั น้ี - พักผ่อนมากๆ (bed rest) หรืองดกจิ กรรมทเี่ พ่ิมความดันหรอื แรงกระแทกที่บรเิ วณท้องนอ้ ย (activity restrictions) ถึงแม้วา่ การศกึ ษาต่างๆจะพบว่าส่งิ เหลา่ น้ีไม่ได้ช่วยลดอัตราการแท้งกต็ าม แต่หากหญิงต้งั ครรภ์ได้ พกั ผอ่ นก็จะสามารถลดความเครยี ดหรอื ความกังวลลงไปได้ - ในช่วงทยี่ งั มีเลือดออกควรงดการออกกาลงั กายและการมีเพศสัมพันธ์

5. การใหฮ้ อรโมน Progestin ในปัจจุบันยังไมม่ ีการศึกษาหรอื คาแนะนาสาหรบั การให้ฮอรโ์ มน Progestin ในหญิงต้งั ครรภเ์ พ่ือรักษาหรือป้องกนั ภาวะแทง้ คุกคาม โดยเฉพาะในรายทไี่ ม่เคยมีประวัติมาก่อน เนอื่ งจากสาเหตุของการแท้งมักเกิดจากความผิดปกตขิ องทารกเอง แต่ในรายท่ีมีการแท้งซ้าหรอื ได้รับการวนิ ิจฉัย่ ว่าขาดฮอร์โมน Progestin การใหฮ้ อรโ์ มนตั้งแต่ 3 เดือนแรกของการตงั้ ครรภก์ ส็ ามารถป้องกันการเกิดภาวะแท้ง ได้ 6. รบั ประทานยาบารงุ ต่างๆตามทแี่ พท์สั่ง ได้แก่ folic acid และวติ ามนิ สาหรบั หญิงตั้งครรภ์ สรุป ภาวะแทง้ คุกคามนั้นสามารถพบได้ถงึ รอ้ ยละ 20-25 ของหญงิ ตัง้ ครรภ์ โดยจะมีอาการเลือดออก ในขณะ ทป่ี ากมดลูกยังไมเ่ ปดิ หากหญิงตัง้ ครรภ์รายใดพบว่าตนเองมีเลือดออกจากช่องคลอดควรรบี มาพบแพทย์ เพอ่ื ทา การตรวจวินจิ ฉัยและรักษาอย่างถูกต้อง หญิงต้ังครรภค์ วรสงั เกตลักษณะของเลือด ปริมาณเลือดที่ออก และอาการ อื่นๆทเี่ กดิ ร่วมดว้ ยเพื่อประกอบการวนิ จิ ฉยั อีกทั้งควรปฏบิ ัตติ วั ตามคาแนะนาของแพทย์ ตงั้ สติตนเองเพอื่ ลดความ วิตกกงั วล โดยภาวะแท้งคุกคามทเ่ี กิดขึ้นน้ี ไมไ่ ดห้ มายความวา่ จะเกดิ การแท้งขึน้ จรงิ ในทุกราย แตย่ งั มีโอกาสท่กี าร ตั้งครรภ์ครงั้ นนั้ จะดาเนนิ ตอ่ ไปได้อยา่ งปกตสิ มบูรณ์ และไม่เกดิ ภาวะแทรกซ้อนอน่ื ๆแก่ทารกและตัวของหญิง ตง้ั ครรภเ์ อง

การผ่าตดั คลอดโดยไม่จาํ เป็ น อาจเสียงต่ออนั ตราย รศ.ดร.นพ.ดิฐกานต์ บริบูรณ์หริ ัญสาร ภาควชิ าสูตศิ าสตร์-นรีเวชวทิ ยา Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล เมือมีชีวิตน้อย ๆ อยใู่ นครรภ์ ความสขุ กม็ าเยือนวา่ ทีคณุ แม่และทกุ คนในครอบครัว และสิงทมี กั จะทํา ให้สตรีตงั ครรภ์ทกุ คนมีความกงั วลอย่างหลีกเลยี งไม่ได้ คือ เรืองการคลอด โดยเฉพาะวิธีการคลอด วา่ จะ “คลอดเองตามธรรมชาติ” หรือจะ “ผา่ ตดั คลอด\" ซงึ การผ่าตดั คลอดนนั เป็ นหนงึ ในความก้าวหน้าของวิทยาการ ทางการแพทย์ ทีมีขนึ เพือให้สามารถชว่ ยให้คณุ แม่และลกู ในท้องมีความปลอดภยั จากการคลอดมากขึนใน กรณที ีเกิดปัญหาระหว่างตงั ครรภ์หรือการคลอด อยา่ งไรก็ตาม พบวา่ ในชว่ งหลายทศวรรษทีผ่านมา อตั ราการผา่ ตดั คลอดได้สงู ขนึ อยา่ งต่อเนืองทวั โลก รวมทงั ในประเทศไทยด้วย ซงึ พบวา่ สว่ นใหญ่นนั เป็ นการผา่ ตดั คลอดโดยไม่มีข้อบง่ ชีทางการแพทย์ทีเหมาะสม ซงึ สว่ นหนงึ เป็ นผลจากปัจจยั ทงั ด้านคณุ แม่และคณุ หมอ เช่น ความเข้าใจผดิ และความกลวั เกียวกบั การคลอด ตามธรรมชาติ ความเชือถือเรืองโชคลางและฤกษ์ยามในการเกิดของลกู ความสะดวกสบายในเรืองการจดั การ เวลา เป็นต้น ผลเสียทอี าจเกดิ ขนึ จากการผ่าคลอด ถึงแม้การผา่ ตดั คลอดอาจจะดเู หมือนเป็ นทางเลอื กทีอาจจะตอบโจทย์ของคณุ แมบ่ างสว่ นได้ แตก่ าร ผา่ ตดั คลอดนนั สามารถสง่ ผลเสียต่างๆ ตอ่ ทงั คณุ แม่และลกู น้อยได้มากกวา่ ทีหลายคนคดิ อยา่ งมากมายดงั นี - ผลเสียในระยะสัน เชน่ การเสียเลอื ดหรือการติดเชือจากการผ่าตดั ลกู อาจมีปัญหาด้านการหายใจ มีการพฒั นาภมู คิ ้มุ กนั ทีไม่ดีเทา่ ทีควร เริมกินนมแมไ่ ด้ช้า เป็ นต้น - ผลเสียในระยะยาว เช่น การเกิดพงั ผืดในช่องท้อง ปัญหารกเกาะลกึ ผิดปกตใิ นการตงั ครรภ์ครัง ต่อไป ซงึ อาจอนั ตรายถึงชีวิตได้ สว่ นลกู นนั ก็จะมีความเสียงตอ่ โรคภมู ิแพ้ โรคอ้วน โรคเบาหวาน เพิมขนึ อีก ด้วย ดงั นนั ทกุ คนควรตระหนกั ว่าการผ่าตดั คลอดนนั ควรทําในกรณีทีมีข้อบ่งชีทางการแพทย์เทา่ นนั เช่น ทารกอย่ใู นท่าทีผดิ ปกติ การเต้นของหวั ใจทารกผดิ ปกติ ภาวะรกเกาะตํา หรือ แมม่ ีภาวะแทรกซ้อนทีรุนแรง เป็ นต้น ซงึ แพทย์จะเป็นผ้พู ิจารณาตามความเหมาะสม เป็ นกรณีไป

คลอดเองทางช่องคลอด มีผลดีอย่างไร การคลอดเองทางชอ่ งคลอดนนั เป็ นเรืองทีธรรมชาตไิ ด้สรรสร้างมาเป็ นอย่างดี ให้มีความเหมาะสม สาํ หรับทงั คณุ แม่และลกู น้อย ทงั ด้านร่างกายและจิตใจ ถึงแม้การคลอดเองนนั คณุ แม่จะต้องเผชิญกบั ความ เจบ็ ปวดและใช้เวลานาน แตก่ ็ค้มุ ค่ากบั การทีได้ลกู น้อยทีแขง็ แรงและมีความพร้อมสาํ หรับการเตบิ โตอย่างมี สขุ ภาพดีต่อไปในอนาคต คณุ แม่ทคี ลอดทางชอ่ งคลอด จะสามารถฟื นตวั ได้เร็ว เจ็บแผลน้อย พร้อมทีจะดแู ลลกู ได้โดยเร็วหลงั คลอด สว่ นลกู น้อยนนั จะผ่านกระบวนการต่างๆ ตามธรรมชาตริ ะหว่างการคลอด ทงั ด้านกายภาพ การ เปลยี นแปลงของฮอร์โมน และการได้รับแบคทีเรียทมี ีประโยชน์เพือกระต้นุ การพฒั นาการของภมู คิ ้มุ กนั เป็ นต้น รวมทงั สามารถเริมดดู นมแม่ได้อยา่ งรวดเร็วหลงั คลอด การทีคณุ แม่ได้โอบกอดลกู น้อยและให้ลกู ได้ดดู นมแม่เกือบจะทนั ทีหลงั คลอด เป็ นความสขุ และ ประสบการณ์ทีไม่สามารถมีอะไรทดแทนได้และเป็ นจดุ เริมต้นทีจะชว่ ยสร้างความผกู พนั ทีดีระหว่างกนั ไป ตลอดชีวิตทีเดียว อย่างไรก็ตาม ปัญหาความเชือและความเข้าใจผิดต่าง ๆ ควรต้องได้รับการแก้ไข ควรมีการ ให้ความรู้ เพือปรับเปลียนทัศนคติของคุณแม่ทตี ังครรภ์เกียวกับวิธีการคลอดทเี หมาะสม โดยความ ร่วมมือจากทกุ ฝ่ ายทเี กียวข้อง และอยากให้ว่าทีคุณแม่ทกี าํ ลังตังครรภ์อย่าเพิงวติ กกับวธิ ีการคลอดไปก่อนล่วงหน้า สิง สาํ คัญทีสุดทีต้องทาํ คอื - ฝากท้องกบั สถานพยาบาลทไี ด้มาตรฐาน - ไปพบแพทย์ตามนดั ทดุ ครังเพือตดิ ตามพฒั นาการของลกู น้อยในครรภ์ - และในกรณีทพี บความผิดปกตหิ รือข้อบ่งชีใด ๆ ทางการแพทย์ จะได้รับการดแู ลรักษาอย่างทนั ท่วงที - สว่ นเรืองการคลอดนัน แพทย์จะเป็ นผ้ปู ระเมินและพดู คยุ ตดั สนิ ใจร่วมกนั กบั ท่านว่าวธิ ีคลอดแบบใด จึงจะปลอดภยั ทีสดุ ทงั กบั ตวั คณุ แม่และลกู น้อยในครรภ์ทีจะลมื ตาดโู ลก เรืองน่ารู้ ในปี 2560 กระทรวงสาธารณสุข ได้ลงนามในข้อตกลงความร่วมมือ กับราชวทิ ยาลัยสูตนิ รี แพทย์แห่งประเทศไทย เพือทีจะร่วมกันดาํ เนินการเพอื ลดการผ่าตดั คลอดทไี ม่จาํ เป็ นในประเทศไทย

โดยได้เริมมีการดาํ เนินการอย่างต่อเนืองมาโดยตลอด แต่ยังคงต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาค ส่วนทเี กียวข้อง ในหลากหลายประเด็น เพอื ให้เกิดความสําเร็จต่อไปในอนาคต

คลอดก่อนกาํ หนด ผศ.นพ.ประภัทร วานิชพงษ์พันธ์ุ ภาควิชาสูตศิ าสตร์ – นรีเวชวทิ ยา Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล คณุ แมท่ ีกําลงั ตงั ครรภ์หลายราย มีความกงั วลใจเรืองภาวะคลอดก่อนกําหนด กลวั วา่ จะเป็น อนั ตรายตอ่ ทารกในครรภ์ ภาวะนีเกิดขนึ ได้อยา่ งไร ป้ องกนั ได้หรือไม่ มาหาคาํ ตอบกนั การคลอดก่อนกําหนดบางสว่ น เกิดจากความจําเป็นทีจะต้องยตุ กิ ารตงั ครรภ์กอ่ นกําหนด เนืองจากคณุ แมเ่ กิดอาการแทรกซ้อนบางประการ เชน่ ภาวะครรภ์เป็ นพษิ ทารกในครรภ์มีการเจริญเตบิ โต ทีผดิ ปกติ แตก่ ารคลอดก่อนกําหนดสว่ นใหญ่นนั เราไมพ่ บสาเหตทุ ีชดั เจน จะมีบ้างในบางรายอาจเกิดจาก การติดเชือ เกิดจากความผิดปกตขิ องมดลกู หรือปากมดลกู หรือเกิดจากความผิดปกตขิ องทารกในครรภ์ สญั ญาณเตือนทีสําคญั ทีบอกวา่ จะเกิดการคลอดก่อนกําหนดขนึ คือ การทีพบวา่ มีภาวะทีมดลกู มี การหดรัดตวั จํานวนครังทีบอ่ ยกวา่ ปกติ เชน่ ทกุ ๆ นาที ร่วมกบั คณุ แมม่ ีอาการเจ็บท้อง หรือมีมกู เลือดออกทางชอ่ งคลอดด้วย ถ้าพบอาการเหลา่ นีให้ไปพบคณุ หมอก่อนนดั ผลกระทบทีเกิดจากการคลอดก่อนกําหนด ซงึ ผลกระทบทีเกิดขนึ ต้องแบง่ เป็น ส่วน คือ ผลกระทบตอ่ ทารกเอง และผลกระทบตอ่ ครอบครัวทีต้องเลียงดทู ารกทีคลอดก่อนกําหนด ผลกระทบแรก คือ ผลกระทบตอ่ ตวั ทารก ทารกทีคลอดก่อนกําหนดนนั จะเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ หลายอยา่ งเนืองจากอวยั วะตา่ ง ๆ นนั ยงั ไมพ่ ร้อมสําหรับการทํางาน ทีพบบอ่ ย คือ ภาวะหายใจลําบาก เนืองจากปอดของทารกนนั ยงั ไมส่ มบรู ณ์ นอกจากนนั อาจจะพบภาวะเลือดออกในสมอง ลําไส้เนา่ ตาย จากการขาดเลือด และการตดิ เชือทีรุนแรงได้ ในทารกทีคลอดก่อนกําหนดทีอายคุ รรภ์น้อยมาก ๆ ภาวะแทรกซ้อนเหลา่ นีอาจจะรุนแรงจนถึงขนั ทําให้ทารกเสียชีวติ ได้ ผลกระทบทีสอง คือ ผลกระทบตอ่ ครอบครัวทีต้องเลียงดทู ารกทีคลอดก่อนกําหนด สําหรับ ครอบครัวทีต้องดแู ลทารกทีคลอดก่อนกําหนดก็จะประสบปัญหาหลายอยา่ งเชน่ เดยี วกนั เนืองจากทารก กลมุ่ นีต้องได้รับการดแู ลเป็นพเิ ศษจะต้องมาโรงพยาบาลหลายครัง คา่ ใช้จา่ ยตา่ ง ๆ ก็จะมากขนึ ตาม ภาวะแทรกซ้อนทีมากขนึ

ปัจจุบันเราสามารถป้ องกันการคลอดก่อนกาํ หนดได้ใน กรณี กรณีแรก ถ้าคณุ แมเ่ คยมีประวตั วิ า่ เคยคลอดก่อนกําหนดในครรภ์ทีแล้ว การตงั ครรภ์ครังนี คณุ หมอจะทําการฉีดฮอร์โมนเข้ากล้ามเนือสปั ดาห์ละ ครังตงั แต่ สปั ดาห์ พบวา่ สามารถลดอตั ราการ คลอดก่อนกําหนดซําลงได้ – % กรณีทีสอง ถ้าทําอลั ตราซาวดว์ ดั ความยาวปากมดลกู และพบวา่ ปากมดลกู สนั กว่า . ซม. เราจะ ให้ฮอร์โมนเหนบ็ ทางชอ่ งคลอดวนั ละ ครัง พบวา่ สามารถลดอตั ราการคลอดก่อนกําหนดลงได้เกือบ % เชน่ เดียวกนั นอกจากนีการพกั ผอ่ นให้เพียงพอ การหลีกเลียงกิจกรรมหนกั ๆ การงดการสบู บหุ รีก็เป็นสิงทีชว่ ย ลดอตั ราการคลอดก่อนกําหนดได้เชน่ เดียวกนั

เลือดออกผิดปกตจิ ากชองคลอด : สัญญาณอันตราย รศ.นพ.พรี พงศ อนิ ทศร ภาควชิ าสตู ศิ าสตร นารเี วชวิทยา Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตรศ ิรริ าชพยาบาล สําหรบั คุณผูหญงิ ไมวา จะอยูในวยั ใดก็ตาม ถา มเี ลือดออกจากชอ งคลอดกระปรดิ กระ ปรอย หรือมากกวา ปกตกิ ็คงจะตกใจไมน อ ย และอาจพาลคิดไปวาเปน มะเรง็ ซง่ึ ไมเ สมอ ไป เพราะเลอื ดออกผิดปกตจิ ากชองคลอดเกดิ ไดห ลายสาเหตุ เพ่ือความเขาใจมารูจกั กับเลอื ด ประจาํ เดอื นปกติกนั กอ น เลือดประจาํ เดือนคอื อะไร เลอื ดทอี่ อกจากชอ งคลอดของคุณผูหญิงทกุ ๆ 21 - 35 วนั ปกตจิ ะมาครง้ั ละไมเ กิน 7 วัน และใชผ าอนามยั วนั ละประมาณ 3 - 4 ผืน บางคนจะเรยี กเลอื ดนว้ี า “เมนส” โดยทวั่ ไปเดก็ ผูห ญงิ จะเรมิ่ มีประจาํ เดือนครงั้ แรกเมอื่ อายปุ ระมาณ 12-13 ป และจะเขาสวู ัยหมดประจําเดือนเมอ่ื อายุ ประมาณ 45-55 ป สาเหตเุ ลอื ดออกผิดปกติ อาจเกดิ ไดห ลายสาเหตุ ไดแ ก 1. ถาเปนผูหญงิ อายนุ อ ย มีเพศสมั พนั ธแลว ไมไ ดคุมกําเนดิ อาจเกิดจากการตงั้ ครรภแ ลวมี ภาวะแทรกซอ น เชน แทง บุตร 2. ผหู ญิงบางคนอาจไปกนิ ยาบางอยางทีม่ ีสว นผสมของฮอรโมนเพศหญิง เชน กวาวเครอื ก็ เปน สาเหตทุ ่ีทาํ ใหมเี ลือดออกผิดปกติได 3. ผูหญงิ ในวยั ทเ่ี พงิ่ เร่ิมมีประจาํ เดอื น เชน อายุ 13 ป หรอื วยั ใกลห มดประจาํ เดือน เชน อายุ 49 ป มักมีภาวะฮอรโมนแปรปรวน ซง่ึ เปนสาเหตุของเลอื ดออกผดิ ปกติ 4. ผหู ญงิ ท่อี ยูใ นภาวะเครยี ด เชน ใกลส อบ นอนดกึ ทะเลาะกบั แฟน ก็เปน สาเหตทุ ี่ทาํ ใหม ี ฮอรโมนแปรปรวน ซึ่งเปน สาเหตขุ องเลอื ดออกผิดปกติ 5. การติดเชอื้ บริเวณอวัยวะสบื พนั ธสุ ตรี เชน ปากมดลกู หรอื เยือ่ บุโพรงมดลกู กส็ ามารถ ทาํ ใหเ กดิ แผลแลวมเี ลอื ดออกได

และสาเหตสุ าํ คัญสุดทา ยทนี่ ากลัวที่สดุ คอื มะเรง็ ในอวยั วะสบื พันธสุ ตรี เชน มะเรง็ ปาก มดลูก หรือมะเรง็ เยอ่ื บุโพรงมดลูก ก็เปนสาเหตทุ ่ที าํ ใหม ีเลือดออกผดิ ปกตใิ นผหู ญงิ ทพ่ี บไดบ อย เชน กนั อาการเลือดออกผิดปกตทิ ่เี กดิ จากมะเรง็ ถาคุณผหู ญงิ มีอาการตอ ไปนี้ นั่นคือสญั ญาณอันตรายทีเ่ ปนขอ บง ชีว้ า อาจเกดิ จากมะเร็ง 1. มเี ลือดออกจากชอ งคลอดกระปรดิ กระปรอย เชน มเี ลือดออกทุกวันหรอื วนั เวนวนั 2. มีรอบประจําเดือนที่เรว็ กวาทกุ 21 วนั เชน รอบน้มี าวนั ท่ี 1 มกราคม 2551 รอบ ถัดไป มาวนั ท่ี 19 มกราคม 2551 3. มเี ลอื ดออกนอกรอบประจําเดือน เชน รอบนเี้ ร่มิ มาวนั ท่ี 1 มกราคม 2551 มาทั้งหมด 4 วนั รอบถัดไปเริ่มมาวนั ท่ี 30 มกราคม 2551 มาท้ังหมด 4 วนั แตใ นวนั ท่ี 15 มกราคม 2551 มี เลอื ดออก เปอ นกางเกงใน 4. มีเลอื ดออกจากชองคลอดปริมาณมากเปน กอน ๆ หรือใชผ า อนามัยมากกวา วนั ละ 5 ผืน 5. มเี ลอื ดออกหลังมเี พศสัมพนั ธ 6. มเี ลอื ดออกหลังจากเขาสวู ยั หมดประจาํ เดอื นไปแลว เชน คณุ ปา วยั 55 ป หมด ประจาํ เดือนไป 3 ป แลวมีเลือดออกจากชองคลอดอีก แพทยจะใหก ารรกั ษาอยา งไร คณุ ผูหญงิ ท่ีมเี ลอื ดออกผดิ ปกติทางชองคลอด ควรรีบไปพบแพทยทนั ทเี พอื่ ตรวจหาสาเหตุ โดยทวั่ ไปแพทยจะซกั ถามประวตั ผิ ูปวยในชว งน้ี เชน ประวัตกิ ารกินยา การคุมกาํ เนดิ หลังจากนน้ั กจ็ ะทาํ การตรวจรา งกายทวั่ ไป เชน วัดไข ความดันโลหติ และขออนุญาตตรวจภายในและตรวจหา มะเร็งปากมดลกู ไปพรอ มกนั ซงึ่ ไมยงุ ยากและไมเ จบ็ โดยคณุ ผหู ญิงจะขึน้ นอนบนเตียงในทา ตงั้ เขา แพทยจะสอดเครื่องมือเล็ก ๆ เขาไปในชองคลอด เพือ่ เก็บน้าํ ในชอ งคลอดไปตรวจหามะเรง็ ปากมดลูก จากนนั้ จะใสน วิ้ มือเขาไปในชอ งคลอดอยางนิ่มนวล เพื่อคลาํ หาวา มเี นอื้ งอกหรอื สงิ่ ผิดปกตหิ รือไม โดยการตรวจนั้นทาํ ในหอ งท่ีมิดชิด มีแพทยเ ปน ผตู รวจและนางพยาบาลอยูเปน เพอ่ื นผูรบั การตรวจ โดยใชเวลาตรวจไมเ กิน 5 นาที แตถา แพทยย งั ไมสามารถหาสาเหตุของเลือดออกผดิ ปกติทแี่ นช ดั ได กอ็ าจจาํ เปนตองขอสง ตรวจวิธพี เิ ศษ เชน ตรวจเลือด ตรวจอลั ตราซาวนด หรอื ถาจาํ เปนจรงิ ๆ แพทยก ็อาจขอขูดมดลูก เพ่ือนาํ ชน้ิ เน้ือไปตรวจวนิ จิ ฉยั หาเซลลมะเร็งตอไป

เตรยี มพรอ มปอ งกนั ได หากสขุ ภาพแข็งแรง ก็จะสง ผลใหร ะบบฮอรโ มนในรา งกายเปน เปน ปกติ ดงั นนั้ คุณผูหญงิ ควรหันมาใสใ จในเรื่องอาหารการกนิ กนิ ใหครบ 5 หมู ไมกนิ ยาใดๆ โดยไมจาํ เปน ย่ิงยาทโี่ ฆษณา วาบาํ รุงผิวพรรณชว ยใหเ ลือดฝาดดี อกี ทง้ั หมนั่ ออกกาํ ลังกายอยา งสม่ําเสมอ รักษาอารมณให แจมใส และสุดทายผหู ญงิ ทกุ คนทมี่ ีเพศสมั พันธแลว หรอื ผหู ญงิ โสดทม่ี ีอายุเกินกวา 35 ป ทกุ คน ควรปรกึ ษาสตู นิ รแี พทยเ พอื่ รบั การตรวจภายในประจาํ ปและตรวจหามะเรง็ ปากมดลูก แมว า จะยงั ไมมอี าการผิดปกตใิ ดๆ ก็ตาม โดยคณุ ผูห ญิงจะตอ งเลอื กไปพบแพทยใ นวันท่ีไมม ี ประจําเดอื น งดมเี พศสมั พันธป ระมาณ 7 วัน และไมตองสวนลางชอ งคลอดกอ นพบ แพทย การตรวจภายในประจําทกุ ปใ นขณะท่คี ุณผหู ญงิ ยงั ไมม ีอาการผดิ ปกติ นับวา เปนขนั้ ตอน สาํ คัญในการปองกนั โรคมะเร็งในสตรี เนอื่ งจากแพทยจ ะสามารถตรวจหาโรคในระยะเร่มิ แรกทยี่ งั ไมมีอาการและสามารถรักษาใหห ายไดเกอื บรอ ยเปอรเ ซ็นตท ีเดียว

การบีบน้านมด้วยมือ (hand expression of breast milk) ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ นพ. เกรียงศกั ดิ์ จรี ะแพทย์ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล การบีบน้านมดว้ ยมือเปน็ เทคนคิ ทมี่ ารดาตอ้ งไดร้ ับการเรยี นรแู้ ละการฝกึ เพราะให้ทงั ประโยชน์และ ความสะดวก ข้อชีบ่งของการบีบน้านมมีดงั นี - ป้องกันหรอื แก้ไขเตา้ นมคัด ภาวะทอ่ น้านมอุดตัน (blocked duct) - เพ่ิมการผลิตนา้ นม - ใหไ้ ดน้ า้ นมส้าหรบั ทารกเม่ือมารดาและทารกต้องแยกจากกนั เช่นทารกอยู่ในหอผปู้ ว่ ยและยังดูด นมเองไม่ได้ - เม่ือทารกไมย่ อมหรือไมส่ ามารถดดู นมจากเตา้ เช่น สับสนวธิ ปี ้อนนม หวั นมแมย่ าว/ใหญม่ ากกวา่ ช่องปากของลูก เพ่ือน้านา้ นมมาป้อนทารกด้วยวธิ ีที่ไม่ใชธ่ รรมชาติ ไดแ้ ก่ ป้อนดว้ ยแก้วหรือขวด การฝกึ วางนวิ มอื จัดนวิ หวั แมม่ อื และนิวชเี ปน็ รูปตัว U และอย่ใู นระนาบ เดยี วกนั วางนวิ เฉพาะกระดูกนิวท่อนปลาย (distal phalanges) ไวบ้ นเตา้ นม หา่ งจากฐานหวั นม 2 นิวมือหรอื 3 ซม.

ห่างจากฐานหวั นม 2 นวิ มอื หรือ 3 ซม. ปลายนิวหวั แมม่ อื ปลายนิวชี และหวั นมอยใู่ นแนว เดยี วกัน การบีบนา้ นมดว้ ยมือมี 3 จังหวะ จังหวะที่ 1 กดนิวเฉพาะกระดูกนวิ ท่อนปลายเขา้ หากระดูก ทรวงอก จงั หวะท่ี 2 - บีบนิวหวั แม่มือและนวิ ชีเฉพาะกระดกู นิวท่อนปลาย เข้าหากนั เพอื่ ให้บีบถกู พนื ท่ีท่เี ป็นตอ่ มสรา้ งนา้ นม กว้างทีส่ ุดและออกแรงบบี ได้ทังสองนวิ โดยที่นวิ อยู่ หลังลานหวั นม ไม่ถูไถไปบนผวิ หนัง และเขา้ ไปในลาน หวั นม - ลานหัวนมต้องไมย่ ่นหรือยู่ การย่นและยู่ของลานนม เวลาบบี นา้ นม เปน็ ปัจจัยของการเกดิ รอยยน่ ของลาน หัวนม (areola wrinkle) - การบบี นา้ นม มารดาต้องไม่เกิดความเจบ็ ปวดและ แผลถลอก

จงั หวะที่ 3 คลายนวิ ท่บี บี โดยนวิ ไมถ่ ูกยกขึนจากผวิ หนัง เมื่อปฏบิ ตั จิ ริง แนวทางการบีบนา้ นมจากเต้ามีขันตอนดังนี 1. ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดดว้ ยสบู่ 2. ใช้ผ้าชุบน้าอุ่นประคบเต้านมประมาณ 3-4 นาทีก่อนบีบน้านม 3. วางนิวมอื ทอี่ ยชู่ ดิ กนั 4 นวิ มอื บนเตา้ นมและคลงึ เต้านมเบา ๆ โดยเคลอ่ื นเป็นรูปวงกลม ตามดว้ ยการเข่ยี เตา้ นมเบา ๆ จากขอบนอกของเต้าสหู่ วั นม ท่วั ทังเต้า เพื่อกระตุ้น let down reflex 4. จดั นิวหัวแม่มือและนวิ ชีเป็นรูปตวั U ท่ีอยูใ่ นระนาบเดยี วกัน แล้ววางไวบ้ นเต้านม หวั แม่มือ อย่ทู ี่ต้าแหน่งหา่ งจากฐานหัวนม 3 ซม. (2 นิวมือ) และนวิ ชวี างใตห้ ัวนมหา่ งจากฐานหวั นม 3 ซม. ปลาย นวิ หัวแม่มอื ปลายนิวชี และหัวนมอยใู่ นแนวเดียวกัน ฝา่ มือไม่สัมผัสหรือโอบเตา้ นม การวางนวิ มอื ใหป้ ลายนวิ หวั แมม่ อื หวั นม และนวิ ชีอยู่ในแนวเดยี วกัน

5. บีบเตา้ นมโดยปฏบิ ัติเป็น 3 จังหวะ 6. ยา้ ยตา้ แหน่งทวี่ างนวิ มือรอบ ๆ ลานหัวนมให้ท่ัว (เช่น วางนิวที่ 12 กับ 6 นาฬิกา และ 3 กบั 9 นาฬกิ า) เมื่อน้านมไหลน้อย เพอ่ื บบี น้านมออกใหท้ ่วั เต้า 7. สลบั เต้าทบี่ บี และเปลี่ยนมือทีบ่ ีบเพอ่ื ให้บีบได้สะดวก เมื่อน้านมไหลช้า 8. เข่ียเตา้ นมตามดว้ ยการบีบนา้ นมซา้ ตามขนั ตอนท่ีกล่าว 9. บบี นา้ นมลงในภาชนะไร้เชือ ท่ีเป็นแกว้ หรอื พลาสติกแข็ง ไมใ่ ช้ขวดพลาสติกท่มี ี bisphenol A 10. การบบี แตล่ ะครงั ใช้เวลาบีบนา้ นมทังสินประมาณ 20-30 นาที การวางนวิ และบีบนา้ นมไมถ่ กู ต้อง เหน็ รอยถลอก จ้าเลอื ด (ecchymosis) และลานหวั นมย่น หมายเหตุ ไมค่ วรใช้พลาสติกอ่อน (ถุงเก็บนา้ นม) เพราะไขมันในนา้ นมแมเ่ กาะจับ และอาจร่วั ท้าใหป้ นเปือ้ น เชอื แต่ถุงเกบ็ น้านมใหค้ วามสะดวกในการเกบ็ มากกว่าการเก็บน้านมในขวด บรรณานุกรม วีณา จีระแพทย์, เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์. กลวิธีสู่ความส้าเร็จในการเลียงลูกด้วยนมแม่. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมดา เพรส จ้ากดั ; 2563.

การตรวจรา่ งกายหลังคลอด...สาคัญอยา่ งไร อ.พญ.นลทั สมภกั ดี ภาควิชาสตู ิศาสตร์-นรเี วชวิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล คุณแมห่ ลงั จากคลอดลกู แลว้ เม่ือกลับไปพกั ฟืน้ ที่บา้ น ทาไมคณุ หมอจึงนัดมาตรวจรา่ งกายหลังคลอด อีกครั้ง มคี วามสาคญั อย่างไร มาทราบเกยี่ วกับเรือ่ งนี้กนั เนื่องจากคุณแมจ่ ะมกี ารเปล่ยี นแปลงของรา่ งกายและอวัยวะต่าง ๆ เกิดขนึ้ ในระหว่างการต้งั ครรภ์และ ขณะคลอด เพราะฉะน้นั จึงมีความจาเปน็ ท่ีคุณแม่0tตอ้ งได้รับการตรวจหลงั คลอด โดยทั่วไปหมอจะนดั มาตรวจ หลงั คลอดประมาณ 4 – 6 สัปดาห์ ซึ่งคุณแม่ไมค่ วรละเลยเรื่องนี้ เพราะจะทาให้คณุ แม่ไดท้ ราบว่ารา่ งกายและ อวยั วะต่าง ๆ ท่มี ีการเปลี่ยนแปลงไปได้กลบั คนื ส่ภู าวะปกติแลว้ หรอื ยัง รวมถงึ มีการใหค้ าปรกึ ษาแนะนาเกีย่ วกบั วิธกี ารคมุ กาเนดิ เพ่ือป้องกันไม่ใหต้ ง้ั ครรภ์ครัง้ ถดั ไปเร็วเกนิ ไปอีกด้วย ในกรณีท่คี ุณแมร่ ูส้ ึกว่ามีอาการผดิ ปกตหิ ลงั คลอด เชน่ มไี ข้ หนาวสัน่ ปวดหนว่ งท้องน้อย มีอาการปวด บวม หรือแดงบรเิ วณแผลฝีเย็บ มีเลอื ดหรือหนองไหล ออกจากแผล น้าคาวปลามีสีแดงสด ไมจ่ างลงภายใน 2 สัปดาหห์ ลังคลอด รวมถงึ มีอาการปวด บวม แดงหรอื มี ก้อนท่ีบริเวณเตา้ นม ควรรีบมาพบแพทย์ก่อนวนั นดั การตรวจหลงั คลอดหลัก ๆ จะประกอบไปด้วยการตรวจรา่ งกายทัว่ ไป และการตรวจภายใน การตรวจรา่ งกายท่ัวไป หมอจะทาการชงั่ นา้ หนัก วัดความดันโลหติ ตรวจหน้าท้อง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ใน กรณีที่คุณแมม่ ีแผลผ่าตดั ทางหน้าทอ้ ง รวมถึงการตรวจเตา้ นม เพอ่ื ประเมินวา่ มปี ริมาณน้านมที่เพยี งพอและไหลดี หรือไม่ การตรวจภายใน หมอจะทาการตรวจบริเวณฝีเยบ็ ดูวา่ แผลฝเี ย็บหายสนิทตดิ ดีแล้วหรือยัง รวมถึงมดลูกมี การเขา้ อ่เู รยี บรอ้ ยดีหรอื ไม่ มีการอักเสบหรือติดเชื้อในโพรงมดลูกหรอื ไม่ ทาการตรวจบรเิ วณปากมดลูก รวมถึงมี การตรวจเช็คมะเร็งปากมดลกู ตามความเหมาะสม นอกจากการตรวจรา่ งกายทว่ั ไปและการตรวจภายในแลว้ หมอจะทาการประเมินถึงสภาวะจติ ใจของคุณ แมด่ ้วย โดยเฉพาะอย่างย่งิ เรื่องของภาวะซึมเศรา้ หลงั คลอด ซึ่งอาจพบได้ในคณุ แม่หลงั คลอดบางราย

การตรวจร่างกายหลงั คลอดจึงมคี วามสาคญั มาก เพราะคุณแม่จะไดร้ บั ทราบถงึ ปัญหาและไดร้ บั คาแนะนา คาปรึกษาจากคุณหมอ รวมท้ังวธิ ีการรกั ษาท่ีถกู ต้องแตเ่ นิ่น ๆ ในกรณที ่ีมีภาวะแทรกซอ้ น คณุ แม่จงึ ควรให้ ความสาคญั กับการมาตรวจตามนดั หลังคลอด เพราะนอกจากจะทาใหห้ มอสามารถทาการวนิ ิจฉัย และใหก้ าร รักษาในกรณีท่ีมภี าวะแทรกซอ้ นได้ในระยะเวลาทเ่ี หมาะสมแลว้ คุณแม่ยงั จะได้รบั คาแนะนาเกยี่ วกบั วธิ ีการ ปฏิบัติตวั ที่ถูกตอ้ งและเปน็ ประโยชนส์ าหรบั คุณแม่และลูกนอ้ ยอีกด้วย

“โรคเยอื บุมดลกู ต่างท”ี สุภาพสตรีควรต้องรู้ รศ.นพ. ประสงค์ ตนั มหาสมุทร ภาควชิ าสูตศิ าสตร์-นรีเวชวทิ ยา Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล “โรคเยือบมุ ดลกู ตา่ งท”ี (Endometriosis) ซงึ เป็ นโรคทางนรีเวชวทิ ยาทีต้องอาศยั ฮอร์โมนเอสโทรเจน (estrogen dependent disease) จึงพบได้บอ่ ยในชว่ งวยั เจริญพนั ธ์ุ โดยช่วงอายทุ พี บได้บ่อยทีสดุ คือ อายุ - ปี มีความชกุ ของโรคในสตรีทวั ไป ร้อยละ - พบความชกุ สงู ขนึ เป็ น ร้อยละ - ในกลมุ่ สตรีทีมีอาการ ปวดท้องน้อยเรือรัง และร้อยละ - ในกลมุ่ ทีมีภาวะมีบตุ รยาก หากมีอาการต่อไปนี ได้แก่ ปวดระดมู าก หรือมีอาการปวดระดทู มี ีอาการปวดเพิมมากขนึ เรือย ๆ ปวด ท้องน้อยเป็นๆ หาย ๆ มานานมากกว่า เดือน มีอาการเจ็บเวลามีเพศสมั พนั ธ์ หรืออาการปวดในตําแหน่งอืน ๆ ในชว่ งทมี ีระดู มีญาติสายตรงเป็นโรคนี และในรายทีมีบตุ รยาก ควรมารับการตรวจกบั สตู ินรีแพทย์เพือทํา การตรวจสบื ค้นและให้การรักษาทเี หมาะสมตอ่ ไป ปัจจยั เสียง ปัจจยั เสียงต่อการเกิดโรคเยือบุมดลูกต่างที ได้แก่ - สตรีทีเริมมีระดตู งั แต่อายนุ ้อย (early menarche)สตรีทีมีรอบระดสู นั และมีปริมาณระดมู าก - ในสตรีทเี ป็ นญาตใิ กล้ชดิ หรือญาติสายตรงของผ้ปู ่ วย (first degree relative) พบความชกุ ของโรค สงู กว่าประชากรทวั ไป 6-10 เท่า พบวา่ โรคเยือบุมดลกู ต่างทีมีแนวโน้มทีพบมากขนึ ในครอบครัวทีมีสมาชิก เป็ นโรคนี - นอกจากนี ยงั พบบอ่ ยในคแู่ ฝด พบว่าในแฝดร่วมไข่ แฝดอีกคนมีโอกาสเป็นโรคสงู ถงึ ร้อยละ - - ปัจจยั ทางด้านพฤตกิ รรม พบวา่ การดมื แอลกอฮอล์เพมิ ความเสยี งต่อการเกิดโรคเยือบมุ ดลกู ต่างที และความเสยี งเพิมขนึ ตามปริมาณของแอลกอฮอล์ทีดืม

ปัญหาทพี บบ่อยของโรคนี มีอาการปวดท้องน้อยเรือรัง คลาํ หรือตรวจพบถงุ นํารังไขท่ ีเรียกว่า ชอ็ กโกแลตซีสต์ (chocolate cyst) และภาวะมีบตุ รยาก อาการทีพบได้บอ่ ยทีสดุ คือ อาการปวดท้องน้อย ซงึ ประกอบไปด้วย อาการปวดระดู ปวด ท้องน้อยระหวา่ งรอบระดู และเจ็บเวลามีเพศสมั พนั ธ์ ซงึ จะมีอาการอย่างใดอยา่ งหนึง หรือหลายอยา่ งร่วมกนั ก็ ได้ โดยอาการปวดท้องน้อยเหลา่ นีมกั เป็ นมานานเรือรัง อาการปวดระดู เป็ นอาการทีพบบอ่ ยทีสดุ โดยพบได้ร้อยละ - โดยเฉพาะถ้าอาการปวดระดเู ป็น อาการทีไม่เคยเป็ นมาก่อน แล้วมีอาการปวดรุนแรงขนึ เรือย ๆ (progressive dysmenorrhea) เป็ นอาการที ค่อนข้างจําเพาะต่อโรคนี และทาํ ให้สงสยั วา่ น่าจะเป็ นโรคนี การวนิ ิจฉัย สามารถทําได้โดยการใช้ลกั ษณะทางคลนิ ิก (clinical diagnosis) การวนิ ิจฉยั โดยการตรวจภาพ วนิ จิ ฉยั (imaging diagnosis) และการวนิ ิจฉยั โดยการใช้กล้องสอ่ งตรวจชอ่ งท้อง (surgical diagnosis) ซงึ การใช้กล้องสอ่ งตรวจชอ่ งท้องเพือวนิ ิจฉยั (diagnostic laparoscopy) ถือเป็ นมาตรฐาน (gold standard) ใน การวินิจฉยั โรค การตรวจคลนื เสียงความถีสงู ทางชอ่ งคลอดมีประโยชน์มากในการวินิจฉยั ผ้ปู ่ วยทมี ีช็อกโกแลตซีสต์ โดยมีความไวในการวินิจฉยั ช็อกโกแลตซีสต์ร้อยละ และมีความจําเพาะร้อยละ การเลอื กวิธีการรักษาโรคจะต้องพิจารณาจากหลาย ๆ ปัจจยั ได้แก่ อายขุ องผ้ปู ่ วย สถานภาพสมรส ความต้องการมีบตุ ร ความรุนแรงของโรค และผลการรักษาทีเคยได้รับมาก่อน โดยทวั ไป ในกรณีทีไม่ต้องการมีบตุ ร มกั เริมให้การรักษาด้วยยาฮอร์โมนกอ่ น แล้วประเมิน ผลการรักษาว่าตอบสนองตอ่ ยาหรือไม่ สว่ นในกรณีทีต้องการมีบุตร จะไม่ให้การรักษาด้วยยาฮอร์โมน เนืองจากระหว่างการรักษาจะไม่มีการตงั ครรภ์เกิดขนึ และหลงั หยดุ ยาก็ไม่ได้ช่วยทําให้การตงั ครรภ์ดีขนึ แนะนําให้พยายามทําให้เกิดการตงั ครรภ์ขนึ โดยอาจเป็นการตงั ครรภ์เอง (spontaneous pregnancy) หรือ เป็ นการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพนั ธ์ุ (assisted reproductive technology) การรักษาด้วยยาฮอร์โมนถือเป็ นการรักษาหลักสาํ หรับโรคนี ยาฮอร์โมนทใี ช้ในการรักษาโรคเยือ บมุ ดลกู ตา่ งทีในปัจจบุ นั มีดงั ต่อไปนี . ยาเม็ดคมุ กําเนิดชนิดฮอร์โมนรวม (combined oral contraceptive pills) . โพรเจสโทเจน (progestogen) . ยาทีออกฤทธแิ บบฮอร์โมนเพศชาย ได้แก่ danazol และ gestrinone

4. Gonadotropin releasing hormone agonist 5. Gonadotropin releasing hormone antagonist 6. Aromatase inhibitor ระยะเวลาในการรักษาด้วยยา ประมาณ - เดือน เมืออาการดีขนึ แล้ว แพทย์จําเป็นต้องให้การ ป้ องกนั การกลบั เป็ นซําจนกว่าผ้ปู ่ วยจะต้องการมีบตุ ร ซงึ จะมียาเพียง กลมุ่ เทา่ นนั ทีจะใช้ในการป้ องกนั การ กลบั เป็นซําในระยะยาวได้ คือ ยาเม็ดคมุ กําเนิดชนิดฮอร์โมนรวมและโพรเจสโทเจน การผ่าตัดผ่านกล้องส่องตรวจในช่องท้องมักจะทาํ ในกรณีต่อไปนี . ช็อกโกแลตซีสต์ทีมีขนาดมากกว่า ซม. เนืองจากการรักษาด้วยยาไมส่ ามารถกําจดั ได้ และยงั ได้ผลตรวจทางพยาธวิ ทิ ยามายืนยนั การรักษา นอกจากนี ยงั สามารถตรวจวา่ มีมะเร็งเกิดขนึ ในซีสต์หรือไม่ . ผู้ป่ วยทมี ีปัญหามีบตุ รยาก การผา่ ตดั เหมาะสําหรับผ้ปู ่ วยทีต้องการแก้ไขภาวะมีบตุ รยาก การ รักษาด้วยยาช่วยรักษาอาการปวด แตไ่ ม่ช่วยให้การตงั ครรภ์ดีขนึ ซงึ การผ่าตดั จะชว่ ยทาํ ให้เกิดการตงั ครรภ์เอง ได้มากขนึ และยงั ช่วยรักษาอาการปวดจากโรคให้ดีขนึ ด้วย จงึ เป็ นการแก้ปัญหาทงั สองอยา่ งได้พร้อมกนั . ในรายทไี ม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา หรือได้ผลไม่เป็ นทีนา่ พอใจ ซงึ ผ้ปู ่ วยอาจเป็ นโรคอืน หรืออาจมีรอยโรคทีรุนแรงและไมต่ อบสนองต่อยา ดงั นนั ควรทําการใช้กล้องสอ่ งตรวจช่องท้อง เพือให้ได้การ วินิจฉัยโรคทีแน่นอน และให้การรักษาด้วยการผา่ ตดั ไปในคราวเดียวกันเลยการผา่ ตดั จะทําในรายทีไม่ ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา อยา่ งไรก็ตาม การผา่ ตดั รักษาโรคนี ควรทาํ โดยการผ่าตดั ผา่ นกล้องสอ่ งทางหน้าท้อง โดยเฉพาะใน รายทีทําผ่าตดั แบบอนรุ ักษ์ ซงึ เป็นการผ่าตดั ทีได้ผลดี เห็นรอยโรคได้ชดั เจน ทําให้เกิดพงั ผืดน้อย และผ้ปู ่ วยฟื น ตวั ได้เร็ว แตก่ ารผา่ ตดั โรคนี ในรายทีมีรอยโรครุนแรง เป็ นการผา่ ตดั ทียาก และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนที รุนแรงได้สงู เชน่ การบาดเจ็บตอ่ ลาํ ไส้ ท่อไต และกระเพาะปัสสาวะ เป็ นต้น จงึ จาํ เป็นต้องอาศยั แพทย์ที เชียวชาญการผา่ ตดั ผ่านกล้องทีมีทกั ษะและประสบการณ์ จงึ จะทาํ ให้ได้ผลการรักษาทีดี เกดิ ภาวะแทรกซ้อน น้อย ความพร้ อมของศิริราช สาํ หรับคณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล ม.มหดิ ล มีความพร้อมสงู ในการผ่าตดั ผา่ นกล้องสอ่ งทาง หน้าท้อง มีเครืองมือทีทนั สมยั และมีอาจารย์แพทย์ทีเชียวชาญในการผา่ ตัดโรคนีอย่หู ลายทา่ น และมีศนู ย์ฝึก ผา่ ตดั ผ่านกล้อง ไทย-เยอรมัน มีการจดั อบรมการผ่าตดั ผา่ นกล้องสาํ หรับโรคนีอย่เู ป็ นประจํา ซงึ ได้เชิญ วทิ ยากรทีมีชือเสยี งและมีฝี มือในการผา่ ตดั จากต่างประเทศมาร่วมสอนและสาธิตการผา่ ตดั (ข้อจํากดั ของการ

รักษาในปัจจบุ นั คือ ยงั ไมม่ ีทีมแพทย์สหสาขาทจี ะร่วมทําการผา่ ตดั ผ่านกล้องสอ่ งทางหน้าท้อง ในกรณีผ้ปู ่ วย ทมี ีรอยโรคทีลําไส้และระบบทางเดนิ ปัสสาวะ ทําให้การผ่าตดั ในบางรายยงั คงมีรอยโรคเหลอื อย่)ู นอกจากนียงั มีหนว่ ยงานทีเกียวข้องในการดแู ลผ้ปู ่ วยอย่างครบวงจร ได้แก่ หนว่ ยต่อมไร้ทอ่ ทางนรีเวช หน่วยการใช้กล้องสอ่ งตรวจและรักษาทางนรีเวช และหน่วยผ้มู ีบตุ รยาก ภาควชิ าสตู ิศาสตร์-นรีเวชวิทยา ซงึ ทางหน่วยตอ่ มไร้ท่อทางนรีเวชได้มีการศกึ ษาวิจยั เกียวกบั ยาทีใช้ในการรักษาโรคนี เช่น ห่วงคมุ กําเนิดทีมี ฮอร์โมนลีโวนอร์เจสเทรล ซีงเป็ นงานวิจยั ชนิด randomized controlled trial ทีเป็น ใน งานวิจยั เกียวกบั หว่ งชนิดนีในการรักษาโรคเยือบมุ ดลกู ต่างที ทีเข้าเกณฑ์ของ Cochrane review ในการศกึ ษาแบบ meta- analysis ซงึ พบวา่ ได้ผลดีในการรักษาโรคและมีผลข้างเคียงน้อย นอกจากนียงั มีการศกึ ษาการใช้ฮอร์โมนโพ รเจสทนิ ทีมีขนาดตําทีสดุ เท่าทีมีการศกึ ษามาในการรักษาโรคนีคือ desogestrel ขนาด ไมโครกรัม ข้อมลู จากการศกึ ษาทีผา่ นมา พบวา่ ผ้ปู ่ วยได้รับการวนิ ิจฉยั โรคและการรักษาค่อนข้างช้า โดยใช้เวลา เฉลยี ถงึ ปี ตงั แตเ่ ริมมีอาการจนถึงได้รับการวินิจฉยั โรคทีถกู ต้อง ผ้ปู ่ วยจะได้รับการวินจิ ฉยั ได้เร็วขนึ หาก แพทย์ทีไปพบคนแรกเป็ นสตู ินรีแพทย์ ดงั นนั มีความจําเป็ นทีแพทย์เวชปฏิบตั ทิ วั ไปควรรู้จกั การวนิ ิจฉยั และ การรักษาโรคนี รวมถงึ การส่งตอ่ ให้แพทย์เฉพาะทางดแู ลต่อในรายทีไม่ตอบสนองตอ่ การรักษาด้วยยา มีภาวะ มบี ตุ รยาก และมีช็อกโกแลตซีสต์ สาํ หรับตวั ผ้ปู ่ วยเองควรจะต้องรู้จกั อาการของโรคนี และมารับการตรวจเพือให้ได้รับการรักษาทีรวดเร็ว เพือป้ องกนั ผลเสียทีจะเกิดขึนตอ่ ภาวะเจริญพนั ธ์ุ สตรีทีมีอาการปวดระดมู าก หรือมีอาการปวดระดทู มี ีอาการ ปวดเพมิ มากขนึ เรือย ๆ ปวดท้องน้อยเป็ นๆ หาย ๆ มานานมากกวา่ เดือน มีอาการเจบ็ เวลามีเพศสมั พนั ธ์ หรืออาการปวดในตาํ แหน่งอืน ๆ ในชว่ งทีมีระดู มีญาติสายตรงเป็ นโรคนี และในรายทีมีบุตรยาก ควรมารับ การตรวจกบั สตู นิ รีแพทย์เพือทําการตรวจสืบค้นและให้การรักษาทเี หมาะสมต่อไป

โรค APS ในสตรีตังครรภ์ รศ.นพ.กุศล รัศมีเจริญ ภาควชิ าสูตศิ าสตร์ – นรีเวชวิทยา Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล ปัญหาสําคญั ของสตรีตงั ครรภ์โดยเฉพาะในชว่ งแรกของการตงั ครรภ์ คือ ภาวะแท้งบตุ ร ซงึ เป็น ปัญหาทีพบได้บอ่ ย และมีโอกาสเกิดขนึ ได้ในสตรีตงั ครรภ์ทกุ คน หนงึ ในสาเหตขุ องการแท้งซํา ๆ ตดิ ตอ่ กนั ทีพบได้ คือ โรค APS มารู้จกั โรคนีกนั โรค APS ยอ่ มาจากคําวา่ Antiphospholipid Syndrome คือ กลมุ่ อาการต้านฟอสโฟลิพดิ จดั เป็นโรคความผิดปกตขิ องระบบภมู ิค้มุ กนั ทําลายตนเองชนิดหนงึ (หรือเรียกวา่ Autoimmune) ซงึ เกิด จากการทีร่างกายสร้างสารภมู ติ ้านทานไปกําจดั สารทีเรียกวา่ ฟอสโฟลพิ ดิ ซงึ ฟอสโฟลิพดิ คือ สารจําพวก ไขมนั ทีเป็นสว่ นประกอบสําคญั ของเซลล์ตา่ ง ๆ ในร่างกาย โดยกลมุ่ เสียงทีจะเป็นโรคนี ได้แก่ เพศหญิง ซงึ จะมีโอกาสเป็นมากกวา่ เพศชาย หรือในคนทีเป็ นโรคความผดิ ปกตขิ องระบบภมู ิค้มุ กนั ทําลายตนเอง (หรือ เรียกวา่ Autoimmune) เชน่ โรค S.L.E. ก็จะมีโอกาสพบโรคนีร่วมด้วยได้ หรือในบางรายทีเป็นโรคติดตอ่ บางชนดิ เชน่ โรคซิฟิลิส หรือแม้กระทงั ในรายทีมีประวตั คิ นในครอบครัวเป็นโรคนีก็จะมีความเสียงทีจะเกิด โรคนี หรือภาวะนีเพิมขนึ ได้ โดยทวั ไปผ้ทู ีเป็นโรคนีจะมีความเสียงของการเกิดภาวะลิมเลือดอดุ ตนั ในหลอดเลือด ไมว่ า่ จะเป็น หลอดเลือดดาํ หรือหลอดเลือดแดงทีไปเลียงอวยั วะตา่ ง ๆ ทวั ร่างกาย โดยอาการจะขึนอยกู่ บั วา่ การเกิด ลิมเลือดอดุ ตนั ไปเกิดกบั หลอดเลือดทีไปเลียงอวยั วะใด แตส่ ําหรับในสตรีตงั ครรภ์ โรคนีจะสง่ ผลกระทบ ในทางลบกบั การตงั ครรภ์ ไมว่ า่ จะเป็นสาเหตขุ องการทําให้เกิดการแท้งซําซาก หรือเป็ นการแท้งทีเกิดขนึ เองตดิ ตอ่ กนั สามครัง หรือในรายทีการตงั ครรภ์ดาํ เนินตอ่ ไปได้ก็จะเกิดปัญหา ไมว่ า่ จะเป็นในเรืองของ ภาวะทารกเจริญเตบิ โตช้าในครรภ์หรืออาจจะรุนแรงถึงขนั ทําให้ทารกในครรภ์เสียชีวิตได้ หรืออาจจะเพิม ความเสียงของภาวะการคลอดก่อนกําหนด และภาวะครรภ์เป็นพิษได้ การวินจิ ฉยั โรคนีทําได้โดยการซกั ประวตั ิ และอาการดงั ทีกลา่ วแล้วข้างต้น ร่วมกบั การเจาะเลือด สง่ ตรวจทางห้องปฎิบตั กิ าร เพือหาสารภมู ิต้านทานตอ่ สารฟอสโฟลพิ ิด โดยจะต้องตรวจพบความผดิ ปกติ ของคา่ เลือดสองครังหา่ งกนั 12 สปั ดาห์

ในสว่ นของการรักษา ในรายทีเป็นโรคนีและมีการตงั ครรภ์เกิดขนึ แพทย์จะทําการให้ยาในกลมุ่ แอสไพรินขนาดตํารับประทานร่วมกบั การฉีดยาในกลมุ่ heparin ซงึ เป็นยาต้านการแข็งตวั ของเลือดไป ตลอดการตงั ครรภ์ เพือให้ได้ผลลพั ธ์ของการตงั ครรภ์ทีใกล้เคียงกบั คนปกตใิ ห้มากทีสดุ สําหรับผ้หู ญิงทีตรวจพบวา่ เป็นโรคนีแล้วมีการวางแผนทีจะตงั ครรภ์ หรือตรวจพบวา่ ตงั ครรภ์แล้ว แนะนําให้รีบไปปรึกษาสตู แิ พทย์ เพราะวา่ การดแู ลรักษาจะเป็นการดแู ลรักษาร่วมกนั ระหวา่ งสตู แิ พทย์กบั อายรุ แพทย์ทางโลหิตวิทยา เพือให้ผลลพั ธ์ของการตงั ครรภ์ใกล้เคียงปกตมิ ากทีสดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook