Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สำนวนไทย-59

สำนวนไทย-59

Published by thanphitcha0623, 2020-09-09 02:24:13

Description: สำนวนไทย-59

Search

Read the Text Version

สำนวนไทย

หวั ล้านได้หวี ได้ส่งิ ของท่ไี ม่มีประโยชน์กบั ตนเอง

สีซอให้ควายฟัง สอนคนโง่ไม่รู้เร่ือง แนะนาคนโง่ไม่มีประโยชน์

หมาหวงก้าง คนท่หี วงส่งิ ของท่ตี นเองใช้ประโยชน์ไม่ได้

จบั ปลาสองมือ อย่าหวงั จะได้ทเี ดยี วพร้อมๆ กนั สองอย่าง เพราะในท่สี ุดกจ็ ะพลาดไม่ได้สกั อย่าง

ตานา้ พริกละลายแม่นา้ ทำอะไรต้องเสียทรัพย์แล้ว ไม่ได้ทรัพย์คุ้มกบั ท่ตี ้องเสียไป

ดนิ พอกหางหมู การงานท่ีเกิดขึน้ ทีละเล็กทลี ะน้อยพอกพนู ขนึ้ เร่ือย ๆ จนทาให้ต้องลาบากหรือ ยุ่งยากเดือดร้ อน

รักดีหามจ่ัว รักช่ัวหามเสา ทาตัวดี ประพฤตดิ ี มีวชิ าความรู้กย็ ่อมจะได้งานเบางานสูง ทาตัวไม่ดี ประพฤตไิ ม่ดี ไม่ มีวชิ าความรู้กย็ ่อมจะต้องทางานหนัก งานต่า จ่วั เป็ นของเบาต่างกบั เสาท่เี ป็ นของหนัก

รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี ถ้ารักววั กใ็ ห้ผูกล่ามขังไว้ มฉิ ะนัน้ ววั จะถกู ลักพาหรือหนีหายไป ส่วนรักลูกให้เฆ่ียน กห็ มายถงึ ให้อบรมส่ังสอนลูกและทาโทษลูกเม่ือผิด.

สำนวน หมายถงึ โวหาร ทานองพูด ถ้อยคาท่เี รียบเรียง จะมี ความหมายโดยนัยเป็ นลกั ษณะความหมายเชงิ อุปมาเปรียบเทยี บ จะไม่ แปลความหมายตรงตามตวั อกั ษร เม่ือฟังแล้วมักจะไม่ได้ความหมายใน ตนเอง ต้องนาไปประกอบกบั บุคคลหรือเหตุการณ์ จงึ จะได้ความหมาย เป็ นคตเิ ตอื นใจเช่นเดียวกบั สุภาษิต ลกั ษณะเด่น คอื เป็ นถ้อยคาท่มี ีคารมคมคาย กนิ ใจผู้ฟังใช้คากะทดั รัด ไพเราะร่ืนหู มคี วามหมายลกึ ซึง้

สุภำษิต หมายถงึ คากล่าวท่ีมีคตคิ วรฟัง มีจดุ มุ่งหมายเพ่อื การส่ัง สอน เตอื นสตใิ ห้ได้คดิ ให้ได้ความจริงเก่ยี วกับ ความคดิ และแนวปฏบิ ัติ ซ่งึ สามารถพสิ ูจน์และ เช่ือถอื ได้ เช่น รักยาวให้บ่นั รักสัน้ ให้ต่อ นา้ เช่ียวอย่าขวางเรือ

คำพงั เพย หมายถงึ ถ้อยคาท่เี รียบเรียงขนึ้ มา แฝงคตเิ ตือนใจหรือข้อคดิ สะกดิ ใจให้นาไปปฏิบตั ไิ ด้ มักเป็ นความหมายกลางๆ ไม่ เน้นการส่ังสอนหรือเนือ้ หาของใจความ โดยมากจะมี ความหมายซ่อนอยู่ ดังนัน้ การใช้คาพงั เพยจะต้อง ตคี วามหมายให้เข้ากบั สถานการณ์ เช่น กระต่ายต่นื ตมู

คำคม หมายถงึ ถ้อยคาท่คี ดิ ขนึ้ มาในปัจจบุ ัน เป็ นถ้อยคาท่ีหลักแหลม ซ่ึงสามารถเข้ากบั เหตกุ ารณ์นัน้ ได้อย่างเหมาะเจาะทงั้ ยัง ชวนให้คดิ ถ้าพูดตดิ ปากกนั ต่อไปกอ็ าจกลายเป็ นสานวนได้ เช่น “ความรักทาให้คนตาบอด” “อดตี คือส่งิ ท่ีผ่าน อนาคตคือส่งิ ท่ฝี ัน ปัจจุบันเท่านัน้ คือความจริง”

๑. \"ฟังหูไว้หู\" หมำยควำมว่ำอย่ำงไร ๑๑..ออยย่ำ่ำดด่ว่วนนสสรรุปุปททันนั ททที ีที่ไไี่ดด้ฟ้ฟังัง ๒. อย่ำฟังควำมข้ำงเดยี ว ๓. อย่ำเสียโอกำสในกำรฟัง ๔. อย่ำฟังโดยไม่จดลง วิชำภำษำไทย เร่ืองสำนวนไทย ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษำปี ที่ ๑

๒. ผู้ทมี่ ีสิ่งทต่ี นไม่รู้คุณค่ำ อุปมำว่ำอย่ำงไร ๑. กงิ้ ก่ำได้ทอง ๒. วำนรได้แก้ว ๓. หัวล้ำนได้หวี ๔. ตำบอดได้แว่น ทำแบบทดสอบต่อข้อ ๑ – ๑๕ วิชำภำษำไทย เรื่องสวำนวนไทย ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษำปี ท่ี ๑

จงเตมิ สานวนให้ครบสมบูรณ์ และสอดคล้องกบั ข้อความท่กี าหนด สามวนั ..ด..ีส..่ีว..นั..ไ..ข..้............. ฝนส่งั .ฟ..้ำ...ป..ล..ำ..ส..ง.ั่ .ห..น...อ..ง...... ชกั ใบ.ใ..ห..เ้.ร..ือ..เ.ส..ีย................ รกั ววั .ใ.ห...ผ้ ..ูก...ร..กั..ล..กู...ใ.ห..ต้..ี...... คนตาย..ข..ำ..ย..ค..น...เ.ป.็.น..........

ขนทรำยเข้ำวดั ทำบุญทำกุศลโดยวธิ ีนำ หรือหำประโยชน์เพ่ือส่วนรวม

ขวำนผ่ำซำก พูดตรงเกินไปโดยไม่เลือกกำลเทศะและบุคคล

กบในกะลำครอบ ผ้มู ีประสบกำรณ์และควำมรู้น้อย แต่สำคญั ตนว่ำมคี วำมรู้มำก

กระต่ำยหมำยจันทร์ ผู้ชำยหมำยปองผ้หู ญงิ ที่มฐี ำนะดกี ว่ำ

กว่ำถั่วจะสุก งำก็ไหม้ ลกั ษณะของกำรทำงำนทม่ี คี วำมลังเล ทำให้แก้ปัญหำได้ไม่ทนั ท่วงทเี มื่อได้อย่ำงหนึ่ง แต่ต้องเสียอกี อย่ำงหนึ่งไป

เขยี นเสือให้ววั กลวั ทำอย่ำงใดอย่ำงหน่ึงเพ่ือให้อีกฝ่ ำยหน่ึงเสียขวญั หรือเกรงขำม

กนิ นำ้ ใต้ศอก ยอมเป็ นรองเขำ, ไม่เทียมหน้ำเทียมตำเท่ำ (มักหมำยถงึ เมียน้อยทีต่ ้องยอมลงให้แก่เมียหลวง)

จบั ปลำสองมือ อย่ำหวงั จะได้ทีเดียวพร้อมๆ กนั สองอย่ำง เพรำะในทสี่ ุดก็จะพลำดไม่ได้สักอย่ำง

กระโถนท้องพระโรง ผ้ทู ่ใี ครๆ กใ็ ช้งำนได้ และเป็ นท่รี ะบำยอำรมณ์ของทกุ คน

กนิ น้ำเหน็ ปลงิ ตะขดิ ตะขวงใจเมื่อจะทำอะไรซักอย่ำง

กระดูกร้องไห้ กำรจบั ตวั ฆำตกรมำลงโทษได้หลังจำกพบหลกั ฐำนโดยบงั เอญิ

ท่ีมำของสำนวนไทย เกดิ จำก ความเป็ นอยู่ ค่านิยม และการพิจารณาส่งิ แวดล้อม ต่าง ๆ รอบตวั แล้วนามาเปรียบเปรย ๑. สำนวนเกิดจำกธรรมชำติ ๒. สำนวนเกิดจำกสตั ว์ ๓. สำนวนเกิดจำกกำรกระทำ/ควำมเป็ นอยู่ ๔. สำนวนเกิดจำกของกินของใช้ ๕. สำนวนเกิดจำกกำรละเล่น กีฬำ หรือ กำรพนนั ๖. สำนวนเกิดจำกกำรนบั ถือศำสนำ ๗. สำนวนเกิดจำกกำรเปรียบเทียบกบั อวยั วะต่ำง ๆ ๘. สำนวนเกิดจำกนิทำนหรือวรรณคดี ๙. สำนวนเกิดจำกประเพณีและวฒั นธรรม ๑๐. สำนวนเกิดจำกกฎหมำย/พงศวดำร

กำรใช้สำนวน ๑.ไม่ใช้ฟ่ ุมเฟื อย ๒.ใช้ให้เหมาะกับกาลเทศะ ๓.ใช้ให้ตรงความหมาย

คณุ ค่ำของสำนวน ๑.ใช้ส่อื สารได้รวดเร็ว ใช้แล้วเข้าใจความหมายได้ทันที ๒.ช่วยเน้นความเข้าใจให้ชัดเจนย่งิ ขนึ้ ๓.โน้มน้าวให้ปฎิบตั ิหรือมคี ่านิยมท่สี ังคมปรารถนา ๔. สะท้อนให้เหน็ ค่านิยม สภาพของสงั คมไทยในแง่ต่างๆ ๕. มปี ระโยชน์ด้านการใช้ภาษา เช่น การผูกคา การเรียง ประโยค

เป็ นเด็กดีนะคะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook