Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sar 62 ประถม

sar 62 ประถม

Published by chattakankoson, 2020-06-28 03:56:15

Description: sar 62 ประถม

Keywords: sar 62

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษารายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ (Self – Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2562 ระดบั ระถมศึกษา โรงเรียนชาติตระการโกศล สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ ก คานา รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2562 โรงเรียนชาติตระการโกศล ฉบับน้ี จัดทาขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ความว่า ให้สถานศึกษาจัดให้มี ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม มาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมท้ังจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และดาเนินการ ตามแผนที่กาหนดไว้ จัดใหม้ กี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการ ดาเนินการ เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมิน ตนเองให้แก่หนว่ ยงานต้นสงั กดั หรือหนว่ ยงานท่กี ากบั ดแู ลสถานศกึ ษาเปน็ ประจาทุกปี ซง่ึ เป็นผลสาเร็จจากการ บริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 3 มาตรฐานได้แก่ คุณภาพของผเู้ รยี น กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการ สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อนาเสนรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีกากับดูแล ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการ ประเมินภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และผู้ท่ีมีส่วน เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 คณะ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรยี นชาติตระการโกศล ในปกี ารศกึ ษา 2563 ตอ่ ไป นิพิฐพนธ์ ทัพพ์ชัยศิริ ผอู้ านวยการโรงเรยี นชาติตระการโกศล 7 พฤษภาคม 2563

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ ข สารบญั หน้า ก เรอ่ื ง ข คานา ค สารบัญ 1 บทสรุปของผบู้ รหิ าร 1 1 ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา 2  ขอ้ มูลทวั่ ไป 4  ขอ้ มลู ครูและบุคลากร 14  ขอ้ มลู นักเรยี น 14  ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 14 ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 17  ระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 20 15 ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 15 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั สว่ นท่ี 3 สรุปผลและแนวทางการพัฒนา  ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ภาคผนวก

รายงานการประเมินคุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ ค บทสรปุ ของผบู้ รหิ าร บทสรุป การนาเสนอผลการประเมินคุณภาพภายใน จากการดาเนินงานกิจกรรมและโครงการของสถานศึกษา ท้ังในระดับประถมศึกษา โรงเรียนชาติ ตระการโกศลได้ตระหนักและเล็งเห็นว่าคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนน้ันส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาและ ผู้ปกครอง ได้ให้ความร่วมมือในการพัฒนาสถานศึกษาให้เท่าเทียมคุณภาพโดยใช้ระบบประกันคุณภาพภายใน เป็นการดาเนินการควบคุม โดยใช้ระบบวงจร PDCA เป็นเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ เพื่อให้ทุกๆ กิจกรรม ส่งผลดีไปยังผู้เรียน และเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมตาม สภาพอย่างหลากหลาย จึงสรปุ ผลการดาเนนิ งานคณุ ภาพใน 3 ดา้ น ดงั น้ี โรงเรียนชาติตระการโกศลจัดการเรียนการสอนระดับประถมศกึ ษา จัดทารายงานการประเมินคุณภาพ ของตนเอง (SAR) ปกี ารศึกษา 2562 เสนอต่อหนว่ ยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่น ๆ ผลการประเมนิ ตนเอง ในภาพรวมอยู่ที่ระดับ ดี มผี ลการดาเนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปนี้ โรงเรียนกาหนดมาตรฐานการศึกษา ด้านคุณภาพผู้เรียน จาแนกออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้าน ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น และ 2) ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้น ให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การคิดคานวณ รวมท้ังการมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการ สร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติท่ีดีต่องาน อาชีพ สาหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่ สถานศกึ ษากาหนด และมสี ุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถ่ิน และความเป็นไทยการยอมรับ ที่จะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ประเด็นภาพความสาเร็จ ด้านคุณภาพผู้เรียน สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และได้กาหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน ย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนา สูงข้ึน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคานวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ จัดแหล่งเรียนรู้ภายในให้เหมาะสม มีส่ือด้านเทคโนโลยีท่ีทันสมัย จัด กิจกรรมให้ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี มีความกล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมี ความสุข เน้นทักษะการทางานร่วมกัน ทาให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิด คานวณเปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกาหนดในแต่ระดับชั้น พิจารณาอย่างรอบคอบ โดยใช้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความสามารถในการรวบรวม ความรู้ได้ทั้งด้วยตนเอง และการทางานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์ สิ่งใหม่ ๆ จากการเรียนรู้ การจัดการศึกษาต้องเป็นไป เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา ความรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสขุ ดงั น้ัน โรงเรยี นชาตติ ระการโกศล จงึ ได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจานวน ๒ ด้าน ได้แก่ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ในด้านผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การคิดคานวณ รวมท้ังการมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มี

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคตทิ ีด่ ตี ่องานอาชีพ สาหรับ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ และค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากาหนด มีสุขภาวะทางร่างกาย ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับท่ีจะอยู่ ร่วมกันบนความแตกต่างอย่างหลากหลาย โดยมีประเด็นภาพความสาเร็จด้านคุณภาพผู้เรียน ดังนี้ นักเรียนมี ทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณเป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนดในแต่ระดับช้ัน มีความสามารถในการคิดจาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบ โดยใช้เหตุผล ประกอบการตดั สนิ ใจ มกี ารอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความสามารถใน การรวบรวมความรูไ้ ดท้ ั้งดว้ ยตนเองและการทางานเป็นทีม เช่ือมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการ สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิด โครงการ โครงงาน ช้ินงาน ผลผลิตความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน อย่างสร้างสรรค์ มีคุณธรรม มีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา จากพื้นฐานเดิมในด้าน ความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ กระบวนการตา่ ง ๆ รวมทั้งมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการ ทดสอบอื่น ๆ มีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ มีเจตคติท่ีดี พร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น การ ทางานหรืองานอาชีพมีพฤตกิ รรมเปน็ ผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสานึกตามที่ สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม มคี วามภูมิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของ ความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญา ผู้เรียนยอมรับการอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่างระหวา่ งบุคคลในดา้ น เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี มกี ารรักษาสุขภาพ กาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมี ความสขุ เข้าใจผอู้ น่ื ไม่มคี วามขดั แยง้ กับผู้อ่ืนทั้งน้ีโดยภาพรวม คณุ ภาพ อยูท่ ี่ระดับ ดี ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ เพ่ือให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการ คุณภาพของสถานศึกษา ในโรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ ขอ้ มลู ฐานในการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจ ในดาเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบ ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยงกับวิถีชีวิต จัดทาแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา ดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการของครูและ สถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนโดย ประเมนิ ภาพความสาเร็จดงั น้ี โรงเรยี นมีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่โรงเรียนกาหนดชัดเจน สอดคล้องกับ บริบทของโรงเรียน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้นสังกัด รวมท้ังทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคมมีระบบ การบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยนาแผนไปปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเน่ือง มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากร ทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการนิเทศภายใน นาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร และ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษามีการ บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ พัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เชือ่ มโยงวิถีชีวิตและครอบคลมุ ทุกกลุม่ เปา้ หมาย รวมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มที่เรียนแบบควบรวม และกลุ่มเรียนร่วม มีการส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรตรงตามความต้องการและจัดให้มีชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ท้ังภายในและ ภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ มีความ

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ ปลอดภัยจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ สภาพของโรงเรียน จัดหา พัฒนาและบริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ จัดให้มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เพอื่ ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นร้อู ย่างเหมาะสม ทงั้ น้ี โดยภาพรวม คณุ ภาพ อยทู่ ี่ระดบั ดี ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั โดยการดาเนนิ งานกิจกรรม/ โครงการอยา่ งหลากหลาย มงุ่ สง่ เสรมิ ใหค้ รูจัดการเรียนการสอนเนน้ ทกั ษะกระบวนการคิด ปฏบิ ัตจิ รงิ เพื่อ นาไปสกู่ ารเรียนรทู้ ีล่ ึกซง้ึ และคงทน ตามมาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของหลักสตู รสถานศึกษา นกั เรยี นมีสว่ นรว่ ม ครู ร้จู กั ผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล ดาเนนิ การตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทัง้ ร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และนาผลทีไ่ ด้มาปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้ โดยครูมีแผนการจดั การเรยี นรู้ DLTV ที่สามารถนาไปใชจ้ ัดกิจกรรมได้จรงิ มีการบริหารจัดการช้ันเรยี นเชงิ บวก เพื่อให้เดก็ รักการเรียนร้แู ละ เรยี นรู้รว่ มกันอยา่ งมีความสุข ครูรว่ มแลกเปล่ียนเรยี นรู้ โดยใช้ PLC ร่วมกนิ คิดแกป้ ญั ญาหาการจัดการเรยี น การสอนและนาข้อมลู มาร่วมพฒั นาปรบั ปรุงการจัดการเรียนร้ตู ามแผน เพ่ือซ่อมเสริมนักเรยี น ครูผลิต นวตั กรรม อกี ทงั้ ปรบั โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรยี นรูล้ ดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ สัดสว่ นคะแนนแต่ละหนว่ ย กาหนดคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ทีส่ อดคล้องกบั หนว่ ยการเรียนรู้ สนับสนุนใหค้ รจู ดั การเรยี นการสอนท่ีสรา้ ง โอกาสให้นักเรียนทกุ คนมีส่วนรว่ ม ไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ จนสรุปความรู้ได้ดว้ ยตนเอง จดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ทกั ษะการคิด เช่น จัดการเรยี นรดู้ ว้ ยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าทีใ่ ห้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศ ตามสถานทีต่ า่ ง ๆ ทง้ั ภายในและนอกห้องเรียน ครูใชส้ อื่ การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมปิ ัญญา ทอ้ งถิ่น มีการประเมนิ คุณภาพและประสิทธิภาพของส่ือการสอน ครูทุกคนทางานวจิ ัยในชัน้ เรยี น โดย ใหน้ กั เรียน นาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้ และจดั กิจกรรมสาหรับนักเรยี นทีต่ ้องการความชว่ ยเหลือเปน็ พเิ ศษ ไดฝ้ กึ ทักษะ แสดงความคิดเห็น แสดงออก สามารถสรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ได้ ครสู ามารถใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ รวมท้ังนาภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ มาใช้ใน การจดั การเรียนรู้ นักเรยี นได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือทห่ี ลากหลาย ครูมีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นเชงิ บวก เนน้ การมีปฏสิ มั พนั ธ์ ระหว่างเด็กกับครู ครูกบั เด็ก เด็กกับเด็ก เดก็ รักการเรียนรู้ และสามารถอยู่ร่วมกัน ไดอ้ ย่างมีความสุข ครรู ่วมกันออกแบบการวัดผลประเมนิ ผลเพอ่ื ตรวจสอบ และประเมินผู้เรียนอยา่ งมีข้ันตอน ใช้เคร่ืองมือ วธิ กี ารวัดและประเมินผลทีเ่ หมาะสมพรอ้ มทง้ั นาผลไปใชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รยี น ครผู ู้สอนร่วมกัน แลกเปลย่ี นความรู้และประสบการณเ์ ป็นชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี และนาไปปรับปรุง /พฒั นาการ จดั การเรียนรู้ ท้งั น้ี โดยภาพรวม คณุ ภาพ อยู่ท่รี ะดับ ดี

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ 1 สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา 1.ขอ้ มูลท่ัวไป ชอ่ื สถานศกึ ษา : โรงเรียนชาติตระการโกศล ทอี่ ยู่ : หมทู่ ่ี 7 ตาบลทงุ่ หมอ อาเภอสะเดา จงั หวดั สงขลา 90240 สังกัด : สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 โทรศัพท์ : .......-................................................................................................... โทรสาร : .......-............................................................................................................. E-mail : [email protected] Website : ..........-.......................................................................................................... เปิดสอน : ระดับช้นั อนุบาล ถึง ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 2. ข้อมลู ครูและบุคลากรของสถานศกึ ษา ชื่อผู้อานวยการโรงเรยี น : นายนิพิฐพนธ์ ทพั พ์ชยั ศริ ิ โทรศพั ท์ : 063-0924384 E-mail : [email protected] วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสุด : ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวชิ า การบรหิ ารการศึกษา ดารงตาแหน่งที่โรงเรยี นนตี้ ั้งแต่ วนั ที่ 1 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2561 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา 1 ปี 1 เดือน 1) จานวนครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา บคุ ลากร ผบู้ รหิ าร ครูผู้สอน พนกั งานราชการ ครอู ัตราจา้ ง เจา้ หนา้ ท่ี จานวน 1 ธุรการ 3 2 -1 2) วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ ของบคุ ลากร จานวน ต่ากว่าปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม บุคลากร - 51 - 6 จานวน

รายงานการประเมินคุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ 2 3) สาขาวิชาท่จี บการศึกษาและภาระงานสอนต่อสปั ดาห์ ที่ กลุ่ม/สาระการเรยี นรู้ จานวน(คน) ภาระงานสอนเฉล่ีย 1 คน:สปั ดาห์ 1 ปฐมวยั 1 20/สัปดาห์ 2 ประถมศกึ ษา 1 25/สปั ดาห์ 3 คอมพวิ เตอร์ 1 25/สปั ดาห์ 4 การศกึ ษาพเิ ศษ ปริญญาโท 1 25/สัปดาห์ 5 เทคโนโลยีและนวตั กรรม ฯ 1 25/สัปดาห์ 24/สัปดาห์ เฉล่ีย / รวม 3. ข้อมลู นกั เรยี น 1) จานวนนักเรยี นโรงเรยี น ปีการศกึ ษา 2562 รวม 46 คน (ข้อมลู 10 พฤศจกิ ายน 2562) ชั้น จานวนหอ้ ง นกั เรยี นชาย นักเรียนหญิง รวม เฉล่ียต่อห้อง (คน) (คน) อนบุ าลปที ี่ 1 1 2 13 อนบุ าลปีท่ี 2 1 3 2 5 13:1 อนบุ าลปีที่ 3 1 3 2 5 รวม 3 8 5 13 ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 1 3 1 4 4:1 ประถมศึกษาปีที่ 2 1 3 4 7 7:1 ประถมศึกษาปีท่ี 3 1 1 3 4 9:1 ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 1 3 2 5 ประถมศกึ ษาปีที่ 5 1 5 27 ประถมศกึ ษาปีที่ 6 1 5 1 6 13:1 รวม 6 20 13 33 รวมท้ังสิน้ 9 28 18 46

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ 3 2) จานวนนักเรียนโรงเรยี น ชาติตระการโกศล เปรียบเทยี บ ปีการศกึ ษา 2560 -2562 ชนั้ ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 อนบุ าลปีที่ 1 5 5 3 อนุบาลปที ี่ 2 5 9 5 อนบุ าลปที ี่ 3 4 6 5 14 20 13 รวม 3 6 4 ประถมศึกษาปที ่ี 1 7 5 7 ประถมศึกษาปีท่ี 2 5 7 4 ประถมศกึ ษาปีที่ 3 6 7 5 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 2 6 7 ประถมศึกษาปีที่ 5 5 2 6 ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 28 33 33 42 53 46 รวม รวมทั้งส้นิ

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ 4 4. ข้อมูลผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นระดบั สถานศึกษา (ขอ้ มลู 31 มีนาคม 2562) ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 1) ร้อยละของนกั เรียนท่ีมเี กรดเฉลยี่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นแตล่ ะรายวชิ าในระดบั 3 ข้ึนไป ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง ระดับช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 รายวิชา (พ้นื ฐาน) ระดบั ช้ัน จานวน ภาษาไทย นกั เรียน ค ิณตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ ัสงคมศึกษาฯ ประ ัวติศาสตร์ ภาษา ัองกฤษ ุสข ึศกษาฯ ศิลปะ การงานอา ีชพ ฯ ป.1 4 75.00 75.00 75.00 75.00 1000 50.00 100 100 100 ป.2 7 71.42 28.57 28.57 85.71 42.85 0 85.71 42.85 71.42 ป.3 4 50.00 50.00 50.00 25.00 25.00 0 100 50.00 100 ป.4 5 20.00 40.00 20.00 60.00 40.00 20.00 60.00 60.00 60.00 ป.5 7 57.14 42.85 57.14 85.71 71.42 42.85 71.42 42.85 0 ป.6 6 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 50.00 33.33 50.00 33.33 รวม 33 18 15 15 22 18 9 24 18 18 54.54 45.45 45.45 66.66 54.54 27.27 72.72 54.54 54.54 ร้อยละ

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ 5 2) ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะอันพึงประสงคต์ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั ดขี ึน้ ไป (ข้อมูล 31 มีนาคม 2562) ระดบั ช้ัน จานวน ผลการประเมิน ดีเยยี่ ม ระดบั ดี ร้อยละ นกั เรยี น ไม่ผา่ น ผา่ น ดี ข้นึ ไป 100 ป.1 4 0 0 4 0 4 100 100 ป.2 7 0 0 6 1 7 100 100 ป.3 4 0 0 4 0 4 100 100 ป.4 5 0 0 5 0 5 ป.5 7 0 0 7 0 7 ป.6 6 0 0 6 0 6 รวม 33 0 0 32 1 33

รายงานการประเมินคุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ 6 3) ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2561 ในระดับดีขึ้นไป ระดบั ชั้น จานวน ผลการประเมิน ดเี ยยี่ ม ระดบั ดี ร้อยละ นักเรียน ไมผ่ า่ น ผา่ น ดี ข้นึ ไป ป.1 4 0 2 2 0 2 50 ป.2 7 0 3 3 1 4 57.14 ป.3 4 0 2 2 0 2 50 ป.4 5 0 3 2 0 2 40 ป.5 7 0 0 7 0 7 100 ป.6 6 0 3 3 0 3 50 รวม 33 0 13 19 1 20 60.60

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ 7 4) ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น 5 ด้าน ปีการศกึ ษา 2562 ผู้เรียนมสี มรรถนะสาคญั ตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับดขี ้ึนไป (ข้อมลู 31 มีนาคม 2562) (ป.1 – ป.6 จานวน 33 คน) สมรรถนะสาคัญ ปรับปรงุ ผลการประเมนิ ระดบั ดี ร้อยละ 0 ผา่ นเกณฑ์ ดี ดเี ยย่ี ม ขึ้นไป 69.69 1. ความสามารถ 0 69.69 ในการสอื่ สาร 0 10 23 0 23 54.54 2. ความสามารถ 0 54.54 ในการคิด 0 10 23 0 23 54.54 3. ความสามารถ ในการแก้ปญั หา 15 12 6 18 4. ความสามารถในการ ใช้ทักษะชีวิต 15 12 6 18 5. ความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยี 15 12 6 18

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ 8 5) ผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ปีการศกึ ษา 2562 (ขอ้ มูล 31 มีนาคม 2563) ช้นั จานวน จานวนนกั เรียนทมี่ ีผลการประเมิน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี น ระดับดีขึ้นไป ประถมศึกษาปที ี่ 1 ทั้งหมด 100 ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ผ่าน ไมผ่ า่ น 100 ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 4 40 100 ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 7 70 100 ประถมศึกษาปีที่ 5 4 40 100 ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 5 50 100 7 70 100 รวม 6 60 33 33 0

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ 9 5. ผลการประเมนิ การอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) 1) ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น (RT) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 ความสามารถ การอา่ นออกเสียง คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ รวม 2 สมรรถนะ 49.62 การอ่านรู้เรื่อง 63.06 ระดับโรงเรยี น 62.66 76.50 67.48 ระดับเขตพน้ื ที่ 65.53 72.29 68.29 ระดบั ประเทศ 71.02 2) การเปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น (RT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 และรอ้ ย ละของผลต่างระหวา่ งปีการศึกษา 2561 – 2562 สมรรถนะ ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา ผลตา่ งระหวา่ งปี 2561 2562 การศึกษา การอ่านออกเสียง 71.58 49.62 -21.96 การอ่านรู้เร่ือง 78 76.50 -1.5 149.58 126.12 -23.46 รวม 2 สมรรถนะ

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ 10 6. ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 1) ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (NT) ปีการศึกษา 2562 ความสามารถ ระดับโรงเรียน คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ ระดับประเทศ ระดบั เขตพ้ืนท่ี ด้านภาษาไทย 35.16 46.46 ด้านคณติ ศาสตร์ 41.63 รวมความสามารถทง้ั 2 ด้าน 24.66 44.94 29.91 39.57 45.70 40.58

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ 11 คะแนนเฉลยี่ ร้อยละผลการประเมินทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 2) การเปรียบเทยี บผลการประเมินทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ปกี ารศึกษา 2561 – 2562 ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ร้อยละของผลตา่ ง 2561 2562 ระหวา่ งปีการศึกษา ดา้ นภาษา/ภาษาไทย 50.71 35.16 ดา้ นคานวณ/คณติ ศาสตร์ 35.71 24.66 -15.55 ดา้ นเหตผุ ล 41.42 - -11.05 รวมความสามารถเฉลี่ยทั้ง 2 ดา้ น 42.61 29.91 - -

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ 12 เปรียบเทยี บผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ NT ปกี ารศกึ ษา 2561-2562 7. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) 1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2562 ระดบั /รายวิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คะแนนรวม 61 63 64 65 เฉลีย่ ระดับประเทศ 49.07 34.42 32.90 35.55 37.99 ระดับสงั กัด สพฐ. 47.95 30.86 31.60 34.30 36.18 ระดบั เขตพน้ื ที่ 49.81 35.14 33.84 36.22 38.75 ระดับโรงเรยี น 52.25 47.50 38.33 36.00 43.52

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ 13 3. เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2561-2562 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 รายวิชา/ปกี ารศึกษา คะแนนเฉลยี่ ระดับโรงเรยี น 2561 2562 ภาษาไทย 56.88 52.25 ภาษาอังกฤษ 38.75 47.50 คณิตศาสตร์ 47.50 38.33 วทิ ยาศาสตร์ 37.75 36 45.22 43.52 คะแนนรวมเฉลีย่

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ ส่วนที่ 2 14 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา คณุ ภาพ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับคุณภาพ ดี ดี ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 3 ดี มาตรฐานการศึกษา : ดี 3 3 มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ระดบั คณุ ภาพ : ดี 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรยี นชาติตระการโกศลสง่ เสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการ ดาเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2560) เพื่อให้ครูใช้เป็นกรอบในการ จัดการเรียนการสอน การพฒั นาผู้เรยี น สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผู้เรยี นบรรลุตามเป้าหมายที่ว่า “การจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จรยิ ธรรม และวฒั นธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มี ความสขุ ดังน้ัน โรงเรียนชาติตระการโกศล จึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจานวน 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคานวณ รวมทั้งการมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มี ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สาหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและ ค่านยิ มที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและสังคมตามแผนงานโครงการในแผนปฏิบัติ การประจาปกี ารศกึ ษา 2562 โรงเรยี นชาติตระการโกศล ไดม้ กี ระบวนการพัฒนาผเู้ รียนด้วยวธิ ที ่ีหลากหลาย ครูจดั การเรยี นรู้ ใหเ้ ป็นไปตามศักยภาพของผู้เรยี น และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมีการออกแบบการจัดการ เรียนรูท้ ่เี หมาะสมกับผเู้ รยี นโดยมกี ารจดั การเรียนเรยี นรู้ ทงั้ รูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบ รว่ มมือกนั เรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก และเน้นเรื่องการอ่านออกของผู้เรียน เป็นเร่ืองสาคัญ โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ต้ังแต่ระดับช้ัน ป.1 พัฒนาครูทุกคนให้มี ความสามารถในการนาเทคนคิ วธิ สี อนใหต้ รงตามศกั ยภาพผ้เู รียน สามารถใชส้ ื่อและเทคโนโลยใี นการจดั การ

รายงานการประเมินคุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ 15 เรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้ แหล่งสืบค้นข้อมูลในโรงเรียน ได้แก่ ห้องสมุด ครูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ การวดั และประเมินผลตามสภาพจริง ครเู น้นการใช้คาถามเพ่ือพฒั นาทักษะการคดิ ของผู้เรียน นอกจากน้ี สถานศึกษาไดม้ กี ารดาเนนิ การ เพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิตของผู้เรียน เพอ่ื ให้อยู่ในสังคมได้อยา่ ง มีความสุข เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับผู้เรียน การจัดค่ายคุณธรรม เพื่อพัฒนา คุณธรรมผู้เรียนตามหลักสตู ร เนน้ ให้ผู้เรยี นมวี นิ ยั ซ่อื สัตย์ รบั ผิดชอบและมจี ิตสาธารณะ มรี ะบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนและการดูแลสุขภาวะจิต การเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษา จัดกิจกรรมให้ ความรเู้ รื่องพิษภัยจากยาเสพตดิ ส่งเสริมการออกกาลังกาย และเพม่ิ เวลารเู้ ร่อื งอาชพี โรงเรียนชาติตระการโกศล มีผลท่ีเกิดจากการพัฒนาในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออก และอา่ นคลอ่ งตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละระดับช้ัน สามารถเขียนส่ือสารได้ดี รู้จัก การวางแผน สามารถทางานรว่ มกับผอู้ นื่ ไดด้ ตี ามหลักประชาธปิ ไตย กลา้ แสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือ วิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถ วิเคราะห์ จาแนกแยกแยะได้ว่าส่ิงไหนดี สาคัญ จาเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันส่ือและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของส่ิงเสพติดต่าง ๆ เลือกรับประทานอาหารท่ีสะอาดและมี ประโยชน์ รักการออกกาลังกาย นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎ กติกาของกลุ่ม สถานศึกษา และสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต รวมถึงมีความเข้าใจเร่ืองความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ทั้งนี้ มีผลการดาเนนิ งานเชิงประจกั ษ์จากการประเมินในด้านต่าง ๆ 2. ผลการดาเนินงาน โรงเรียนชาติตระการโกศล ได้กาหนดมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในด้านคุณภาพผู้เรียน จานวน 2 ด้าน ได้แก่ ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้าน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การคิดคานวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และมี ความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน เจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ สาหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ ผูเ้ รียนมีคุณลักษณะและคา่ นิยมท่ดี ตี ามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจ ในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลายของ ขนบธรรมเนยี มประเพณี โดยมีผลการดาเนนิ งาน ดงั นี้ ดา้ นผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน นักเรียนท่ีมีเกรดเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป ในระดับชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2562 ในราชวิชาภาษาไทย รอ้ ยละ 54.54 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 45.45 วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 45.45 สังคมศึกษา ร้อยละ 66.66 ประวัติศาสตร์ ร้อยละ 54.54 ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 27.27 สุขศึกษา ร้อยละ 72.72 ศิลปะ ร้อยละ 54.54 และการงานอาชีพฯ ร้อย ละ 54.54

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 16 นักเรยี นมีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั ดขี ึ้นไป (ข้อมลู 31 มีนาคม 2562) รวมร้อยละ 100 ทัง้ นี้ จากกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทาให้นักเรียนมีพัฒนาการและเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์และคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ของผู้เรียนมีคุณภาพส่งผลให้การทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ O-NET ปีการศึกษา 256๒ มีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมระดับโรงเรียน 43.52 คะแนนสูงกว่า ระดับประเทศ 37.99 คะแนน และมีผลการทอดสอบ ภาษาอังกฤษ ในปีการศึกษา 2562 47.50 คะแนน สูง กว่า ปีการศึกษา 2561 38.75 คะแนน และผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สรุปโดยภาพท้ัง 2 ด้าน ปกี ารศกึ ษา 2562 ลดลงจากปกี ารศึกษา 2561 ตามลาดบั 3. จดุ เด่น สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและได้กาหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้สูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการ ปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคานวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัด แหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสม มีส่ือด้านเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิต ดี กล้า แสดงออก และสามารถอยูร่ ่วมกบั ผู้อน่ื อยา่ งมคี วามสขุ 4. จุดควรพฒั นา การจดั กิจกรรมท่มี งุ่ เนน้ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ยงั ขาดการปฏิบตั ิที่ต่อเนื่อง การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ละ กลมุ่ สาระประสบผลสาเรจ็ ในระดับหน่งึ นกั เรยี นสว่ นใหญย่ ังต้องได้รับการพัฒนาต่อไป จงึ จะส่งผลให้ผล สัมฤทธิร์ ะดับชาติของนักเรียนมีแนวโนม้ เปลยี่ นแปลงขึ้นโดยรวม แตไ่ ม่ผา่ นเกณฑใ์ นบางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงตอ้ งมุ่งเน้นพฒั นาตอ่ ไป จัดกจิ กรรมด้านการอา่ น การเขยี น คานวณให้กบั นกั เรยี นเรียนร่วม เปรยี บเทยี บความก้าวหนา้ และ การพฒั นาของนักเรยี นเป็นรายบุคคล ผ้เู รยี นในระดบั ช้ัน ป.1 – ป.6 ยงั ต้องเร่งพฒั นาด้านการนาเสนอ การอภปิ รายและแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ อยา่ งสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทกั ษะการแกป้ ญั หาตามสถานการณไ์ ด้อย่างเหมาะสม ผเู้ รียนในระดบั ชน้ั ป.4 ถึง ป.6 ยังตอ้ งไดร้ บั การสง่ เสรมิ ในด้านทศั นคติทด่ี ีต่อความเปน็ ไทย ไม่หลงใหลกบั คา่ นยิ มต่างชาติจนเกดิ การลอกเลียนแบบ ทาให้ลืมวัฒนธรรมอันดงี ามของไทย 5. แผนพฒั นาเพ่ือให้ไดม้ าตรฐานท่ีสูงข้นึ แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส้ ูงขนึ้ 1. พฒั นาให้นักเรยี นมที ักษะในการอ่าน การเขียน การสอื่ สาร และการคดิ คานวณเป็นไปตาม เกณฑ์ทโี่ รงเรยี นกาหนดในแต่ระดับช้นั 2. พฒั นาให้นกั เรียนมคี วามสามารถในการคดิ จาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณา อย่างรอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น และแกป้ ัญหาอยา่ งมี เหตผุ ล 3. พัฒนาให้นักเรียนมคี วามสามารถในการรวบรวมความรู้ไดท้ ั้งด้วยตนเองและการทางาน เป็นทมี เชือ่ มโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใชใ้ นการสรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ ๆ 4. พฒั นาให้นกั เรยี น มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือ พัฒนาตนเอง และสงั คมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน อยา่ งสร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ 5. พฒั นาให้นักเรยี น มีความกา้ วหน้าในการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรสถานศึกษาจากพืน้ ฐานเดิม ในด้านความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมท้ัง 6. พัฒนาให้นกั เรยี นมีความกา้ วหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานใน การจดั การเจตคติท่ดี ีพร้อมท่ีจะศกึ ษาต่อในระดบั ชัน้ ทส่ี ูงข้ึน มพี ฤติกรรมเปน็ ผู้ที่มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพใน กฎกติกา 7. พัฒนาให้นักเรยี นมคี ่านยิ มและจติ สานึกตามทีส่ ถานศกึ ษามีความภูมใิ จในท้องถิ่น เหน็ คณุ ค่าของความเป็นไทย มสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณีไทยรวมทง้ั ภมู ปิ ัญญาไทย 8. พัฒนาให้นกั เรยี น มกี ารรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่าง เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั โดยมีแผนงาน/โครงการที่โรงเรียนดาเนนิ งานมดี งั น้ี 1. กิจกรรม ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (NT/O-NET) 2. กจิ กรรม อ่านออก เขยี นได้ ลายมอื สวย คิดเลขเปน็ กจิ กรรม 3. กจิ กรรม ระบบการจัดการเรียนร้ศู ึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม DLTV 4. กจิ กรรม ลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ 5.กิจกรรม การจดั กระบวนการเรยี นรู้ Active Learning 6. ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง ประเดน็ ภาพความสาเรจ็ ดา้ นคุณภาพผเู้ รียน ท่สี นับสนนุ ผลการประเมินตนเองปีการศึกษา 2562 ในระดับศูนย์เครือข่ายโรงเรียน ระดบั เขตพื้นท่กี ารศกึ ษาฯ และระดับชาติ ส่งผลใหผ้ เู้ รียนอ่านหนังสือ ออกและอ่านคล่อง รวมทง้ั สามารถเขียน เพ่ือการส่อื สารได้ทุกคน สามารถใช้เทคโนโลยใี นการแสวงหาความรู้ ไดด้ ้วยตนอง ส่งผลให้ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นอยู่ในระดับ ดี เนื่องจากมีผลการประเมิน ความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รยี น (RT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 อยูใ่ นระดบั ดี ผลการประเมินการทดสอบ ความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) มีคะแนนเฉล่ียตา่ กวา่ ระดับประเทศ และมีผลการทดสอบทาง การศกึ ษาระดับชาติ (O-NET) มคี ะแนนเฉลีย่ สูงกวา่ ปีก่อนในบางวิชา นอกจากน้ีผู้เรยี นมีสุขภาพรา่ งกาย แขง็ แรง มสี มรรถภาพทางกายและนา้ หนกั ส่วนสูงตามเกณฑ์ มรี ะเบียบวินยั จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา เปน็ ทยี่ อมรบั ของชมุ ชนโดยรอบในเร่ืองความมวี นิ ัย เคารพกฎกติกามารยาทของสังคม

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 17 ระดับคณุ ภาพ : ดี 1. กระบวนการพฒั นา โรงเรยี นชาตติ ระการโกศล มกี ระบวนการบรหิ ารและการจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ใน การดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐานในการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน ในดาเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตร สถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยงกับชีวิตจริง จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา ดาเนินงานพัฒนา ครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการของครูและสถานศึกษา จัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกับสภาพของโรงเรียน โดยใช้แผนปฏิบัติ การประจาปี ใน 4 แผนงานหลัก ขับเคลื่อนการดาเนินการพัฒนาสถานศึกษาให้เดินหน้าอย่างมีคุณภาพและ ส่งผลการพัฒนาผเู้ รยี นให้เกิดการเรยี นรู้ท่ดี ีขึน้ 2. ผลการดาเนินงาน ภาพความสาเร็จดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นมีเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และ พนั ธกจิ ทีโ่ รงเรยี นกาหนดชัดเจน สอดคลอ้ งกบั บริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน มรี ะบบการ บริหารจดั การคุณภาพอย่างเปน็ ระบบ วางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาโดยนาแผนไปปฏบิ ตั ิ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ พฒั นางานอย่างต่อเน่ือง มกี ารบรหิ ารอตั รากาลงั ทรัพยากรทางการ ศึกษา และระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น มีการนเิ ทศภายใน นาข้อมลู มาใชใ้ นการพัฒนาบุคลากร และ ผเู้ กี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรบั ปรงุ พัฒนาและร่วมกันรบั ผิดชอบต่อการจดั การศึกษา มีการ บริหารจดั การเกีย่ วกบั งานวิชาการ รวมถงึ การจัดการเรยี นการสอนของกล่มุ เรียนรว่ มดว้ ย มกี ารสง่ เสริม สนบั สนนุ พฒั นาครแู ละบุคลากรตรงตามความต้องการและจดั ให้มชี ุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี มาใชใ้ นการ พฒั นางานและการเรียนรู้ของผเู้ รยี น จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ภายในและภายนอกหอ้ งเรยี น และ สภาพแวดล้อมทางสงั คมท่ีเอื้อต่อการจดั การเรียนรขู้ องผ้เู รียนท่ีมคี ณุ ภาพ มคี วามปลอดภยั จดั ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ สนับสนนุ การบริหารจัดการ และการจดั การเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั สภาพของโรงเรยี น พฒั นาบรกิ าร ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ มีห้องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์ เพอ่ื ใช้ในการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้ อย่างเหมาะสม ท้งั น้ี สถานศึกษามรี ะบบบริหารจดั การให้เป็นไปโดยสอดคลอ้ งกบั การบรหิ ารงาน 4 กลุ่มงาน ซ่งึ มี ความเหมาะสมตามบริบทท้องถน่ิ โดยไดต้ ิดตามการปฏบิ ตั ิงานและตรวจสอบการดาเนินงานโดยใช้ระบบ PDCA ควบคมุ คุณภาพใหส้ อดรบั ระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยมผี ลการปฏบิ ัติ คุณภาพ โดยรวมอยู่ท่ี ระดับ ดี 3. จุดเดน่ โรงเรียนมเี ปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ ท่ีกาหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความ ต้องการของชุมชน วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด ทันต่อ การเปล่ียนแปลงของสังคม พัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษา และ สง่ เสริมสนบั สนนุ พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญตรงตามความต้องการ ให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชพี มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรขู้ องผู้เรียน

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ 4. จดุ ควรพัฒนา 18 โรงเรียนควรจดั ให้มอี าคารและหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทีเ่ พยี งพอและเหมาะสมตอ่ การจัดการเรยี นรู้ มกี ารนิเทศ ติดตาม ท่ชี ัดเจน และร่วมมือพฒั นาโรงเรยี นกันทุกฝ่าย 5. แผนพฒั นาเพื่อให้ไดม้ าตรฐานทีส่ งู ขึน้ แผนพฒั นาคุณภาพเพ่อื ยกระดบั ให้สูงขึน้ 1.กจิ กรรม การพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย 2.กจิ กรรม การพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา ระดับประถมศึกษา 3.กิจกรรม การวดั และประเมินผลคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ 4.กิจกรรม การวจิ ยั ชนั้ เรียน 5.กิจกรรม การสรา้ งชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชีพ PLC 6.กิจกรรม การประชมุ อบรม สมั มนา และศึกษาดูงาน 7.กิจกรรม วางแผนอตั รากาลังในการสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง 8.กจิ กรรม นเิ ทศ กากับ ตดิ ตามการปฏบิ ัตงิ านบุคลากร 9.กิจกรรม การมอบหมายภาระงานและการปฏิบัตหิ น้าที่ 10.กจิ กรรม ครูดศี รชี าตติ ระการ ฯ 11.กิจกรรม เสริมสร้างขวัญและกาลังใจ 12.กิจกรรม การระดมทนุ และทรพั ยากรทางการศกึ ษา 13.กจิ กรรม บ ว ร สัมพันธ์ 14.กจิ กรรม การกากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ และระเมินผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ เพื่อการ บริหารจัดการที่มปี ระสทิ ธิภาพ 15.กิจกรรม การพัฒนาการดาเนนิ งานดา้ นการเงนิ การบัญชี 16.กจิ กรรม ส่งเสรมิ วธิ ปี ฏิบัตคิ วามเปน็ เลิศ (Best Practice) 17.กจิ กรรม การบรกิ าร service mind 18.กจิ กรรม การส่งเสริมประสทิ ธภิ าพในการจัดการศึกษาและขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ 19.กิจกรรม การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายใน 20.กิจกรรม การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา 21.กิจกรรม การประชมุ ผ้เู ครือข่ายผูป้ กครอง และศิษยเ์ ก่า 22.กิจกรรม บา้ นพอ่ พอเพยี ง 24.กจิ กรรม แหลง่ เรียนรภู้ มู ิปญั ญาท้องถิ่น 25.กจิ กรรม แหล่งการเรยี นรู้ “สวนพอ่ พอเพียง” 26.กจิ กรรม ปรบั ปรงุ ภูมิทัศน์โรงเรยี น 27.กิจกรรม เกณฑ์เดก็ เขา้ เรียน 28.กจิ กรรม บริการเรยี นฟรี 15 ปีอย่างมคี ุณภาพ 29.กิจกรรม การปฐมนเิ ทศและปัจฉิมนิเทศนกั เรยี น 30.กจิ กรรม เปิดโลกการเรียนรู้ 31.กิจกรรม การแข่งขันกีฬา - กรีฑา 32.กิจกรรม เข้าค่ายลกู เสือและเนตรนารี 33.กิจกรรม ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน

รายงานการประเมินคุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ 34.กิจกรรม ระบบการคัดกรองนักเรยี นยากจนพิเศษแบบมีเง่ือนไข 19 35.กจิ กรรม รายงานข้อมลู นักเรียนและบุคลากร ระบบอิเลค็ ทรอนคิ 37.กิจกรรม ระบบการจดั การเรยี นรู้ศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม DLTV 38.กจิ กรรม ระบบดูแลและติดตามการใช้สารเสพตดิ ในสถานศึกษา 6. ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนบั สนุนผลการประเมินตนเอง ประเด็นภาพความสาเร็จด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การได้แก่ โรงเรียนมเี ป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ท่ีโรงเรยี นกาหนดชัดเจน สอดคล้องกบั บริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน มี ระบบการบริหารจดั การคุณภาพอยา่ งเป็นระบบ วางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาโดยนาแผนไปปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอตั รากาลัง ทรัพยากร ทางการศกึ ษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการนเิ ทศภายใน นาข้อมูลมาใช้ในการพฒั นาบคุ ลากร และ ผูเ้ กี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมสี ว่ นในการวางแผน ปรบั ปรุง พัฒนาและร่วมกนั รับผดิ ชอบต่อการจัดการศึกษา มีการ บรหิ ารจดั การเกยี่ วกับงานวิชาการ รวมถงึ การจดั การเรยี นการสอนของกลมุ่ เรยี นร่วมด้วย มีการสง่ เสริม สนบั สนนุ พฒั นาครแู ละบุคลากรตรงตามความต้องการและจัดใหม้ ชี มุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ PLC มาใชใ้ น การพัฒนางานและการเรยี นรู้ของผเู้ รียน จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และ สภาพแวดล้อมทางสังคมท่ีเอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นร้ขู องผูเ้ รียนทีม่ ีคุณภาพปลอดภยั จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจดั การ และการจดั การเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของโรงเรียน พฒั นาบรกิ าร ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ มีหอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์ เพือ่ ใชใ้ นการบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้ อยา่ งเหมาะสม

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ 20 ระดับคุณภาพ : ดี 1. กระบวนการพัฒนา จากผลการดาเนินงาน โครงการ และกิจกรรมตา่ ง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจดั การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาไปตามเป้าหมายท่ตี ้ังเป้าหมายไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน ซ่งึ จากผลการประเมนิ สรุปวา่ ไดร้ ะดบั ดเี ลิศ ผลท่สี นับสนุนการประเมนิ ตนเอง ดงั นี้ นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ อา่ นออกเขยี นได้ การอา่ นคดิ การ เขยี นคดิ มีความสามารถในการสอื่ สารเรยี นรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นผ่านเกณฑ์ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด ใกล้เคียงคา่ เฉล่ียระดับชาติ นกั เรยี นทกุ คนรว่ มกิจกรรมจิตอาสา ให้มีการสอนงานอาชพี ใหน้ กั เรยี น ทาให้ นักเรยี นผลงาน/ผลติ ภัณฑ์ของตนเองนักเรยี นทุกคน ไม่มีอัตราความเส่ียงการตดิ ส่ิงเสพตดิ มโี ครงการระบบดแู ล ช่วยเหลือนักเรยี นอยา่ งเข้มแขง็ ไมม่ กี ารทะเลาะววิ าทในโรงเรียน โรงเรียน มรี ะบบอินเทอร์เนต็ ความเร็วสูง เพ่อื ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนทุกหอ้ งเรยี น มคี รคู รบขนั้ ในสภาพการสอบควบชั้น ครูจดั การเรียนการสอนโดย การส่งเสริมการคดิ วเิ คราะหน์ ักเรียน เพอ่ื สง่ เสริมการคิดและปฏบิ ตั จิ ริงทุกช้นั เรียน ครไู ด้รบั การพฒั นาตาม โครงการอบรม พฒั นาทางวิชาชพี และนาความรู้มาจัดทาแผนการเรยี นรู้ ส่ือการเรียนการสอน และเครื่องมือ วัดและประเมนิ ผลผเู้ รยี น ผู้บริหารมีสัมพนั ธภ์ าพที่ดีกบั ชุมชน และมกี ารแสวงหาความร่วมมอื ในการใช้ ทรัพยากรจากชมุ ชน มโี ครงการระดมทรัพยากรมาชว่ ยเหลือนกั เรียนอย่างต่อเน่อื ง 2. ผลการดาเนนิ งาน การดาเนนิ งาน/โครงการ/กิจกรรม อย่างหลากหลาย มงุ่ ส่งเสรมิ ใหค้ รูจัดการเรียนการสอนเนน้ การ ปฏิบัติ (Active learning) ให้ผเู้ รียนผา่ นกระบวนการคิด ปฏบิ ัตจิ ริง นักเรียนมสี ว่ นรว่ ม ครูรู้จกั นกั เรียนเปน็ รายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรียน รวมท้งั ร่วมกัน แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และนาผลทไี่ ด้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมแี ผนการจัดการเรยี นรูท้ ่สี ามารถนาไปใช้จัด กิจกรรมไดจ้ ริง ครูใชส้ ่อื และแหล่งเรยี นรู้ มีการบรหิ ารจัดการช้นั เรยี นเชิงบวก เพือ่ ให้เดก็ รักการเรยี นรแู้ ละ เรียนรู้ร่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ ทงั้ น้ี โรงเรียนไดจ้ ดั ประสบการณเ์ รียนรู้อยา่ งหลากหลายสมดุลกนั ทกุ ด้านโดยนาผลการพัฒนา ติดตาม และสง่ เสริมอยา่ งต่อเน่อื งและไดร้ ับความร่วมมือจากผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาทุกโอกาส และใช้ วิธีการจดั การเรียนการสอนแบบ (Active learning) โดยมีผลการดาเนนิ งาน คณุ ภาพ โดยรวมอยู่ทรี่ ะดับ ดี 3. จดุ เดน่ 1. สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและได้กาหนดเปน็ เปา้ หมายทางการ เรยี นโดยใช้ขอ้ มูลฐาน 3 ปยี ้อนหลงั เป็นเปา้ หมายคุณภาพนักเรยี นให้พฒั นาสงู ข้นึ 2. ผู้เรียนมคี ุณธรรม และจิตอาสา 3. การบริหารจดั การศึกษา และการมีสว่ นร่วมของผ้เู ก่ียวข้อง 4. จดั แหล่งเรยี นรภู้ ายในได้เหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีทท่ี นั สมยั 5. ครูมคี วามตั้งใจมุ่งมนั่ ในการพฒั นาการสอน 6. นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ 4. จดุ ควรพฒั นา 21 1. ผลการประเมินระดับชาติ ฯ O-NET, NT,RT 2. กิจกรรมท่มี ุ่งเนน้ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตอ้ งเป็นรปู ธรรมส่งเสรมิ ไดอ้ ย่างจริงจัง 3. กิจกรรมดา้ นการอา่ น การเขียน คานวณ เพื่อทบทวนความรอู้ ย่างต่อเนื่อง 4. ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ ของนักเรียน 5. การพฒั นาความสามารถภาษาองั กฤษของนกั เรยี น 5. แผนพัฒนาเพอ่ื ให้ไดม้ าตรฐานทส่ี ูงขน้ึ 1กิจกรรม ประชาธปิ ไตย 2.กจิ กรรม เทิดพระเกียรติ ฯ 3.กจิ กรรม โรงเรียนคาพ่อสอน 4.กจิ กรรม หนูน้อยจิตอาสา 5.กจิ กรรม โรงเรียนวนิ ยั จราจร 6.กิจกรรม โรงเรียนส่งเสรมิ คุณธรรม (วถิ ีพุทธ) 7.กิจกรรม พระโพธสิ ัตย์นอ้ ย 8.กจิ กรรม โรงเรยี นปลอดโฟรม์ 9.กิจกรรม โรงเรียน Zero Waste 10.กจิ กรรม Bing Cleaning Day 11.กจิ กรรม โรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพ 12.กิจกรรม บา้ นนักวิทย์ 13.กิจกรรม โรงเรียนสุจรติ 14.กิจกรรม สง่ เสริมการเรียนรสู้ ู่อาชพี 6. ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง - แผนการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2561 - รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านโครงการ - เกียรติบตั รนกั เรยี น - อาคารสถานที่

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ ส่วนท่ี 3 22 สรุปผล และแนวทางการพฒั นา ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญทีส่ ถานศึกษาจะต้องนาไป วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เพ่ือสรุปนาไปสกู่ ารเช่อื มโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา ของสถานศึกษา (3-5 ปี) และนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนน้ั จากผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา สามารถสรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของจุดเดน่ จดุ ควรพฒั นาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมท้งั แนวทางการพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานทีส่ งู ขึ้น ดังนี้ ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน สรุปผล จดุ เด่น จุดควรพฒั นา  คุณภาพของเด็ก  คุณภาพของเด็ก - ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนดี และนักเรยี นกลา้ - ต้องพฒั นาการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นให้มาก แสดงออก รา่ เรงิ แจ่มใส สขุ ภาพแข็งแรง และเป็นผู้มี ขึน้ กวา่ เดิมโดยตง้ั เป้าหมายจะต้องสูงกว่าระดับ คณุ ธรรม จริยธรรมตามทสี่ ถานศึกษากาหนด ระดับประเทศ - ผเู้ รยี นอา่ นหนงั สอื ออก และอา่ นคลอ่ ง รวมท้ัง - ควรใหน้ ักเรยี นได้ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์โดยการ สามารถเขียนเพ่ือการสอื่ สารได้ทกุ คน เขา้ ห้องสมุด ทากจิ กรรมท่เี กี่ยวกับการส่งเสรมิ การอา่ น - ผู้เรียนมีสขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทาง - ควรสง่ เสรมิ ให้นกั เรียนได้ออกกาลังกายอย่างสมา่ เสมอ กายและนา้ หนักสว่ นสูงตามเกณฑ์ มีระเบยี บวนิ ยั จนเปน็ โดยฝึกซ้อมเปน็ ประจา เอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นทยี่ อมรับของชุมชน มี  กระบวนการบริหารและการจดั การ วินยั เคารพกฎกติกา ระเบียบของสังคม เช่น มารยาทใน - ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอ การรบั ประทานอาหาร เปน็ ต้น ความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาผเู้ รียนมากขึน้  กระบวนการบริหารและการจดั การ - ควรสรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื กับผู้มีส่วนเกีย่ วข้องใน - ผูบ้ ริหารมีความตง้ั ใจ มีความมมุ่ มัน่ มีหลักการ การจัดการศึกษาของโรงเรยี นใหม้ คี วามเข้มแข็ง มีสว่ นร่วม บรหิ าร สามารถเป็นแบบอยา่ งท่ีดีในการทางาน และ รบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขบั เคลอ่ื น คณะกรรมการสถานศึกษามีความตงั้ ใจ และมีความพร้อม คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ในการปฏิบัตติ ามหนา้ ที่ ตามบทบาท  การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สาคญั - โรงเรียนมีการบรหิ ารและการจัดการอย่างเปน็ ระบบ - ครูควรจัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มีความสามารถใน โรงเรียนได้ใชเ้ ทคนิคการประชมุ ที่หลากหลายวิธี เช่น การคดิ วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างหลากหลายและใช้แห่ง การประชุมแบบมสี ว่ นรว่ ม การประชุมระดมสมอง การ เรียนรูใ้ นการพัฒนาตนเอง ประชุมกลมุ่ เพ่ือใหท้ ุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ มในการกาหนด - ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในระดับชั้น ป.1-ป.3 วิสยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าหมายท่ีชดั เจน มกี ารปรับ ให้สามารถนาเสนอ อภิปรายแลกเปลี่ยน เรียนรู้อย่าง แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการ สมเหตุสมผล และมีทักษะในการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ ประจาปที ่สี อดคล้องกับผลการจดั การศกึ ษา สภาพปัญหา ได้อยา่ งเหมาะสม ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏิรปู การศึกษา ท่ี - ครคู วรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในระดับชั้น ป.4-6 ให้ มุ่งเนน้ การพัฒนาให้ผเู้ รียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีพฤติกรรมและทศั นคติท่ีดีตอ่ ความเป็นไทย หลักสตู รของสถานศึกษา ครูผสู้ อนสามารถจัดการเรยี นรู้

รายงานการประเมินคุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ 23 จดุ เดน่ จดุ ควรพฒั นา ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ตดิ ตาม - ครูควรจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ประเมินผล การดาเนินงาน และการจดั ทารายงานผลการ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดตามหลักสูตร จัดการศกึ ษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวนการวิจยั ในการ แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และฝึกให้นักเรียนได้คิด รวบรวมขอ้ มูลมาใช้เปน็ ฐานในการวางแผนการพฒั นา วิเคราะห์หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีให้มาก คณุ ภาพสถานศกึ ษา ขึ้น และพัฒนาส่ือแหล่งเรียนรู้ จัดเตรียมห้องปฏิบัติการให้  การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสาคัญ อยใู่ นสภาพดี และพร้อมใช้งานเสมอ - ครพู ัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความตง้ั ใจ ในการปฏิบตั ิ - ควรควรวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย หน้าท่ี วิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคล้องกับมาตรฐาน การเรยี นรูแ้ ละธรรมชาติวชิ า - ครจู ดั กจิ กรรมให้นกั เรียนแสวงหาความรู้จากส่ือ - ครูควรนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการ เทคโนโลยีดว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง จดั กิจกรรมให้นกั เรียนได้เรยี นรู้ - ครูให้นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศ - ครูควรให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพ่ือนักเรียน สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ - ครจู ัดกจิ กรรมให้นักเรียนเรยี นรู้การคดิ ได้ปฏิบตั จิ ริง นาไปใชใ้ นการพฒั นาตนเอง ด้วยวิธีการและแหลง่ เรียนรทู้ ี่หลากหลาย - ผลงานวิจัยในช้ันเรยี นของครทู ุกคนได้รับการตรวจ ประเมินและคาแนะนาจากคณะกรรมการวิจยั

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ 24 แผนงานยกระดบั คุณภาพ แผนงาน ผ้รู บั ผดิ ชอบ แผนกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ 1. โครงการ เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ในการพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งมีคุณภาพ นางพรทพิ ย์ สองภักดี นางพรทิพย์ สองภักดี 1.ยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (NT/O-NET) นางปรดี าพร บญุ โสภา 2.อา่ นออก เขยี นได้ ลายมือสวย คิดเลขเป็น นางสาวอาซยี ะ๊ สาแมง 3.หอ้ งสมุดมชี วี ติ นางพรทิพย์ สองภกั ดี 2. โครงการ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ใหค้ รอบคลุมผู้เรียนทกุ กลมุ่ นางพรทพิ ย์ สองภักดี 1.ลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ นางพรทพิ ย์ สองภักดี 2.การจัดกระบวนการเรียนรู้ Active Learning นางพรทิพย์ สองภกั ดี 3. โครงการ สรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน นายชัยวฒั น์ อนิ ทรสุวรรณ 1.ส่งเสริมการแขง่ ขันทักษะทางวชิ าการ นางปรดี าพร บุญโสภา 2.ส่งเสริมการทดสอบการอ่านพน้ื ฐาน RT นางพรทิพย์ สองภกั ดี 3. English Camp นางสาวอาซีย๊ะ สาแมง 4.อาเซ่ียน ทู เดย์ 4. โครงการ ส่งเสริม สนับสนุนการทาวิจัยและพฒั นาเพื่อนาไปใช้ในการพฒั นา นางพรทิพย์ สองภักดี คณุ ภาพจดั การศึกษา นางสาวอาซียะ๊ สาแมง 1.การพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ระดับปฐมวยั นางพรทพิ ย์ สองภกั ดี 2.การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา 3.การวัดและประเมินผลคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ นายวนิ ตี ณรงคก์ ลู แผนกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล นายนพิ ฐิ พนธ์ ทพั พ์ชัยศิริ 5. โครงการ พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้สามารถจัดการเรียนรู้ได้ นางปรดี าพร บุญโสภา นางพรทพิ ย์ สองภักดี อยา่ งมีคุณภาพในรูปแบบท่ีหลากหลายอยา่ งมอื อาชพี ที่สอดคล้องกบั บรบิ ท นายนิพิฐพนธ์ ทพั พช์ ยั ศิริ ของพ้นื ท่ี นายนิพฐิ พนธ์ ทพั พช์ ัยศิริ นายนิพิฐพนธ์ ทพั พ์ชัยศริ ิ 1.การวจิ ัยช้ันเรียน นายนพิ ฐิ พนธ์ ทัพพช์ ยั ศิริ 2.การสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ PLC นายนพิ ิฐพนธ์ ทัพพช์ ัยศริ ิ 3.การประชมุ อบรม สัมมนา และศึกษาดงู าน 6. โครงการ พฒั นาระบบการบริหารงานบุคคลให้มปี ระสิทธภิ าพ นายนพิ ฐิ พนธ์ ทัพพ์ชยั ศริ ิ 1.วางแผนอตั รากาลังในการสรรหาและการบรรจุแต่งตง้ั นายวินีต ณรงคก์ ูล 2.นิเทศ กากบั ตดิ ตามการปฏบิ ตั งิ านบุคลากร นางปรดี าพร บญุ โสภา 3.การมอบหมายภาระงานและการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ 7. โครงการ เสรมิ สร้างแรงจงู ใจในการพฒั นางานของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา 1.ครูดีศรชี าติตระการ ฯ 2.เสริมสรา้ งขวญั และกาลงั ใจ

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ 8. โครงการ สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมในการพัฒนาศกั ยภาพของครู และบุคลากร ทางการ นายนิพิฐพนธ์ ทพั พ์ชัยศิริ ส่งเสรมิ วิธปี ฏบิ ตั ิความเปน็ เลศิ (Best Practice) นายนพิ ิฐพนธ์ ทพั พ์ชยั ศริ ิ แผนกลุ่มบริหารงานงบประมาณ นางปรดี าพร บุญโสภา 9. โครงการ สร้างความเข้มแข็งในการบรหิ ารจดั การแบบมสี ว่ นร่วม นายวินีต ณรงคก์ ูล นายวินีต ณรงคก์ ูล 1. การระดมทนุ และทรัพยากรทางการศกึ ษา 2. บ ว ร สัมพันธ์ นายนพิ ิฐพนธ์ ทัพพ์ชัยศริ ิ 3. การกากบั ติดตาม ตรวจสอบ และระเมนิ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ นางปรีดาพร บญุ โสภา เพือ่ การบริหารจดั การทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ 4. การพัฒนาการดาเนนิ งานด้านการเงิน การบัญชี นายวนิ ีต ณรงคก์ ลู แผนกลมุ่ บรหิ ารงานทั่วไป นายวนิ ตี ณรงคก์ ูล 10. โครงการ เสรมิ สรา้ งความม่นั คงของสถาบันหลักและการปกครองในระบอบ นายวินีต ณรงคก์ ูล ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมากษัตริยท์ รงเป็นประมุข 1.ประชาธิปไตย นางพรทพิ ย์ สองภักดี 2.เทิดพระเกียรติ ฯ นางพรทิพย์ สองภกั ดี 11. โครงการ พฒั นาการจัดการศึกษาของโรงเรียนในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ นายชยั วฒั น์ อนิ ทรสุวรรณ เฉพาะกิจและเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ นายชัยวัฒน์ อินทรสุวรรณ 1.ส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ ูอ่ าชพี นายชยั วฒั น์ อนิ ทรสวุ รรณ 12. โครงการ เสรมิ สรา้ งการอยรู่ ่วมกันอย่างมคี วามสขุ ในสังคมพหุวัฒนธรรม นายชยั วฒั น์ อนิ ทรสวุ รรณ 1.โรงเรียนคาพอ่ สอน นางพรทิพย์ สองภักดี 2.หนูนอ้ ยจติ อาสา นางพรทพิ ย์ สองภักดี 3.โรงเรียนวินยั จราจร นางพรทพิ ย์ สองภกั ดี 13. โครงการ ปลกู ฝงั ผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีพึงประสงค์ นางพรทิพย์ สองภกั ดี 1.สถานศกึ ษาสขี าว นายวนิ ตี ณรงค์กลู นางปรดี าพร บญุ โสภา 2.โรงเรยี นส่งเสรมิ คุณธรรม (วถิ พี ทุ ธ) นางปรดี าพร บุญโสภา นางสาวปทั มาภรณ์ กาเนดิ 3.พระโพธิสตั ยน์ ้อย ทอง 14. โครงการ ลดความเหลือ่ มลา้ ทางการศึกษา นายวินตี ณรงค์กูล 1.ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน นายชัยวฒั น์ อนิ ทรสวุ รรณ 2.ระบบการคัดกรองนกั เรียนยากจนพิเศษแบบมีเง่ือนไข 3.รายงานขอ้ มลู นักเรียนและบุคลากร ระบบอิเล็คทรอนคิ 4.ระบบการจดั การเรียนรูศ้ ึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม DLTV 5.ระบบดแู ลและติดตามการใช้สารเสพติดในสถานศึกษา

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ 15. โครงการ เพิม่ โอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาทมี่ คี ุณภาพ อยา่ งเท่า เทยี มและทวั่ ถึง นางปรดี าพร บญุ โสภา 1.เกณฑ์เด็กเข้าเรยี น นางปรีดาพร บุญโสภา 2.บริการเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคณุ ภาพ นางปรดี าพร บุญโสภา 3.การปฐมนิเทศและปจั ฉิมนเิ ทศนกั เรยี น นายวินตี ณรงคก์ ลู 4.เปิดโลกการเรียนรู้ นางพรทพิ ย์ สองภกั ดี 5.การแข่งขันกีฬา - กรีฑา นายชยั วฒั น์ อินทรสวุ รรณ 6.เขา้ ค่ายลูกเสือและเนตรนารี นายชยั วฒั น์ อนิ ทรสุวรรณ 16. โครงการ สง่ เสริม สนับสนุน โรงเรียนน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สู่การปฏิบตั แิ ละใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้อยา่ งย่งั ยืน นายชัยวฒั น์ อินทรสุวรรณ 1.บา้ นพ่อพอเพยี ง นายชยั วัฒน์ อนิ ทรสวุ รรณ 2.แหลง่ เรียนรภู้ ูมิปญั ญาท้องถน่ิ นายชัยวฒั น์ อนิ ทรสวุ รรณ 3.แหลง่ การเรยี นรู้ “สวนพอ่ พอเพียง” นายวนิ ตี ณรงคก์ ลู 4.ปรบั ปรุงภมู ทิ ศั นโ์ รงเรยี น นายวนิ ตี ณรงค์กูล 17. โครงการ สง่ เสริมการสร้างจิตสานึก การจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพอ่ื สรา้ ง เสริม คุณภาพชีวิตท่เี ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อมตามแนวทางของหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง นายชยั วัฒน์ อินทรสวุ รรณ 1. โรงเรียนปลอดโฟรม์ นายชยั วัฒน์ อินทรสุวรรณ 2. โรงเรียน Zero Waste นายชัยวฒั น์ อนิ ทรสุวรรณ 3. Bing Cleaning Day นายชัยวฒั น์ อนิ ทรสวุ รรณ 18. โครงการ พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธภิ าพ นายวนิ ีต ณรงค์กลู 1. การจัดระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม DLTV นายวนิ ีต ณรงคก์ ูล 2. การบริการ service mind นายวินตี ณรงคก์ ลู 3. การส่งเสริมประสิทธภิ าพในการจัดการศกึ ษาและขบั เคล่ือนนโยบาย นายนพิ ิฐพนธ์ ทัพพช์ ัยศิริ สู่การปฏิบตั ิ 4. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน นายนพิ ิฐพนธ์ ทัพพช์ ยั ศริ ิ 5. การประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา นายนิพฐิ พนธ์ ทัพพช์ ัยศริ ิ 5. การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา นายนพิ ฐิ พนธ์ ทพั พช์ ยั ศริ ิ 6. การประชมุ ผเู้ ครือข่ายผู้ปกครอง และศิษย์เก่า นายนพิ ิฐพนธ์ ทัพพ์ชัยศิริ 19. โครงการ สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน นายวินตี ณรงคก์ ูล 1. โรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพ นางพรทิพย์ สองภกั ดี 2. บา้ นนกั วทิ ย์ นางสาวอาซยี ๊ะ สาแมง 3. โรงเรยี นสุจริต นางปรดี าพร บญุ โสภา

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ ภาคผนวก  คาสงั่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมนิ ผลคุณภาพคุณภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2562  คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตดิ ตามตรวจสอบและประเมินผลคณุ ภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2562  ประกาศคา่ เปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา  บันทกึ การให้ความเห็นชอบเอกสารรายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ คาสง่ั โรงเรยี นชาตติ ระการโกศล ท่ี ๒๐/๒๕๖๒ เรือ่ ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรยี นชาตติ ระการโกศล ระดับปฐมวัยและระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ ….................................................................... พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ จึงกาหนดให หน วยงานต นสังกัดและสถานศึกษาจัดให มีระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา อันนาไปสูการกาหนดใหมีมาตรฐาน สวนท่ี ๑ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานข้ึน ประกอบกับไดมีการประกาศใช กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ และกระทรวงศึกษาธิการมีการประกาศให ใช มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย การศึกษา พิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ สาหรับใหสถานศึกษาใชเปนแนวปฏิบัติการดาเนินงาน เพื่อ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาและเตรียมการสาหรับการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงจะทาใหเกิด ความมั่นใจแกผูมีสวนเก่ียวของทุกฝาย วาการจัดการศึกษาของสถานศึกษามีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และคง รักษาไวซึ่งมาตรฐาน จากการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยมีการจัดทารายงาน ประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเตรยี มการสาหรับการประเมินคณุ ภาพภายนอกของโรงเรียนชาติตระการ โกศล โดยอาศัยอานาจบังคับบัญชาและอานาจหน้าท่ีตามความในมาตรา ๓๕ และ มาตรา ๓๙ แห่ง พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ อานาจตามมาตรา ๒๗ แห่ง พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และอาศัยอานาจระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.๒๕๔๗ เพื่อให้การบริหารสถานศึกษาเกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุดต่อทางราชการ จึงแต่งต้ังบุคคลในท้ายคาส่ังน้ีเป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน สถานศึกษา เพื่อทาการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แล้วเสร็จ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. คณะกรรมการอานวยการ มหี น้าที่ ให้คาแนะนา ปรกึ ษา อานวยความสะดวก แก้ไขปัญหาในการ ดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แกค่ ณะกรรมการดาเนินงาน เพื่อใหก้ ารดาเนนิ งานเปน็ ไปด้วย ความเรียบร้อยและมปี ระสิทธิภาพ ประกอบด้วย ๑.๑ นายนิพฐิ พนธ์ ทัพพช์ ัยศิริ ผู้อานวยการสถานศึกษา ประธานกรรมการ ๑.๒ นายวินตี ณรงคก์ ูล ๑.๓ นางปรดี าพร บญุ โสภา ครู คศ.๒ กรรมการ ๑.๔ นายนายชัยวฒั น์ อินทรสวุ รรณ ๑.๕ นางสาวอาซีย๊ะ สาแมง ครู คศ.๒ กรรมการ 1.6 นางพรทิพย์ สองภกั ดี 1.7 นางสาวปัทมาภรณ์ กาเหนดิ ทอง พนักงานราชการ กรรมการ พนักงานราชการ กรรมการ ครู คศ.๒ กรรมการและเลขานุการ ครธู รุ การ กรรมการและ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ ๒. คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย ประกอบด้วย 2.1 นางพรทิพย์ สองภกั ดี ครู คศ.๓ (๒) ประธานกรรมการ 2.2 นางปรดี าพร บุญโสภา ครู คศ.๓ (๒) กรรมการ 2.3 นางสาวอาซีย๊ะ สาแมง พนักงานราชการ กรรมการ 2.4 นางสาวปัทมาภรณ์ กาเหนดิ ทอง ครธู รุ การ กรรมการและเลขานุการ ๓. คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ประกอบดว้ ย ๓.1 นางพรทิพย์ สองภักดี ครู คศ.๓ (๒) ประธานกรรมการ ๓.๒ นายวนิ ีต ณรงคก์ ลู ครู คศ.๓ (๒) กรรมการ ๓.๓ นางปรดี าพร บุญโสภา ครู คศ.๓ (๒) กรรมการ ๓.๔ นายนายชัยวฒั น์ อินทรสุวรรณ พนกั งานราชการ กรรมการ ๓.5 นางสาวปัทมาภรณ์ กาเหนิดทอง ครูธรุ การ กรรมการและเลขานุการ 4. คณะกรรมการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖2 มีหน้าที่ ดาเนินการรวบรวมข้อมูล จัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นาเสนอรายงานผลการประเมินตนเองตอคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพ้ืนฐานใหความเห็นชอบ และจัดสงรายงานดังกลาวตอสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ภายในวันที่ 8 พฤษภาคม ๒๕๖3 ท้ังนี้ เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย อันจะส่งผลให้เป็นไปตามทิศทางและวัตถุประสงค์การ พฒั นาการศึกษาสมู่ าตรฐานการศกึ ษาต่อไป ประกอบด้วย 4.1 นางพรทิพย์ สองภักดี ครู คศ.๓ (๒) ประธานกรรมการ 4.๒ นายวินตี ณรงค์กูล ครู คศ.๓ (๒) กรรมการ 4.๓ นางปรดี าพร บญุ โสภา ครู คศ.๓ (๒) กรรมการ 4.๔ นายนายชัยวฒั น์ อนิ ทรสวุ รรณ พนักงานราชการ กรรมการ 4.5 นางสาวอาซยี ๊ะ สาแมง พนักงานราชการ กรรมการและเลขานุการ 4.6 นางสาวปทั มาภรณ์ กาเหนดิ ทอง ครธู รุ การ กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ให้ปฏบิ ัติตามประกาศสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เรอื่ ง แนวปฏบิ ตั กิ ารดาเนนิ งานประกันคณุ ภาพการศึกษา ระดบั การศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2561 โดยใช้เปน็ แนวปฏบิ ัตกิ ารดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาขน้ึ ใหห้ นว่ ยงานต้น สังกดั เพื่อการพัฒนาส่งเสรมิ กากบั ดูแล และตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา มรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ๑) ใหส้ ถานศกึ ษาแตล่ ะแห่งจัดใหม้ ีระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา เพ่ือให้เกิดการพัฒนา และเพื่อเปน็ กลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหเ้ กิดการ พฒั นาและสร้างความเชอื่ มนั่ ให้กบั สงั คม ชุมชน และผ้มู สี ่วนเกี่ยวขอ้ ง ๒) การจัดใหมรี ะบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ดังน้ี

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ ๒.๑ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาใหเปนไปตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาปฐมวยั และระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานที่กระทรวงประกาศใช้ และให้สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมาย ความสาเรจ็ ตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาตามบรบิ ท ท้ังนี้ สามารถเพิ่มเติมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นอกเหนือจากทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศใช้ได้ โดยใหส้ ถานศึกษาและผู้เกย่ี วข้อง ดาเนนิ การและ รับผิดชอบร่วมกัน ๒.๒ จัดทาแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ทสี่ อดคลองกบั สภาพปญหาและ ความตองการจาเปนของสถานศึกษาอยางเปนระบบโดยสะทอนคุณภาพความสาเร็จอยางชดั เจนตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศกึ ษา ๒.๓ ดาเนนิ การตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๒.๔ ประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา โดยกาหนด ผูรับผิดชอบในการประเมินผล และตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ซ่ึงมี 3 ระดับ ได้แก่ ผู้รับผิดชอบกิจกรรม/ โครงการ หัวหน้ากลุ่มงาน และระดับสถานศึกษา ท้ังนี้จะต้องประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา อยางนอยภาคเรียนละ ๑ ครง้ั โดยวิธีการท่หี ลากหลายและมเี คร่อื งมือทเี่ หมาะสม ๒.๕ ติดตามผลการดาเนนิ การเพ่ือพฒั นาสถานศกึ ษาใหมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศกึ ษา และนาผลการติดตามไปใชประโยชนในการปรับปรงุ พัฒนา ๒.๖ จัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา นาเสนอรายงานผลการประเมนิ ตนเองตอคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขั้นพ้นื ฐานใหความเห็นชอบ และจัดสงรายงานดังกลาวตอสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เปนประจาทุกป ๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาใหมคี ณุ ภาพโดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) และตามคาแนะนาของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือใหการประกันคุณภาพการศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ พัฒนาอยางตอเน่อื ง 3) สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามข้อเสนอแนะของสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (สมศ.) และหน่วยงานต้นสังกัด หรือหนว่ ยงานท่ีกากบั ดูแล เพื่อนาไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานของสถานศกึ ษา ทงั้ นี้ ต้ังแต่บดั นี้เปน็ ต้นไป สั่ง ณ วนั ที่ ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ลงชอื่ (นายนิพฐิ พนธ์ ทพั พ์ชัยศริ ิ) ผอู้ านวยการโรงเรียนชาตติ ระการโกศล

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ คาสง่ั โรงเรียนชาตติ ระการโกศล ท่ี 21 /๒๕๖๒ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลคุณภาพการศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖2 ตามทม่ี ีการประกาศใชก้ ฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคณุ ภาพ การศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๓ และประกาศคณะกรรมการประกนั คุณภาพภายในระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน เร่อื ง กาหนด หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัตเิ กย่ี วกบั การประกนั คุณภาพภายใน ระดบั การศึกษาปฐมวัย และระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๓ ทีก่ าหนดให้สถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวยั และระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน จดั ให้มี การติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาทงั้ ระดับ บคุ คลและระดับสถานศกึ ษาอยา่ งน้อยภาคเรียนละ ๑ ครง้ั พร้อมทง้ั จัดทารายงานผล และนาผลการตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาไปใช้ประโยชนใ์ นการปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศึกษานนั้ เพือ่ ให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย โรงเรยี นชาตติ ระการโกศล จึงขอแต่งต้ัง คณะกรรมการติดตามตรวจสอบระบบประกนั คุณภาพและประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ดังน้ี ๑. นายนพิ ิฐพนธ์ ทัพพ์ชัยศริ ิ ผอู้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ ๒. นางสาวอาซยี ๊ะ สาแมง ๓. นางพรทิพย์ สองภักดี พนักงานราชการ กรรมการ ครูชานาญการ กรรมการและเลขานุการ มหี น้าท่ี 1. ตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทัง้ ระดบั บคุ คลและระดบั สถานศึกษาอย่าง นอ้ ย ภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง และจัดทารายงานผลการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา 2. ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาอย่างน้อยปลี ะ ๑ ครง้ั และจดั ทารายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา จงึ ใหค้ ณะกรรมการที่ได้รบั การแตง่ ตัง้ ปฏิบัติหน้าท่ที ี่ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ป็นไปด้วยความ เรยี บรอ้ ย มปี ระสิทธภิ าพ โดยคานงึ ถงึ ประโยชนข์ องทางราชการเป็นสาคญั ทง้ั น้ี ตัง้ แต่บดั นเ้ี ป็นต้นไป ส่งั ณ วนั ท่ี ๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ลงชอ่ื (นายนพิ ฐิ พนธ์ ทัพพช์ ยั ศิริ) ผู้อานวยการโรงเรียนชาติตระการโกศล

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ ประกาศโรงเรยี นชาตติ ระการโกศล เรือ่ ง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวยั ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐานศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ......................................................... โดยท่ีมีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 นโยบายการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองท่ีกาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและ การศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพท้ังภายใน และภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป จาเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกัน จึงให้ยกเลิกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับ ปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ลงวันท่ี 27 กรกฎาคม พ.ศ.2554 ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี 11 ตลุ าคม พ.ศ.2559 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาศูนย์การศึกษา พิเศษ เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ 2 มนี าคม พ.ศ.2560 พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 9 (3) ได้กาหนดการจัดระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจดั การศึกษาให้ยึดหลักท่ีสาคัญข้อหน่ึง คือ มี การกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กาหนด นโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษาและมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหาร การศึกษาทีต่ อ้ งดาเนินการอยา่ งต่อเนอื่ ง โดยมีการจดั ทารายงานประจาปีเสนอตอ่ หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงาน ทีเ่ กยี่ วข้อง และเปดิ เผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรับรองการ ประกันคณุ ภาพภายนอก ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 9 (3) มาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2552 และมาตรา 5 มาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 ซ่ึงแก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ประกอบกับมติคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานในการประชุม ครั้งที่ 5/2561 เมื่อวันศุกร์ท่ี 10 พฤษภาคม พ.ศ.2561 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เพื่อเป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้น สังกัด และสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ในการพัฒนาส่งเสริม สนับสนุน และ ตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ตามเอกสารดังแนบท้ายประกาศฉบบั น้ี

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ ท้ังน้ี โรงเรียนชาติตระการโกศล จึงประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เพ่ือความสอดคล้องกับประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 โดยผ่านการเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานของโรงเรียนเปน็ ท่เี รยี บร้อยแล้ว ประกาศ ณ วันท่ี 25 มีนาคม พ.ศ. 2562 ลงชื่อ (นายนิพิฐพนธ์ ทัพพช์ ยั ศริ ิ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นชาติตระการโกศล

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ มาตรฐานการศึกษาโรงเรยี นชาตติ ระการโกศล “ระดบั ปฐมวยั ” แนบท้ายประกาศโรงเรียนชาติตระการโกศล เรอ่ื ง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน และระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ปีการศึกษา 2562 ************************************ มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั พ.ศ.2562 มจี านวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ แต่ละมาตรฐาน ไดก้ าหนดรายละเอียดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี นชาตติ ระการโกศล ระดบั ปฐมวยั ปีการศึกษา 2562 ดงั นี้ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก 1.1 เด็กมกี ารพัฒนาด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ยั ทด่ี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ 1.2 เดก็ มกี ารพฒั นาด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3 เดก็ มีการพัฒนาการด้านสงั คม ชว่ ยแหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ีดีของสงั คม 1.4 เดก็ มีพัฒนาการด้านสติปญั ญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคดิ พื้นฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ๒.๑ โรงเรยี นมหี ลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการท้งั ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน ๒.๒ โรงเรียนจัดครใู หเ้ พียงพอกบั ชนั้ เรยี น ๒.๓ โรงเรยี นสง่ เสรมิ ใหค้ รูมีความเชย่ี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ ๒.๔ โรงเรยี นจัดสภาพแวดล้อมและสอ่ื เพื่อการเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ ๒.๕ โรงเรยี นใหบ้ ริการสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนร้เู พื่อสนับสนนุ การจดั ประสบการณ์ ๒.๖ โรงเรยี นมรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ้เู กีย่ วข้องทกุ ฝา่ ยมีสว่ นร่วม มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เป็นสาคญั ๓.๑ ครจู ัดประสบการณ์ท่ีสง่ เสริมให้เดก็ มีการพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เต็มศกั ยภาพ ๓.๒ ครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏบิ ัติอย่างมคี วามสุข ๓.๓ ครจู ดั บรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรใู้ ช้ส่อื เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวยั ๓.๔ ครูประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ แลละนาผลประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์และพฒั นาเดก็

รายงานการประเมนิ คุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 256๒ มาตรฐานการศกึ ษาโรงเรยี นชาตติ ระการโกศล “ระดับ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน” แนบท้ายประกาศโรงเรียนชาติตระการโกศล เรอ่ื ง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน และระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานศนู ย์การศึกษาพิเศษ ปกี ารศึกษา 2562 ************************************ มาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ.256๒ มีจานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน 1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น 1.2 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ แต่ละมาตรฐาน ได้กาหนดรายละเอยี ดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนชาตติ ระการโกศล ระดับ การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ปกี ารศึกษา 2562 ดงั นี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รียน 1) นกั เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการคิดคานวณ 2) นักเรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ น ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา 3) นักเรยี นมีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 4) นักเรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 5) นกั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา 6) นักเรยี นมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชพี 1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน 1) นักเรียนมีคุณลกั ษณะและคา่ นยิ มที่ดตี ามทีส่ ถานศึกษากาหนด 2) นกั เรยี นมีความภูมิใจในท้องถ่นิ และความเป็นไทย 3) นกั เรยี นยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) นักเรยี นมีสุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคมที่ดี มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 โรงเรยี นมเี ปา้ หมายวสิ ยั ทัศนแ์ ละพันธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากาหนดชัดเจน 2.2 โรงเรียนมีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 โรงเรยี นดาเนินงานพฒั นาวชิ าการที่เนน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา และทกุ กลุ่มเป้าหมาย 2.4 โรงเรยี นพฒั นาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชพี 2.5 โรงเรียนจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ 2.6 โรงเรียนจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรยี นรู้

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั 3.1 ครจู ดั การเรยี นรูผ้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้ 3.2 ครใู ช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ 3.3 ครูมกี ารบริหารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก 3.4 ครูตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น 3.5 ครมู ีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ ประกาศโรงเรียนชาติตระการโกศล เรอ่ื ง กาหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั และระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา **************************************** ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ซ่ึงเหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ แนวทางในการ ดาเนนิ งานตามประกาศกฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ไม่สอดคล้องกับหลักการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีแท้จริง จึงส่งผลให้การดาเนินการประกันคุณภาพท้ัง ภายในและภายนอกไม่สัมพันธ์กัน เกิดความซ้าซ้อนและคลาดเคลื่อนในการปฏิบัติ ทาให้ไม่สะท้อนความเป็น จรงิ และเปน็ การสร้างภาระให้สถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับลงวันท่ี 20 กุมภาพันธ์ 2561 โรงเรียนชาติตระการโกศล ปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จากการมีส่วนร่วมของผู้ท่ีเก่ียวข้อง ท้ังบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนใน ชุมชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาระดับ ปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการประชุม ครั้งที่ 1/2562 เม่ือวันท่ี 27 เดอื น มนี าคม พ.ศ.2562 เพ่ือให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนชาติตระการโกศล มีคุณภาพ และมาตรฐาน จึงกาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และ ระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศน้ี ประกาศ ณ วนั ที่ 25 มนี าคม พ.ศ. ๒๕62 ลงชอ่ื (นายนิพฐิ พนธ์ ทพั พช์ ัยศริ )ิ ผู้อานวยการโรงเรยี นชาติตระการโกศล

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ ประกาศโรงเรียนชาตติ ระการโกศล เรอ่ื ง การกาหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสาเรจ็ ของโรงเรยี น “ระดับปฐมวยั ” ตามทก่ี ระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศ เรอ่ื ง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดับ ระดับปฐมวัย เม่ือวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 ดังนั้น เพ่ือให้การดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ของโรงเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 โรงเรียน ชาติตระการโกศล จึงได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสาเร็จของโรงเรียน ระดับปฐมวัย ปกี ารศกึ ษา 2561 ไวด้ งั รายละเอียดท่แี นบทา้ ยประกาศตอ่ ไปนี้ มาตรฐาน ค่าเปา้ หมายความสาเร็จ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ระดบั ดี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดบั ดี มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทเี่ นน้ เดก็ เปน็ สาคัญ ระดับ ดี ประกาศ ณ วันท่ี 25 มนี าคม พ.ศ. ๒๕62 ลงชอ่ื (นายนิพฐิ พนธ์ ทัพพ์ชัยศิริ) ผู้อานวยการโรงเรียนชาตติ ระการโกศล

รายงานการประเมินคุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ กาหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศ โรงเรียนชาตติ ระการโกศล เรื่อง การกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ********************************************* มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเดน็ พจิ ารณา มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก ระดับ ดี 1.1 เด็กร้อยละ 60 มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ยั ท่ดี ี และดแู ลความ ดี ปลอดภัยของตนเองได้ 1.2 เด็กร้อยละ 60 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ดี 1.3 เดก็ ร้อยละ 60 มีพฒั นาการดา้ นสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของสังคม ดี 1.4 เดก็ รอ้ ยละ 60 มพี ฒั นาการดา้ นสติปญั ญา สอื่ สารได้ มีทักษะการคดิ พน้ื ฐานและ ดี แสวงหาความรไู้ ด้ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับ ดี 2.1 มีหลกั สตู รครอบคลมุ พัฒนาการ 4 ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน มคี ุณภาพ ดี อยูใ่ นระดบั ดี ข้ึนไป 2.2 จดั ครูให้เพยี งพอกับชั้นเรียน มีคณุ ภาพอยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป ดี 2.3 ส่งเสริมใหค้ รูมีความเชีย่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับ ดี ดี ข้นึ ไป 2.4 จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพยี งพอ มีคุณภาพอยู่ ดี ในระดบั ดี ข้นึ ไป 2.5 โรงเรียนให้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรูเ้ พ่อื สนบั สนนุ การจดั ดี ประสบการณ์ มคี ุณภาพอยู่ในระดบั ดี ขึน้ ไป 2.6 มีระบบบรหิ ารคุณภาพท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ้ทู เ่ี กีย่ วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม มคี ณุ ภาพอยู่ใน ดี ระดับ ดี ข้นึ ไป มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ ระดับ ดี 3.1 ครูร้อยละ 60 จัดประสบการณ์ทีส่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมกี ารพัฒนาการทกุ ด้านอยา่ งสมดลุ ดี เต็มศกั ยภาพ 3.2 ครูร้อยละ 60 สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ตั ิอย่างมี ดี ความสขุ 3.3 ครูร้อยละ 60 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรยี นรใู้ ชส้ อื่ และเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม ดี กับวัย 3. ครรู ้อยละ 60 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาผลประเมนิ พฒั นาการเด็ก ดี ไปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

รายงานการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (SAR) ปีการศึกษา 256๒ ประกาศโรงเรียนชาติตระการโกศล เรื่อง การกาหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเปา้ หมายความสาเรจ็ ของโรงเรยี น “ระดับ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน” ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เรอ่ื ง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดับ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เม่ือวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 ดังนั้น เพ่ือให้การดาเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในของโรงเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โรงเรียนชาติตระการโกศล จึงได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสาเร็จของโรงเรียน ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ปีการศึกษา 2562 ไว้ดงั รายละเอียดทแ่ี นบท้ายประกาศต่อไปน้ี มาตรฐาน คา่ เป้าหมายความสาเรจ็ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ระดับ ดี มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดับ ดี มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั ระดับ ดี ประกาศ ณ วันท่ี 25 มนี าคม พ.ศ. ๒๕62 ลงช่ือ (นายนพิ ฐิ พนธ์ ทัพพ์ชัยศิริ) ผ้อู านวยการโรงเรยี นชาตติ ระการโกศล

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๒ กาหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศ โรงเรียนชาติตระการโกศล เร่ือง การกาหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน เพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ********************************************* มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นพิจารณา มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ระดบั ดี ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ระดับ ดี ๑) นกั เรียนรอ้ ยละ 60 มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สาร และ ดี การคิดคานวณตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากาหนด 2) นกั เรียนร้อยละ 60 มีความสามารถในการวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ ดี อภิปรายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น และแก้ปัญหาไดต้ ามเกณฑ์ 3) นักเรยี นรอ้ ยละ 60 มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรมในการเรยี นรู้ ดี 4) นักเรียนรอ้ ยละ 60 มสี ามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารได้ ดี 5) นักเรียนรอ้ ยละ 60 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ดี ๖) นกั เรียนร้อยละ 60 มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติทีด่ ีต่องานอาชีพ ดี ๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผ้เู รียน ระดับ ดี ๑) นักเรียนร้อยละ 60 มีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดตี ามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา ดี กาหนด ๒) นกั เรียนรอ้ ยละ 60 นกั เรยี นมีสว่ นร่วมในกิจกรรมประเพณีของท้องถิ่นและ ดี มคี วามภูมิใจในความเป็นไทย ๓) นักเรยี นร้อยละ 60 อยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสุขบนความแตกตา่ งทาง ดี วัฒนธรรมและความหลากหลาย ๔) นักเรียนรอ้ ยละ 60 มสี ุขภาพรา่ งกายท่ีแขง็ แรงสมบูรณ์และแสดงออกอยา่ ง ดี เหมาะสมตามชว่ งวัย มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั ดี 2.๑ โรงเรียนกาหนดเป้าหมายวิสัยทศั น์ และพนั ธกิจที่ชัดเจน มคี ุณภาพอยู่ใน ดี ระดับ ดี ข้นึ ไป ๒.2 โรงเรียนมรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาตามระบบ PDCA ดี มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับ ดี ขึ้นไป 2.3 โรงเรยี นมีการพัฒนาวิชาการตามคุณภาพผ้เู รยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ดี ทกุ กลุ่มเป้าหมาย มีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี ขึน้ ไป 2.4 โรงเรยี นสง่ เสริมและสนับสนนุ พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชีย่ วชาญ ดี ทางวชิ าชีพ มีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี ขน้ึ ไป

รายงานการประเมินคุณภาพการศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 256๒ มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ ประเดน็ พจิ ารณา มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.5 โรงเรยี นจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมทเ่ี อื้อต่อ ดี การจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ มีคุณภาพอยใู่ นระดับ ดี ขนึ้ ไป ดี 2.6 โรงเรียนจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ ระดับ ดี และการจดั การเรียนรู้ มคี ณุ ภาพอย่ใู นระดบั ดี ขน้ึ ไป ดี มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ ดี 3.1 ครรู ้อยละ 60 สามารถจัดการเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นเกดิ กระบวนการคดิ และคิด ดี สร้างสรรค์ โดยการปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ ดี 3.2 ครรู อ้ ยละ 60 สามารถใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู ่ี ดี หลากหลายที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ 3.3 ครรู อ้ ยละ 60 มีการบริหารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวก 3.4 ครูรอ้ ยละ 60 มีการตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอย่างเป็นระบบและนาผลมา พฒั นาผ้เู รียน 3.5 ครูร้อยละ 60 มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพฒั นา และปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ แนวทางการกาหนดค่าเปา้ หมายของโรงเรียนชาตติ ระการโกศล ๑. ศกึ ษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่างๆ ทีผ่ ่านมา เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ฐานในการกาหนดค่าเป้าหมาย ๒. การกาหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกาหนดเป็น ระดบั คุณภาพ 5 ระดับ เพ่ือให้ สอดคลอ้ งกับการประเมนิ ดังน้ี รอ้ ยละ (คุณภาพ) ระดบั คุณภาพ คณุ ภาพ ร้อยละ < 50 1 กาลงั พฒั นา รอ้ ยละ 50-59 2 ปานกลาง ร้อยละ 60-69 3 ร้อยละ 70-79 4 ดี ร้อยละ 80-100 5 ดเี ลิศ ยอดเยีย่ ม ๓. การกาหนดค่าเป้าหมายมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน เพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกาหนดเป็นระดับคุณภาพ และรอ้ ยละตามบรบิ ทของสถานศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook