วดั จำปำ
สารบญั บทท่ี ๑ บทนำ หน้ำท่ี ๑ บทท่ี ๒ บริบทชุมชน หนำ้ ที่ ๔ บทที่ ๓ วดั จำปำ หนำ้ ท่ี ๙ วดั จำปำในสมัยปัจจบุ ัน หน้ำที่ ๓๐ บทท่ี ๔ กำรมีสว่ นรว่ มของชุมชนในกำรชว่ ยกันอนุรักษ์ หน้าท่ี ๔๙ บทท่ี ๕ บทสรปุ หนำ้ ท่ี ๕๔
บทท่ี ๑ บทนา
๑ บทที่ ๑ บทนา ตาบลทุ่ง เป็นชุมชนที่มี ประวัติศำสตร์ยำวนำนที่ปรำกฏอยู่ใน หมำยเหตุไชยำ คำว่ำ “ทุ่งหรือทุ่งนำ” หมำยถึง ควำมอุดมสมบูรณ์ เพรำะสมัย ศรีวชิ ัยหรืออยธุ ยำรำยได้เกือบทั้งหมดที่ เป็นภำษีเล้ียงประเทศส่วนใหญ่มำจำก กำรทำนำ ตำบลทุ่ง จึงเป็นเมืองที่รุ่ง เรื่องในสมัยนั้น และด้วยเหตุน้ีตำบลทุ่ง จึงได้ปรำกฎสถำนท่ีทำงประวัติศำสตร์ ที่สำคัญ เช่น ศำลำคงคำชยั วัดตะเคียน วดั จำปำและศำลำเชอื ด
๒ วัดจำปำเป็นวัดโบรำณเก่ำแก่วัดหน่ึงในเขตชุมชนประวัติศำสตร์ของ อำเภอไชยำ กำรเกิดข้นึ ของวดั จำปำน้นั ไมม่ ีเอกสำรหรือหลกั ฐำนระบุแน่ชัดว่ำ ใครเป็นผู้สร้ำงและในสมัยใด แต่จำกหลักฐำนต่ำงๆ อำทิ บันทึกของอำจำรย์ ธรรมทำส พำนิช ศิลำจำรึกอักษรขอม (ฉบับภำษำไทย) เป็นต้น แสดงให้เห็น ถึงร่อยรอยอำรยธรม ควำมม่ันคงทำงพระพุทธศำสนำทั้งแบบลัทธิมหำยำน และแบบลัทธิเถรวำท ควำมเจริญรุ่งเรืองของวัดจำปำในสมัยต่ำงๆ ได้ปรำกฏ หลักฐำนทำงโบรำณสถำน โบรำณวัตถุ และถำวรวัตถุท่ีสำคัญอันทรงคุณค่ำ ได้แก่ อุโบสถ วิหำร พระพุทธรูป และเจดีย์ ซึ่งถือเป็นมรดกทำงศิลปะและ วัฒนธรรมที่สืบทอดมำจนถึงปัจจุบันอันควรค่ำแก่กำรทำนุบำรุงรักษำไว้ให้ อนชุ นรนุ่ หลังได้รจู้ กั และทำกำรศึกษำคน้ คว้ำด้วยควำมภำคภมู ิใจต่อไป ยคุ สมัยทเี่ ปลย่ี นแปลงไป ส่งผลให้ปัจจุบันวัดจำปำเป็นศูนย์กลำงของกำร ประกอบพิธีกรรมทำงพุทธศำสนำ เป็นสถำนที่ใช้สืบสำนประเพณีวัฒนธรรม ของชำวบ้ำน ขณะเดียวกันตลอดหลำยปีท่ีผ่ำนมำทำงวัดจำปำก็ได้มีกำร บูรณะซ่อมแซมศำสนสถำน มีกำรก่อสร้ำงอำคำร และถำวรวัตถุต่ำงๆ เพ่ือ ส่งเสริมภำพลักษณ์ให้วัดจำปำคงควำมวิจิตรสวยงำม ควำมเป็นเอกลักษณ์ และสร้ำงควำมสะดวกสบำยใหก้ บั ศำสนกิ ชนที่เข้ำมำปฏิบัติศำสนกจิ
๓ ควำมเป็นเอกลักษณ์ รวมถึงสร้ำงควำมสะดวกสบำยให้กับศำสนิกชนที่ เข้ำมำปฏิบัติศำสนกิจ ยุคสมัยที่เปล่ียนแปลงไปส่งผลให้วัดจำปำสำมำรถ ดำรงอยู่ได้เพียงวัดเดียวท่ีเป็นศูนย์กลำงของกำรประกอบพิธีกรรมทำงพุทธ ศำสนำ รวมถึงเป็นสถำนทีใ่ ชใ้ นกำรสบื สำนประเพณีวัฒนธรรมของชำวบ้ำน ขณะเดียวกันตลอดหลำยปีท่ีผ่ำนมำทำงวัดจำปำก็ได้มีกำรบูรณ ซ่อมแซม ศำสนสถำน มีกำรก่อสร้ำงอำคำรและถำวรวัตถุต่ำงๆ เพ่ือเป็นกำรส่งเสริม ภำพลักษณ์ให้กับวัดในเร่ืองของควำมวิจิตรสวยงำม ควำมเป็นเอกลักษณ์ รวมถึงสร้ำงควำมสะดวกสบำยให้กับศำสนกิ ชนท่ีเข้ำมำปฏิบตั ศิ ำสนกจิ
บทท่ี ๒ บริบทชุมชน
๔ บทท่ี ๒ บรบิ ทชุมชน ๒.๑ ประวัติความเปน็ มาของตาบลทงุ่ ตำมประวัติของตำบลทุ่ง ที่ปรำกฏอยู่ในหมำยเหตุไชยำ คำว่ำ “ทุ่งหรือ ทุ่งนำ” หมำยถึง ควำมอุดมสมบูรณ์ เพรำะสมัยศรีวิชัยหรืออยุธยำรำยได้ เกือบท้ังหมดเป็นภำษีเล้ียงประเทศส่วนใหญ่มำจำกกำรทำนำ ตำบลทุ่งจึง เป็นเมืองที่รุ่งเร่ืองในสมัยนั้น สถำนที่ประวัติศำสตร์ท่ีตำบลทุ่ง เช่น ศำลำคง คำชัย วัดตะเคียน วัดจำปำ และศำลำเชือด ตำมจดหมำยเหตุเมืองไชยำ กล่ำวไว้ว่ำ หลังจำกกรุงศรอี ยุธยำแตก เน่ืองจำกเสียกรุงให้กับพม่ำคร้ังสุดท้ำยเม่ือปี พ.ศ.๒๓๑๑ สมเด็จพระเจ้ำ ตำกสินมหำรำชก็กอบกู้อิสรภำพได้โดยเร็ว โดยทำกำรตีทัพพม่ำแตกที่ค่ำย บำงกุ้ง แต่จะสรำ้ งหรือบรู ณะกรงุ ศรีอยธุ ยำต่อกล็ ำบำก เพรำะพม่ำทำกำรเผำ กรุงศรีอยุธยำจนหมดสิ้น จึงมำสร้ำงกรุงใหม่ชื่อว่ำ กรุงธนบุรี เนื่องจำกเจ้ำ เมืองต่ำงๆ เร่ิมจะแข็งเมือง รวมท้ังเจ้ำเมือนครศรีธรรมรำช สมเด็จพระเจ้ำ ตำกสินมหำรำชจึงได้เสด็จยกทัพมำตีเมือนครศรีธรรมรำชด้วยพระองค์เอง จึงได้กรีฑำทัพผ่ำนตำบลทุ่ง และได้เห็นทำเลท่ีตั้งสะดวกเหมำะสม พระองค์ และทหำรจงึ ได้พักทัพทศ่ี ำลำคงคำชัย ในระหวำ่ งทพี่ กั ทพั พระองค์และทหำร ได้ไปนมัสกำรกรำบพ่อท่ำนวัดตะเคียนซ่ึงเป็นเจ้ำอำวำสวัดตะเคียนในสมัย อยธุ ยำตอนปลำย
๒.๒ ทาเลทต่ี ้งั ๕ ทีต่ ั้งและอำณำเขต องค์กำรบริหำรส่วนตำบลทุ่ง ต้ังอยู่เลขท่ี ๑๒๙ หมู่ที่ ๔ ตำบลทุ่ง อำเภอไชยำ จังหวัดสุรำษฎร์ธำนีตั้งอยู่ทำงตะวันออกของอำเภอไชยำ จงั หวัดสุรำษฎรธ์ ำนี มีเนอื้ ท่ีโดยประมำณ ๘๔ ตำรำงกิโลเมตรหรือประมำณ ๕๒,๕๐๐ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๘.๓๖ ของพ้ืนที่อำเภอไชยำ มีอำณำเขตติดต่อ กบั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ต่ำงๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับองค์กำรบริหำรสว่ นตำบลตะกรบ ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับองค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบลเลม็ดและ เทศบำลตำบลตลำดไชยำ ทศิ ตะวันตก ติดต่อกบั เทศบำลตำบลตลำดไชยำ ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับองคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นตำบลตะกรบและ เทศบำลตำบลพุมเรยี ง ลกั ษณะภูมิประเทศ (องค์กำรบรหิ ำรสว่ นตำบลทุ่ง, ๒๕๖๑ : ๑-๒) พ้ืนท่ีส่วนใหญ่ของตำบลทุ่งเป็นที่รำบลุ่ม เหมำะแก่กำรทำนำ เลี้ยงสัตว์ และพ้ืนที่เกษตรกรรมใช้เป็นที่ต้ังชุมชน ส่วนทำงด้ำนตะวันออกของตำบล เป็นพ้นื ท่ปี ่ำสงวนแหง่ ชำติ (ปำ่ คลองทำ่ เนยี นและปำ่ ชำยเลนคลองพมุ เรียง) ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอำกำศโดยทั่วไปขององค์กำรบริหำรส่วนตำบลทุ่ง มี ลักษณะแบบเมืองร้อน เน่ืองจำกได้รับอิทธิพลจำกลมมรสุมตะวันออก เฉียงเหนือจำกอ่ำวไทยและทะเลจีนใต้ รวมท้ังมรสุมจำกมหำสมุทรอินเดีย ทำให้มีลักษณะภูมิอำกำศ ๒ ฤดูกำล คือ ฤดูร้อนและฤดูฝน โดยมีช่วงฤดู ฝนยำวนำนระหวำ่ งเดอื นพฤษภำคม ถงึ เดอื นมกรำคม
๖ ๒.๓ ดา้ นการปกครอง เขตกำรปกครอง ตำบลทุ่งแบ่งเขตกำรปกครองออกเป็นหมู่บ้ำน โดยมพี นื้ ท่ีครอบคลมุ ๘ หมู่บ้ำน ไดแ้ ก่ หมู่ท่ี ๑ บ้ำนขนอน หมู่ที่ ๒ บำ้ นทุ่งนอก หมู่ท่ี ๓ บำ้ นถ่ินหลวง หมู่ท่ี ๔ บำ้ นหนองขี้เป็ด หมู่ท่ี ๕ บำ้ นหัวนอน หมู่ท่ี ๖ บ้ำนนำแค หมู่ที่ ๗ บำ้ นควนเจดยี ์ หมู่ที่ ๘ บ้ำนคลองยวน (องคก์ ำรบรหิ ำรส่วนตำบลท่งุ , ๒๕๖๑ : ๕) รูปภำพ แสดงแผนทแี่ ละอำณำเขตตำบลทงุ่
ประชำกร ๗ ตำบลทงุ่ มปี ระชำกรจำนวน ๕,๐๒๖ คน ชำย ๒,๓๙๒ คน หญิง ๒,๖๓๔ คน หมู่บ้ำนที่มีประชำกรมำกท่ีสุดคือ หมู่ที่ ๖ บ้ำนนำแค รองลงมำ คือ หมู่ที่ ๔ บ้ำนหนองขเี้ ปด็ , หมู่ท่ี ๑ บ้ำนขนอน, หมู่ท่ี ๓ บ้ำนถิ่นหลวง, หมู่ท่ี ๗ บ้ำนควร เจดีย์, หมู่ที่ ๘ บ้ำนคลองยวน, หมู่ที่ ๕ บ้ำนหัวนอนและหมู่ที่ ๒ บ้ำนทุ่งนอก ตำมลำดับ อัตรำควำมหนำแน่นของประชำกร ๔ คนต่อ ๑ ตำรำงกิโลเมตร จำนวนครวั เรอื น ๑,๗๙๖ ครวั เรอื น (องคก์ ำรบริหำรส่วนตำบลทงุ่ , ๒๕๖๑ : ๖) ๒.๔ สภาพทางสงั คม กำรศกึ ษำ ตำบลทงุ่ มีสถำนศึกษำท้งั หมดจำนวน ๔ แห่ง ดงั นี้ - ศนู ยพ์ ฒั นำเดก็ เล็ก จำนวน ๑ แห่ง (๑) ศูนยพ์ ัฒนำเดก็ เลก็ บำ้ นหนองมน - อนุบำล/ปฐมวัย/ประถมศกึ ษำ จำนวน ๓ แห่ง (๑) โรงเรยี นบ้ำนหนองมน (๒) โรงเรยี นวัดไตรรัตนำกร (๓) โรงเรยี นบ้ำนนำแค สำธำรณสขุ - โรงพยำบำลประจำตำบล จำนวน ๑ แหง่ (๑) โรงพยำบำลส่งเสริมสขุ ภำพตำบลทุ่ง ตั้งอยหู่ มู่ที่ ๘ บำ้ นคลองยวน (องคก์ ำรบริหำรสว่ นตำบลทุ่ง, 2561 : 7-10) ๒.๕ สภาพทางเศรษฐกจิ ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลทุ่งเป็นที่รำบลุ่ม เหมำะแก่กำรทำ เกษตรกรรม และเลี้ยงสัตว์ อีกท้ังมีอำณำเขตทำงด้ำนทำงด้ำนตะวันออก ติดต่อกับทะเล ด้วยลักษณะพ้ืนที่ดังกล่ำวส่งผลให้สภำพทำงเศรษฐกิจตำบล ทุ่งข้ึนอยู่กับกำรทำเกษตร เลี้ยงสัตว์ และกำรค้ำขำยเป็นหลัก โดยมีกิจกรรม กำรท่องเท่ียว กำรอุตสำหกรรม กำรพำณิชย์ และกลุ่มอำชีพเกิดข้ึนในบำง พน้ื ที่ เน่ืองจำกตำบลทงุ่ เพ่งิ เร่มิ กำ้ วข้ำมจำกชนบทสคู่ วำมเปน็ เมืองเล็ก ๆ
๘ ตวั อยา่ งกิจกรรมทางเศรษฐกิจ - พืชเศรษฐกจิ ทำงกำรเกษตร ได้แก่ ปำล์มน้ำมนั ยำงพำรำ และทุเรยี น - สัตวท์ น่ี ยิ มเลี้ยงกันมำกเกือบทกุ ตำบล ได้แก่ หมู เปด็ ไก่ วัว ควำย - กำรประมงบำงสว่ นท้งั ประมงน้ำเคม็ และประมงน้ำจดื ไดแ้ กช่ ำวบ้ำน หมูท่ ี่ ๑ หมู่ที่ ๖ และหม่ทู ี่ ๘ - กำรทอ่ งเท่ยี วสักกำระหลวงพ่อวดั ตะเคยี นอันเลอื่ งชอื่ หมทู่ ่ี ๓ ตำบลท่งุ อำเภอไชยำ จงั หวดั สุรำษฎร์ธำนี - กำรอตุ สำหกรรม ได้แก่ ข้ำวเหนยี วกวน ขนมไข่ โรงเลี้ยงไก่ เลย้ี งเป็ด และโรงงำนผลิตลกู ชิ้น เปน็ ตน้ - กำรพำณิชยแ์ ละกลุ่มอำชีพ ได้แก่ กลมุ่ ไร่นำสวนผสม กลมุ่ เศรษฐกจิ พอเพียง หมู่ ๘ และกลมุ่ เลยี้ งโค เปน็ ต้น (องคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นตำบลทุ่ง, ๒๕๖๑ : ๑๕-๑๖) ๒.๖ การนบั ถอื ศาสนา สถาบนั และองค์กรทางศาสนา กำรนบั ถือศำสนำ ประชำชนส่วนใหญ่ประมำณ ๙๐% นับถือศำสนำพุทธ และมีบำงส่วนนับ ถือศำสนำอสิ ลำม สถำบนั และองคก์ รทำงศำสนำ วัด จำนวน ๖ แห่ง ลาดบั ที่ ชือ่ วดั สถานท่ตี งั้ ๑ วดั จำปำ หมทู่ ่ี ๕ ๒ วัดไตรรัตนำกร หมู่ที่ ๓ ๓ วดั พระประสพ หมทู่ ี่ ๕ ๔ วดั ชมพูพนสั หมู่ที่ ๑ ๕ วัดควนเจดีย์ หมูท่ ่ี ๗ ๖ วัดอฐิ ถำรำม หมู่ท่ี ๖ (องคก์ ำรบรหิ ำรส่วนตำบลทงุ่ , ๒๕๖๑ : ๓๗)
บทที่ ๓ วดั จาปา
๙ บทท่ี ๓ วัดจาปา ๓.๑ สถานทตี่ ั้ง วัดจำปำตั้งอยู่เลขท่ี ๘๕ หมู่ ๕ ตำบลทุ่ง อำเภอไชยำ จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี เป็นวัด รำษฎร์ สงั กัดมหำนิกำย “วดั รำษฎร์ หมำยถึง วัดที่รำษฎรทั้งหลำยสร้ำงข้ึนตำมศรัทธำ และเป็นวัดที่ไดร้ ับพระรำชทำนวสิ ุงคำมสมี ำ ซง่ึ ถือว่ำเป็นวัดท่ีถูกต้องและมีฐำนะเป็นนิติ บุคคลตำมกฎหมำย” มีเนื้อที่ทั้งหมด ๘๙ ไร่ ๑ ตำรำงวำ และมีอำณำเขตติดต่อ ใกล้เคียงดงั นี้ ทิศเหนอื จดถนนสำยหนำ้ วดั จำปำ-บำ้ นหนองมน ทศิ ตะวันออก จดถนนสำยวัดจำปำ-ตลำดไชยำ ทิศใต้ จุดที่นำของนำยเล่ือม ปำนเจริญ ท่ีนำของ นำยอรุณ เผือกคง และท่ีดินของนำยประหยัด และนำงระเบยี บ ศรีสุวรรณ ทศิ ตะวันตก จุดที่นำของนำยเคลอื่ น สมเศรษฐแ์ ละทนี่ ำของ นำยยก-นำงเออ้ื น อินทจกั ร
๑๐ ๓.๒ ประวัติความเป็นมาของวดั จาปา วัดจำปำเป็นวัดโบรำณเก่ำแก่มำกวัดหนึ่ง ไม่มีเอกสำรหรือหลักฐำน ระบุแนช่ ดั ว่ำใครเป็นผู้สร้ำง และสร้ำงในสมัยใด แต่สันนิษฐำนจำกคำบอกเล่ำ ต่อๆ กนั มำวำ่ อำจจะสร้ำงในสมยั อยธุ ยำตอนตน้ หรือก่อนหน้ำน้ัน และน่ำจะ มีอำยุเท่ำกับวัดโบรำณอ่ืนๆ ในเขตชุมชนโบรำณของอำเภอไชยำที่อยู่ ใกล้เคยี งกัน เนือ่ งจำกวิหำรของวดั จำปำมีใบพัทธสีมำคู่ทำด้วยศิลำทรำยแดง เช่นเดียวกับ วัดโบรำณอื่นๆ ในอำเภอไชยำ ซึ่งแสดงว่ำวัดจำปำเคยมีพิธี ผกู พัทธสมี ำท้งั แบบลัทธิมหำยำนและแบบลัทธิเถรวำท กล่ำวคือ เดิมวัดจำปำ เป็นวัดพุทธศำสนำ ในลัทธิมหำยำนได้มีกำรผูกพัทธสีมำแล้วคร้ังหน่ึง ต่อมำ เมอ่ื พทุ ธศำสนำลทั ธิ เถรวำทแบบลังกำวงศ์แพร่หลำยเข้ำมำ จึงได้รับเอำลัทธิ เถรวำทแบบลังกำวงศ์ และได้ทำพิธีผกู พทั ธสมี ำแบบเถรวำทอกี คร้ังหนงึ่
๑๑ ท้ังนี้เพื่อควำมบริสุทธ์ิสมบูรณ์ และควำมม่ันคงของพระพุทธศำสนำตำม ควำมเช่ือต่อหลักพระธรรมวินัยของพระพทุ ธเจำ้ ในลทั ธเิ ถรวำทแบบลังกำวงศ์ ทำให้มใี บพัทธสีมำคู่ “วัดใดมีใบพัทธสีมำคู่” แสดงว่ำ ได้ประกอบพิธีผูกพัทธ สมี ำตำมลัทธเิ ถรวำทแบบลงั กำวงศ์แลว้ ( , ๒๕๕๖) วัดจำปำต้ังอยู่ริมทำงด่ำนเดิมซ่ึงเป็นทำงหลวงสมัยโบรำณในอดีต เส้นทำงนี้เป็นทำงคมนำคมทำงบกทำงเดียวที่ใช้ติดต่อระหว่ำงเมืองต่ำง ๆ กับหัวเมืองปักษ์ใต้ รวมทั้งเมืองหลวง คือ กรุงเทพและกรุงศรีอยุธยำด้วย แสดงว่ำ ในอดตี วดั จำปำตัง้ อย่กู ลำงชุมชนทมี่ คี วำมเจรญิ ร่งุ เรืองมำกมำกอ่ น จำกหนังสือ “จดหมำยระยะทำงไปตรวจรำชกำรแหลมมลำยู ร.ศ.๑๒๑” กล่ำวถงึ วดั จำปำไวว้ ่ำ \"จะย้อนกลำ่ วถงึ วดั จำปำที่ได้ไปดูมำวันนี้ มีโบสถ์หลัง หนึ่ง เสำไม้แก่น ก่อผนังอิฐอัดพังแล้ว เหลือ ๒ ศอก หลังคำก็พังแล้ว เอำ จำกมุงไว้ในโบสถ์ มีพระศิลำทรำยแดงสององค์ต้ังชัดเพรำะเปนประตูข้ำง หนึ่ง บำนประตูหน้ำโบสถ์ยังมีซีกหนึ่ง พระครูเก็บเอำไปต้ังไว้ให้ดูในวิหำร เปนรูปยักษยืนแท่นถือกระบอง ยักษรูปก็อย่ำงโบรำณสวมเทริดเช่นเคยเห็น มำทำงพิษณุโลก จึงไม่ได้เขียนถ่ำยมำ แปลกแต่ชำยผ้ำจึงได้เขียนเอำมำแต่ เฉพำะชำยผ้ำ หลังโบสถ์มีวิหำรหลังหน่ึงก่อเพิงฐำน เหนือขึ้นไปเปนเสำไม้สี่ แถว หลังคำเครื่องประดุมุงกระเบื้องกูบ มีพำไลสองชั้น มีมุขศำลำลูกขุน ฝำ ลูกกรงทำด้วยไม้หมดท้ังหลัง ทรงงำมท่ีสุด เปนวิหำรไม้แท้ ตัวลำยองแปลก ไม่เคยเห็น เปนตัวรวยแต่มีขอ ได้เขียนมำดูด้วยเพรำะมันแปลก ลำย หน้ำบรรณ์แขงเตม็ ที กนกบำกทั้งอัน แกมภำพบำนประตูหน้ำวิหำรน้ันแปลก บำนขวำเปนยักษยืนแท่นถือกระบอง มีนำค ๗ เศียร ปกหัวงูอยู่ใต้ขำ บำน ซ้ำยเป็นพระอินทร์ทรงช้ำงเอรำวัณถือพระขรรค์สองมือ ชำยผ้ำมันแปลกได้ เขียนเอำมำด้วย สงไสยว่ำผิดคู่กัน บำนยักษคงเปนคู่กับที่ว่ำบำนโบสถ์ แลมี อีกบำนหน่ึงปลวกกินเสยี ทิง้ อยู่หลงั พระ ดูร้ไู ม่ไดเ้ สียแล้ววำ่ รูปอะไร
๑๒ หวังใจว่ำจะเปนรูปเทวดำคู่กับพระอินทร์ เป็นบำนของวิหำร แต่ปลวกกิน เสีย จึงไปเอำบำนโบสถ์มำยัดเข้ำแทนบำนหนึ่ง จึงซัดเปนยักษรูปหน่ึง มนษุ รูปหนงึ่ ยงั มชี น้ิ ไมอ้ กี ชิน้ หนึ่งเปนฐำนไม้ ๑๒ มีหน้ำกระดำนบัวหงำย สงิ ห์หนำ้ กระดำนล่ำง ที่หน้ำกระดำนล่ำงแกะเป็นภำพยักษกับควำย ท่ำน พระครูว่ำอยู่ในโบสถ์ เป็นที่สวดปำฏิโมข เห็นว่ำเล็กสักหน่อย ในวิหำรมี พระตำ่ งๆ ตง้ั บนฐำนเขยี งในประธำนหันหน้ำออกมำหมด หลังฐำนเขียงท่ี รเบียงริมผนังมีแท่นยำวมีพระน่ังแถวผินหลังเข้ำฝำ แต่ล้วนเปนพระศิลำ ทรำยแดงทั้งสิ้น แต่ปูนกระเทำะทองปิดยังอยู่ กระเทำะเป็นแห่งๆ หลังคำ ยบุ จวนพัง ทำ่ นพระครวู ำ่ ผูซ้ อ่ มอำยุ ๗๐ แล้ว ทำ่ นพระครูก็คือท่ำนกำแก้ว ล่วงหน้ำมำรับอีกสิ่งหนึ่ง ประตูวัดเป็นของน่ำดู เปนประตูอย่ำงมีหลังคำ เล็กๆ ครอบ แต่ตวั ไม้สลักพิฦก ต้องเขียนเอำมำ แต่หลงั คำไม่ได้เก่ำ เขำทำ ใหมป่ ุปะไว้ อนึง่ ทำ่ นพระครไู ด้เอำศิลำจำรึกวัดมหำธำตุมำให้ดู เป็นเสมำ เรำนี่เอง แต่ที่ขอบเปนที่ตัวหนังสือ แต่ไม่ใช่ช่ำงทำเป็นคนไม่เปนทำเลย อ่ำนไม่ออก คนไม่เป็นทำเพรำะเส้นมันมีแต่ตรงๆ ไม่มีคด\" (ท่ำนกำแก้วท่ี กล่ำวถึง คือ พระครูรัตนมุนีศรีสังฆรำช ลังกำแก้ว (หนู ติสโส) อดีตเจ้ำ คณะเมืองไชยำ ซ่งึ เป็นผู้บรู ณปฏิสังขรณ์พระบรมธำตุไชยำเม่ือ ร.ศ. ๑๑๕- ๑๒๙ (พ.ศ. ๒๔๓๙-๒๔๕๓) ต่อมำมีสมณศักดิ์เป็นที่พระชยำภิวัฒน์สุภัทร สงั ฆปำโมกข์ (สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอเจ้ำฟ้ำกรมพระยำ นริศรำนวุ ัดตวิ งศ,์ ๒๕๔๐ : ๑๑๗-๑๑๙)
๑๓ ๓.๓ วดั จาปาในประวตั ศิ าสตร์เมืองไชยา ในประวตั ศิ ำสตร์ศรีวิชยั หรือศรีโพธิ์ ปรำกฏว่ำ เมืองไชยำรุ่งเรืองขึ้นมำ หลำยยุค ตำบลบ้ำนท่ีเคยเป็นที่ต้ังบ้ำนเมืองสมัยศรีวิชัยจะมีพ้ืนที่เป็นสีดำ แสดงว่ำ มคี นอยูท่ ับถมมำมำกหลำยยคุ และเม่ือฝนตกตำมทำงน้ำไหลจะพบ เงินเฟ้ืองหรือเงินตรำนะโมซึ่งเป็นเงินตรำซื้อขำยตกหล่นอยู่ เช่น ที่ตำบล พุมเรียง, ท่ีบ้ำนเวียง, ท่ีบ้ำนท่ำโพธ์ิ มีดินสีดำหนำประมำณหน่ึงเมตร และ พบเงินเฟือ้ งชนิดเดยี วกนั ทว่ี ัดจำปำจำกกำรขุดร้อื อำคำร สมัยโบรำณกำรเดินทำงจำกบ้ำนพุมเรียงมำไชยำ มีทำงเดินผ่ำน ศำลำ เก้ำห้อง ศำลำเอ่ียม สะพำนศำลำแดง วัดจำปำ บ้ำนสงขลำ มำถึง สถำนีรถไฟไชยำ มีหลักฐำน คือ ทำงสำยโทรเลขเก่ำไปตำมถนนเก่ำสำยนี้ จำกสถำนีไชยำผ่ำนบ้ำนเวียงไปทำงปำกด่ำนไปท่ำฉำง จึงเห็นได้ว่ำวัด จำปำเคยเป็นที่ตั้งบ้ำนเมืองในสมัยโบรำณนำนเท่ำๆ บ้ำนพุมเรียงและ บำ้ นเวยี ง สมัยประมำณ พ.ศ. ๑๘๐๐-๑๙๕๐ มีพระเจ้ำแผ่นดินพระนำมธรรมำ โศกมหำรำช ครองกรุงสัมโพธิ์ท่ีไชยำ มีกำรสร้ำงพระพุทธรูปศิลำแดงแบบ ไชยำขึ้นไว้เป็นจำนวนมำก “พระประธำนในวิหำรวัดจำปำ” ก็เป็น พระพุทธรูปสกุลช่ำงไชยำในสมัยพระธรรมำโศกมหำรำชด้วย แสดงว่ำ วัด จำปำรงุ่ เรืองอยู่ในสมัย พ.ศ. ๑๙๐๐-๑๙๕๐ สมัยกรุงธนบุรีวัดจำปำเจริญมำก พระอำจำรย์วัดจำปำเป็นหัวหน้ำ จัดทำพระพุทธรูปศิลำขึ้นไว้ ๒๙ องค์ เจ้ำเมืองไชยำในสมัยนั้นเป็น “เจ้ำพระยำไชยำ” ก็รว่ มในกำรทำพระพุทธรูปด้วย มีข้อควำมในจำรึกคัดมำ ลงไว้ในทน่ี ี่ จำกจำรกึ น้ีเรำทรำบได้ว่ำ ในสมัย พ.ศ. ๒๓๑๙ มีกำรทำพระพุทธรูปหิน ทรำยแดง เจ้ำเมืองไชยำ ในสมัยน้ันในจำรึกว่ำ “เจ้ำพระยำไชยำ” พระพุทธ รูปท่ีสร้ำงขึ้นได้เชิญไปไว้ท่ีวัดถ้ำหินเตียบ ตำบลวัง อำเภอท่ำชนะ ตรงสุดหัว เขำประสงคด์ ้ำนทศิ ใต้ และที่ถ้ำวัง ตำบลวัง (ธรรมทำส พำนชิ , , ๒๕๔๓)
๑๔ 3.4 โบราณสถาน โบราณวตั ถุ และถาวรวตั ถุทส่ี าคัญ วดั จำปำ เปน็ วัดเก่ำแก่ทมี่ อี ำยมุ ำยำวนำน จึงมีโบรำณสถำนโบรำณวัตถุ และถำวรวัตถุท่ีทรงคุณค่ำ เป็นมรดกทำงศิลปะและวัฒนธรรมอันล้ำค่ำที่ตก ทอดมำถึงปัจจุบันนี้ ควรที่จะร่วมกันทำนุบำรุง รักษำไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ รู้จักและคน้ คว้ำศกึ ษำดว้ ยควำมภำคภูมิใจต่อไป ( ,๒๕๕๖) อนั ได้แก่ ๑) อุโบสถ ตำมหลักฐำนหนังสือรับรองสภำพวัดของวัดจำปำ ได้กล่ำวถึงอุโบสถ มี ใจควำมว่ำวัดจำปำต้ังเป็นวัดเม่ือ พ.ศ. ๑๖๐๐ และได้รับพระรำชทำน วิสุงคำมสีมำเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ เดิมมีอุโบสถอยู่แล้วเป็นอุโบสถเคร่ืองไม้ แต่ หลังคำชำรุดพงั ลงมำแลว้ เอำจำกมำมงุ ไว้ ต่อมำพระครูเพิ่มพุทธปำโลอดีตเจ้ำ อำวำสวัดจำปำจึงได้ร้ือถอนอุโบสถหลังเก่ำและพัทธสีมำออก จำกน้ันได้ กอ่ สร้ำงอโุ บสถใหมข่ ้ึนแทนในทเ่ี ดมิ ไดร้ ับพระรำชทำนวสิ ุงคำมสีมำอีกครั้งเมื่อ วันท่ี ๘ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ และได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมำใหม่เม่ือวันที่ ๒๐ มีนำคม พ.ศ. ๒๔๙๙ เขตพัทธสีมำกว้ำง ๑๘ เมตร ยำว ๒๕ เมตร (กรมกำรศำสนำ, ๒๕๓๗)
๑๕ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ สมัยท่ีพระครูถำวร ธรรมสุทธ์ิ (สมนึก ฐิติญำโณ) เป็นเจ้ำ อำวำส ได้ทำกำรร้ือถอนอุโบสถอีกครั้งหนึ่ง และสร้ำงข้ึนใหม่แต่เลื่อนไป ข้ำงหน้ำจำกที่เดิมประมำณ ๑๐ เมตร ด้วยเหตุผลของท่ำนว่ำ เขตพัทธสีมำ เดิมอยู่ใกล้กับด้ำนหน้ำวิหำรจนเกินไป ทำให้วิหำรขำดควำมสวยงำม โดย อุโบสถหลังใหม่น้ีเป็นอำคำรคอนกรีตเสริมเหล็กรูปแบบทรงไทย ขนำดกว้ำง ๑๐ เมตร ยำว ๑๖ เมตร สูง ๑๕ เมตร หลังคำ ๓ ชั้น มุงด้วยกระเบื้องดินเผำ ชำยคำเป็นรูปเทพนมและดอกจัน มีกำรร้ือกระเบื้องจำกวิหำรมำใช้เป็น บำงส่วนผนังโดยรอบทำด้วยอิฐ ฉำบปูน ประดับด้วยช่อฟ้ำใบระกำและหำง หงส์ หน้ำบันท้ัง ๒ ข้ำงแกะสลักปูนป้ัน เลียนแบบวิหำร พื้นถมดินยกสูงเท ด้วยปูนซิเมนต์เสริมเหล็ก อุโบสถสร้ำงยังไม่เสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ พระครู ถำวรธรรมวิสุทธิ์ (สมนึก ฐิตญิ ำโณ) ได้มรณภำพก่อน ต่อมำเมื่อปลำยปี พ.ศ. ๒๕๔๐ พระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เจ้ำอำวำสรูปต่อมำได้ ดำเนินกำรกอ่ สรำ้ งตอ่ และเสร็จสมบรู ณ์ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕
๑๖ ต่อมำพระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เจ้ำอำวำสรูป ปจั จบุ ันได้พิจำรณำเหน็ วำ่ กำรท่ีอุโบสถเลื่อนไปข้ำงหน้ำประมำณ ๑๐ เมตร นั้น ทำให้เขตวิสุงคำมสีมำเดิมกับอุโบสถหลังใหม่ไม่สมดุลกันขำดควำม สวยงำม จึงได้ปรึกษำทำยก ทำยิกำ และพร้อมใจกันทำกำรขอพระรำชทำน กำหนดเขตวิสุงคำมสีมำใหม่ (สำนักงำนพระพุทธศำสนำแห่งชำติ, ๒๕๕๓) ได้มีพระบรมรำชโองกำรโปรดเกล้ำให้วัดจำปำได้รับพระรำชทำนเขต วสิ ุงคำมสีมำใหม่ เมื่อวนั ที่ ๒ มถิ ุนำยน พ.ศ. ๒๕๕๓
๑๗
๑๘ ๒) วหิ าร วัดจำปำมีโบรำณสถำนเก่ำแก่ท่ียังเหลืออยู่ คือ วิหำรโบรำณที่ ชำวบ้ำนเรียกกันว่ำ “เพหำรหลวง” สร้ำงในสมัยอยุธยำตอนปลำย เป็น อำคำรไม้ทรงไทย โบรำณศิลปะอยุธยำอำยุประมำณ ๓๐๐ ปีเศษ เป็น อำคำรช้ันเดียว พื้นถมดิน ยกพื้นสูงก่ออิฐถือปูน มีบันไดขึ้นทำงทิศ ตะวันออก บำนประตูเดิมเป็นไม้ แกะสลักหำยไปบำนหน่ึง คงเหลือบำน เดียวเก็บไว้ท่ีพิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติไชยำ ข้ำงประตูเป็นรูปปูนปั้นนำย ทวำรบำล เสำเป็นเสำไม้แก่นแปดเหลี่ยมจำนวน ๕๒ ต้น วิหำรเดิมเป็น อำคำรโถง ไมม่ ฝี ำผนงั โดยรอบปลำยเสำและหน้ำบันท้ังสองด้ำนแกะสลัก ไม้เป็นลวดลำยไทยงดงำม โดยเฉพำะหน้ำบันทำงทิศตะวันตกยังเห็น ลวดลำยชัดเจน โครงสร้ำงทั้งหมดเป็นไม้แก่นหลังคำเดิม ๓ ช้ัน มุงด้วย กระเบื้องดินเผำ ท่ีเรียกว่ำกระเบ้ืองกูบแบบโบรำณ ริมชำยคำมุงด้วย กระเบอื้ งหน้ำตดั ทำเป็นรปู เทพนมและกนกลำยดอกไม้ กำรเข้ำไม้ประกอบ โครงสร้ำงใช้วิธีเจำะสลัก ไม่ใช้ตะปูยึด เป็นสถำปัตยกรรมสมัยอยุธยำ ภำยในวิหำรมีพระพุทธรูปศิลำ ทรำยแดงขนำดต่ำงๆ มำกกว่ำสิบองค์ ตั้งเรยี งรำยคลำ้ ยตัวยู (U) องคพ์ ระประธำนมีขนำดสงู ใหญอ่ ยู่ข้ำงหน้ำ
๑๙ นอกจำกนี้พระครูถำวรธรรมวิสุทธ์ิ (สมนึก ฐิติญำโณ) อดีตเจ้ำอำวำสวัด จำปำ และอดีตเจ้ำคณะอำเภอไชยำได้เล่ำให้ฟังว่ำ หลังวิหำรทำงด้ำน ทิศตะวันตกมีซำกเจดีย์เก่ำแก่ ฐำนรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ทรงข้ำวบิณฑ์ ล้อมรอบ ด้วยเจดีย์องค์เล็กๆ คล้ำยเจดีย์ท่ีสร้ำงขึ้นในสมัยศรีวิชัย มีลวดลำยประดับ สวยงำม เหลืออยู่ ๒ องค์ สันนิษฐำนว่ำ อำจจะเป็นเจดีย์ที่บรรจุอัฐิของอดีต เจ้ำอำวำส แตไ่ ม่สำมำรถสืบทรำบไดว้ ำ่ เป็นอดีตเจ้ำอำวำสองค์ใด กรมศิลปำกรได้ข้ึนทะเบียนเป็นโบรำณสถำน เมื่อวันที่ ๑๑ กันยำยน พ.ศ. ๒๔๗๙ ได้รบั กำรบรู ณปฏสิ ังขรณเ์ มื่อสมยั พระอำจำรย์เจ้ำอธิกำรแพเป็น เจ้ำอำวำส ไม่ทรำบปีที่บูรณะคร้ังน้ัน ในปีพ.ศ. ๒๕๒๑ สมัยที่พระครูถำวร ธรรมวิสุทธ์ิ (สมนึก ฐิติญำโณ) เป็นเจ้ำอำวำส กรมศิลปำกรได้จัดสรร งบประมำณและส่งช่ำงมำสร้ำงใหม่ โดยร้ือหลังเก่ำออกและสร้ำงใหม่ตำม ขนำดและรูปแบบเดมิ
๒๐
๒๑ และต่อมำในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ สมัยพระครูถำวร ธรรมวิสุทธิ์เป็นเจ้ำอำวำส ได้ทำกำรบูรณปฏิสังขรณ์อีกคร้ัง ในคร้ังนั้นได้เปลี่ยนเสำทั้งหมดและได้ เปลย่ี นโครงสร้ำงทส่ี ำคัญอีกหลำยอย่ำง เชน่ หลังคำเดิมมี ๓ ชั้น เปลี่ยนเป็น ๔ ชัน้ ก้นั ฝำผนงั โดยรอบดว้ ยไมย้ ังคงเหลอื ของเดิม คือ หนำ้ บันทง้ั ๒ ข้ำงที่ ยงั ไมไ่ ดเ้ ปล่ียนแปลง มำถึงสมัยพระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำอำวำส ได้ทำกำรบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่อีกคร้ัง มีกำรต่อเสำส่วนที่ปลวกกินเสียหำย หลำยต้น เปลี่ยนหน้ำต่ำงให้เปิดเข้ำด้ำนใน อำคำรใช้กลอนสลักไม้แบบ โบรำณ ในกำรบูรณะเพิ่มเติมใช้ไม้ตะเคียนทองทั้งหมด เปลี่ยนกระเบื้องมุง หลังคำจำกกระเบื้องดินเผำธรรมดำเป็นกระเบื้องดินเผำเคลือบน้ำยำ ทำกำร ปิดทองพระประธำนในวิหำรเสียใหม่ กำรบูรณปฏิสังขรณ์เสร็จเม่ือเดือน มีนำคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ขนำดของวิหำรกว้ำง ๑๐ เมตร ยำว ๑๔.๕๐ เมตร สูงประมำณ ๙ เมตร ใช้งบประมำณท้ังหมด ๓,๒๕๐,๐๐๐ บำท (สำมล้ำน สองแสนห้ำหมน่ื บำทถ้วน)
๒๒
๒๓
๓) พระพทุ ธรปู ๒๔ ๓.๑) พระพุทธรปู สรำ้ งดว้ ยเนื้อโลหะผสม บูรณขนำดหน้ำตัก ๒ ศอก ๑๙ นิว้ สูง ๓ ศอก ๑๙ น้ิว ปำงสมำธิประดิษฐำนเป็นพระประธำนในอุโบสถหลัง ใหม่ในปัจจบุ ัน (ของใหม่) คณะญำติโยมจำกกรุงเทพมหำนครนำมำถวำยใน สมัยพระครถู ำวรธรรมวิสุทธ์ิ (สมนกึ ฐติ ิญำโณ) เป็นเจ้ำอำวำส ๓.๒) พระพุทธรูปสร้ำงด้วยศิลำทรำยแดงฉำบปูน ลงรักปิดทองขนำด หน้ำตัก ๒ ศอก ๑๓ น้ิว สูง ๓ ศอก ๙ นิ้ว ปำงมำรวิชัยสมัยอยุธยำ ประดษิ ฐำนเปน็ พระประธำนในอโุ บสถ (ของเก่ำเดิม) ๓.๓) พระพุทธรูปสร้ำงด้วยศิลำทรำยแดงฉำบปูน ลงรักปิดทอง ขนำด หน้ำตัก ๑ ศอก ๑๙ นิ้ว สูง ๒ ศอก ๑๕ น้ิว ปำงมำรวิชัยสมัยอยุธยำ ประดิษฐำนอยู่ในอุโบสถ ๓.๔) พระพุทธรูปสร้ำงด้วยศิลำทรำยแดงฉำบปูน ลงรักปิดทองขนำด หน้ำตัก ๑ ศอก ๑๑ น้ิว สูง ๒ ศอก ๙ นิ้ว ปำงมำรวิชัยสมัยอยุธยำ ประดิษฐำนอยใู่ นอโุ บสถ ๓.๕) พระพุทธรูปสร้ำงด้วยศิลำทรำยแดงฉำบปูน ลงรักปิดทองขนำด หน้ำตัก ๓ ศอก ๙ น้ิว สูง ๔ ศอก ๑๙ น้ิว ปำงมำรวิชัยสมัยอยุธยำ ประดิษฐำนเปน็ พระประธำนอยใู่ นวหิ ำร ๓.๖) พระพุทธรูปสร้ำงด้วยศิลำทรำยแดง ขนำดหน้ำตัก ๑ ศอก ๑๒ นิ้ว สงู ๒ ศอก ๕ น้วิ ปำงมำรวิชัยสมยั อยธุ ยำ ประดิษฐำนอยูท่ ล่ี ำนปฏิบัติธรรมำ นสุ รณ์ หนำ้ อโุ บสถ (เปน็ ของเกำ่ เดิม) ๓.๗) พระพทุ ธรปู สรำ้ งดว้ ยศลิ ำทรำยแดงฉำบปูน ลงรกั ปิดทองขนำดหน้ำ ตัก ๓ ศอก ๙ นิ้ว สูง ๔ ศอก ๑๙ น้ิว ปำงมำรวิชัยสมัยอยุธยำ ประดิษฐำน เป็นพระประธำนอยใู่ นวหิ ำร ๓.๘) พระพุทธรูปสร้ำงด้วยศิลำทรำยแดง ขนำดหน้ำตัก ๑ ศอก ๑๒ นิ้ว สงู ๒ ศอก ๕ นิ้ว ปำงมำรวิชัยสมยั อยุธยำ ประดษิ ฐำนอยทู่ ล่ี ำนปฏิบัติธรรมำ นสุ รณ์ หนำ้ อุโบสถ (เปน็ ของเกำ่ เดิม)
๒๕
๒๖
๒๗ ๔) ศาลาอเนกประสงค์ เป็นอำคำรทรงไทยช้ันเดียว ถมดินยกพ้ืนสูง ลำดพื้นด้วยซีเมนต์ ผนังก่ออิฐฉำบปูน หลังคำ ๒ ช้ัน มุงด้วยกระเบื้องลอนคู่ เป็นอำคำรโถง สร้ำงในสมัยพระครูถำวรธรรมวิสุทธ์ิ (สมนึก ฐิติญำโณ) เป็นเจ้ำอำวำส แต่ ไม่ปรำกฏปที ส่ี รำ้ ง ๕) เจดีย์ ๕.๑) เจดีย์ก่ออิฐถือปูน ฐำนสี่เหลี่ยมจัตุรัสยำว ดำนละ ๑.๔๕ เมตร สูง ๒.๓๐ เมตร ทรงพุ่มข้ำวบิณฑ์ ประดับลวดลำยไทยปูนปั้น ไม่ปรำกฏปี ทสี่ รำ้ ง บรรจุ ๒ นิ้ว บรรจอุ ัฐขิ องอดตี เจำ้ อำวำส (ไมท่ รำบนำม) ๕.๒) เจดีย์ก่ออิฐถือปูน ฐำนสี่เหล่ียมจัตุรัส ยำวด้ำนละ ๑.๔๕ เมตร สูง ๒.๓๐ เมตร ทรงพุ่มแดงข้ำวบิณฑ์ ประดับลวดลำยไทยปูนป้ัน ไม่ปรำกฏปีทส่ี ร้ำง ๙ นว้ิ บรรจุอัฐขิ องอำจำรย์แพ (อดตี เจ้ำอำวำส) ๕.๓) เจดีย์กอ่ อิฐถือปูน ฐำนส่ีเหล่ยี มจัตุรัสยำวด้ำนละ ๑.๔๕ เมตร สูง ๒.๓๕ เมตร ทรงพุ่มขำ้ วบิณฑ์ ไม่มลี วดลำยไทยปูนปน้ั ไม่ปรำกฏปีที่ สร้ำง ๑ นวิ้ บรรจุอฐั ิของอำจำรย์ดำ (อดตี เจ้ำอำวำส) ๕.๔) เจดีย์ก่ออิฐถือปูน ฐำนส่ีเหล่ียมจัตุรัสยำวด้ำนละ ๑.๔๕ เมตร สูง ๒.๖๕ เมตร ทรงพุ่มข้ำวบิณฑ์ ประดับลวดลำยไทยปูนป้ัน มีปลำยยอด แหลม บรรจุอัฐิของพระครูเพิ่ม พุทธปำโล (อดีตเจ้ำอำวำส) สร้ำงใหม่ แทนของเดิมเม่ือปีพ.ศ. ๒๕๔๖ (ของเดมิ อยูท่ ่ีหนำ้ อุโบสถ) ๕.๕) เจดีย์บัว หล่อปูนติดกระเบ้ืองโมเสกแผ่นเล็กๆ ฐำนสี่เหลี่ยม จัตุรัสยำวด้ำนละ ๑.๔๕ เมตร สูง ๒.๖๕ เมตร ทรงธรรมดำท่ัวไป มีปลำย ยอดแหลมกลม บรรจุอัฐิของพระครูถำวรธรรมวิสุทธ์ิ (สมนึก ฐิติญำโณ) อดีตเจ้ำอำวำส สร้ำงเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๑
๓.๔ ลาดับเจา้ อาวาส ๒๘ เนื่องจำกวัดจำปำเป็นวัดโบรำณท่ีมีอำยุมำยำวนำนดังได้กล่ำวมำแล้ว ข้ำงต้น จึงไม่มีบันทึกเร่ืองรำวควำมเป็นมำพอท่ีจะเป็นหลักฐำนในกำร คน้ คว้ำ สืบหำเก่ียวกับประวัติเจ้ำอำวำสในระยะแรกๆ ได้จำกกำรสอบถำมผู้ ท่ีพอจะจำเรื่องรำวได้และจำกบันทึกของพระครูถำวรธรรมวิสุทธ์ิ (สมนึก ฐิตญิ ำโณ) อดตี เจำ้ อำวำสและนำมำปะติดปะต่อกัน พอสรุปลำดับเจ้ำอำวำส จำกอดีตจนถึงปัจจบุ ันได้ ดังนี้ (๑) พระอธกิ ำรสอน ไม่ทรำบปที ด่ี ำรงตำแหนง่ เจำ้ อำวำส (๒) พระอธกิ ำรสังข์ ไม่ทรำบปที ด่ี ำรงตำแหน่งเจ้ำอำวำส (๓) พระอธกิ ำรรตั น์ ไม่ทรำบปที ดี่ ำรงตำแหน่งเจำ้ อำวำส (๔) พระอธกิ ำรขำว ไม่ทรำบปีทีด่ ำรงตำแหน่งเจ้ำอำวำส (๕) พระอธิกำรหิต ไม่ทรำบปที ด่ี ำรงตำแหน่งเจำ้ อำวำส (๖) พระอธิกำรชู ไม่ทรำบปีทด่ี ำรงตำแหน่งเจ้ำอำวำส (๗) พระอธิกำรดำ ไม่ทรำบปีทีด่ ำรงตำแหน่งเจำ้ อำวำส (๘) พระอธกิ ำรแพ ดำรงตำแหน่งเจ้ำอำวำส พ.ศ.๒๔๕๙- ๒๔๗๔ (๙) พระอธิกำรรตั น์ ดำรงตำแหนง่ เจำ้ อำวำส พ.ศ.๒๔๗๔- ๒๔๗๕ (๑๐) พระอธิกำรเพ่ิม ปิปผลิ (พระครูเพิ่ม พุทธปำโล) ดำรงตำแหน่งเจ้ำ อำวำส ในปพี .ศ.๒๔๗๖-๒๕๑๕ (๑๑) พระครูวินัยธรสมนึก ฐิติญำโณ (พระครูถำวรธรรมวิสุทธิ์) ดำรง ตำแหน่งเจ้ำอำวำส วันท่ี ๒๓ มีนำคม พ.ศ.๒๕๒๓ – ๒๕๔๐ (๑๒) พระมหำพเิ ชษฐ์ สุเมธโส (พระครูสุตธรรมชยั ) ดำรงตำแหน่งเจำ้ อำวำส วนั ที่ ๑ มิถนุ ำยน พ.ศ.๒๕๔๑ – ปัจจบุ ัน ( ,๒๕๕๖)
๒๙ (พระมหำพเิ ชษฐ์ สเุ มธโส (พระครูสุตธรรมชัย) เจำ้ อำวำสองค์ ปัจจบุ ัน) เจ้ำอำวำสแต่ละองค์ได้ทำหน้ำที่ปกครองบริหำรคณะสงฆ์ นำพระภิกษุสำมเณร และชำวบ้ำนทำนุและบำรุงพระพุทธศำสนำ ปฏิบัติศำสนกิจ ดูแลปฏิสังขรณ์ และก่อสร้ำงศำสนสถำน ศำสน วัตถุมำจนถึงทุกวันน้ี ทำให้วัดจำปำเป็นศูนย์รวมจิตใจเป็น สถำนท่ยี ึดเหน่ียวของพุทธศำสนิกชนให้มั่นคงอย่ำงแท้จริงมำเป็น เวลำยำวนำนไม่เส่ือมสลำยไปเช่นวัดร้ำงอ่ืนๆ ในระแวกใกล้เคียง อกี หลำยแหง่
วดั จาปาในสมยั ปจั จบุ นั
๓๐
๓๑ วดั จาปาในสมยั ปัจจบุ นั ปัจจุบันวัดจำปำตั้งอยู่กลำงชุมชนใหญ่ ซึ่งเป็นชุมชนโบรำณท่ีมี มำแล้วหลำยชั่วอำยุคน มหี มู่บ้ำนต่ำงๆ ต้ังอยู่รำยรอบ บริเวณท่ีตั้งของ วัดเป็นท่ีดอนรอบๆ วัดเป็นท่ีลุ่มใช้ทำนำ บริเวณห่ำงไกลเป็นที่ดอน มี หม่บู ำ้ นต่ำงๆ ซ่ึงสันนิษฐำนว่ำมีควำมเจริญรุ่งเรืองมำแล้วในอดีต มีวัด ร้ำงหลำยวัดในรัศมีใกล้เคียง เช่น วัดสำกเหล็ก วัดนำงชี วัดมำร วัดแปบ และวัดควน แสดงว่ำในอดีตชุมชนแห่งนี้มีผู้คนหนำแน่น มีควำมอุดมสมบูรณ์ มีประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงำม ต่อมำได้เปลี่ยนไป ตำมสภำพธรรมชำตแิ ละเหตุกำรณ์ เช่น ดินฟ้ำ อำกำศแห้งแล้ง เกิดศึก สงครำม เป็นต้น จึงเหลือวัดจำปำอยู่เพียงแห่งเดียว วัดจำปำใน ปัจจุบันจึงเป็นศูนย์รวมทำงพุทธ ศำสนพิธี และประเพณีวัฒนธรรม ของชำวบ้ำนอย่ำงแท้จริง ท้ังเป็นสถำนที่อบรม กล่อมเกลำจิตใจของ พทุ ธศำสนิกชนให้ม่ันคงอย่ใู นพระพุทธศำสนำตลอดไป ด้ำนศำสนสถำน พระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เจ้ำอำวำสองค์ปัจจุบันได้ปรับปรุงจัดวำงแผนผังใหม่ในกำรสร้ำง อำคำร ส่ิงก่อสร้ำง และถำวรวตั ถุ ทำให้วดั จำปำในปัจจุบันมีควำมเป็น ระเบียบเรียบร้อย สวยงำม มีเสนำนะ และศำสนวัตถุเพียงพอกับกำร ปฏบิ ตั ศิ ำสนกิจ ท้ังยังสะดวกสบำยแก่ผู้ที่เข้ำมำทำบุญ ปฏิบัติธรรม ณ วดั แห่งนี้ ดงั ปรำกฏใน “ผังบรเิ วณวัดจำปำ” ดังน้ี
๓๒ (๑) อุโบสถ ลักษณะ : รำยละเอียดตำมขอ้ ๔.๑ ปีที่สร้าง : เร่ิมก่อสร้ำงเม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๙ ในสมัยที่พระครูถำวรธรรม วิสุทธิ์ (สมนึก ฐิติญำโณ) เป็นเจ้ำอำวำส และเสร็จสมบูรณ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ สมัยท่พี ระครูสตุ ธรรมชยั (พระมหำพเิ ชษฐ์ สเุ มธโส) เปน็ เจำ้ อำวำส งบประมาณ : คำ่ ก่อสร้ำงส่วนที่พระครสู ุตธรรมชัยดำเนินงำนต่อเป็นเงิน ๑,๘๒๘,๐๒๒ บำท
๓๓ (๒) วิหาร ลกั ษณะ : รำยละเอยี ดตำมข้อ ๔.๒ ปีที่สร้าง : บูรณปฏิสังขรณ์คร้ังสุดท้ำยเม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๒ เสร็จสมบูรณ์เม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๓ ในสมยั ทพี่ ระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำ อำวำส งบประมาณ : ของกรมศิลปำกร จำนวน ๓,๒๕๐,๐๐๐ บำท
๓๔ (๓) ศาลาอเนกประสงค์ ลักษณะ : ทรงไทยโบรำณชั้นเดียว หลังคำสองช้ัน มีช่อฟ้ำ ใบระกำ หน้ำจวั่ มดี วงธรรมจักร ตัง้ อยู่บนดอกบัวทั้งสองข้ำง โครง บนหลังคำทำด้วยไม้ตะเคียนทอง ตั้งอยู่ข้ำงฌำปนสถำน เป็น อำคำรทีใ่ ช้ประโยชน์มำกทสี่ ุดรองจำกอโุ บสถ ปีท่ีสร้าง : สร้ำงในสมัยที่พระครูถำวรธรรมวิสุทธิ์ (สมนึก ฐิติญำ โณ) เปน็ เจำ้ อำวำส บูรณปฏสิ งั ขรณ์ เม่ือกลำงปี พ.ศ. ๒๕๔๙ สมัย ทพ่ี ระครูสตุ ธรรมชยั (พระมหำพิเชษฐ์ สเุ มธโส) เป็นเจำ้ อำวำส งบประมาณ : ค่ำบูรณปฏสิ งั ขรณ์เป็นเงนิ ๔๘๙,๐๐๐ บำท
๓๕ (๔) ฌาปนสถาน ลักษณะ : หลังเดิมสร้ำงในสมัยท่ีพระครูถำวรธรรมวิสุทธิ์ (สมนึก ฐิติญำ โณ) เป็นเจ้ำอำวำส ทรงซ้อนติดกัน ๒ หลัง หลังท่ี ๑ ด้ำนหน้ำใช้เป็นท่ี พักศพและทำกิจกรรมทำงศำสนำ หลังที่ ๒ ด้ำนหลังเป็นเตำเผำศพและ ปลอ่ งควนั ตัวอำคำรเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียวยกพื้นสูง หน้ำจ่ัวติด ใบเทศหำงหงส์ หน้ำบันแกะปูนป้ันลวดลำยไทย ฝำผนัง ก่ออิฐ ถือปูน ต่อมำได้บูรณะปรับปรุงใหม่เป็นเตำเผำแบบปลอดสำรพิษ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๔ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ เน่ืองจำกของเก่ำชำรุดทรุดโทรมมำใน กำรบูรณะ ปรับปรุง ยังคงใช้รำกฐำนเดิม ทำกำรรื้อปล่องควัน และ โครงสร้ำงหลังคำเดิมออก สร้ำงใหม่เป็นลักษณะทรงไทยช้ันเดียว ยกพ้ืน สูง หน้ำจั่วติดใบเทศหำงหงส์ หน้ำบันแกะปูนป้ันลวดลำยไทย มีรูปเท พนมอยูต่ รงกลำง ปีที่สร้าง : สรำ้ งในสมัยที่พระครูถำวรธรรมวิสุทธิ์ (สมนึก ฐิติญำโณ) เป็น เจ้ำอำวำส ต่อมำภำยหลังพระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำอำวำสรูปปัจจุบัน ได้บูรณะปรับปรุงใหม่ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ แล้ว เสรจ็ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ งบประมาณ : ในกำรบูรณะปรบั ปรงุ ใหมเ่ ปน็ เงิน ๒,๓๕๖,๑๐๐ บำท
๓๖ (๕) สานกั งานมูลนิธิวัดจาปา ลักษณะ : เป็นอำคำรคอนกรีตช้ันเดียว ทรงธรรมดำท่ัวไป เคร่ืองบน หลังคำทำด้วยไม้โตนด ด้ำนซ้ำยมือกั้นเป็นห้องสมุด ด้ำนขวำมือเป็น สำนักงำนเจ้ำคณะตำบลทุง่ ปีท่ีสร้าง : บูรณปฏิสังขรณ์ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๓ สมัยท่ีพระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำอำวำส งบประมาณ : คำ่ บูรณปฏสิ ังขรณ์เป็นเงนิ ๖๐,๐๐๐ บำท
๓๗ (๖) ศาลาอุปเสณวงศว์ านชิ ลักษณะ : ลักษณะธรรมดำ ทรงไทยจัตุรมุข ๒ ชั้น ตัวอำคำรช้ันล่ำงเป็น คอนกรีต ฝำผนังก่ออิฐฉำบปูน พื้นปูกระเบ้ืองตัวอำคำรชั้นบนทำด้วยไม้ หน้ำจ่ัวติดใบเทศหำงหงส์ ฝำผนังติดไม้กระดำนกั้น เคร่ืองบนหลังคำทำ ดว้ ยไมโ้ ตนด ปีทสี่ รา้ ง : สรำ้ งเสร็จประมำณ พ.ศ. ๒๕๔๐ สมัยทีพ่ ระครถู ำวรธรรมวสิ ทุ ธ์ิ (สมนกึ ฐิติญำโณ) เปน็ เจำ้ อำวำส งบประมาณ : ๑,๕๐๐,๐๐๐ บำท (๗) ศาลาเก็บพสั ดุ ลักษณะ : อำคำรช้ันเดียวทรงธรรมดำท่ัวไป เครื่องบนหลังคำทำด้วยไม้ เคยี่ มเก่ำ หลังคำใชส้ ำหรบั รองน้ำฝนไวบ้ ริโภคในวดั ใช้เป็นท่ีเก็บไม้และวัสดุ เครือ่ งใชส้ อยต่ำง ๆ ของวัด ปีท่ีสร้าง : สร้ำงเสร็จเม่ือต้นปี พ.ศ. ๒๕๔๙ สมัยท่ีพระครูสุตธรรมชัย (พระ มหำพิเชษฐ์ สเุ มธโส) เปน็ เจำ้ อำวำส งบประมาณ : ค่ำกอ่ สรำ้ งเป็นเงนิ ๘๕,๐๐๐ บำท
๓๘ (๗) ศาลาเก็บพัสดุ ลักษณะ : อำคำรช้ันเดียวทรงธรรมดำท่ัวไป เครื่องบนหลังคำทำด้วยไม้เค่ียม เก่ำ หลังคำใช้สำหรับรองน้ำฝนไว้บริโภคในวัดใช้เป็นที่เก็บไม้และวัสดุเคร่ืองใช้ สอยต่ำง ๆ ของวดั ปีที่สร้าง : สร้ำงเสร็จเม่ือต้นปี พ.ศ. ๒๕๔๙ สมัยท่ีพระครูสุตธรรมชัย (พระมหำ พิเชษฐ์ สเุ มธโส) เปน็ เจำ้ อำวำส งบประมาณ : คำ่ ก่อสรำ้ งเป็นเงิน ๘๕,๐๐๐ บำท (๘) ศาลาบูรพาจารย์ ลักษณะ : ทรงธรรมดำทั่วไป ชั้นเดียว เคร่ืองบนหลังคำไม้เคี่ยม ภำยในศำลำ เจดีย์อดตี เจำ้ อำวำส ตง้ั อยู่ ๕ องค์ ปีที่สร้าง : บูรณปฏิสังขรณ์ เมื่อกลำงปี พ.ศ. ๒๕๕๐ สมัยท่ีพระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สเุ มธโส) เป็นเจำ้ อำวำส งบประมาณ : ค่ำบูรณปฏิสงั ขรณเ์ ป็นเงนิ ๙๐,๐๐๐ บำท
๓๙ (๙) หอกลอง ลักษณะ : ทรงส่ีเหล่ียมจัตุรัสสองชั้น สร้ำงด้วยคอนกรีตเกือบทั้งหลัง ยกเว้น โครงหลังคำทำไม้พะยอม หลังคำมียอดแหลมทรงปิระมิดมุงด้วยกระเบ้ือง ช้ัน บนใชเ้ ก็บกลองใหญ่โบรำณ ช้ันล่ำงเก็บกลองเล็ก ระเบียงรำวลูกกรงชั้นบนก่อ ด้วยอฐิ บล็อกฉำบปูน ช้นั ลำ่ งเททำงเดนิ โดยรอบ ปที ีส่ ร้าง : สรำ้ งเสรจ็ เม่อื ปลำยปี พ.ศ. ๒๕๕๐ สมัยทพี่ ระครสู ุตธรรมชยั (พระ มหำพเิ ชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำก่อสรำ้ งเปน็ เงนิ ๒๗๐,๐๐๐ บำท
๔๐ (๑๐) หอระฆัง ลักษณะ : ทรงส้ีแหล่ียมจัตุรัส ๒ ชั้น เลียนแบบหอกลำง โครงหลังคำทำด้วย ไม้เค่ียม ช้ันบนเก็บระฆังใหญ่ ช้ันล่ำงเก็บระฆังเล็ก ระเบียงลูกกรงช้ันบนก่อ ด้วยอฐิ บล็อกฉำบปนู ชัน้ เททำงเดนิ เท้ำโดยรอบต่อกับหอกลำง ปีทีส่ ร้าง : สรำ้ งเสรจ็ เมือ่ ตน้ ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ สมัยท่ีพระครูสุตธรรมชัย (พระมหำ พิเชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำอำวำส งบประมาณ : คำ่ ก่อสรำ้ งเป็นเงนิ ๒๓๐,๐๐๐ บำท (๑๑) หอระฆังเกา่ ลกั ษณะ : อำคำรสเ่ี หลีย่ มจัตุรัสพ่มุ ขำ้ วบณิ ฑ์ ยอดแหลม ปีที่สร้าง : ดัดแปลงเป็นพิพิธภัณฑ์เก็บพระพุทธรูปศิลำทรำยแดง และ พระพุทธรูปโบรำณประจำวัด มีพระศิลำทรำยแดงของเก่ำนั่งบนฐำนล้อมรอบ บูรณปฏิสังขรณ์เสร็จเม่ือปีพ.ศ. ๒๕๕๒ ในสมัยท่ีพระครูสุดธรรมชัย (พระมหำ พิเชษฐ์ สเุ มธโส) เปน็ เจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำบรู ณปฏสิ งั ขรณเ์ ป็นเงิน ๙๕,๐๐๐ บำท
๔๑ (๑๒) หอเก็บนา้ ประปา ลกั ษณะ : ทรงส่เี หลี่ยมจตั รุ สั โครงหลังคำทำดว้ ยไมเ้ นื้อแข็ง ใช้เกบ็ น้ำประปำเพื่อส่งน้ำใช้ภำยในวดั ปที ส่ี รา้ ง : สรำ้ งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ในสมยั ท่ีพระครูสุดธรรมชยั (พระมหำ พเิ ชษฐ์ สเุ มธโส) เปน็ เจำ้ อำวำส งบประมาณ : ค่ำกอ่ สร้ำงเป็นเงิน ๘๕,๐๐๐ บำท (๑๓) ห้องน้า-ห้องสุขา (ดา้ นทิศใต้ ข้างศาลาอุปเสณวงศว์ านิช) ลักษณะ : อำคำรคอนกรีต เครื่องบนหลังคำเปน็ ไม้ ปีทส่ี ร้าง : สร้ำงเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ ในสมัยที่พระสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สเุ มธโส) เปน็ เจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำกอ่ สร้ำงเป็นเงิน ๙๕,๐๐๐ บำท (๑๔) กุฏพิ ระภิกษุสามเณร ๒ ช้นั (ด้านทศิ ใต้ ขา้ งศาลาอุปเสณวงศว์ านิช) ลักษณะ : อำคำรทรงธรรมดำท่ัวไป ห้องชั้นบนทำด้วยไม้ ห้องช้ันล่ำงก่ออิฐ บล็อก ฉำบปูน ปที ีส่ ร้าง : สร้ำงเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๖ ในสมัยท่ีพระสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สเุ มธโส) เป็นเจ้ำอำวำส งบประมาณ : คำ่ กอ่ สรำ้ งเปน็ เงนิ ๑๐๐,๐๐๐ บำท (๑๕) กุฏิพระภิกษสุ ามเณรขนาดเลก็ (ดา้ นทศิ ใต้ ขา้ งศาลาอปุ เสณวงศ์วานชิ ) ลักษณะ : อำคำรทรงธรรมดำ หลังคำทรงไม้ปั้นหยำ ปูพ้ืนและกั้นฝำผนังด้วย ไม้ ยกพ้นื สูงประมำณ ๑ เมตร โครงหลงั คำเปน็ ไม้เค่ียม ปที ีส่ รา้ ง : บูรณปฏสิ ังขรณเ์ มอื่ พ.ศ. ๒๕๔๘ ในสมยั ทีพ่ ระครูสตุ ธรรมชยั (พระ มหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจำ้ อำวำส งบประมาณ : คำ่ บรู ณปฏิสงั ขรณเ์ ป็นเงนิ ๒๕,๐๐๐ บำท
๔๒ (๑๖) กุฏริ ับรองอาคันตกุ ะ (กฏุ ิสมศร)ี (ดา้ นทศิ ใต้) ลกั ษณะ : อำคำรช้ันเดียวยกพื้นสูงทรงปั้นหยำ เสำคอนกรีตโครงบนหลังคำ ทำด้วยไม้เค่ียม ฝำผนังห้องกั้นด้วยไม้เทพทำโร ฝ้ำเพดำนเป็นไม้แดง ดำ้ นหนำ้ เป็นระเบยี งดำ้ นหลังมีหอ้ งน้ำ-ห้องสุขำ ปที ่สี ร้าง : สรำ้ งเม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๒ ในสมยั ท่พี ระครูสุตธรรมชัย (พระมหำ พิเชษฐ์ สุเมธโส) เปน็ เจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำกอ่ สร้ำงเป็น ๔๙๐,๐๐๐ บำท สร้ำงถวำยโดยนำยนิคม คงคำชยั (๑๗) กฏุ เิ จ้าอาวาส (ด้านทิศตะวนั ตก) ลกั ษณะ : เป็นอำคำรคอนกรีต ๒ ช้ัน ฝำผนังก่อด้วยอิฐบล็อกฉำบปูนเครื่อง บนทำด้วยไม้ตะเคียนทอง หลังคำซ้อนกัน ๒ ช้ัน พื้นช้ันบนปูด้วยพื้น สำเร็จรูปคอนกรีต แล้วเททับด้วยคอนกรีต ลงหินขัดมันท้ังชั้นบนและชั้นล่ำง ใตบ้ นั ไดมีหอ้ งน้ำ–ห้องสุขำรวมอยู่ในอำคำร ปีท่ีสร้าง : สร้ำงเสร็จปลำยปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ในสมัยที่พระครูสุตธรรมชัย (พระ มหำพเิ ชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำอำวำส งบประมาณ : คำ่ ก่อสรำ้ งเปน็ เงนิ ๑,๒๐๐,๐๐๐ บำท (๑๘) โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม (ดา้ นทิศตะวนั ตก) ลักษณะ : อำคำรชั้นเดียวทรงธรรมดำทั่วไป ภำยในอำคำรก้ันเป็นห้องสมุด ๑ ห้อง ด้ำนหน้ำเป็นท่ีโล่งสำหรับเรียนหนังสือ ๒ ห้อง เป็นกระดำนสีขำว (ไวท์บอร์ด) ทำด้วยกระเบื้องสีขำวสำหรับเขียนหนังสือท้ังด้ำนหน้ำและ ดำ้ นหลงั ด้ำนหลงั มีห้องนำ้ –หอ้ งสขุ ำ ๑ ห้อง มงุ ดว้ ยกระเบือ้ ง ปีทส่ี ร้าง : สรำ้ งเสร็จเมอ่ื ตน้ ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ในสมยั ที่พระครูสตุ ธรรมชัย (พระ มหำพเิ ชษฐ์ สเุ มธโส) เป็นเจำ้ อำวำส งบประมาณ : คำ่ กอ่ สรำ้ งเป็นเงิน ๒๕๐,๐๐๐ บำท
๔๓ (๑๙) กุฏพิ ระภกิ ษสุ ามเณร ชนั้ เดียว ๓ ห้อง (ดา้ นทิศตะวันตก) ลักษณะ : อำคำรชั้นเดียวห้องธรรมดำทั่วไป มีหลังคำระเบียงซ้อนอยู่ด้ำน หน้ำคำน เสำและพื้นเป็นคอนกรีต ฝำผนังก่อด้วยอิฐบล็อก เคร่ืองบนหลังคำ ทำด้วยไม้ พ้ืนปูด้วยกระเบื้องทั้งภำยใน ภำยนอก และหน้ำระเบียง เททำง เดนิ เทำ้ โดยรอบ ปีทีส่ รา้ ง : สรำ้ งเสร็จเมอื่ ตน้ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ในสมยั ท่ีพระครสู ตุ ธรรมชยั (พระ มหำพิเชษฐ์ สเุ มธโส) เปน็ เจ้ำอำวำส งบประมาณ : คำ่ ก่อสร้ำงเป็นเงนิ ๑๓๕,๐๐๐ บำท (๒๐) กฏุ ิพระภิกษุสามเณร ชั้นเดียว ๓ ห้อง (ดา้ นทศิ ตะวนั ตก ซา้ ยมือ หอฉนั ) ลักษณะ : อำคำรคอนกรีตช้ันเดียว ทรงปั้นหยำ เครื่องบนหลังคำทำด้วยไม้ ออกหน้ำมุขตรงสว่ นซำ้ ยของหลังคำ ปั้นลมทำดว้ ยปนู ปน้ั ลวดลำยไทย ปีที่สร้าง : สร้ำงเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ในสมัยที่พระครูสุตธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เป็นเจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำกอ่ สร้ำงเปน็ เงนิ ๑๒๐,๐๐๐ บำท
๔๔ (๒๑) กฏุ พิ ระภกิ ษสุ ามเณร ชน้ั เดยี ว ๓ หอ้ ง (ดา้ นทศิ ตะวันตก ขวามอื หอ ฉนั ) ลักษณะ : อำคำรคอนกรีต ทรงป้ันหยำ เครื่องบนหลังคำทำด้วยไม้ ออก หนำ้ มุขตรงสว่ นซ้ำยของหลงั คำ ปนั้ ลมทำดว้ ยปูนปั้นลวดลำยไทย ปที ี่สรา้ ง : สรำ้ งแล้วเสร็จเม่อื ปี พ.ศ.๒๕๔๕ ในสมัยทีพ่ ระครสู ุตธรรมชัย (พระ มหำพิเชษฐ์ สุเมธโส) เปน็ เจ้ำอำวำส งบประมาณ : คำ่ ก่อสรำ้ งเปน็ เงนิ ๑๓๐,๐๐๐ บำท (๒๒) หอฉัน (ด้านทิศตะวันตก) ลักษณะ : เปน็ อำคำรคอนกรีตชน้ั เดียว ทรงปนั้ หยำ เครือ่ งบนหลงั คำทำด้วย ไม้ ออกหนำ้ มุขตรงสว่ นกลำงของหลังคำ ปที ีส่ รา้ ง : สรำ้ งเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๓ แลว้ เสร็จเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๔ ในสมัยทพ่ี ระครสู ตุ ธรรมชัย (พระมหำพิเชษฐ์ สเุ มธโส) เปน็ เจ้ำอำวำส งบประมาณ : ค่ำก่อสร้ำงเป็นเงิน ๓๔๖,๒๔๗ บำท
Search