Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสถานศึกษาสีขาว กศน.อำเภอแสวงหา

คู่มือสถานศึกษาสีขาว กศน.อำเภอแสวงหา

Published by Kru Nattiya, 2022-08-26 02:21:20

Description: คู่มือสถานศึกษาสีขาว กศน.อำเภอแสวงหา

Search

Read the Text Version

ค่มู ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 1

คานา การพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนดี มีวินัย มีทักษะความสามารถในศตวรรษที่ ๒๑ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข ห่างไกลจากยาเสพติดแอลกอฮอล์สื่อลามกอนาจาร การพนัน และการทะเลาะวิวาท ซึ่งเป็นภัยคุกคาม ต่อความ มั่นคงในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีส่งผลกระทบต่อสังคมและประเทศชาติ กศน.อาเภอแสวงหาตระหนักในปัญหา ดังกล่าว จงึ ได้ดาเนนิ งานโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และ อบายมขุ ซ่ึงเปน็ รูปแบบของการดาเนินการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดและปัญหาพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ แบบองค์รวมในสถานศึกษา โดยเร่ิมจาก “กิจกรรม ห้องเรียนสีขาว” ดาเนินการโดย นักศึกษาแกนนา 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายการเรียน ฝ่ายการงาน ฝ่ายสารวัตรนักเรียน ฝ่ายกิจกรรม และพัฒนาสู่ “โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข” ภายใต้ยุทธศาสตร์ 5 มาตรการ ได้แก่ มาตรการด้านการป้องกัน มาตรการด้านการค้นหา มาตรการด้านการรักษา มาตรการด้านการ เฝ้าระวัง มาตรการด้านการบริหารจัดการ และ กลยุทธ์“๔ ต้อง ๒ ไม่”โดย 4 ต้อง คือ ต้องมียุทธศาสตร์ต้องมี แผนงาน ต้องมีระบบข้อมูล ต้องมีเครือข่ายและ ๒ ไม่คือ ไม่ปกปิดข้อมูล ไม่ไล่ผู้เรียนออก โดยบูรณาการความ ร่วมมือและประสานงานของผู้บริหาร ครู อาจารย์ /นักศึกษาแกนนา เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนที่เข้มแข็ง ต่อเน่ือง และยั่งยนื กศน.อาเภอแสวงหา หวงั เป็นอย่างยงิ่ วา่ คมู่ ือการดาเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และ อบายมุขฉบับนี้ จะใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติท่ีเป็น รูปธรรม เสริมสร้างกระบวนการ ทางานท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลให้ผู้เรียนมีภูมิคุ้มกัน มีทักษะชีวิตและตระหนักรู้ที่จะไม่เข้าไป เกี่ยวข้องกับยาเสพติด แอลกอฮอล์ สื่อลามกอนาจาร การพนัน และการ ทะเลาะวิวาท เพื่อเป็นกาลังสาคัญในการ พัฒนาประเทศชาติใหม้ ีความม่ันคงสบื ไป กศน.อาเภอแสวงหา สานกั งาน กศน.จังหวัดอา่ งทอง คู่มอื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 2

สารบัญ คานา สารบัญ บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 การดาเนินงานขับเคล่ือนกิจกรรมห้องเรยี นสขี าว - กลยทุ ธ์และกจิ กรรมห้องเรยี นสขี าว - การจัดองคก์ รภายในห้องเรียนสีขาว - มาตรฐานและตงั บง่ ชี้ในการประเมนิ กจิ กรรมหอ้ งเรียนสขี าว - แบบหอ้ งเรยี นสขี าว 1/4 - แบบห้องเรยี นสีขาว 2/4 - ตัวอย่างโครงการ - ตัวอย่างบนั ทึกการปฏบิ ตั งิ านห้องเรียนสีขาว บทที่ 3 การดาเนินงานขบั เคลือ่ นโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดภยั สารติดและอบายมขุ - กลยุทธแ์ ละยทุ ธศาสตร์โครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ - แนวทางการขบั เคล่อื นสถานศกึ ษาปลอดบหุ รแ่ี ละปลอดแอลกฮอล์ (7 มาตรการ) - มาตรฐานและตัวบ่งช้กี ารประเมินโครงการสถานศกึ ษาสขี าวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ - แบบสถานศึกษาสีขาว 1/4 - ใบสมัครเขา้ รับการประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ - คารบั รองผลการดาเนินงานโครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ระดบั เงิน - คารบั รองผลการดาเนนิ งานโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ระดับทอง ระดับเพชร รกั ษามาตรฐาน ระดบั เพชรปีท่ี 1-3 - ตัวอย่างบนั ทึกขอ้ ตกลงความร่วมมือฯ - แบบสรุปจานวนหอ้ งเรยี นทง้ั หมด บทที่ 4 แนวทางการประเมินโครงการสถานศึกาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ - ดา้ นการสง่ ผงงาน - ดา้ นระยะเวลาการประเมนิ ผลงาน - แบบ สร.1 ระดบั หน่วยงานตน้ สงั กดั - แบบ สร.2 ระดบั จงั หวดั บทท่ี 5 แนวทางการจัดทาเอกสารผลงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ - ระดบั เงนิ - ระดบั ทอง - ระดับเพชร - ระดบั มาตรฐาน ระดบั เพชรปีที่ 1-3 คณะผู้จัดทา คมู่ ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 3

บทที่ 1 สว่ นนา ๑. สถานการณป์ ัจจบุ ัน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ . 2561 - 2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติในการพัฒนาประเทศไทย โดยได้ กาหนดวิสยั ทศั น์“ประเทศไทย มคี วามมนั่ คง มั่งคัง่ ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” มีกลไกขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติตามลาดับ เพื่อให้เกิดประสิทธิผล ตามเป้าหมาย โดยการ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติดเป็นประเดน็ ปัญหา ภายใต้แผนแม่บทดา้ นความมั่นคง ท่ีมุ่งเน้นการขับเคล่ือนการ แก้ไขปัญหายาเสพติด และลดระดับความรุนแรงของปัญหาตามยุทธศาสตร์ชาติ และนาไปสู่ผลสัมฤทธ์ิ “สังคมไทย ปลอดภัยจากยาเสพติด” ซึ่งข้อมูลจากรายงาน World Drug Report ๒๐๑๙ ของสานักงานว่าด้วยยาเสพติดและ อาชญากรรม แห่งสหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and Crime : UNODC) พบว่าในปี ค.ศ. ๒๐๑๗ มีผู้ใช้ยาเสพติดทั่วโลกประมาณ ๒๗๑ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๕.๕ ของประชากรโลกและยาเสพติดที่มี แนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึนคือยาเสพติดประเภทสารสังเคราะห์ในกลุ่ม ATS โดยเฉพาะ เมทแอมเฟตามีนที่มีการขยายตัว เพิ่มขน้ึ อยา่ งต่อเน่อื งเน่ือง สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดยาเสพตดิ ในประเทศไทย พบว่า กลุ่มผู้ค้าเพ่ิมปริมาณยาเสพติดจานวนมากเพื่อ ทุ่มตลาดกระตุ้นความต้องการของผู้เสพให้คงอยู่ ราคาที่ถูกลงเป็นปัจจัยเสริมให้กลุ่มผู้เสพเข้าถึงยาเสพติด ได้ง่าย ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยกี ารติดต่อสอื่ สารเปน็ ช่องทางติดต่อค้าขายยาเสพติดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น การใช้ Facebook, Line, Twitter โดยช่องทางท่ีพบมากท่ีสุดคือTwitter รองลงมาคือ Facebook ส่งผลให้การค้ายาเสพ ติดขยายวงกว้าง ซึง่ กลมุ่ ผู้เสพยาเสพตดิ สว่ นใหญ่มีอายุ ๑๕ - ๒๔ ปีคิดเป็นร้อยละ ๓6 หรือมี สัดส่วนมากกว่า๑ ใน ๓ ของผู้เสพท้ังหมด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้มีงานทาซึ่งเป็นกลุ่มผู้ใช้แรงงานและรับจ้างมาก ท่ีสุดยาเสพติดที่มีการใช้ มากท่ีสุดคือยาบ้า ร้อยละ 74.4 รองลงมาคือกัญชา ร้อยละ 5.9 และไอซ์ร้อยละ ๕.7 ยาเสพติดที่ต้องมีการเฝ้า ระวัง คือ ไอซ์ เฮโรอีน คีตามีน เอ็กซ์ตาซีและกัญชา (คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด แผนปฏิบัติ การดา้ นการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๖๓) ปญั หายาเสพติดเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาสังคม ดารงอยู่ ควบคู่ไปกบั การพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ การแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสาคัญ เป็น วัยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการใช้ยาเสพติด ก้าวเข้าสู่วัยรุ่น เป็นช่วงการปรับตัว มีการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน ทาให้มีความอยากรู้อยากลอง เมื่อเข้าไปยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด สมองจะถูกทาลาย ส่งผลถึงการเรียน และอาจ ชักชวนเพือ่ นใหม้ ายุ่งเกีย่ วกบั ยาเสพตดิ ส่งผลใหป้ ัญหายาเสพตดิ ทวีความรุนแรงมากข้นึ ปัญหาการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอล์ จากข้อมูลงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ พบว่าการดื่ม เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในเชิงลบมากกว่าเชิงบวก โดยเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ เป็นปัจจัย เสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาระโรคและการบาดเจ็บเป็นอันดับต้น ๆ เม่ือเทียบกับปัจจัยเสี่ยงอ่ืน ๆ จากข้อมูลของ องค์การ อนามัยโลก เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์เป็นสาเหตุของความเจ็บป ่วยมากกว่า 200 โรค ซ่ึงท าให้มีผู้เสียชีวิต ท่ัวโลก ประมาณปีละ 3.3 ล้านคน ในประเทศไทยการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ก่อให้เกิดการเสียชีวิตซึ่งเป็นการ เสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs ร้อยละ 59 และ ประเภทของโรค NCDs พบว่าการดื่มเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์ก่อภาระโรคในรูปแบบของปัญหาสุขภาพจิตมากท่ีสุด คือ ร้อยละ 73 รองลงมาคือ โรคตับแข็ง ร้อยละ 13 และโรคมะเรง็ รอ้ ยละ 12 นอกจากนี้ พบวา่ ในกล่มุ เยาวชน มกี ารด่มื เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง มแี นวโน้มเป็นนกั ดม่ื ประจา และยังพบปญั หาทมี่ สี าเหตุมาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รุนแรงมากข้ึน เช่น การใช้ความ รุนแรงจากความมึนเมา การเกิดอุบัติเหตุจราจรช่วงเทศกาล คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร เป็นอันดับ 2 คมู่ อื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 1

ของโลก ปัญหาส่ือลามกอนาจารปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทันสมัยสื่อสารไร้ขีดจากัด ส่ือดิจิทัล เว็บไชต์ ต่าง ๆ เข้าถึงง่าย และค่านิยมสังคมเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการเผยแพร่คลิปการใช้ชีวิตผ่าน อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ อย่างแพร่หลาย รวมถึงสื่อลามกอนาจารซ่ึงเป็นปัญหาหนึ่งของการล่วงละเมิดทางเพศ การมี เพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอนั ควร สง่ ผลถึงการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เกิดปัญหาเรียนไม่จบหรือต้องออกจาก สถานศึกษาเพ่ือไปเลี้ยง บตุ ร ทาให้คณุ ภาพชวี ิตของประชาชนไทยไมเ่ ป็นไปตามเปา้ หมาย ปญั หาการพนัน ผลการวิจัยพบว่า ผลเสียหายของ การตดิ พนันมีทงั้ ดา้ นสุขภาพกาย สุขภาพจติ ใจ เศรษฐกิจและสงั คม อาทิ ขาดประสิทธิภาพในการเรียน การทางาน ปัญหาด้านการเงิน ปัญหาความสัมพันธ์กับ ครอบครัว ปัญหายักยอก ฉ้อโกง อาชญากรรม รวมไปถึงปัญหาที่ เชื่อมโยงไปส่ปู ญั หาอน่ื ๆ เช่น ตดิ เหล้าและ สารเสพติดอ่ืน ๆ มีการวิจัยระบุว่า ผลเสียหายทางอ้อมท่ีเกิดกับคนเสพ ติดการพนันคือ การเพ่ิมความเสี่ยง ในการติดเหล้าและสารเสพติดอื่นที่มีผลเสียต่อสุขภาพ และคนเสพติดการพนัน จะมีนิโคตินในร่างกายมากกว่าคน ทั่วไป ซึ่งการเสพติดซ้าซ้อนจะทาให้การแก้ปัญหายุ่งยากขึ้นไปอีก(ศูนย์ศึกษา ปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ) ปัญหาทะเลาะวิวาท เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ความรุนแรงมากขึ้น สื่อเผยแพร่ข่าวการทะเลาะวิวาทของ เยาวชนหลายพ้ืนที่ แต่ละคร้ังมีผู้ที่ได้รับบาดเจ็บท้ังฝ่ายเดียว สองฝ่าย หรือผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง บางเหตุการณ์ถึงขั้น เสียชีวิต สร้างความเดือดร้อน ความเสียหายทั้งผู้ก่อเหตุผู้ปกครอง และสถาบันมีการประกาศสงครามผ่านทาง อินเตอร์เน็ตเว็บไซต์ต่าง ๆ ใช้ถ้อยคาย่ัวยุรุนแรง หรือประกาศใช้สัญลักษณ์ หรือมีแนวคิด “การทะเลาะวิวาท เพอ่ื ศกั ดศิ์ ร\"ี โดยการทะเลาะววิ าททวคี วามรุนแรงในระดับท่สี งู ขนึ้ ใช้อาวุธปืนยิงกันทั้งในสถานที่เอกชนและสถานที่ ราชการเปน็ เหตุใหม้ ีผูบ้ าดเจบ็ และเสียชวี ิต จากสถานการณ์สภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบันเห็นได้ว่า พฤติกรรมของเด็กและเยาวชนมีแนวโน้ม ทวีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งปัญหายาเสพติด การด่ืมสุราหรือเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์ สื่อลามกอนาจาร การพนัน และการทะเลาะวิวาท โดยสาเหตุสาคัญมาจากปัญหาครอบครัว ปัจจัยสภาพแวดล้อมท่ีเป็นอบายมุข สิ่งยั่วยุ และ การใช้ความรนุ แรงในสังคม ซง่ึ มผี ลกระทบต่อเดก็ เยาวชน และผู้เกี่ยวข้องอีกมากมาย นอกจากนี้ เด็กและเยาวชน ท่ขี าดความตระหนกั รู้ การปลูกฝังความรู้คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทักษะการคิดวิเคราะห์ ขาดเหตุผล ในการแก้ไขปัญหา และไม่ได้รับการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม จะเป็นปัญหาคุณภาพชีวิตของคนไทยในอนาคต ดังนั้น กระทรวงศึก ษาธิการได้ มอบนโยบา ยการจัดกา รศึกษาสู่กา รปฏิ บัติให้ส ถานศึกษาทุ กแห่งต้องด า เนินการจั ด การศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง คนดี ดารงตนอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้องตามแนวคิดการจัด การศกึ ษา แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ท่ีกาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ว่า “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ ตลอด ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ เปล่ียนแปลง ของ โลกศตวรรษที่ ๒๑” โดยการมีส่วนร่วมบูรณาการการทางาน ส่งเสริมสนับสนุน ป้องกัน และช่วยเหลือของ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ผู้บริหาร ครู อาจารย์ ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน และทุกคนท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือป้องกันและแก้ไข ปญั หาตา่ ง ๆ โดยเฉพาะปัจจยั เสยี่ งและผลกระทบจากแหลง่ อบายมขุ ดังภาพที่ ๑ ภาพที่ ๑ ปจั จัยเสี่ยงและผลกระทบจากแหลง่ อบายมุข หนา้ 2 ค่มู อื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา

๒. ยุทธศาสตร์ชาติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๖๕ “รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็น เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้ สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย” จากบทบัญญัติดังกล่าว ส่งผลให้ จัดทายทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ เพือ่ ใช้เป็นกรอบ การดาเนินการ โดยยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) กาหนดวสิ ัยทศั น์ “ประเทศมคี วามมั่นคง มงั่ คงั่ ย่งั ยนื เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการ พัฒนาตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” เป้าหมายการพัฒนาประเทศ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชน มีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา อย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติท่ียั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพ ของประเทศในหลากหลาย มิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชน เพ่ือประชาชนและประโยชน์ ส่วนรวม มยี ทุ ธศาสตรช์ าติ ๖ ด้าน ดงั ภาพท่ี ๒ ภาพท่ี ๒ ยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) โดยหน้าท่ีของหน่วยงานของรัฐ ต้องบูรณาการดาเนินงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติให้บรรลุเป้าหมาย ได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคงและแผนแม่บทด้านความม่ันคง ผลักดัน การวิเคราะห์ หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาของทุกภาคส่วนในทุกประเด็นอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการวางแผนและยกระดับ วิธีการแก้ไขปัญหา การผนึกกาลังคนและทรัพยากรให้มีส่วนร่วมแบบบูรณาการ ดาเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลอย่างจริงจังต่อเน่ือง เสริมสร้างความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานหลักและหน่วยงานรองในการป้องกัน แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือประชาชนจากภัยคุกคามและปัญหาที่ส่งผลต่อความม่ันคงต่าง ๆ เช่น การก่อการร้าย อาชญากรรมทางไซเบอร์ การฟอกเงิน การค้ามนุษย์ ปัญหาภัยพิบัติสาคัญ รวมไปถึงการส่งเสริม ผลักดันหลักการ นโยบาย ยุทธศาสตร์ ตลอดถึงโครงการที่เป็นจุดหมายสาคัญของประเทศให้บรรลุผลสาเร็จ ตามเป้าหมายที่กาหนด นาไปสกู่ ารปฏิบัติดว้ ยความเขา้ ใจ คนในสงั คมมสี ว่ นร่วมและมีความเป็นเจ้าของยุทธศาสตร์ชาติร่วมกัน ความสาเร็จ จะส่งผลให้ประเทศไทยสามารถก้าวไปขา้ งหน้าไดอ้ ยา่ งมน่ั คง มั่งคั่ง และย่ังยืน ซึ่งสานักบูรณาการ กิจการการศึกษา สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ วิเคราะหป์ ญั หาสาคัญท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ ดงั นี้ คู่มอื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 3

๒.๑ ปญั หายาเสพตดิ รัฐบาลให้ความสาคัญกับปัญหายาเสพติด โดยให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นนโยบายเร่งด่วน ดาเนินการตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ให้เป็นไปตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความ ม่นั คง โดยยึดแนวพระราชดาริปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และยุทธศาสตรแ์ นวทางการดาเนินงาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ตามศาสตร์พระราชาเป็นกรอบการแก้ไขปัญหายาเสพติด กลางทาง คือ การป้องกันยาเสพติดในแต่ละ กลุ่มเป้าหมายอย่างเหมาะสมเป็นรูปธรรม การปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม แต่ละ บุคคล ปลายทาง คือ การดูแลผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดให้เข้าถึงการบาบัดรักษา การใช้มาตรการทางเลือก รวมถึง การตดิ ตาม ใหโ้ อกาส การยอมรบั จากสังคม และการพัฒนาคุณภาพชวี ิต โดยกาหนดการขับเคล่ือนการแก้ไข ปัญหา ยาเสพตดิ และบูรณาการการแกไ้ ขปญั หารว่ มกบั หน่วยงานภาคีท่ีเก่ียวข้องได้อย่างประสานสอดคล้องและ บรรลุตาม เป้าหมายและวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด ตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมั่นคง ปลอดภัยจากยาเสพติด อย่างยั่งยืน ด้วย การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในสังคมและความร่วมมือ ระหว่างประเทศ” เป้าหมาย “สถานการณ์ปัญหายาเสพ ตดิ ไดร้ บั การควบคุมจนไม่ส่งผลต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เมื่อสิ้นสุดแผนโดยดาเนินการ ลดจานวนผู้ค้าผูเ้ สพและสดั สว่ นการกระทาผดิ ซ้าในระดบั พื้นที่” มีมาตรการการป้องกันยาเพติดท่สี าคญั 1) สร้างการรับร้ใู นประชากรกลุ่มทว่ั ไปผา่ นทางสื่อโซเชยี ลมีเดยี 2) สรา้ งภูมิคุ้มกัน ยาเสพตดิ ในประชากรแต่ละช่วงวยั เนน้ ในกลมุ่ ประชากรก่อนวยั เสี่ยง ได้แก่ กลุ่มปฐมวัย (๓ - ๕ ป)ี กลมุ่ เดก็ (๖ - ๑๑ ปี) วยั รุ่นตอนต้น - ตอนกลาง (๑๒ - ๑๕ ป)ี 3) ปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ในประชากรกลุ่มเสย่ี งสูง 4) สรา้ งพื้นที่ ปลอดภัยทง้ั ในสถานศกึ ษา สถานประกอบการ และหมู่บ้าน/ชุมชน และโซเชียลมีเดยี 5) พฒั นากลไกการมี ส่วนรว่ มจากประชากร 6) สร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน และประชาชน ในการแก้ไขปญั หาตามบริบทของพ้นื ท่ี 7) นาแนวทางศาสตร์พระราชาด้านการพัฒนาทางเลือก มาประยุกต์ใช้8) ลดผลกระทบและลดอันตราย ของสังคม/ชุมชนจากปญั หายาเสพตดิ (คณะกรรมการป้องกนั และ ปราบปรามยาเสพติด : ๒๕๖๔) 2.2 ปญั หาการด่ืมสรุ าหรือเคร่ืองดมื่ ท่ีมีแอลกอฮอล์ แผนปฏิบตั กิ ารควบ คมุ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลร์ ะดบั ชาติในระยะท่ี 2 พ.ศ. 2564 - 2570 ดาเนินการตาม กรอบนโยบายองค์การอนามัยโลก เพ่ือสร้างสังคมที่ปลอดภัยจากปัญหาผลกระทบการบริโภค แอลกอฮอล์ มี เปา้ หมายการดาเนินการ 4 ประการ คือ 1) ควบคุมและลดปริมาณการบริโภคของประชาชน 2) ปอ้ งกันนกั ดม่ื หนา้ ใหม่และควบคุมจานวนผู้บรโิ ภค 3) ลดความเส่ียงจากการบรโิ ภคทงั้ ในมติ ิของปริมาณการบริโภค รปู แบบการบริโภค และพฤติกรรมหลังการ บริโภค 4) จากัดและลดความรุนแรงของปัญหาจากการ บริโภค ท้ังนี้ ดาเนินการภายใต้ 7 กลยุทธ์ SAFER ได้แก่ กลยทุ ธ์ท่ี 1 ควบคุมและจากัดการเข้าถึง กลยุทธ์ท่ี 2 ควบคุมพฤติกรรมการขับขี่หลังการด่ืม กลยุทธ์ที่ 3 คัดกรอง บาบดั รักษาผมู้ ปี ัญหาจากสุรา กลยุทธ์ท่ี 4 ควบคุม การโฆษณาส่งเสริมการขายและการให้ทุนอุปถัมภ์ กลยุทธ์ท่ี 5 ข้ึนราคาผ่านระบบภาษี กลยุทธ์ท่ี 6 สร้างค่านิยม เพ่ือลดการด่ืม และกลยุทธ์ท่ี 7 การบริหารจัดการที่ดี โดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ยังคงมุ่งเน้นการท างานเพื่อลดผลกระทบจากเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ โดยให้ความสาคัญกับการทางานที่อาศัย ความร่วมมือกันอย่างเป็นระบบของทุกภาคส่วน มุ่งเน้นสร้าง องค์ความรู้ควบคู่ไปกับการขับเคล่ือนภาคประชาสังคม และภาคนโยบาย รวมถึงต่อยอดการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม คู่มอื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 4

บุญประเพณปี ลอดเหล้า การร่วมใจงดเหล้าเข้าพรรษา ต่อเน่ืองทุกปี และสร้างความร่วมร่วมมือร่วมจัดพื้นท่ีเล่นน้า สงกรานต์ปลอดเหล้า ซ่ึงสะท้อนถึงผลการดาเนินงาน เข้มแข็งร่วมกันของทุกภาคส่วน และช่วยป้องกันผลกระทบ จากเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ ๒.3 ปัญหาส่ือลามกอนาจาร สอ่ื ลามกอนาจาร หมายความว่า วัตถุหรือสิ่งแสดงให้รู้หรือเห็นถึงการกระทาทางเพศของเด็กหรือ กับเด็ก ซ่ึงมีอายุไม่เกิน ๑๘ ปี โดยที่สื่อลามกอนาจารมีลักษณะในรูปแบบเอกสาร ภาพเขียน ภาพพิมพ์ ภาพระบายสี ส่งิ พมิ พ์ รูปภาพ ภาพโฆษณา เคร่ืองหมาย รูปถ่าย ภาพยนตร์ แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ หรือ ในรูปแบบอ่ืน ใดในลักษณะทานองเดียวกัน และให้หมายความรวมถึงวัตถุต่าง ๆ ข้างต้นที่จัดเก็บในระบบ คอมพิวเตอร์หรือใน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีสามารถแสดงผลหรือเข้าใจได้ นอกจากนี้ ได้มีการจัดต้ังคณะทางาน ปราบปรามการล่วง ละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต (Thailand Internet Crimes Against Children หรือ TICAC) เพื่อเป็น หน่วยงานท่ีมีอานาจหน้าท่ีในป้องกันและปราบปราบแก้ไขปัญหาสื่อลามกอนาจารเด็กและ การแสวงหาประโยชน์ ทางเพศจากเด็กเพื่อการค้า และเพื่อปราบปรามอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตให้เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ในการนี้ ผูท้ ่มี สี ื่อลามกอนาจารไว้ในครอบครองและมีเจตนาที่จะแสวงหา ผลประโยชน์ถือว่ามีความผิด จึงกาหนดโทษไว้ในสถานหนักคือจาคุกไม่เกิน ๕ ปี ปรับไม่เกิน ๑ แสนบาท หรือท้ังจาทั้งปรับ และผู้ท่ีส่งต่อสื่อ ลามกอนาจารเดก็ ไปยงั ผู้อ่ืน มีโทษจ าคุกไม่เกนิ ๗ ปี หรือปรับไมเ่ กนิ หนึ่งแสน สี่หมืน่ บาท หรือทง้ั จาและปรบั ๒.4 ปญั หาการพนัน รฐั บาลตระหนักถึงความสาคัญในการแก้ปัญหาการพนันในเด็กและเยาวชน โดยกาหนดเป็นวาระ แห่งชาติ ให้ปัญหาการพนนั เป็นปัญหาสาธารณสุข (Public Health Issue) ของประเทศ ท่ีต้องแก้ไขอย่างจริงจัง โดยปัญหา การพนันท่ีผิดกฎหมายและส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน เช่น การพนันกีฬา การพนันออนไลน์ และบ่อนการ พนัน ซ่งึ มแี นวทางปฏบิ ัตอิ ย่างเปน็ รูปธรรมทั้งในแผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับ ที่ ๑๒ คาสงั่ ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน กฎหมายว่าด้วย การคุ้มครองเด็ก และกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ขณะเดียวกันได้มี การลงนามความ ร่วมมอื ระหวา่ ง ๑๑ หนว่ ยงาน ในเชิงบรู ณาการการท างานรว่ มกันใน ๔ มิติ ประกอบดว้ ย ๑) การสื่อสารและสร้างความตระหนกั ทางสงั คม การประชาสมั พันธส์ ายด่วนแจ้งเบาะแส ๒) มาตรการป้องกัน ในการสนับ สนุนการทางานของสภาเด็กแล ะเยาวชนพร้อมเครือข่ายต่าง ๆ ในการ ทากิจกรรมป้องกัน ๓) มาตรการปราบปรามและบังคับใชก้ ฎหมาย ๔) มาตรการช่วยเหลือและเยียวยาเด็กท่ีได้รับผลกระทบจาก การพนันฟุตบอลออนไลน์ โดยซักซ้อมแนว ทางการปฏิบัติท้ังในระดับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติและระดับ พื้นท่ี อย่างต่อเน่ือง ทาให้เกิดผลสาเร็จในการปฏิบัติสาหรับ แนวทางการปราบปรามสานักงานตารวจแห่งชาติได้เปิด ศูนย์ป้องกันปราบปรามการลักลอบเล่นการพนันทายผล ฟุตบอลซึ่งดาเนินการจับกุมอย่างต่อเน่ือง ขณะที่การปิด กั้นลบข้อมูลจากเว็บไซต์การเล่นพนันบอล สานักงาน ตารวจแห่งชาติ และกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ได้ประสานงาน ข้ันตอน กระบวนการทางานอย่าง สอดคล้องใกล้ชิด นอกจากนี้ ได้สร้างการรับรู้ ประชาสัมพันธ์ให้ ประชาชนแจ้งเบาะแสการลักลอบเล่นการพนัน ฟุตบอล ที่สายด่วนของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น สายด่วน ๑๔๖๖ หรือ ๑๙๑ ของสานักงานตารวจแห่งชาติ หรือ ๑๕๖๗ ของศูนยด์ ารงธรรม ๒.5 ปญั หาการทะเลาะวิวาท ปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษาที่ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อ ชีวิตร่างกาย และทรัพย์สิน รวมท้ังเป็นการสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนและสังคม เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการปฏิรูป และจัดระเบียบใน สงั คม มมี าตรการดาเนนิ งานตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ดงั น้ี คมู่ ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 5

๑) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามหมวด ๗ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มีอานาจกักตัว นกั ศึกษาทีก่ อ่ เหตทุ ะเลาะวิวาท ทาร้ายร่างกายผู้อ่ืน หรือเตรียมการเพื่อก่อเหตุดังกล่าว เป็นการชั่วคราว ไม่เกินหก ชั่วโมง เพือ่ นาส่งเจา้ พนักงานตารวจ ผูบ้ ริหารโรงเรยี นหรือสถานศกึ ษา บดิ ามารดาหรอื ผู้ปกครอง แล้วแต่กรณี ๒) บิดา มารดา หรือผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเล้ียงดู อบรม สั่งสอน และยับยั้งพฤติกรรม ที่ไม่ดีของ เด็กและเยาวชนท่ีเป็นนักเรียน/นักศึกษาที่อยู่ในความปกครองดูแลของตน รวมท้ังต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ท่ี กาหนดในกฎกระทรวงทีอ่ อกตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก ตลอดจนต้องไม่สนับสนุนหรือ ปล่อยปละละเลย ให้เด็กและเยาวชนท่ีเป็นนักเรียน/นักศึกษาในปกครองรวมกลุ่มเพื่อก่อเหตุ ทะเลาะวิวาททาร้าย ร่างกายผู้อื่น หรือ เตรยี มการเพอื่ ก่อเหตุดังกล่าว และให้เจ้าหน้าท่ีของรฐั ท่มี อี านาจหน้าทเี่ กยี่ วกบั เรือ่ งดงั กล่าว ติดตามและสอดส่องให้ มกี ารดาเนินการอย่างเคร่งครัด ในกรณีท่ีพบเด็กและเยาวชนท่ีเป็นนักศึกษา รวมกลุ่มเพื่อกระทาการตามวรรคหนึ่ง ให้ถือเป็นความรับผิดชอบของบิดามารดาหรือผู้ปกครองของเด็กและ เยาวชนที่เป็นนักศึกษาแล้วแต่กรณี และให้ เป็นอานาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามกฎหมายท่ีเก่ียวข้องที่จะแจ้งให้บิดา มารดา หรือผู้ปกครองเข้ามา รับทราบการกระทาของเด็กและเยาวชนท่ีเป็นนักศึกษาดังกล่าว เพื่อให้คาแนะนาตักเตือน ทาทัณฑ์บน หรือวาง ขอ้ กาหนดเพ่อื ปอ้ งกนั มิใหก้ ระทาความผิดอีก หรืออาจให้วางประกันไว้เป็นจานวนเงินตามสมควรแก่ฐานานุรูป แต่ จะเรียกเงินประกันไว้ได้ไม่เกินระยะเวลา สองปี หากเด็กและเยาวชนท่ีเป็นนักเรียน/นักศึกษาได้กระทาความผิด ดังกลา่ วซ้าอีก ใหร้ บิ เงินประกนั เป็นของ กองทุนคมุ้ ครองเด็กตามกฎหมายว่าดว้ ยการคมุ้ ครองเด็ก ๓) ผู้ใดกระทาการอันเป็นการยุยง ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือสนับสนุนให้นักศึกษา ฝ่าฝืนบทบัญญัติตาม มาตรา ๖๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน สามเดือน หรือปรับไม่เกิน สามหม่ืนบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ หากการกระทาตามวรรคหน่ึงเป็นเหตุให้นักเรียน หรือนักศึกษาไปก่อเหตุทะเลาะ ววิ าท หรือทารา้ ยรา่ งกายผ้อู ืน่ ผู้นน้ั ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาท้ัง ปรบั และหากเปน็ เหตใุ หม้ ผี ู้เสียชีวติ เพราะการทะเลาะววิ าทหรือทารา้ ย ร่างกายนนั้ ผนู้ ัน้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน หนึ่งปี หรือปรบั ไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท หรอื ทงั้ จาท้งั ปรับ ๔) ใหโ้ รงเรียนและสถานศกึ ษา มหี นา้ ทจี่ ดั ให้มีกิจกรรมในการแนะแนวเพ่ือตอบสนอง ต่อการแก้ไขปัญหา นกั ศึกษาทะเลาะววิ าท โดยร่วมมือกบั หน่วยงานอน่ื ท่เี ก่ยี วขอ้ ง รวมท้งั กวดขันและ เร่งรัดจัดทามาตรการเพ่ือป้องกัน และแกไ้ ขปัญหาการทะเลาะววิ าทของนกั ศึกษาใหเ้ ปน็ รปู ธรรม เพ่ือเป็น การลดปัญหาสังคมโดยเรง่ ด่วน ๓. นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ การพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป็นคนที่สมบูรณ์ท้ังร่างกายและจิตใจ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขห่างไก ล จากยาเสพติด แอลกอฮอล์ สื่อลามกอนาจาร การพนัน และการทะเลาะวิวาท ซ่ึงเป็นพฤติกรรมเบ่ียงเบนท่ีสังคมไม่ยอมรับ ถือเป็น กลยุทธ์สาคัญของกระทรวงศึกษาธิการในการกาหนดนโยบายโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข ใหส้ ถานศกึ ษาทกุ แห่งดาเนินงาน มีเป้าหมายการดาเนนิ งานดังภาพท่ี ๓ เปา้ หมายสถานศกึ ษา สถานศกึ ษาสขี าว - ปลอดยาเสพติด ปลอดยาเสพตดิ และ - ปลอดแอลกอฮอล์ - ปลอดสื่อลามกอนาจาร อบายมขุ - ปลอดการพนนั - ปลอดการทะเลาะววิ าท ภาพท่ี ๓ เป้าหมายสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ คู่มอื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 6

๓.๑ ปัญหายาเสพตดิ หน้า 7 กระทรวงศึกษาธกิ าร ประกาศนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทด้านความมั่นคง และแผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ ด้านการ จัดการศกึ ษาเพื่อความมน่ั คง ภายใต้กรอบมาตรการสาคัญ ดังน้ี มาตรการท่ี ๑ มาตรการสร้างการรับรแู้ ละการสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ยาเสพตดิ ใน สถานศกึ ษา ๑.๑ สถานศกึ ษาสร้างการรับรูร้ ณรงคป์ ระชาสมั พันธ์ในการป้องกนั และเฝ้าระวัง ปญั หายาเสพติดทีห่ ลากหลายช่องทางในสถานศึกษา เช่น เสยี งตามสายในสถานศกึ ษา ช่องทาง สอ่ื สารในโซเชยี ลมีเดยี รวมถึงการสอดแทรกความรูโ้ ทษพิษภัยยาเสพตดิ ในกิจกรรมการเรียนการ สอนปกติ/กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน และการเสริมสร้างทักษะสาคญั ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับช่วงวัย ๑.๒ ขยายช่องทางการสือ่ สารเพื่อสร้างการรับรู้รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในการป้องกัน และเฝ้าระวัง ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาไปยังเครือข่ายบุคคล/กลไกท่ีเกี่ยวข้องต่าง ๆ เช่น เครอื ขา่ ย นักศึกษา เครือขา่ ยครู เครอื ขา่ ยผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา เครือข่ายคนในชุมชน เปน็ ต้น ๑.๓ ส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ภายใต้ กรอบ ๕ ด้าน คือ การป้องกัน การค้นหาการรักษาการเฝ้าระวัง และการบริหารจัดการ เพ่ือให้เกิด การป้องกัน และแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ ทมี่ คี วามเขม้ แขง็ เป็นระบบ ตอ่ เน่อื ง และยังยนื ๑.๔ ส่งเสริม พฒั นา และยกระดับระบบดูแลช่วยเหลือ/ให้คาปรึกษาในสถานศึกษา ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ โดยเน้นสง่ เสรมิ ใหม้ ีบุคลากรที่มีความรู้เชิงจิตวิทยา เป็นผู้ให้คาปรึกษาแก่นักศึกษา ในสถานศึกษา ดังน้ี ๑.๕ สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดใน สถานศกึ ษาอย่างต่อเน่ือง ดังน้ี ๑) สถานศึกษาท่ีมีการเรียนการสอนระดับชั้นปฐมวัย ให้ส่งเสริม/ประยุกต์ใช้องค์ ความรู้ เพอ่ื การพัฒนาทักษะสมองในการวางรากฐานภูมิคุม้ กันยาเสพติดในเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ๒) สถานศึกษาท่ีมีการเรียนการสอนระดับ ประถมศึกษา ให้เสริมสร้างทักษะชีวิต เพ่ือการป้องกันยาเสพติดโดยบูรณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้(เน้นหนักในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุข ศึกษา และพลศึกษา) ควบคู่การสอดแทรกในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรม สร้างสรรค์เป็นต้น รวมถึงการส่งเสริม สนับสนุน การให้ความรู้เพ่ือการป้องกันยา เสพติด ผา่ นวทิ ยากร ดา้ นการปอ้ งกนั ทห่ี ลากหลาย ตามบริบท และตามความเหมาะสม ๓) สถานศึกษาที่มีการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา ให้ เสริมสรา้ ง ทักษะชีวติ ทกั ษะสังคมและทกั ษะอาชีพอย่างตอ่ เนือ่ ง ผา่ นกิจกรรมการเรียนการสอนปกติ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมตามความสนใจและความถนัด กิจกรรมกลุ่มเพื่อน/เครือข่ายเยาวชน กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรม ในลักษณะการสร้างคุณค่าในตนเอง กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นต้น ควบคู่ การดูแลช่วยเหลือ/ให้คาปรึกษา อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการเฝ้าระวัง ค้นหาคัดกรอง และปรับเปล่ียน พฤติกรรมในรูปแบบทเี่ หมาะสม ๔) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้เร่งค้นหาประชากรวัย เรียน (เด็กและเยาวชนนอกสถานศึกษา) เพื่อเข้าสู่ระบบการศึกษา พร้อมด้วยการให้ความรู้และ เสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อการป้องกันยาเสพติดสอดแทรกในการเรียนการสอนปกติกิจกรรมพัฒนา ผเู้ รยี น และกจิ กรรมสร้างสรรค์ ต่าง ๆ ควบคู่การประสานหน่วยงานในการดูแลช่วยเหลือ ส่งต่อกรณี กลุม่ เป้าหมายทีม่ ีพฤติกรรมเลีย่ งหรือมปี ญั หา ยาเสพตดิ ค่มู อื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา

มาตรการที่ ๒ มาตรการสร้างพ้นื ทป่ี ลอดภยั ในสถานศกึ ษา ๒.๑ สถานศึกษาร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนที่ ดาเนินการค้นหา คัดกรอง (Re-X-ray) นักศึกษา อยา่ งน้อยภาคเรียนละ ๑ ครัง้ โดยขอให้เน้นกล่มุ มธั ยมศึกษาและอาชีวศึกษาที่มีภาวะเสี่ยงต่อ ปัญหายา เสพติดเปน็ เปา้ หมายเรง่ ดว่ นลาดับแรกสดุ และใหจ้ ัดทาข้อมลู รายบุคคลเพอื่ การดแู ลช่วยเหลอื ทีเ่ หมาะสม ๒.๒ สถานศึกษาจดั ให้มีการดแู ลชว่ ยเหลือปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมกลมุ่ เปา้ หมายเร่งดว่ น ดงั นี้ ๑) กลุ่มเสี่ยง (กลุ่มที่อาจมีแนวโน้มเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด) ให้สถานศึกษาเน้น การปรับ ความคิดและพฤติกรรมผู้เรียน โดยการส่งเสริมกิจกรรมเชิงบวก หรือกิจกรรมท่ีช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จัก คุณค่า และมีความภาคภมู ใิ จในตนเอง ร่วมด้วยการให้คาปรึกษา ติดตาม เฝ้าระวังพฤติกรรม และการเยี่ยมบ้าน ทั้งนี้ ให้ สถานศึกษาสร้างช่องทางส่ือสารใกลช้ ดิ กบั ผู้ปกครองอย่างสมา่ เสมอ ๒) กลุ่มใช้ยาเสพติด ให้สถานศึกษาเน้นการดูแลรักษาโดยการท าจิตสังคมในสถานศึกษา เป็น ลาดับแรกสุด โดยความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างครูผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นท่ี โดย สถานศึกษาให้โอกาสผู้เรียนได้เรียนต่อตามปกติท้ังนี้ในกรณีท่ีนักเรียนติดยาเสพติดไม่สามารถดูแลรักษา ใน รูปแบบจิตสังคมในสถานศึกษาได้ขอให้สถานศึกษาพิจารณาร่วมกันระหว่าง ครูผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขในพ้ืนทเ่ี ป็นรายกรณไี ป เพือ่ ดูแลบาบัดรักษาโดยการส่งต่อไปยังสถานพยาบาลในพ้ืนที่ ๒.๓ ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมเครือข่ายเยาวชน ในลักษณะรูปแบบกิจกรรมที่เป็นการ ส่อื สาร ระหว่างเยาวชนถึงเยาวชน เช่น กิจกรรมสร้างพลังเชิงบวก กิจกรรมพัฒนาตนเอง กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ เป็นตน้ ๒.๔ ส่งเสริมและพัฒนาให้มีระบบการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา โดยใช้กลไก บุคคล/เครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วม เช่น ลูกเสือต้านภัยยาเสพติด (มอบบทบาทให้ลูกเสือปฏิบัติหน้าท่ีเฝ้าระวัง ใน สถานศึกษาร่วมกับครู) นักศึกษาแกนนา ครูเครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา คนในชุมชน และให้มี ช่องทางส่ือสารเพ่ือแจ้งขา่ วสาร การแจ้งเตือนสถานการณต์ า่ ง ๆ อยา่ งใกล้ชิด มาตรการที่ ๓ มาตรการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งในสถานศึกษา ๓.๑ ปรับเปลี่ยนทัศนคติเชิงบวกในการเปิดเผยข้อมูลปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาเพ่ือการ ดแู ล ชว่ ยเหลอื ทเี่ หมาะสม รวมถงึ การใหโ้ อกาสนกั เรียนโดยไม่ถอื เป็นความผดิ ของผู้บริหารสถานศึกษา ๓.๒ ดาเนินโครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ภายใต้เกณฑ์มาตรฐานที่ กาหนด ประกอบดว้ ย ๑) ยุทธศาสตร์การดาเนนิ งาน ๕ มาตรการ ได้แก่ มาตรการด้านการป้องกัน มาตรการ ด้านการค้นหา มาตรการด้านการรกั ษา มาตรการด้านการเฝา้ ระวัง และมาตรการด้านการบรหิ ารจดั การ 2) กลยทุ ธ์๔ ตอ้ ง ๒ ไม่ โดย ๔ ตอ้ ง คือ ต้องมียุทธศาสตร์ต้องมีแผนงาน ต้องมรี ะบบ ข้อมลู และต้องมเี ครือขา่ ย และ ๒ ไมค่ ือ ไม่ปกปิดขอ้ มลู และไม่ไลผ่ ู้เรยี นออก ท้งั น้ีเพื่อให้เกิดการป้องกันและ แกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ท่ีมี ความเข้มแขง็ เป็นระบบ ต่อเนื่อง และย่ังยนื นาไปสู่การลดปัญหายาเสพติดและปัญหา พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ แบบองคร์ วมในสถานศึกษา ๓.๓ เน้นบทบาทนักเรียนแกนนา/นักศึกษาแกนนาในการดาเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุขรว่ มกับครู/อาจารย์ทเ่ี ป็นท่ีปรึกษาแกนนา ๓.๔ จดั ทาแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม รองรับการขับเคล่ือนงาน มาตรการที่ ๔ มาตรการอานวยการ ๔.๑ การตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ให้บรรจุประเด็นงานยาเสพติดไว้ใน การตรวจ ติดตาม หรือการนเิ ทศงานในพ้นื ท่ีอยา่ งต่อเนื่อง คมู่ ือการดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 8

๔.๒ ให้สถานศึกษารายงานผลการดาเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในระบบ NISPA (Narcotics Information System for Province Agency) และรายงานสภาพการใช้สารเสพติดและ ยาเสพติดในสถานศึกษา ผ่านระบบดูแลและติดตามการใช้สารเสพติดในสถานศึกษา CATAS (Care And Trace Addiction in School System) นอกจากน้ี ให้หน่วยงานต้นสังกัดระดับพื้นท่ีกากับ ติดตาม ตรวจสอบผลการ รายงานของสถานศกึ ษาอยา่ งสม่าเสมอ ๔.๓ ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ติดตาม การดาเนินโครงการสาคัญที่บรรจุในแผนงานยาเสพติด เช่น โครงการลูกเสือต้านภัยยาเสพติด โครงการค่ายทักษะชีวิตรวมพลังเด็กและเยาวชน การพัฒนากลไก การให้ คาปรึกษาการค้นหา คัดกรอง ดูแลช่วยเหลือโครงการTO BE NUMBER ONE กิจกรรมรณรงค์ป้องกันยาเสพติด ในแตล่ ะกลุม่ เปา้ หมาย การประชุมชแ้ี จงหนว่ ยงาน การประชุมคณะทางาน เปน็ ตน้ 3.2 ปัญหาการดืม่ สุราหรือเครอ่ื งด่มื ท่ีมีแอลกอฮอล์ กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศเร่ืองมาตรการป้องกันมาตรการป้องกันและการแก้ไขปัญห า การบริโภคเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ในสถานศึกษามีนโยบายให้สถานศึกษาทุกแห ง่ ปลอดเหล้า 100% และให้ สถานศกึ ษาสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) ให้ดาเนินการตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 อย่างเคร่งครัด ใน ส่วนทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั สถานศึกษา 2) ให้สถานศกึ ษาทกุ ระดบั ปลอดจากการด่ืมเคร่ืองดมื่ ท่ีมีแอลกอฮอล์ 3) ให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างแก่นักเรียน ไม่ดมื่ แอลกอฮอลใ์ นสถานศึกษา 4) ห้ามนกั เรียนด่มื เครื่องดื่มท่มี แี อลกอฮอล์ในขณะท่สี วมเครอื่ งแบบของสถานศกึ ษา 5) ใหส้ ถานศึกษาสอดแทรกและเน้นย้าเรื่องโทษและพิษภัยของการด่ืมเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์ ในการเรียนการสอนทุกระดบั 6) ให้ สถานศึกษาทุกแห่งจัด กิจกรรมรณ รงค์ สร้างวัฒนธรรมด้านสุขภาพ อนามัย และห้าม นกั ศึกษาดมื่ เครือ่ งดืม่ ท่ีมแี อลกอฮอลใ์ นบริเวณสถานศึกษาทุกระดับ 7) ให้หน่วยงานต้นสังกัด/สถานศึกษาสนับ สนุนการผลิต ส่ือนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ ด้านพิษ ภัยเครื่องด่มื ทีม่ ีแอลกอฮอล์ รวมถึงวจิ ยั กิจกรรมการเรียนรู้เพ่อื ปรับเปลย่ี นพฤติกรรมด้านสุขภาพ ๓.3 ปัญหาสอ่ื ลามกอนาจาร ปัญหาสื่อลามก อนาจาร ปัจจุบันเผยแพร่อย่างแพร่หลายในอินเตอร์เน็ต เว็บไชต์ สื่อออนไลน์ ดังนั้น สถานศึกษาและผู้มีส่วนเก่ียวข้องต้องกากับติดตาม ตรวจสอบ ดูแล เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาตาม แนวทาง ดังน้ี ๑) ควบคุม ดูแล ป้องกันมิให้นักเรียน/นักศึกษานาข้อมูลข่าวสาร สื่อลามกอนาจาร และสื่อ บนั เทงิ ต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั เรือ่ งเพศเขา้ มาเผยแพร่ในสถานศกึ ษา ๒) จัดทาหลักสูตรบูรณาการการสอนในเรื่องเพศศึกษา ศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรมที่ดี และ เหมาะสมในทางสงั คมใหก้ บั นักศึกษา ๓) จัดกิจกรรมและเสริมสร้างค่านิยม ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงามให้กับนักเรียน นักศึกษา เพื่อการปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสม ๔) ประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าท่ี และผู้ท่ีเก่ียวข้องในการตรวจตรา ควบ คุมดูแล ตามแหล่งจาหน่ายและเผยแพร่ ค่มู ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 9

๕) ดาเนินการตรวจค้นยึดส่ิงของและลงโทษหากพบนักศึกษานาสื่อลามกอนาจาร เข้ามาใน สถานศึกษา ให้ติดต่อประสานงานผปู้ กครองเพอ่ื หาแนวทางแก้ไขปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม ๖) มอบครูประจาช้ัน ติดตามและเฝ้าระวังนักศึกษาภายหลังดาเนินการแก้ไขแล้ว เพ่ือเป็นการ แก้ไขปญั หาในระยะตอ่ ไปมิใหเ้ กดิ ขน้ึ ๓.4 ปญั หาการพนนั ปญั หาการพนัน สถานศึกษาตอ้ งดาเนินการทาให้ นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการพนันอย่างเป็น จริงและมีเหตุผลมากขึ้น เน้นให้เห็นถึงอันตรายที่มากับการพนัน เพราะว่ามาตรการการ ป้องกันและแก้ไขปัญหา การพนันใด ๆ จะประสบความสาเร็จมิได้หากไม่สามารถปรับเปล่ียนทัศนคติของนักเรียน นักศึกษา ดังนั้น การ สร้างทักษะในการตัดสินใจเชิงบวกทาให้นักเรียน/นักศึกษามีความเข้มแข็ง รู้จักดูแลควบคุม ความคิด จิตใจ อารมณ์ แก้ปัญหาเป็น การบาบัดแนวพฤติกรรมการรู้คิด (Cognitive Behavioral Therapy) จะเปล่ียนแปลง แนวคิดการรับรทู้ ีบ่ ดิ เบอื น เป็นการคิดอย่างมีเหตุผลและสมจริง มองโลกในแง่บวก จากการวิจัย พบว่าปัญหาการ พนันที่พบมากท่ีสุดคือปัญหาการเล่นการพนันทายผลฟุตบอล ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการมีความ ตระหนักถึง ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นแก่นักศึกษา และผู้ปกครอง จึงกาหนดนโยบายในการป้องกันและ แก้ปัญหาการเล่นพนันบอล ในสถานศึกษา ดังน้ี ๑) ให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา (สพท.) และสถานศึกษาดูแลรับผิดชอบการป้องกันและ แก้ปัญหาการเล่นพนันทายผลฟุตบอลอย่างเป็นรูปธรรม โดยให้ถือเป็นพันธกิจที่ต้องปฏิบัติติทุกระดับช้ัน หาก บคุ ลากรทไี่ ดร้ ับมอบหมายละเลย ให้ถือว่าผู้นั้นจงใจละเลยการปฏิบัติหน้าท่ี ให้ผู้บังคับบัญชาดาเนินการ ทางวินัย ทนั ที ๒) ครู บุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้างประจา และลูกจ้างชั่วคราวในสถานศึกษาต้องให้ ความ รว่ มมือในการป้องกนั และแกป้ ัญหาอย่างเต็มศกั ยภาพ ๓) ขอความรว่ มมอื จากผปู้ กครองและญาตขิ องนักเรยี นให้ดูแลอย่างใกล้ชดิ ๔) หากพบว่าครู บุคลากร และลกู จา้ งในสถานศึกษามพี ฤติกรรมการเล่นพนนั ใหว้ ่ากล่าวตักเตือน หากยงั มีพฤติกรรมเชน่ เดมิ อีกใหพ้ ิจารณาโทษทางวนิ ัย ๕) ให้สถานศึกษาตรวจสอบและประมวลผลการมาสายหรือไม่มาเรียนของนักเรียน ครู และ บุคลากรในสถานศึกษา เปรียบเทียบช่วงก่อนและระหว่างมีการแข ่งขันว่าผิดปกติหรือไม่ และมีผลมาจาก การ แข ง่ ขันฟตุ บอลหรือไม่ พร้อมทัง้ หาแนวทางแก้ไขใหเ้ หมาะสม ๖) ให้สถานศึกษาติดตามตารางการแข่งขันพร้อมท้ังบันทึกตารางการแข่งขันฟุตบอลให้นักเรียน ทราบ เพอ่ื บรกิ ารเปดิ ใหน้ ักเรียนชมในเวลาทเี่ หมาะสม ๗) หากโรงเรียนประสบ ปัญหาพนันบอลไม่สามารถแก้ปัญหาเองได้ สามารถประสานความช่วย เหลอื มาได้ที่ สานกั พัฒนากจิ กรรมนักเรยี น สานกั งานคณะกรรม การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ๓.5 ปัญหาการทะเลาะววิ าท ปัญหาทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษามีการก่อเหตุทะเลาะวิวาทและทาร้ายร่างกายกัน บางกรณี มีผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บถึงข้ันทุพพลภาพและถึงแก่ชีวิต นักเรียน/นักศึกษาบางรายเป็นผู้เกี่ยวข้อง โดยตรงหรืออยู่ในเหตุการณ์ ก่อให้เกิดการเสียขวัญและเป็นที่วิตกกังวลของผู้ปกครองและสังคมทั่วไป กระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักในปัญหาดังกล่าว จึงได้กาหนดมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา การทะเลาะวิวาทของนักเรียนนกั ศึกษา ดงั น้ี ๑) ให้สถานศึกษาประสานงานกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องร่วมกันเฝ้าระวัง คมู่ ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 10

ตรวจตาม จุดเส่ียงสมา่ เสมอ และมเี จ้าหน้าที่ตารวจเฝา้ ระวังหน้าประตสู ถานศึกษาในช่วงเชา้ และชว่ งเลกิ เรยี น ๒) จัดประชุมภาคเี ครือขา่ ยเป็นประจาทุกเดอื น โดยสถานศกึ ษาร่วมกับเจ้าหน้าท่ีตารวจ ทหาร และ หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ๓) การบังคับใช้กฎหมายโดยการประสานให้เจ้าหน้าที่ตารวจใช้กฎหมายเข้มงวด หากพบ ผู้กระทาผิด ให้ดาเนินการตามกฎหมายขั้นสงู สดุ ๔) ให้สถานศึกษาจัดประชุมผู้ปกครองนักเรียน/นักศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ช่วยกัน สอดส่องดแู ลบุตรหลาน โดยเฉพาะเวลาเดินทางไป-กลับ เพอ่ื ป้องกันเหตุร้ายทอี่ าจจะเกดิ ได้ ๕) สร้างความรู้ ความเขา้ ใจกบั นักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครองตามประกาศคาส่ังหัวหน้า คณะ รักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ท่ี ๓๐/๒๔๔๙ เร่ือง มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทะเลาะ วิวาท ของนักเรียน/นักศึกษา โดยถือปฏบิ ัตอิ ยา่ งเครง่ ครัด ๖) อบรมนกั เรยี น/นักศึกษาให้อยูใ่ นระเบยี บวนิ ัยของสถานศกึ ษาและปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย บ้านเมอื ง ๗) ให้สถานศกึ ษาจดั ทาแผนและปฏิทินกาหนดแผนงาน และวธิ ีการปอ้ งกันการทะเลาะววิ าท ของ สถานศกึ ษาให้ชดั เจน ๘) ให้สถานศึกษาสารวจ เฝ้าระวัง และติดตาม ดูแลพฤติกรรมนักเรียน/นักศึกษาท่ีเสี่ยงต่อ การกระทาผดิ อย่างใกลช้ ิด พร้อมจัดกิจกรรมปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมอย่างต่อเน่ือง ๙) ให้สถานศกึ ษาจัดทาแฟม้ ประวัตินักเรียน/นักศึกษากลุ่มเสี่ยง และครูท่ีปรึกษาออกตรวจเย่ียม บ้าน นกั ศกึ ษาอย่างทั่วถึง จากนโยบายกระทรวงศึกษาธิการดังกล่าวมีความสอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ ได้กาหนด ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษาภายใต้ ๖ ยุทธศาสตร์ โดยการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ดาเนินงาน ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง แผนระดับ 3 ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 มีเป้าหมายคือ “คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแล และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ ” โดยกระทรวงศึกษาธิการตระหนักและเห็นความสาคัญถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้กาหนดให้สถานศึกษาในสังกัด ดาเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ในสถานศึกษา คมู่ อื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 11

บทท่ี 2 การดาเนนิ งานขับเคลื่อนกิจกรรมหอ้ งเรยี นสขี าว ห้องเรียนสีขาว/แผนกสีขาว หมายถึง ห้องเรียน/แผนกเรียนท่ีปลอดสารเสพติด ยาเสพติด และอบายมุข รวมถึงปัจจัยเสี่ยงทุกชนิด โดยมีการดาเนินงานของนักเรียนแกนนา ๔ ฝ่ายในด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา สารเสพติด/ยาเสพติด อบายมุข และพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ของสมาชิกในห้องเรียน/แผนกเรียน เพ่ือสร้าง ภมู ิคุ้มกนั ยาเสพติดและอบายมขุ ดว้ ยสภาพของสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธิการที่มีความแตกต่างตามพ้ืนที่ตั้งแต่จานวน นักศึกษา สภาพอาคารสถานท่ี สภาพแวดล้อมของชุมชนและสังคม เพ่ือให้การประเมินห้องเรียนสีขาว/แผนกสีขาว เป็นไป ตามสภาพของสถานศึกษาที่มีความแต กต่างกันศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงศึกษาธิการ (ศอ.ปส.ศธ.) จึงได้กาหนดให้มีการประเมินสถานศึกษาที่มีผลดาเนินงานห้องเรียนสีขาว/ แผนกสีขาว เปน็ ๓ ระดบั ดังน้ี 1. ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 1.1 ระดบั ประถมศึกษา ระดับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ดาเนินการห้องเรียนสี ขาวทุกตาบล ท่ีศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ (กศน.อาเภอ) 1.2 ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (กศน.) ดาเนนิ การห้องเรยี นสีขาว ทกุ ตาบล ทีศ่ นู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ (กศน.อาเภอ) เพ่ือให้การดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมห้องเรียนสีขาวให้สถานศึกษาแต่งตั้ง คณะทางานห้องเรียนสีขาวทุกห้องเรียน/แผนกสีขาวทุกแผนก ท้ังนี้ ขอให้คานึงถึงผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงาน ตาม วัตถุประสงคข์ องกจิ กรรมห้องเรียนสีขาว/แผนกสขี าวใหเ้ กิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล โดยมีแนวทาง การ ดาเนนิ งานดังน้ี ๑. กลยุทธ์และกจิ กรรมห้องเรยี นสีขาว/แผนกสีขาว การดาเนินงานของกิจกรรมห้องเรียนสีขาว ได้กาหนดกลยุทธ์เพื่อเป็นกระบวนการ ในการ ดาเนินงานภายในกิจกรรมห้องเรียนสีขาว มีองค์ประกอบท้ัง ๔ ด้าน คือ มีแหล่งเรียนรู้ ดูแลช่วยเหลือ เอื้อเฟ้ือ ด้วยคุณธรรม และสรา้ งสรรคด์ ว้ ยกิจกรรม โดยมีรายละเอียดดังน้ี ๑.๑ มีแหล่งเรียนรู้มีการจัดกิจกรรมในห้องเรียน/แผนกเรียน เช่น จัดบอร์ด จัดทาส่ือท่ีเป็น สิ่งพิมพ์ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จดหมายข่าว ฯลฯ ที่ให้ความรู้เก่ียวกับยาเสพติด แอลกอฮอล์ สื่อลามก อนาจาร การพนัน การทะเลาะววิ าท โรคเอดส์ การตัง้ ครรภ์ก่อนวัยอันควร อบายมุข อุบัติภัย โดยนาสถานการณ์ ข่าวสารทกุ ด้านมาเสนอให้เพ่ือนนกั เรียน/นกั ศกึ ษารับรู้ตามสถานการณป์ จั จุบัน ๑.๒ ดูแลช่วยเหลือ จัดให้มีนักเรียนแกนนา/นักศึกษาแกนนา เพื่อให้คาปรึกษาดูแลช่วยเหลือ ซึ่งกัน และกัน ตอบสนองปัญหาของพฤติกรรมของนักเรียน/นักศึกษา และช่วยเหลือด้านการเรียนโดยให้คาปรึกษา แนะนา และให้ การช่วยเหลือ หากไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ให้ รายงานครปู ระจา กศน.ตาบล ทราบเพือ่ พจิ ารณาดาเนินการต่อไป ๑.๓ เอื้อเฟื้อด้วยคุณธรรม มีหลักธรรมประจาห้องเรียน(กศน.ตาบล) เพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีคติพจน์หรือ หลักธรรมคาสอนตามศาสนาท่ตี นนับถือมาเป็นหลักยดึ ปฏบิ ัตใิ นห้องเรยี นเช่นพรหมวิหาร ๔(มคี วามเมตตากรุณามทุ ติ าอเุ บกขา) จะทาใหท้ กุ คนรกั กันช่วยเหลอื กันเป็นตน้ คู่มอื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 12

๑.๔ สรา้ งสรรคด์ ว้ ยกิจกรรม มีกจิ กรรมทสี่ รา้ งสรรคท์ จ่ี ะช่วยใหม้ คี วามสามคั คี และใช้เวลาว่าง ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ไม่ไปม่ัวสุมกับยาเสพติด แอลกอฮอล์ ส่ือลามกอนาจารการพนัน การทะเลาะวิวาท เช่น การเล่น กีฬา การเล่นดนตรีศิลปะ และกิจกรรมตามท่ีกลุ่มสนใจร่วมกันจัดทาข้ึน เพื่อพัฒนาร่างกายและจิตใจ รวมท้ัง กิจกรรมทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษาร่วมกับชุมชนด้วยกระบวนการ “บวร”(บ้าน วดั โรงเรยี น) มีแหล่งเรียนรู้ ฝ่ ายการเรียน นกั ศกึ ษาแกนนา ผ้เู รียน กลยทุ ธ์ มแี หลง่ เรียนรู้ ฝ่ายการงาน นกั ศกึ ษาแกนนา ผ้เู รียน มแี หล่งเรียนรู้ ฝ่ายสารวัตรนักเรยี น นกั ศกึ ษาแกนนา ผ้เู รียน มแี หล่งเรียนรู้ ฝ่ายกจิ กรรม นกั ศกึ ษาแกนนา ผ้เู รียน ภาพที่ 4 กลยุทธ์และกจิ กรรมห้องเรยี นสีขาว ๒. การจดั องค์กรภายในหอ้ งเรียนสีขาว/แผนกสีขาว การขับเคลื่อนกลยุทธ์ท้ัง ๔ ด้านของห้องเรียนสีขา คือ มีแหล่งเรียนรู้ ดูแลช่วยเหลือ เอ้ือเฟ้ือ ด้วยคุณธรรม สร้างสรรค์ด้วยกิจกรรม จะต้องมีกลไกของการขับเคล่ือนการทางานในรูปของการจัดองค์กร ภายในห้องเรียนสขี าว ประกอบดว้ ยนกั ศึกษาแกนนา แบง่ ออกเป็น ๔ ฝ่าย คอื ฝ่ายการเรียน ฝา่ ยการงาน ฝา่ ยสารวัตรนักเรียน และฝ่ายกิจกรรม โดยมีภาระหน้าท่ี ดังน้ี 1) หัวหนา้ ห้องเรียน/แผนกเรยี น ปฏิบตั หิ น้าที่ ดังน้ี ๑.๑ อานวยการ กากบั ดแู ล สง่ั การ การดาเนินงานของทุกฝ่าย ๑.๒ ประสานงาน รายงาน บันทึก และสรุปผลการดาเนนิ งานของทกุ ฝ่าย ๑.๓ ช่วยดูแลแก้ไข ให้คาปรึกษาข้อปญั หาของเพื่อน ๆ และน้อง ๆ ทถ่ี ูกต้อง ๑.๔ รายงานปญั หา อุปสรรค ความต้องการช่วยเหลอื ใหค้ รูประจาชัน้ อาจารย์ทีป่ รึกษา เพอ่ื ทราบ และแกไ้ ขปัญหา ๑.๕ ตรวจสอบสมุดบันทึกการปฏิบัติงานของแกนนา 4 ฝ่าย และปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย 2) รองหัวหนา้ ฝ่ายการเรยี น ปฏิบตั ิหน้าท่ี ดังน้ี ๒.๑ รับผิดชอบการดูแลช่วยเหลอื การบ้าน ชว่ ยสอน อธบิ าย และงานด้านวชิ าการ ๒.๒ รับผดิ ชอบการดูแลและร่วมมอื ใหผ้ ลสัมฤทธิ์การเรียนบรรลุตามวตั ถุประสงค์ ๒.๓ รบั ผดิ ชอบงานดา้ นวชิ าการทกุ กลุ่มสาระวิชาที่ได้รบั มอบหมาย ๒.๔ รับผิดชอบจดั แหล่งเรยี นรู้มุมความรปู้ า้ ยนิเทศภายในห้องเรียน/แผนกเรียน ๒.๕ บันทกึ ผลการปฏิบัติงานทุกวันและปฏบิ ัติงานอน่ื ๆ ตามท่ไี ด้รับมอบหมาย คมู่ ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 13

3) รองหัวหน้าฝ่ายการงาน ปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ดังน้ี ๓.๑ รบั ผดิ ชอบความสะอาด ความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยในห้องเรียน/แผนกเรยี น ๓.๒ รบั ผิดชอบของค่าวสั ดุอุปกรณ์ประตหู น้าต่างภาย ในห้องเรยี น หากชารดุ แจ้งงาน อาคารสถานที่ ๓.3 ตรวจสอบจดุ เสยี่ ง ตรวจสอบอปุ กรณไ์ ฟฟา้ และต้องมมี าตรการป้องกันอัคคีภัย อบุ ตั ิเหตุ ทงั้ ภายในห้องเรียน 3.4 จดั ทาตรวจสอบ ติดตาม และดูแลรักษาสมดุ บันทึกการปฏบิ ตั งิ านของแกนนา 4 ฝ่าย ๓.๕ บนั ทึกผลการปฏิบตั ิงานทุกวันและปฏิบัตงิ านอน่ื ๆ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 4) รองหวั หน้าฝ่ายสารวัตรนกั เรียน ปฏบิ ัติหนา้ ที่ ดงั น้ี ๔.๑ รบั ผดิ ชอบตรวจสอบการน าสารเสพติด ยาเสพติด อาวธุ เขา้ มาภายใน สถานศึกษา ๔.๒ รับผิดชอบเฝ้าระวังไม่ให้มีการสูบบุหร่ี ดื่มแอลกอฮอล์ เสพยาเสพติด เล่นการ พนนั การดสู ื่อ ลามกอนาจาร การทะเลาะววิ าท การแตง่ กายท่ีเหมาะสมในกลุ่มเพือ่ น ๔.๓ การให้คาแนะนา คาปรึกษา ปัญหาพฤติกรรมเสี่ยง ให้มีทางออกของปัญหาท่ี ถกู ต้อง 4.4 กาหนดมาตรการในการแก้ไขพฤตกิ รรมเสยี่ งของ นกั ศึกษาในหอ้ งเรยี น ๔.5 การรายงานพฤตกิ รรมท่ีไม่สามารถแก้ปญั หาได้ให้ครูประจาช้ัน อาจารยท์ ปี่ รึกษา เฝ้าระวงั และชว่ ยแกไ้ ขปัญหาพฤติกรรมท่ีไปเก่ียวข้องกบั ยาเสพตดิ ๔.6 บนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิงานทกุ วันและปฏิบัตงิ านอนื่ ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย 5) รองหัวหนา้ ฝ่ายกิจกรรม ปฏิบตั หิ น้าท่ี ดังน้ี ๕.๑ รบั ผดิ ชอบงานกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์/กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นในหอ้ งเรยี น/แผนก เรียน ในสถานศกึ ษา และนอกสถานศึกษา เชน่ วนั สาคัญ กีฬา วิชาการ เป็นตน้ ๕.2 ประสานงานระหวา่ ง ครู ผปู้ กครอง นักเรียน/นกั ศึกษา และชมุ ชนในการจดั กจิ กรรม 5.3 จัดทาโครงงานห้องเรียนปลอดบหุ รี่ หรอื ปลอดแอลกอฮอล์ หรือ ปลอดยาเสพตดิ หรอื ปลอดสือ่ ลามกอนาจาร หรือ ปลอดการพนนั หรือ ปลอดการทะเลาะวิวาท ๕.4 บันทกึ ผลการปฏิบัตงิ านทุกวนั และปฏิบัตงิ านอื่น ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย ค่มู ือการดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 14

ค่มู ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 15

ภาพท่ี 6 ตวั อย่างแผนผงั คณะทางานหอ้ งเรียนสีขาว 3. มาตรฐานและตัวบ่งชีใ้ นการประเมินกิจกรรมห้องเรยี นสีขาว ประกอบด้วยมาตรฐาน 4 ฝ่าย 16 ตวั บง่ ชี้ 100 คะแนน ดงั นี้ ๑. มาตรฐานฝา่ ยการเรียน (๒5 คะแนน) ประกอบดว้ ย ๔ ตวั บง่ ชีด้ งั น้ี ๑.1 จัดต้ังทมี งานแกนนารบั ผิดชอบงานฝ่ายการเรียนของห้องเรยี น (๕ คะแนน) 1.2 ทมี งานแกนนามีกระบวนการช่วยเหลอื เพื่อนในห้องเรียน/แผนกเรยี น เพื่อให้มีความรู้ ความเขา้ ใจในกจิ กรรมการเรียนการสอน (๕ คะแนน) 1.3 ทมี งานแกนนาจดั ทาแบบสรุป ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของ นกั ศกึ ษาทุกคน ใน หอ้ งเรียน (๕ คะแนน) 1.4 ทีมงานแกนนาจัดทาแหล่งเรยี นรู้/มุมความรู้/ปา้ ยนิเทศใน แผนกเรียน (10 คะแนน) ๒. มาตรฐานฝา่ ยการงาน (๒5 คะแนน) ประกอบดว้ ย ๔ ตวั บ่งชด้ี ังน้ี 2.1 จัดตงั้ ทมี งานแกนนารับผิดชอบงานฝา่ ยการงานของห้องเรียน (๕ คะแนน) 2.2 ทมี งานแกนนาดูแลพ้นื ท่ภี ายในห้องเรยี น/แผนกเรียนและรอบ หอ้ งเรยี น (๕ คะแนน) 2.3 ทมี งานแกนนาดูแลทรัพย์สนิ และความปลอดภัยในหอ้ งเรยี น/แผนกเรียน (๕ คะแนน) 2.4 ทีมงานแกนนาจัดทาตรวจสอบ และติดตาม สมุดบันทึกการปฏิบัติงาน 4 ฝ่าย ตาม โครงสรา้ งห้องเรียนสีขาว (10 คะแนน) คู่มือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 16

๓. มาตรฐานฝ่ายสารวัตรนกั เรยี น (๒5 คะแนน) ประกอบดว้ ย ๔ ตวั บ่งช้ดี งั นี้ 3.1 จัดตั้งทีมงานแกนนารับผิดชอบงานฝา่ ยสารวัตรนักเรยี นในห้องเรยี น (๕ คะแนน) 3.2 ทมี งานแกนนามีกระบวนการดาเนนิ งานฝา่ ยสารวตั รนกั เรียนในหอ้ งเรยี น (๕ คะแนน) 3.3 ทีมงานแกนนามีการกาหนดมาตรการการแกไ้ ขพฤตกิ รรมเส่ียงของนกั เรยี น/นักศึกษาใน ห้องเรยี น (๕ คะแนน) 3.4 ทมี งานแกนน ามีการบันทกึ การด าเนนิ งานตามมาตรการการแกไ้ ขพฤติกรรมเส่ียงของ นกั เรียน/ นักศึกษาในห้องเรียน/แผนกเรียน (10 คะแนน) ๔. มาตรฐานฝ่ายกิจกรรม (๒5 คะแนน) ประกอบดว้ ย ๔ ตัวบง่ ช้ดี ังน้ี 4.1 จดั ต้งั ทมี งานแกนนารับผิดชอบงานฝ่ายกจิ กรรมของห้องเรียน (๕ คะแนน) 4.2 ทีมงานแกนนาจัดกิจกรรมเชิงสรา้ งสรรค์ภายในหอ้ งเรียน (๕ คะแนน) 4.3 ทมี งานแกนนาให้ความร่วมมือการจัดกจิ กรรมเชิงสร้างสรรค์นอกห้องเรียน (๕ คะแนน) 4.4 ทมี งานแกนนาจดั ทาโครงงานเกย่ี วกบั ห้องเรยี นปลอดบุหร่ี หรอื ปลอดแอลกอฮอล์ หรอื ปลอดยาเสพตดิ หรือ ปลอดส่ือลามกอนาจาร หรือ ปลอดการพนนั หรอื ปลอดการทะเลาะวิวาท (10 คะแนน) สรปุ ผลการประเมนิ กจิ กรรมห้องเรยี นสีขาว คะแนน ระดับคุณภาพ ต่ากวา่ ๖๐ ปรบั ปรุง ๖๐ - ๖๙ พอใช้ ๗๐ - ๗๙ ดี ๘๐ - ๘๙ ดมี าก ๙๐ - ๑๐๐ ดเี ดน่ คมู่ อื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 17

หอ้ งเรยี นสีขาว 1/4 แบบประเมนิ ผลการดาเนนิ งานกิจกรรมหอ้ งเรยี นสขี าว ภาคเรยี นท.่ี ..........ปกี ารศึกษา....................... สังกดั สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตอนที่ ๑ ขอ้ มลู ทั่วไป ๑.๑ ข้อมูลสถานศกึ ษา ชอื่ สถานศกึ ษา............................................................................................................................................... สถานท่ีตง้ั ...................................................................................................................................................... สงั กัด ............................................................................................................................................................ โทรศัพท.์ ..................................โทรสาร...............................E-mail : ........................................................... จานวนนกั ศึกษาทั้งหมด...........................คน จานวนห้องเรยี นตาบลทั้งหมด................................หอ้ ง ๑.๒ ข้อมลู ห้องเรียนสขี าว หอ้ งเรียนระดับประถมศึกษา ◻ ช้นั ปที ่ี............... ห้องเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ◻ ชั้นปีท่ี............... ห้องเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ◻ ชนั้ ปที ่ี............... หอ้ งเรยี นระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ◻ ชน้ั ปีที่............... จานวนนกั ศกึ ษาในหอ้ งเรียนท้งั หมด..............คน จานวนนกั ศกึ ษาแกนนา ๔ ฝา่ ย.............คน ช่อื – นามสกุล ครทู ่ีปรึกษา........................................................................................................................................ ชอื่ – นามสกุล หัวหนา้ หอ้ งเรียน............................................................................................................................ .... ชื่อ – นามสกลุ รองหัวหน้าห้องฝา่ ยการเรยี น............................................................................................................. ชอ่ื – นามสกุล รองหวั หนา้ ห้องฝ่ายการงาน............................................................................................................... ชื่อ – นามสกลุ รองหัวหนา้ ห้องฝ่ายสารวัตรนักเรียน................................................................................................. ชื่อ – นามสกลุ รองหัวหน้าห้องฝ่ายกิจกรรม.............................................................................................................. ๑.๓ คาชแ้ี จงการประเมิน ๑.๓.๑ ระดบั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดาเนนิ การห้องเรยี นสขี าวทกุ ตาบล ๑.๓.๒ ให้ผู้ประเมินทาเครอื่ งหมาย X ในช่องคะแนนการประเมนิ ผลท่ีปฏิบตั แิ ละสรปุ รวมคะแนน ในแตล่ ะ มาตรฐาน ๑.๓.๓ ใหผ้ ู้ประเมินสรุปผลคะแนนการประเมินทกุ มาตรฐานรวมกันแลว้ คิดเปน็ ระดบั คณุ ภาพ โดยใช้เกณฑ์การ ประเมิน ดังนี้ คะแนน ระดับคุณภาพ ต่ากว่า 60 ปรับปรงุ 60-69 พอใช้ 70-79 ดี 80-89 ดีมาก 90-100 ดเี ดน่ คมู่ อื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 18

ตอนที่ ๒ เกณฑ์การประเมิน ๑. มาตรฐานฝา่ ยการเรยี น (๒5 คะแนน) ตัวบง่ ชี้ เกณฑก์ ารประเมินผล หลกั ฐานร่องรอย ๑.๑ จดั ตง้ั ทมี งานแกนนา คะแนน รายการ ๑. มีคาส่ังแตง่ ตงั้ คณะทางาน รับผดิ ชอบ งานฝา่ ยการ ๒. มีบนั ทึกการประชวุ างแผน เรยี นของห้องเรียน 0 ไม่มีการดาเนนิ งาน ๓. มกี ารปฏิบตั งิ านตามแผน (๕ คะแนน) ๑ มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1 ๔. มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผล ๕. สรุปรายงานผลการดาเนินงาน ๒ มกี ารดาเนนิ งานตามข้อ 1 - 2 ๓ มกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 3 ๑. กจิ กรรมท่ผี สู้ อนมอบหมาย ๔ มีการดาเนนิ งานตามข้อ 1 - 4 เชน่ การสง่ งาน เป็นตน้ ๕ มกี ารดาเนินงานตามขอ้ 1 - 5 ๒. กิจกรรมเพอ่ื นสอนเพอ่ื น เชน่ การบา้ น เปน็ ต้น ๑.๒ ทีมงานแกนนามี 0 ไมม่ ีการดาเนินงาน ๓. กิจกรรมทบทวนความรู้ กระบวนการ ชว่ ยเหลือเพอ่ื นใน ๑ มกี ารดาเนินงาน 1 รายการ เชน่ การตวิ เป็นตน้ ห้องเรยี น เพอื่ ใหม้ ี ความรู้ ๒ มกี ารดาเนินงาน 2 รายการ ๔. กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ ดา้ นวชิ าการ ความเข้าใจในกิจกรรมการ ๕. กิจกรรมแขง่ ขนั ทักษะด้านวิชาการ ๓ มกี ารดาเนินงาน 3 รายการ เชน่ การแขง่ ขนั การประกวดเปน็ ตน้ เรียน การสอน (๕ คะแนน) ๔ มกี ารดาเนินงาน 4 รายการ ๕ มกี ารดาเนนิ งาน 5 รายการ ๑.3 ทมี งานแกนนาจดั ทา 0 ไมม่ ีการดาเนนิ งาน 1. ผลการเรยี นเฉลย่ี ตา่ กวา่ ๑.๐๐ แบบสรปุ ผลสมั ฤทธิท์ างการ 2. ผลการเรียนเฉลีย่ ๑.๐๐ - ๑.๔๙ เรยี นของนักศกึ ษา ทกุ คนใน ๑ มีผลการดาเนนิ งานตามข้อ 1 3. ผลการเรยี นเฉล่ยี ๑.๕๐ - ๑.๙๙ ๒ มผี ลการดาเนินงานตามขอ้ 2 4. ผลการเรียนเฉลี่ย ๒.๐๐ - ๒.๔๙ ห้องเรยี น (๕ คะแนน) ๓ มผี ลการดาเนนิ งานตามข้อ 3 5. ผลการเรียนเฉลี่ย ๒.๕๐ ขน้ึ ไป *แนบแบบสรปุ ผลสมั ฤทธ์ริ าย ๔ มผี ลการดาเนนิ งานตามข้อ 4 ห้องเรยี น* ๕ มีผลการดาเนินงานตามขอ้ 5 ๑. มีการจดั บอรด์ /ปา้ ยนิเทศ ๑.4 ทมี งานแกนนาจดั ทาแหล่ง 0 ไม่มีการดาเนนิ งาน ๒. มกี ารจัดหา/จดั ทาสื่อในห้องเรยี น ๓. มีการจัดมมุ ความรใู้ นห้องเรียน เรียนร/ู้ มุมความร/ู้ ป้ายนิเทศ 2 มกี ารดาเนนิ งาน 1 รายการ 4. มีการปรับเปลี่ยนขอ้ มลู ตาม ในห้องเรยี น (10 คะแนน) สถานการณป์ ัจจบุ นั 4 มีการดาเนินงาน 2 รายการ 5. ทะเบยี นแหล่งเรยี นรใู้ นหอ้ งเรียน 6 มีการดาเนินงาน 3 รายการ 8 มกี ารดาเนนิ งาน 4 รายการ 10 มกี ารดาเนินงาน 5 รายการ สรุปรวมคะแนนมาตรฐาน ฝ่ายการเรียน คู่มือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 19

๒. มาตรฐานฝ่ายการงาน (๒5 คะแนน) ตัวบง่ ชี้ เกณฑ์การประเมินผล หลกั ฐานรอ่ งรอย ๒.๑ จัดตง้ั ทีมงานแกนนา คะแนน รายการ ๑. มคี าส่งั แต่งต้ังคณะทางาน รับผดิ ชอบ งานฝ่ายการงาน ๒. มีบันทึกการประชุมวางแผน ของหอ้ งเรียน 0 ไม่มีการดาเนินงาน ๓. มีการปฏิบัตงิ านตามแผน (๕ คะแนน) ๑ มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1 ๔. มกี ารติดตามประเมนิ ผล ๒ มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1 - 2 ๕. สรปุ รายงานผลการดาเนนิ งาน ๓ มีการดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 3 ๑. มตี ารางเวรทาความสะอาด ๔ มีการดาเนนิ งานตามข้อ 1 - 4 2. ความสะอาดและความเป็น ๕ มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1 - 5 ระเบียบ เรยี บรอ้ ยภายในหอ้ งเรยี น 3. มแี ผนผังนักเรยี นแกนนา 4 ๒.๒ ทีมงานแกนนาดแู ลพื้นท่ี 0 ไม่มกี ารดาเนนิ งาน ฝ่าย หนา้ หอ้ งเรยี น ภายใน ห้องเรยี นและรอบ 4. มคี ติพจน์ ห้องเรียน ๑ มีการดาเนนิ งาน 1 รายการ ๕. มขี อ้ ตกลงในห้องเรียน (๕ คะแนน) ๒ มีการดาเนนิ งาน 2 รายการ ๓ มกี ารดาเนนิ งาน 3 รายการ ๑.มีทะเบียนทรัพยส์ ินของ หอ้ งเรยี น เช่น โตะ๊ เกา้ อี้ ตู้ เปน็ ตน้ ๔ มีการดาเนินงาน 4 รายการ ๕ มีการดาเนนิ งาน 5 รายการ ๒.มมี าตรการดา้ นการดูแลรักษา ๓.มมี าตรการดา้ นความปลอดภยั ๒.๓ ทมี งานแกนนาดูแล 0 ไม่มกี ารดาเนนิ งาน ๔. มีการซอ่ มแซม/ปรบั ปรงุ ทรัพย์สนิ และความปลอดภยั ใน มกี ารดาเนนิ งาน 1 รายการ ๕. มสี ภาพพร้อมใช้งาน ๑ มกี ารดาเนินงาน 2 รายการ หอ้ งเรียน (๕ คะแนน) ๒ มีการดาเนินงาน 3 รายการ ๑. จัดทาแบบบันทึกการ ๓ มกี ารดาเนินงาน 4 รายการ ปฏิบัตงิ าน 4 ฝา่ ย มีการดาเนนิ งาน 5 รายการ ๔ ๒. ตรวจสอบการบันทกึ ขอ้ มูล ๕ ไมม่ ีการดาเนนิ งาน การปฏิบตั ิงาน 4 ฝ่าย มีการดาเนนิ งาน 1 รายการ ๒.๔ ทมี งานแกนนาจดั ทา 0 มีการดาเนนิ งาน 2 รายการ ๓. ติดตามสมดุ บนั ทกึ การ 2 มกี ารดาเนินงาน 3 รายการ ปฏิบัติงาน 4 ฝา่ ย ตรวจสอบ และตดิ ตาม สมดุ มีการดาเนินงาน 4 รายการ 4 มีการดาเนนิ งาน 5 รายการ ๔. ดูแลรกั ษาสมุดบนั ทึกการ บันทกึ การปฏบิ ตั ิงาน ๔ ฝา่ ย 6 ปฏิบตั ิงาน 4 ฝา่ ย ตามโครงสรา้ งห้องเรียนสขี าว 8 ๕. สมุดบันทกึ ขอ้ มูลการ (10 คะแนน) 10 ปฏบิ ตั ิงาน 4 ฝ่ายครบถว้ น สรุปรวมคะแนนมาตรฐานฝา่ ย การงาน คมู่ อื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 20

๓. มาตรฐานฝ่ายสารวตั รนักเรียน (๒5 คะแนน) ตัวบง่ ชี้ เกณฑก์ ารประเมินผล หลักฐานรอ่ งรอย ๓.๑จัดต้งั ทีมงานแกนนา คะแนน รายการ ๑. มคี าสั่งแตง่ ตัง้ คณะทางาน รบั ผดิ ชอบงานฝา่ ยสารวัตร ๒. มีบันทึกการประชมุ วางแผน นกั เรยี นในหอ้ งเรยี น(๕ คะแนน) 0 ไมม่ ีการดาเนนิ งาน ๓. มีการปฏิบัติงานตามแผน ๔. มีการตดิ ตามประเมินผล ๓.๒ ทีมงานแกนนามี ๑ มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 ๕. สรุปรายงานผลการดาเนินงาน กระบวนการ ดาเนินงานฝา่ ย ๒ มกี ารดาเนนิ งานตามข้อ 1 - 2 สารวตั รนักเรียน ใน ๓ มกี ารดาเนินงานตามขอ้ 1 - 3 หอ้ งเรียน (๕ คะแนน) ๔ มกี ารดาเนินงานตามขอ้ 1 - 4 ๕ มกี ารดาเนนิ งานตามข้อ 1 - 5 0 ไม่มีการดาเนนิ งาน ๑. มีการสารวจพฤตกิ รรมเสย่ี งของ เพือ่ นในห้องเรยี น ๑ มีการดาเนนิ งานตามข้อ 1 ๒ มกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 2 ๒. จดั ทาขอ้ มูลพฤตกิ รรมเส่ยี งของ ๓ มกี ารดาเนนิ งานตามข้อ 1 - 3 เพือ่ นในห้องเรยี น ๔ มีการดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 4 ๓. รายงานขอ้ มูลให้ครูทป่ี รกึ ษาทราบ ๕ มกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 5 ๔. ครูท่ปี รกึ ษาแก้ปญั หา ๕. รายงานฝ่ายกจิ การนักเรยี น ของ สถานศกึ ษาทราบ ๓.๓ ทีมงานแกนนามีการกาหนด 0 ไม่มกี ารดาเนนิ งาน ๑. มาตรการแกป้ ญั หาการมาสาย/ ไมเ่ ขา้ เรยี น มาตรการการแกไ้ ขพฤตกิ รรม ๑ มีการดาเนนิ งานตามขอ้ 1 ๒. มาตรการแกป้ ญั หาการแตง่ กาย ไม่ถูก ๒ มีการดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 2 ระเบียบ เสยี่ ง ของนักศึกษาในหอ้ งเรยี น (๕ คะแนน) ๓ มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1 - 3 ๓. มาตรการแก้ปัญหาการใช้บุหรี่ ยาเสพติด ๔ มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 - 4 แอลกอฮอล์ ๕ มกี ารดาเนินงานตามขอ้ 1 - 5 ๔. มาตรการแก้ปญั หาการทะเลาะววิ าท ๕. มาตรการแกป้ ญั หาพฤติกรรมเสีย่ ง ด้านอื่น ๆ เชน่ การพนัน ติดเกม ส่อื ลามก อนาจาร พฤติกรรมชสู้ าว เป็นตน้ ๓.๔ ทมี งานแกนนามกี าร 0 ไมม่ ีการดาเนินงาน ๑. มีการบันทึกการมาสาย/ไมเ่ ขา้ เรยี น บนั ทึกการ ดาเนินงานตาม มาตรการการแกไ้ ข พฤตกิ รรม 2 มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1 ๒. มีการบนั ทึกแก้ปัญหาการแต่งกาย ไมถ่ กู เสี่ยงของนกั ศกึ ษาใน หอ้ งเรียน (10 คะแนน) 4 มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1 - 2 ระเบยี บ 6 มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 - 3 ๓. มีการบันทึกแก้ปญั หาการใช้บุหรี่ ยา สรปุ รวมคะแนนมาตรฐานฝ่ายสารวัตร 8 มกี ารดาเนนิ งานตามข้อ 1 - 4 เสพติดแอลกอฮอล์ นักเรียน 10 มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1 - 5 ๔. มีการบันทึกแกป้ ญั หาการทะเลาะ วิวาท ๕. มีการบนั ทกึ แกป้ ญั หาพฤตกิ รรมเสย่ี ง ดา้ น อ่ืน ๆ เช่น การพนัน ติดเกม ส่อื ลามก อนาจาร พฤติกรรมชสู้ าว เปน็ ตน้ คูม่ ือการดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 21

๔. มาตรฐานฝ่ายกิจกรรม (๒5 คะแนน) รายการประเมิน เกณฑ์การประเมินผล เกณฑก์ ารชว้ี ดั /ข้ันตอนการดาเนินงาน คะแนน รายการ ๑. มคี าสัง่ แตง่ ตง้ั คณะทางาน ๒. มีบันทึกการประชุมวางแผน ๔.๑ จัดตงั้ ทมี งานแกน 0 ไมม่ กี ารดาเนนิ งาน ๓. มีการปฏบิ ัตงิ านตามแผน นารับผดิ ชอบ งานฝา่ ย ๑ มกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ 1 ๔. มกี ารติดตามประเมินผล กจิ กรรมของห้องเรยี น ๒ มีการดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 2 ๕. สรปุ รายงานผลการดาเนนิ งาน (๕ คะแนน) ๓ มกี ารดาเนนิ งานตามข้อ 1 - 3 ๔ มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 - 4 ๑. กิจกรรมวันงดสบู บุหรโ่ี ลก ๕ มกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 5 ๒. กจิ กรรมวันตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ โลก ๓. กิจกรรมวนั งดดม่ื สรุ าแหง่ ชาติและ ๔.๒ ทมี งานแกนนาจัด 0 ไม่มีการดาเนินงาน รณรงคง์ ดดม่ื แอลกอฮอล์ กิจกรรมเชงิ สรา้ งสรรค์ ๔. กจิ กรรมดา้ นศลิ ปะ/ดนตร/ี กีฬา ภายในห้องเรียน ๑ มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1 ๕. กิจกรรมดา้ นคณุ ธรรม/จริยธรรม (๕ คะแนน) ๒ มีการดาเนินงานตามข้อ 1 - 2 ๓ มีการดาเนนิ งานตามข้อ 1 - 3 ๑. กจิ กรรมจติ อาสา/บาเพญ็ ประโยชน์ ๒. กิจกรรมเก่ยี วกบั สถาบันหลกั ของชาติ ๔ มีการดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 4 ๓. กิจกรรมเกย่ี วกับส่งิ แวดลอ้ ม ๕ มกี ารดาเนินงานตามขอ้ 1 - 5 ๔. กิจกรรมเก่ยี วกับศลิ ปวัฒนธรรมและ ประเพณี ๔.3 ทีมงานแกนนาใหค้ วาม 0 ไมม่ กี ารดาเนนิ งาน ๕. กิจกรรมเกีย่ วกบั สุขภาพอนามัย รว่ มมือ และจดั กจิ กรรมเชงิ ๑ สรา้ งสรรค์นอก หอ้ งเรยี น มีการดาเนนิ งานตามข้อ 1 (๕ คะแนน) ๒ มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 - 2 ๓ มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 - 3 ๔ มกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 4 ๕ มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 - 5 4.4ทีม งา นแ ก นนา จั ด ท า 0 ไม่มีการดาเนินงาน ๑. ที่มาและความสาคญั ของโครงงาน โครงงาน เก่ียวกับห้องเรียน 2 ๒. จุดประสงคแ์ ละเป้าหมาย ป ล อ ด บุ ห ร่ี ห รื อ ป ล อ ด มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 แอลกอฮอล์หรือ ปลอดยา 4 มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 - 2 ๓. วธิ กี ารดาเนนิ งาน เสพติด หรือ ปลอดส่ือลามก 6 มกี ารดาเนินงานตามขอ้ 1 - 3 ๔. ผลการดาเนนิ งาน อนาจาร หรือ ปลอดการพนัน 8 ๕. รายงานผลโครงงานใหค้ รทู ปี่ รกึ ษา/ ครู หรอื ปลอดการทะเลาะววิ าท มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 - 4 ประจาช้ันทราบ (10 คะแนน) 10 มกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ 1 - 5 สรุปรวมคะแนนมาตรฐานฝา่ ย กจิ กรรม คมู่ ือการดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 22

หอ้ งเรยี นสีขาว 2/4 สรปุ การประเมนิ ผลการดำเนินงานกิจกรรมห้องเรยี นสีขาว สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ภาคเรยี นที่ ...............ปกี ารศกึ ษา…………….. ช่อื สถานศึกษา.............................................................สังกัด............................................ หอ้ งเรียนระดับประถมศึกษา ชนั้ ปที ่ี............... ห้องเรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ชั้นปที ี่............... ห้องเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ช้ันปที ี่............... ห้องเรียนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นปีท่ี............... มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ คะแน นเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ ๑.ด้านฝา่ ยการเรียน(๒๕ คะแนน) ๑ ๒ ๕ ๒. ด้านฝา่ ยการงาน(๒๕ คะแนน) ๓. ดา้ นฝา่ ยสารวัตรนักเรียน(๒๕คะแนน) ๓ ๕ ๔ ๕ ๑ 10 ๒ รวมคะแนมน ๓ ๕ ๔ ๕ ๕ ๑ ๒ 10 รวมคะแนมน ๕ ๕ ๓๕ . ๔ 10 ๔. ดา้ นฝ่ายกจิ กรรม(๒๕ คะแนน) รวมคะแนมน ๑๕ ๒๕ ๓๕ ๔ 10 รวมคะแนมน รวมทัง้ หมด(๑๐๐ คะแนน) สรุปผลการประเมนิ ระดับปรับปรงุ ตา่ กว่าร้อยละ๖๐ ระดับพอใช้ร้อยละ๖๐-๖๙ ระดับดรี ้อยละ๗๐-๗๙ ระดับดีมากร้อยละ๘๐-๘๙ ระดบั ดีเดน่ ร้อยละ๙๐-๑๐๐ ลงช่ือ..............................................ประธานกรรการประเมนิ ลงช่ือ.........................................ผบู้ ริหารสถานศึกษา (.........................................) (.........................................) ตาแหน่ง.................................... ตาแหน่ง.................................... (คณะกรรมการระดับ กศน.อาเภอ) คู่มือการดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 23

ตัวอยา่ งโครงการ โครงการ...................................................................................................................... ....................................... ผ้รู ับผดิ ชอบโครงงานนกั เรยี น/กั ศึกษาระดับช้นั /แผนก............................................. ระยะเวลาดาเนนิ งาน ปีการศึกษา.................... …………………………………………….. ท่มี าและความสาคัญของโครงงาน ............................................................................................................................. ........................................................... ............................................................................................................................. ........................................................ 2. จุดประสงค์ ..................................................................................................................................... ................................. ................................................................................................ .................................................................................... 3. เป้าหมาย 3.1 เชงิ ปริมาณ ............................................................................................................................. ....................................................... 3.2 เชงิ คณุ ภาพ .............................................................................................................................................................. ...................... 4. วิธกี ารดาเนินงาน ......................................................................................... ........................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 5. ผลการดาเนินงาน ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... 6. ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ..................................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... (ลงช่ือ ) ผู้รบั ผิดชอบโครงงาน (.............................................) นกั เรียนแกนนา/นกั ศึกษาแกนน ฝ่ายกิจกรรม (ลงชือ่ ) หวั หนา้ ชน้ั /หวั หนา้ แผนก ความเห็นของครูที่ปรึกษา/ครูประจาช้ัน (………..…………………………….) ............................................................................................................................. ........................................ .................................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ ) ครทู ีป่ รึกษา/ครู หมายเหตุ แนบภาพกิจกรรม (.............................................) คูม่ อื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 24

(ตวั อยา่ ง) 1 แผน่ ใช้บนั ทกึ 5วัน บนั ทกึ การปฏบิ ตั ิงานห้องเรียนสีขาว/แผนกสขี าว ระดับชั้น ....................................... ภาคเรียนท่ี ....................................... ปี การศกึ ษา......................................................................... ประจาเดอื น...................................... พ.ศ. ...................................................... ชอ่ื สถานศกึ ษา...................................................................... วนั ที่ ฝ่ายการเรยี น วนั ท่ี ฝ่ายการงาน วนั ท่ี ฝ่ายการเรียน วันที่ ฝา่ ยการงาน ตรวจสอบแลว้ ถูกต้อง ตรวจสอบแลว้ ถูกตอ้ ง ลงช่อื ....................................................................... ลงชื่อ....................................................................... (…………………………………………….) (…………………………………………….) หัวหน้างานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ครกู ศน.ตาบล คู่มอื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 25

บทที่ 3 การดาเนินงานขบั เคล่ือนโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข หมายถึง สถานศึกษาท่ีปลอดยาเสพติด ปลอดแอลกอฮอล์ ปลอดสื่อลามกอนาจาร ปลอดการพนัน ปลอดการทะเลาะวิวาท และปลอดปัจจัยเส่ียงทุกชนิดมีการดาเนินงานตาม นโยบายด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการตาม กระบวนการทม่ี ีความเข้มแขง็ ตอ่ เนอ่ื ง และยั่งยืน สถานศกึ ษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการที่จะรับการประเมินตามโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข ประกอบด้วยสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลยุทธ์และยุทธศาสตร์โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ตามนโยบายของรัฐบาลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มอบหมายให้ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยกระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด เพ่ือ ป้องกันผู้เสพยาเสพติดรายใหม่ และให้การช่วยเหลือผู้ที่ไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดตามกระบวนการโครงการ สถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โดยใช้แนวคิดและหลักการของ “4 ประสาน 2 ค้า”ซึ่ง 4 ประสาน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้แทนครู/อาจารย์ ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนนักศึกษา และส่วนของ 2 ค้า ได้แก่ ตา รวจ พระสงฆ์ ที่อยู่ในบริเวณท้องถ่ินและชุมชน ทั้งน้ี เพื่อช่วยสถานศึกษาให้มีมาตรการป้องกันและการป้องปรามผู้ จาหน่าย/ผู้เสพ มาตรการความปลอดภัย เป็นการเพ่ิมความมั่นใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครู/อาจารย์ในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด แหล่งอบายมุขรอบสถานศึกษา ดังน้ัน เพ่ือให้สถานศึกษามีระบบการดาเนินงานท่ี เขม้ แข็ง ตอ่ เนอื่ ง และย่งั ยืน จึงมแี นวทางการดาเนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์ 5 มาตรการ และกลยทุ ธ์ 4 ต้อง 2 ไม่ ดังน้ี สถานศึกษาดาเนนิ การยทุ ธศาสตร์ 5 มาตรการ ดงั น้ี ๑. มาตรการดา้ นการป้องกนั ประกอบดว้ ย สถานศึกษาจัดกิจกรรมห้องเรียนสีขาว/แผนกสีขาว มีการ จดั การเรียนการสอนตามแนวทางการจดั การเรียนรู้การสรา้ งภมู ิค้มุ กันสารเสพติดเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ และ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นใหใ้ ช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชนด์ ว้ ยกจิ กรรมเชงิ สร้างสรรค์ เชน่ การเลน่ ดนตรี กฬี า ศลิ ปะวัฒนธรรม เปน็ ต้น ๒. มาตรการด้านการค้นหา ประกอบด้วย สถานศึกษามีการจดั ทาข้อมลู นกั ศึกษารายบุคคล มีการคัดกรองจาแนกกลุ่มนักเรยี น/นกั ศึกษาออกเปน็ 5 กลุม่ คือ กลมุ่ ปลอด กลุ่มเสย่ี ง กลมุ่ เสพ กล่มุ ติด กลุ่มค้าและรายงานการสารวจสภาพการใชส้ ารเสพตดิ /ยาเสพตดิ ในระบบสารสนเทศเพ่ือดูแลและติดตามการใช้สาร เสพติดในสถานศกึ ษา (CATAS) ๓. มาตรการด้านการรักษา ประกอบด้วย สถานศึกษามีการจัดตั้งคลินิกเสมารักษ์ โดยมีนโยบายในการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน/นักศึกษาที่ไปเก่ียวข้องกับยาเสพติดที่เป็นกลุ่มเสพ กลุ่มติดเข้าสู่การ บาบัดรักษา และส่งต่ อ หนว่ ยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือหนว่ ยงานอน่ื ท่เี กีย่ วขอ้ ง เพอื่ ให้คาปรกึ ษาและช่วยเหลือให้เรียนได้ตามปกติ คู่มอื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 26

๔. มาตรการด้านการเฝ้าระวัง ประกอบด้วย สถานศึกษาจัดให้มีตู้เสมารักษ์ในสถานศึกษา เพื่อรับเร่ือง ร้องเรียนปัญหายาเสพติด แอลกอฮอล์ ส่ือลามกอนาจาร การพนัน และการทะเลาะวิวาท รวมท้ังมีเครือข่ายจาก ทกุ ภาคสว่ นในการดาเนินงานเฝา้ ระวงั ปญั หาดงั กลา่ ว ดาเนินการจัดกจิ กรรมอบรม/ชมุ นมุ เสมารกั ษ์ป้องกันยาเสพตดิ ๕. มาตรการด้านการบริหารจัดการ ประกอบด้วย สถานศึกษามีการแต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ งาน 3 คณะ ได้แก่ 1) คณะกรรมการอานวยการ (ทมี ผบู้ ริหาร) มหี นา้ ทก่ี าหนดนโยบายและจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการ 2) คณะกรรมการดาเนนิ งาน (รองผู้อานวยการท่ีไดร้ บั มอบหมายและทีมงานยาเสพติด) มหี น้าท่ี ใหค้ วามรู้กระบวนการและประเมนิ ผล 3) คณะทางานห้องเรียนสีขาว (นักศึกษาแกนนาทุกห้อง) มีหน้าที่ปฏิบัติกิจกรรมแกนนา 4 ฝ่าย เพ่ือกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนปฏบิ ัติการ อานวยการ กากับ ติดตาม ประเมินผลสรุปรายงานต้นสังกัด การประสานงานกับทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง และสนับสนุนส่งเสริมการปฏิบัติงานพิจารณาจัดทามาตรการ ลงโทษและมาตรการเสริมแรง สถานศกึ ษาดาเนนิ การ ๔ ต้อง คือ ๑. สถานศึกษาต้องมียุทธศาสตรก์ ารป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ที่สอดคล้องกับสภาพของ ปัญหาและสถานการณ์ในพน้ื ท่ีทมี่ ีความรนุ แรงตา่ งกนั ๒. สถานศึกษาต้องมีแผนงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษาท่ีตลอดปีการศึกษา ๓. สถานศึกษาต้องมรี ะบบข้อมลู การดาเนนิ งาน ๔ ดา้ น ได้แก่ ระบบด้านการป้องกนั ระบบดา้ นการ เฝ้าระวังระบบด้านการดูแลช่วยเหลอื และระบบด้านการบรหิ ารจัดการ ๔. สถานศกึ ษาต้องมีเครือข่ายการประสานงานทางานระหวา่ งนกั ศกึ ษา คร/ู อาจารยผ์ ้ปู กครอง ผ้นู าท้องถ่นิ ผนู้ าชมุ ชน และผู้นาด้านศาสนา สถานศกึ ษาดาเนนิ การ ๒ ไม่คือ ๑. สถานศึกษาไม่ปกปิดข้อมูล กลุ่มเสพ กลมุ่ ติด และกลุ่มค้ายาเสพตดิ ๒. สถานศึกษาไมผ่ ลักปญั หา ไม่ไลน่ ักเรียน/นักศกึ ษาออกจากสถานศึกษา โดยใหน้ าไปบาบัดรักษา เมื่อหายแลว้ ใหก้ ลบั มาเรยี นได้ตามปกติ คมู่ อื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 27

โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กลยุทธ์ 4 ตอ้ ง 2 ไม่ 1.ตอ้ งมียทุ ธศาสตร์ 1. ไมป่ กปดิ ขอ้ ม 2.ตอ้ งมแี ผนงาน 2. ไมไ่ ลอ่ อก 3.ตอ้ งมีระบบข้อมลู 4.ตอ้ งมีเครอื ขา่ ย ห้องเรียนสีขาว สถานศกึ ษาสขี าว นกั ศึกษา แกนนำ 4 ฝ่าย ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ยทุ ธศาสตร์ 5 มาตรการ ฝา่ ยการเรียน ฝา่ ยการงาน ฝา่ ยสารวตั ร ฝา่ ยกจิ กรรม มาตรการ มาตรการ มาตรการ มาตรการ มาตรการ นักเรยี น ดา้ นการป้องกัน ดา้ นการคน้ หา ด้านการกั ษา ดา้ นการเฝา้ ระวัง ดา้ นการบริหารจัด ภายที่ 7 การดาเนนิ งานโครงการการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ค่มู ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 28

แนวทางการขบั เคล่ือนสถานศึกษาปลอดบุหรี่และปลอดแอลกอฮอล์ (7 มาตรการ) การดาเนินงานสถานศึกษาปลอดบุหรี่และปลอดแอลกอฮอล์เป็นมาตรการหนึ่งในการป้องกันนักสูบ/ นักดื่มหน้าใหม่ ตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ และแผนยุทธศาสตร์นโยบายและแอลกอฮอล์ ระดับชาตเิ พื่อปอ้ งกนั มิให้เกิดผเู้ สพยาสูบ/นกั ดม่ื รายใหม่ และเฝ้าระวังธุรกิจยาสบู /เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ท่ีมุ่งเป้าไปยัง เด็ก เยาวชน และนักสูบ/นักดื่มหน้าใหม่ ดังนั้น กรมควบคุมโรค โดยกองงานคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ และคณะกรรมการควบคุมเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ร่วมกบั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร และมลู นิธิรณรงค์เพ่ือการไม่สูบบุหรี่(เครือข่ายครูเพ่ือโรงเรียนปลอดบุหรี่) ได้ดาเนินการปรบั ปรงุ 7 มาตรการเพ่ือสถานศึกษาปลอดบุหร่ีและปลอดแอลกอฮอล์ให้สอดคล้องตามพระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551และอนุบัญญัติ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้มีการขับเคล่ือนเป็นไปในทิศทางเดียวกันครอบคลุมถึง สถานศึกษาทกุ สงั กัด ดงั นี้ มาตรการ แนวทางการดาเนินงาน มาตรการท่ี 1 การกาหนดนโยบาย “สถานศึกษาปลอดบุหรีแ่ ละปลอดแอลกอฮอล์” 1. จดั ทานโยบายสถานศกึ ษาเป็นเขตปลอดบุหร่ีและเขต ของสถานศกึ ษา ปลอดแอลกอฮอล์เป็นลายลกั ษณ์อักษร และลงนามโดย ผบู้ รหิ าร มาตรการท่ี 2 การบรหิ ารจดั การในสถานศึกษา 2. ถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบตั ดิ ังนี้ ปลอดบหุ รีแ่ ละปลอดแอลกอฮอล์ - ประกาศเปน็ ลายลักษณ์อักษร - เผยแพรน่ โยบายสู่นักศึกษา ครู บุคลากรทางการศกึ ษา มาตรการท่ี 4 การสอดแทรกเรือ่ งบุหรีแ่ ล ะ ผูป้ กครอง และผู้เกย่ี วข้อง ทั้งในและนอกสถานศกึ ษา แอลกอฮอลใ์ นการเรยี นการสอนและกิจกรรม 3. เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์นโยบายผ่านช่องทางท่ี นอกหลักสูตร หลากหลาย 1. จัดต้งั คณะทางานหรือคณะกรรมการสถานศึกษา ปลอดบุหรี่และปลอดแอลกอฮอล์ และกาหนดบทบาท หนา้ ท่ีอยา่ งชัดเจน และประเมนิ ตนเองในการดาเนินงาน สถานศกึ ษาปลอดบหุ ร่ีและปลอดแอลกอฮอล์ 2. สารวจขอ้ มลู การสูบ บหุ รีแ่ ละการดื่มแอลก อฮอล์ใน สถานศกึ ษา เช่น จานวนผสู้ บู ผดู้ ื่ม ความต้องการเลกิ การพบเห็น การละเมิดการขาย การสูบบหุ รี่และการด่ืม แอลกอฮอล์เปน็ ตน้ 3. ติดตามการดาเนนิ งาน โดยคณะทางานหรือ คณะกรรมการของสถานศึกษา 1. วางแผนและก าหนดกจิ กรรมเพ่ือสอดแทรกเร่ืองโทษ พษิ ภัย ผลกระทบของบหุ ร่ีและแอลกอฮอล์ในรายวชิ า และกจิ กรรมต่าง ๆ ทั้งในและนอกหลกั สตู ร 2. ถ่ายทอดสื่อสารสอดแทรกเนน้ ยา้ เร่อื งโทษ พษิ ภัย และผลกระทบของบุหรแ่ี ละแอลกอฮอลใ์ นรายวิชา และ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทัง้ ในและนอกหลักสูตร คมู่ ือการดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 29

มาตรการ แนวทางการดาเนินงาน มาตรการที่ 5 การมี ส่วนรว่ มของนักศึกษาในการ ขับเคล่อื นสถานศึกษาปลอดบุหรี่ 1. สง่ เสรมิ ให้ นักศึกษามีสว่ นรว่ มในการเฝ้าระวงั ป้องกนั และปลอดแอลกอฮอล์ เพอื่ ควบคมุ ยาสบู และแอลกอฮอล์ทั้งบรเิ วณในและนอก สถานศกึ ษา มาตรการท่ี 6 การดแู ลช่วยเหลือ นกั ศึกษาไม่ใหส้ บู บุหร่ี 2. สง่ เสริมใหน้ กั ศึกษา ประชาสัมพนั ธ์เพ่ือสรา้ ง และไม่ดม่ื แอลกอฮอล์ คา่ นยิ มการไม่สูบบหุ ร่แี ละไม่ดื่มแอลกอฮอลใ์ นชอ่ งทางที่ หลากหลาย มาตรการท่ี 7 การมีกิจกรรมรว่ มกนั ระหว่าง 3. ส่งเสริมให้นักศึกษา สร้างสรรคส์ ่อื การเรยี นรู้ สถานศกึ ษากับชมุ ชน เพ่อื ใหน้ ักศึกษาในสถานศึกษามีภูมคิ ้มุ กันในการ ปกปอ้ งตนเองจากการสูบบุหร่แี ละการดื่มแอลกอฮอล์ 4. สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี น/นักศึกษารว่ มรณรงค์บ้านและ ชุมชนปลอดบหุ รีแ่ ละปลอดแอลกอฮอล์ และชกั ชวนให้ คนในบา้ นเลิกสูบบหุ ร่แี ละเลิกด่ืมแอลกอฮอล์ 1. มีกระบวนการคัดกรอง ป้องกนั และตดิ ตาม/นักศึกษา กลุ่มเสย่ี งเพ่ือป้องกนั การริเริม่ สูบบหุ รแี่ ละดม่ื แอลกอฮอล์ ของนักศึกษา 2. มีกระบวนการในการดูแลช่วยเหลือ ให้คาปรึกษาเพื่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการด่ืม แอลกอฮอล์ของ นักศึกษา ที่สูบบุหรี่ให้เลิกสูบ ที่ดื่ม แอลกอฮอล์ให้เลิกดื่ม รวมทั้งมีการติดตามผลอย่าง ต่อเนื่อง 3. มกี ระบวนการสง่ ต่อนักเรียน/นักศกึ ษาท่สี บู บุหรี่/ด่ืม แอลกอฮอล์ เข้าสู่ระบบบริการเลิกตามความเหมาะสม และตดิ ตามผลของนกั เรยี น/นักศึกษาที่เข้าสู่ระบบบริการ อย่างตอ่ เน่ือง 1. มีกจิ กรรมสรา้ งความตระหนักเร่ืองโทษ พิษภยั และ ผลกระทบของผลติ ภณั ฑย์ าสบู และเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ ร่วมกบั ชุมชน 2. ช้ีแจงและขอความร่วมมือร้านค้าในชุมชน ไม่ให้ จาหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบและเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ให้แก่ เยาวชนตามกฎหมายกาหนด 3. ผลกั ดนั ใหผ้ ู้นาชุมชนกาหนดนโยบายสนบั สนุนการ ดาเนินงาน “บา้ นและชุมชนปลอด บุหร่แี ละปลอด แอลกอฮอล์” คมู่ อื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 30

สถานศึกษาสขี าว๑/4 แบบประเมินโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข สงั กัดสานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ปกี ารศกึ ษา ............................... ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ทั่วไป ๑.๑ ข้อมูลสถานศึกษา ชอ่ื สถานศกึ ษา................................................................................................................................................... สถานทตี่ ้ัง............................................................................................................................. ................. ............ สังกดั ............................................................................................................................. .................................... โทรศพั ท์...................................โทรสาร...............................E-mail : .............................................................. เปิดสอน ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ประเภทสถานศกึ ษา เล็ก กลาง ใหญ่ ใหญ่พิเศษ จานวนนักศึกษาทง้ั หมด....................คน จานวนหอ้ งเรียนท้ังหมด.....................ห้อง จานวนครู/อาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษา...........................คน อตั ราจ้าง/จ้างสอน...........................คน ช่อื ผู้บริหารสถานศึกษา..................................................................เลขบัตรประชาชน...................................... โทรศพั ท์ (มอื ถือ)................................................. E-mail : ............................................................................. ชอ่ื ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ................................................................เลขบตั รประชาชน....................................... โทรศพั ท์ (มือถือ)..................................................E-mail : ............................................................................. ๑.๒ คาชแ้ี จงการประเมิน ๑.๒.๑ ผปู้ ระเมนิ ทาเครื่องหมาย X ในชอ่ งคะแนนการประเมนิ ผลที่ปฏิบัตแิ ละสรปุ รวมคะแนนในแตล่ ะ มาตรฐาน ๑.๒.๒ ผู้ประเมนิ สรุปผลคะแนนการประเมนิ ทุกมาตรฐานรวมกันแล้วคดิ เปน็ ระดบั คณุ ภาพ โดยใช้เกณฑ์ การประเมนิ ดงั น้ี คะแนน ระดับคุณภาพ ตา่ กว่า ๖๐ ปรบั ปรงุ ๖๐ - ๖๙ พอใช้ ๗๐ - ๗๙ ดี ๘๐ - ๘๙ ดีมาก ๙๐ - ๑๐๐ ดเี ดน่ คู่มอื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 31

ตอนท่ี๒ เกณฑ์การประเมนิ ๑. มาตรการด้านการป้องกนั (45 คะแนน) ตวั บ่งช้ี คะแนน เกณฑ์การประเมนิ ผล หลักฐานรอ่ งรอย รายการ ๑.๑ สถานศึกษาดาเนินการกจิ กรรม ๐ ผลการดาเนนิ งานตามเกณฑ์หอ้ งเรยี นสี ห้องเรียนสีขาว (20 คะแนน) ผลการดาเนนิ งานห้องเรยี นสขี าว 4 ระดับดีเด่น ต่ากวา่ รอ้ ยละ 50 ระดบั ดีเด่น 1.2 สถานศกึ ษาจดั ทาประกาศและมอบ ผลการดาเนินงานห้องเรียนสีขาว หอ้ งเรียนท้ังหมด ..................... หอ้ ง รางวลั หรือเกียรติบัตรหอ้ งเรียนสีขา 8 ระดับดีเด่น ร้อยละ- 509 หอ้ งเรยี นสีขาวดเี ด่น ................... ห้อง (5 คะแนน) ผลการดาเนินงานหอ้ งเรียนสีขาว คิดเป็นรอ้ ยละ ..................... 12 ระดบั ดเี ด่น ร้อยละ๖๐- ๖๙ ๑.3 สถานศึกษามีการดาเนินงานโครงการ ผลการดาเนินงานห้องเรียนสีขาว แนบแบบสรุปผลการดาเนนิ งานห้องเรยี นสีขาว สถานศกึ ษาปลอดบุหร่แี ละอดแอลกอฮอล์ 16 ระดับดีเด่น ร้อยละ๗๐- ๗๙ ผลการดาเนนิ งานห้องเรยี นสีขาว สถานศกึ ษามกี ารดาเนินงาน ดงั นี้ 7 มาตรการ (1๐ คะแนน) 20 ระดบั ดีเด่น ร้อยละ๘๐- ๘๙ 1. ทาประกาศและมอบรางวลั 1 ครง้ั ผลการดาเนนิ งานหอ้ งเรียนสีขาว 2. ทาประกาศและมอบรางวลั 2 ครั้ง 0 ระดับดีเด่น ร้อยละ๙๐- ๑๐๐ 3. ทาประกาศและมอบรางวัล 3 คร้ัง 1 4. ทาประกาศและมอบรางวลั 4 คร้งั 2 ไม่มี 5. ทาประกาศและมอบรางวัล 5 คร้ังขึ้นไป 3 4 มีการดาเนินงานตาม ขอ้ 1 สถานศึกษามขี นั้ ตอนการดาเนินงาน ดงั นี้ 5 มีการดาเนินงานตาม ขอ้ 2 ๑. การกาหนดนโยบาย“สถานศึกษาปลอด ๐ มกี ารดาเนินงานตาม ขอ้ 3 1 มีการดาเนินงานตาม ขอ้ 4 บุหรี่แปละอดแอลกอฮอล”์ ของสถานศกึ ษา 2 มกี ารดาเนินงานตาม ข้อ 5 ๒. การบริหารจดั การในสถานศึกษาปลอด 3 ไม่มี 4 บุหรแ่ี ปละอดแอลกอฮอล์ 5 มกี ารดาเนินงานตาม ๑ข้ันตอน ๓. การจัดสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื “สถานศกึ ษา 6 มกี ารดาเนินงานตาม 2 ขั้นตอน 10 ปลอดบุหรแ่ี ละอดแอลกอฮอล”์ มีการดาเนินงานตาม 3 ขน้ั ตอน ๔. การสอดแทรกเรื่องบุหร่ีและแอลกอฮล์ มีการดาเนินงานตาม 4 ข้ันตอน ในการเรียนการสอนและกิจกรรมนอกหลักสูตร มีการดาเนินงานตาม 5 ขนั้ ตอน ๕. การมีสว่ นรว่ มของนกั เรยี นนกั ศกึ ษา มีการดาเนินงานตาม 6 ขัน้ ตอน ในการขับเคลอ่ื นสถานศึกษาปลอดบุหรแ่ี ละ มีการดาเนินงานตาม 7 ขัน้ ตอน แอลกอฮอล์ ๖. การดแู ลชว่ ยเหลอื นกั ศึก ไม่ใหส้ ูบบหุ รีแ่ ละดม่ื แอลกอฮอล์ ๗. การมีกจิ กรรมร่วมกนั ระหวา่ งสถานศึกษา กบั ชมุ ชน คมู่ ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 32

ตัวบง่ ช้ี เกณฑ์การประเมนิ ผล หลกั ฐานรอ่ งรอย ๑.4 สถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมเชิงสรา้ งสรร คะแนน รายการ รายงานผลการจดั กจิ กรรมเชิงสร้างสรรค์ เพื่อปอ้ งกนั ยาเสพติดแอลกอฮอล์ สื่อลาม กิจกรรมTO BE NUMBER ONE กีฬา ดนตรี อนาจาร การพนนั การทะเลาะวิวาท ๐ ไม่มี ศิลปะ อาชพี คณุ ธรรม ฯลฯ (10 คะแนน) 2 มีการดาเนินงานตามขอ้ 1 4 มกี ารดาเนินงานตามข้อ 2 1. จดั กจิ กรรม อยา่ งน้อย 3 กจิ กรรม 2. จดั กิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 กจิ กรรม 6 มกี ารดาเนินงานตามข้อ 3 8 มีการดาเนินงานตามขอ้ 4 จ3ดั. กิจจดั กจิ กรรม อยา่ งนอ้ ย 5 กจิ กรรม 10 มีการดาเนินงานตามข้อ 5 4. จดั กิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 6 กจิ กรรม 5. จดั กจิ กรรม อยา่ งนอ้ ย 7 กจิ กรรม สรปุ รวมคะแนนมาตรการด้านป้องกัน คูม่ ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 33

๒. มาตรการด้านค้นหา(๑5 คะแนน) ตวั บ่งช้ี เกณฑ์การประเมนิ ผล หลกั ฐานร่องรอย คะแนน รายการ แบบสรปุ ข้อมูลนกั ศึกษารายบุคคล (SDQ/เย่ยี มบา้ น) ๒.๑ สถานศกึ ษามขี ้อมูลนกั ๐ ไม่มี ภาคเรียนที่๑ขอ้ มูลรายบุคคลทุกคน รายบุคคล(๕ คะแนน) 2 มขี ้อมลู นักศกึ ษารายบุคคลทกุ คน ภาคเรยี นที่๒ข้อมลู รายบคุ คลทุกคน ในภาคเรยี นที่ ๑ แบบบนั ทึกการคัดกรองนกั ศึกษา 2 มีข้อมลู นักศึกษารายบุคคลทกุ คน ในภาคเรยี นท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี๑ข้อมลู การคดั กรอง นกั เรียนทกุ คน ๕ มขี ้อมูลนกั ศึกษารายบุคคลทกุ คน ภาคเรยี นที่๒ขอ้ มูลการคดั กรอง นกั เรยี นทุกคน ในภาคเรียนท่ี ๑ และ ๒ แบบรายงานการสารวจสภาพการใช้ ๒.2 สถานศึกษามีการคัดกรอง จาแนก ๐ ไม่มี สารเสพติด/ยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา กลุ่มปลอด/กลมุ่ เสี่ยง/กล่มุ เสพ/ก 2 มีการคดั กรองนกั ศึษาทกุ คน ภาคเรียนท่ี๑ กลมุ่ คา้ (5 คะแนน) ในภาคเรียนท่ี๑ ภาคเรยี นที่๒ 2 มกี ารคัดกรองนักศึกษาทุกคน ในภาคเรยี นท่ี๒ ๕ มกี ารคัดกรองนกั ศึษาทกุ คน ในภาคเรียนที่ ๑ และ ๒ ๒.3 สถานศึกษามีการรายงานการสารวจ ๐ ไม่มีการสรุปรายงาน สภาพการใช้สารเสพติด/ยาเสพติด 2 ในภาคเรยี นที่๑มกี ารสรุปรายงาน ในสถานศึกษาให้หนว่ ยงานต้นสังกัด ๑ คร้งั ทราบ (๕ คะแนน) 2 ในภาคเรยี นที่๒มกี ารสรุปรายงาน ๑ ครง้ั ๕ มกี ารสรุปรายงานท้งั ๒ภาคเรียน สรุปรวมคะแนนมาตรการดา้ นค้นหา คู่มือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 34

๓. มาตรการด้านรกั ษา (๑๐ คะแนน) ตัวบง่ ชี้ เกณฑ์การประเมนิ ผล หลกั ฐานร่องรอย คะแนน รายการ ๓.๑ สถานศึกษามนี โยบายในการบาบดั สถานศึกษามขี ั้นตอนการดาเนนิ งาน ๐ ไมม่ ี ดงั นี้ รักษา และส่งต่อหนว่ ยงานสังกดั กระทรวง 1 มกี ารดาเนินงตามขน้ั ตอนได้ ๑ ข้อ ๑. กาหนดนโยบายของสถานศกึ ษา สาธารณสขุ หรือหน่วยงานอื่น(๕คะแนน) 2 มีการดาเนินงตามข้ันตอนได้ ๒ ข้อ ๒. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดาเนิน 3 มีการดาเนินงตามขน้ั ตอนได้ ๓ ขอ้ 4 มกี ารดาเนินงตามข้ันตอนได้ ๔ ขอ้ บาบดั รกั ษา 5 มกี ารดาเนินงตามขัน้ ตอนได้ 5 ข้อ ๓. กาหนดข้ันตอนการดาเนินงาน บาบดั รักษา ๓.๒ สถานศกึ ษามี“คลนิ กิ เสมารกั ษ์” ๐ ไมม่ ี (จติ สงั คมบาบดั ในสถานศกึ ษา)(๕คะแนน) 1 มีการดาเนินงตามขั้นตอนได้๑ขอ้ ๔. มเี ครือข่ายในการบาบัดรกั ษา และสง่ ตอ่ 2 มีการดาเนินงตามข้นั ตอนได้๒ขอ้ 3 มีการดาเนินงตามขนั้ ตอนได้๓ขอ้ 5. รายงานผลการดาเนินงาน 4 มกี ารดาเนินงตามขน้ั ตอนได้๔ขอ้ สถานศึกษามขี ้ันตอนการดาเนินงาน 5 มีการดาเนินงตามขั้นตอนได้ 5 ข้อ ดังนี้ ๑. จัดต้งั “คลินกิ เสมารักษ์” ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนิน “คลินิกเสมารักษ์” ๓. กาหนดข้ันตอนการดาเนินงา “คลนิ กิ เสมารกั ษ์” ๔. บันทกึ ให้คาปรึกษา 5. รายงานผลการดาเนนิ งาน สรปุ รวมคะแนนมาตรการด้านการรักษา ๔. มาตรการด้านการเฝ้าระวัง (๑๐ คะแนน) ตวั บง่ ช้ี เกณฑ์การประเมนิ ผล หลกั ฐานร่องรอย ๔.๑ สถานศึกษามีต้เู สมารักษ์ คะแนน รายการ สถานศกึ ษามขี ั้นตอนการดาเนินงาน ดังน้ี ๐ ไม่มี ๑. มตี ้เู สมารักษ์ รับเรอื่ งปัญหายาเสพติด แอลกอฮล์ 1 มีการดาเนินงตามขน้ั ตอนได้๑ขอ้ ๒. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน ๓. มกี ารกาหนดข้ันตอนการดาเนินงา ส่อื ลามกอนาจาร การพนนั 2 มกี ารดาเนินงตามขน้ั ตอนได้๒ขอ้ 4. บนั ทึกการรับเรื่องปัญหายาเสพติด แอลกอฮอล์ สอ่ื ลามกอนาจาร การพนนั การทะเลาะวิวาท(๕ คะแนน) 3 มีการดาเนินงตามขั้นตอนได้๓ขอ้ การทะเลาะววิ าท 4 มกี ารดาเนินงตามข้ันตอนได้๔ข้อ 5. รายงานผลการดาเนินงานแก้ปัญหาเรื่อง 5 มกี ารดาเนินงตามขน้ั ตอนได้ 5 ข้ ดังกลา่ วตามขอ้ 4 สถานศกึ ษามีข้ันตอนการดาเนนิ งาน ดงั นี้ ๔.๒ สถานศกึ ษาดาเนินการจดั ตั้ง ๐ ไม่มี ๑. ดาเนินการจัดตั้งชมรม/ชมุ นมุ ชมรม/ชมุ นมุ เสมารกั ษ์ป้องกัน 1 มีการดาเนินงตามขน้ั ตอนได้๑ขอ้ ๒. รบั สมัครนกั เรียน ๓. ดาเนินกิจกรรม ปัญหายาเสพติด แอลกอฮอล์ ส่อื 2 มกี ารดาเนินงตามขน้ั ตอนได้๒ขอ้ ๔. บันทึกการจดั กจิ กรรม 5. สรปุ การจัดกิจกรรม อนาจาร การพนัน การทะเลาะวิวาท 3 มกี ารดาเนินงตามขั้นตอนได้๓ข้อ (๕ คะแนน) 4 มีการดาเนินงตามขั้นตอนได้๔ข้อ 5 มกี ารดาเนินงตามขนั้ ตอนได้ 5 ข้ สรปุ รวมคะแนนมาตรการดา้ นการเฝ้าระวัง คู่มือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 35

๕. มาตรการด้านการบรหิ ารจัดการ 2๐ (คะแนน) ตัวบ่งชี้ คะแนน เกณฑ์การประเมนิ ผล หลักฐานรอ่ งรอย ๕.๑ สถานศึกษามนี โยบาย ยทุ ธศาสตร์ และ ๐ รายการ แผนงานโครงการสถานศกึ ษาสขี าว 1 สถานศึกษามขี ้ันตอนการดาเนินงาน ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ (4 คะแนน) 2 ไมม่ ี ดังน้ี 3 มีการดาเนินงตามขัน้ ตอนได้ ๑ ขอ้ ๕.2 สถานศึกษามีคณะกรรมการดาเนนิ งาน 4 ๑. กาหนดนโยบาย และมีหอ้ งปฏบิ ตั ิงานโครงการสถานศกึ ษา มีการดาเนินงตามขั้นตอนได้ ๒ ขอ้ ๒. กาหนดยทุ ธศาสตร์ ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข(4 คะแนน) ๐ มกี ารดาเนินงตามขั้นตอนได้ ๓ ข้อ - วสิ ยั ทัศน์ - พนั ธกจิ 1 มีการดาเนินงตามขน้ั ตอนได้ ๔ ข้อ - เป้าประสงค์ - แผนงาน/โครงการ ๕.3 สถานศึกษามีการจัดทาบันทึกความรว่ มมือ 2 3 ไมม่ ี 3. กาหนดมาตรการ (MOU) กบั ภาคีเครอื ขา่ ย (4 คะแนน) 4 - การลงโทษ ๐ มกี ารดาเนินงานตามขั้นตอนได้ ๑ ข้อ - สร้างขวัญกาลงั ใจ 5.4 สถานศกึ ษามีการดาเนินกิจกรรมรว่ มกรรม 1 มีการดาเนินงานตามขั้นตอนได้ ๒ ข้อ 2 มกี ารดาเนินงานตามขั้นตอนได้ ๓ ข้อ 4. คาสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการ ภาคเี ครือขา่ ยท่ีทาMOU ตามขอ้ 5.3 3 ดาเนินงาน 3 ระดบั คณะกรรมการ( (4 คะแนน) 4 มีการดาเนินงานตามขั้นตอนได้ ๔ ข้อ อานวยการ,คณะกรรมการดาเนินงาน, ๕.5 สถานศกึ ษามีการกากับติดตาม ไมม่ ี คณะทางานหอ้ งเรยี นสขี าว) ประเมินผล และรายงานผลการดาเนินงาน ๐ มีบนั ทกึ ความรว่ มมือ ๑ เครือข่าย (4 คะแนน) 1 สถานศึกษามีข้ันตอนการดาเนินงา 2 มบี ันทึกความร่วมมือ 2 เครือข่าย สรปุ รวมคะแนนมาตรการดา้ นการบริหารจัดการ 3 ๑. มีหอ้ งปฏิบัติงาน 4 มบี ันทึกความรว่ มมือ 3 เครือข่าย ๒. แต่งตัง้ คณะกรรมการรับผิดชอบ ๐ มบี นั ทึกความรว่ มมือ 4 เครือข่าย ข ๓. มีขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 1 2 ไมม่ ี ๔. บนั ทึกการใชห้ อ้ งกจิ กรรม 3 บันทกึ ความร่วมมอื (MOU) กบั ภาคี 4 ปฏบิ ัติกจิ กรรมได้ตามข้อ๑ เครอื ขา่ ย ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมได้ตามข้อ๒ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมได้ตามขอ้ 3 หนว่ ยงานสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ จิ กรรมได้ตามข้อ4 สถานีตารวจ ไมม่ ี เครือขา่ ยผูป้ กครอง คา่ ยทหาร มีการดาเนินงตามขั้นตอนได้๑ข้อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีการดาเนินงตามขน้ั ตอนได้๒ขอ้ ........................................ มีการดาเนินงตามขน้ั ตอนได้๓ขอ้ ท ากจิ กรรมร่วมกบั ภาคีเครอื ข่าย 1. ทากิจกรรมร่วม 1 เครือข่าย มีการดาเนินงตามขน้ั ตอนได้๔ข้อ 2. ทากจิ กรรมรว่ ม 2 เครือขา่ ย 3. ทากิจกรรมร่วม 3 เครือขา่ ย 4. ทากจิ กรรมร่วม 4 เครอื ข่าย สถานศกึ ษามขี ั้นตอนการดาเนินงาน ๑. แต่งตงั้ คณะกรรมการกากบั ติด ๒. กาหนดปฏทิ ินการกากบั ติด ประเมินผล ๓. บันทกึ การกากับตดิ ตามและ ประเมินผล ๔. รายงานผลการดาเนนิ งาน คู่มอื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 36

สถานศกึ ษาสีขาว ๒ สรุปผลการประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข สงั กดั สพฐ. สช. อศ. กศน. ปกี ารศกึ ษา……………………….. ชื่อสถานศึกษา......................................................................สงั กัด........................................................... มาตรฐานท่ี ตัวบง่ ชี้ คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้ 1 20 1. ดา้ นการปอ้ งกนั (45 คะแนน) 25 3 10 4 10 ๒. ดา้ นการค้นหา (15 คะแนน) รวมคะแนน ๑5 25 35 รวมคะแนน ๓. ดา้ นการรักษา (๑๐ คะแนน) ๑๕ ๒๕ รวมคะแนน ๔. ดา้ นการเฝ้าระวงั (๑๐ คะแนน) ๑๕ ๒๕ รวมคะแนน ๕. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ (2๐ คะแนน) ๑ 4 ๒ 4 ๓ 4 ๔ 4 4 5 รวมคะแนน รวมท้ังหม (๑๐๐ คะแนน) สรุปผลการประเมนิ ระดบั ปรบั ปรงุ ต่ ากวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ระดับพอใช้ ร้อยละ ๖๐-๖๙ ระดบั ดี รอ้ ยละ ๗๐-๗๙ ระดบั ดีมาก ร้อยละ ๘๐-๘๙ ระดบั ดเี ด่น รอ้ ยละ ๙๐-๑๐๐ (ลงชอ่ื ) .......................................................... ประธานกรรมการประเมนิ (........................................................) (ลงช่อื ) ........................................................ กรรมการ (ลงช่อื ) ......................................................... กรรมการ (.......................................................) (..........................................................) (ลงช่ือ) ..................................................... กรรมการ (ลงช่ือ) ......................................................... กรรมการ (.......................................................) (..........................................................) (ลงช่ือ).........................................................กรรมการและเลขานุการ (........................................................) คู่มือการดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 37

สถานศึกษาสีขาว ๓ แบบสรุปผลคะแนนการประเมินสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ปกี ารศึกษา ...................... สงั กัด สพฐ. สช. อศ. กศน. ………………………………………………… ๑. ข้อมลู ท่วั ไป ๑.๑ ชอ่ื สถานศึกษา ...................................................... สถานทตี่ ัง้ ....................................................... โทรศพั ท/์ โทรสาร .................................................................. สังกัด ...................................................... ๑.๒ ชื่อ – นานสกุล (ผู้บรหิ าร) ตาแหน่ง ....................................... เลขบตั รประจาตัวประชาชน .......................โทรศัพท/์ โทรสาร .................. โทรศพั ทม์ อื ถือ ................ ๑.๓ ช่ือ - นามสกุล ( ครูผู้รับผิดชอบ ) ตาแหน่ง ..................................... เลขบัตร ประจาตัวประชาชน .......................โทรศัพท/์ โทรสาร ................ โทรศพั ทม์ ือถือ .................. ๒. ผลคะแนนการประเมินดา้ นเอกสารและผลงานประจกั ษ์  ผลงานระดับเงนิ จานวน 200 คะแนน ๑) ผลงานด้านเอกสารสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข จานวน 100 คะแนน คะแนนท่ีได้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน  ปรับปรงุ  พอใช้  ดี  ดมี าก  ดเี ดน่ ๒) ผลงานเชงิ ประจักษ์ (กระบวนการประเมนิ ในพืน้ ท่ี) จานวน ๑๐๐ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน ปรบั ปรุง  พอใช้  ดี  ดมี าก  ดเี ดน่ ๓) สรุปผลการประเมนิ  ผ่าน  ไม่ผ่าน เมอ่ื วันที่........เดือน.......................พ.ศ..........  ผลงานระดับทอง จานวน 300 คะแนน ๑) ผลงานด้านเอกสารสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข จานวน 100 คะแนน คะแนนที่ได้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมนิ  ปรบั ปรงุ  พอใช้  ดี  ดีมาก ดเี ด่น ๒) ผลงานด้านนวัตกรรมหรือผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) จานวน 100 คะแนน คะแนนท่ไี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน  ปรับปรงุ  พอใช้  ดี  ดีมาก  ดีเด่น 3) ผลงานเชิงประจกั ษ์ (กระบวนการประเมนิ ในพนื้ ที่) จานวน ๑๐๐ คะแนน คะแนนทีไ่ ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน  ปรบั ปรงุ  พอใช้  ดี  ดีมาก ดเี ดน่ 4) สรุปผลการประเมิน  ผ่าน  ไม่ผา่ น เมือ่ วันท่ี........เดอื น.......................พ.ศ.......... /ผลงานระดบั เพชร... ค่มู อื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 38

-2-  ผลงานระดับเพชร จานวน 400 คะแนน ๑) ผลงานด้านเอกสารสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข จานวน 100 คะแนน คะแนนท่ีได้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมนิ  ปรับปรุง  พอใช้  ดี  ดมี าก  ดเี ด่น ๒) ผลงานด้านนวัตกรรมหรือผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) จานวน 100 คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน  ปรบั ปรุง  พอใช้  ดี  ดีมาก  ดเี ดน่ ๓) ผลงานการสร้างและพัฒนาเครือข่ายกับสถานศึกษาที่ขอรับการประเมินเพื่อรับรางวัลระดับ เงนิ หรือระดับทอง จานวน 3 แห่ง จานวน 100 คะแนน คะแนนท่ีได้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน  ปรบั ปรุง  พอใช้  ดี  ดมี าก  ดีเด่น 4) ผลงานเชิงประจกั ษ์ (กระบวนการประเมนิ ในพ้นื ท)ี่ จานวน ๑๐๐ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมนิ  ปรับปรุง  พอใช้  ดี  ดีมาก  ดเี ดน่ 5) สรุปผลการประเมนิ  ผา่ น  ไม่ผ่าน เมอ่ื วนั ท.ี่ .......เดอื น.......................พ.ศ..........  ผลงานรักษามาตรฐาน ระดบั เพชรปที ่ี 1 จานวน 200 คะแนน ๑) ผลงานด้านเอกสารสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข จานวน 100 คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมนิ  ปรบั ปรุง  พอใช้  ดี  ดมี าก  ดเี ด่น 2) ผลงานเชิงประจกั ษ์ (กระบวนการประเมนิ ในพน้ื ท่ี) จานวน ๑๐๐ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน  ปรบั ปรงุ  พอใช้  ดี  ดมี าก  ดีเดน่ 3) สรุปผลการประเมนิ  ผ่าน  ไมผ่ า่ น เมื่อวนั ท.ี่ .......เดอื น.......................พ.ศ..........  ผลงานรกั ษามาตรฐาน ระดับเพชรปีที่ 2 จานวน 200 คะแนน ๑) ผลงานด้านเอกสารสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข จานวน 100 คะแนน คะแนนท่ไี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน  ปรับปรุง  พอใช้  ดี  ดีมาก  ดีเดน่ 2) ผลงานเชิงประจกั ษ์ (กระบวนการประเมินในพืน้ ที่) จานวน ๑๐๐ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมนิ  ปรบั ปรงุ  พอใช้  ดี  ดมี าก  ดีเด่น 3) สรปุ ผลการประเมิน  ผา่ น  ไม่ผา่ น เม่ือวนั ท.ี่ .......เดือน.......................พ.ศ.......... /ผลงานรักษามาตรฐาน... ค่มู ือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 39

-3-  ผลงานรักษามาตรฐาน ระดบั เพชรปีท่ี 3 จานวน 200 คะแนน 1) ผลงานด้านเอกสารสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข จานวน 100 คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน  ปรับปรงุ  พอใช้  ดี  ดีมาก  ดีเด่น 2) ผลงานเชงิ ประจักษ์ (กระบวนการประเมนิ ในพ้นื ที่) จานวน ๑๐๐ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ จานวน......................คะแนน ผลการประเมิน  ปรับปรงุ  พอใช้  ดี  ดมี าก  ดเี ด่น 3) สรุปผลการประเมิน  ผา่ น  ไมผ่ า่ น เมอ่ื วนั ท.ี่ .......เดอื น.......................พ.ศ.......... 3. ปญั หา/ขอ้ เสนอ/แสดงความคดิ เห็น ............................................................................................................. 4. สรุปเกณฑ์คะแนนการประเมินผลงานการดาเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข แต่ละด้าน เช่น ด้านเอกสาร / นวัตกรรม / การสร้างเครือข่ายฯ / ด้านเชิงประจักษ์ ซ่ึงสถานศึกษาที่มี ผลงานอยใู่ นระดบั คุณภาพดีเด่นทกุ ด้าน หน่วยงานตน้ สงั กดั จะส่ง ผลงานเขา้ รบั การประเมินในระดบั ท่ีสงู ข้ึน คะแนน ระดับคุณภาพ ตา่ กว่า ๖๐ ปรับปรงุ พอใช้ 60 - 69 ดี ดีมาก 70 - 79 ดเี ดน่ 80 - 89 90 - 100 ตรวจสอบแล้วขอรบั รองว่าถูกต้อง (ลงช่อื ) ................................................ (..................................................) ตาแหนง่ .............................................. ประธานคณะกรรมการประเมิน (ลงชือ่ ) ............................................ (ลงช่ือ) ............................................ (...........................................) (.............................................) ตาแหนง่ ........................................... ตาแหนง่ .......................................... คณะกรรมการประเมนิ คณะกรรมการประเมนิ (ลงชื่อ) ............................................ (ลงชื่อ) ............................................ (.............................................) (............................................) ตาแหนง่ ........................................... ตาแหนง่ .......................................... คณะกรรมการประเมิน คณะกรรมการประเมนิ และเลขานุการ ค่มู ือการดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 40

ใบสมคั รเขา้ รบั การประเมนิ โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ปกี ารศึกษา ................ สังกดั  สพฐ.  สช.  อศ.  กศน.  ระดบั เงิน  ระดบั ทอง  ระดบั เพชร  รกั ษามาตรฐานระดับเพชรปีที่ 1  รักษามาตรฐานระดับเพชรปีที่ 2  รักษามาตรฐานระดบั เพชรปีที่ 3 …………………………..………………….. คาชแ้ี จง ให้ผ้เู สนอผลงานกรอกข้อมูล ดังน้ี ๑. ช่ือสถานศึกษา.....................................................................สงั กัด............................................................................... สถานทีต่ ้ัง................................................ถนน.................................................ตาบล/แขวง...................................... อาเภอ/เขต...................................................จงั หวัด...........................................โทรศัพท.์........................................ โทรศัพท์ (มือถอื ).........................................โทรสาร........................................E-mail ………………………………………… ๒. ชือ่ – นามสกลุ (ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา)......................................................................................................................... ระยะเวลาของปีการศึกษาท่ีดาเนินงานโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ตงั้ แตว่ นั ที่.............เดอื น..............................พ.ศ. ............ถึงวันที่.............เดอื น......................พ.ศ. …… รวมระยะเวลา.................ปี............... เดือน โทรศพั ท์....................................โทรศัพท์(มอื ถือ).............................................โทรสาร............................. E-mail : ………………………………………… ๓. ชือ่ – นามสกลุ (ครผู ู้รบั ผิดชอบ)................................................................................................................................. ระยะเวลาของปี การศึกษาทดี่ าเนินงานโครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ตั้งแตว่ นั ที่.............เดอื น ........................พ.ศ. ...............ถึงวันท่ี.............เดอื น.....................................พ.ศ. ................ รวมระยะเวลา.................ป.ี .................เดอื น โทรศัพท์...........................................โทรศพั ท์(มือถือ)...............................................โทรสาร ..................................... E-mail : ………………………………………………………………………………….. ๔. สถานศึกษาไดร้ บั รางวัลเชิดชูเกยี รติเสมา ป.ป.ส. ของปีการศึกษา (กรณุ าแนบสาเนาเกยี รตบิ ัตรทกุ ระดบั ทไ่ี ด้รบั หากไมม่ หี ลกั ฐานยนื ยันให้ถอื วา่ เร่มิ ประเมินระดบั เงนิ ใหม่)  ปกี ารศึกษา ............ ประเภทผลงานดเี ดน่ ระดบั ................  ปีการศึกษา ............ ประเภทผลงานดีเดน่ ระดับ................  ปีการศกึ ษา ............ ประเภทผลงานดเี ดน่ ระดบั ................  ปกี ารศกึ ษา ............ ประเภทผลงานดเี ดน่ ระดบั ................  ปีการศึกษา ............ ประเภทผลงานดีเดน่ ระดับ................ ขอรับรองวา่ ข้อมูลทั้งหมดเป็นความจริง (ลงชอื่ ).......................................................ผู้สมัคร (......................................................) ตาแหน่ง............................................................... ผอู้ านวยการสถานศึกษา วนั ที่..............เดอื น................................พ.ศ............... คมู่ อื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 41

คารับรองผลการดาเนนิ งาน โครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ปกี ารศกึ ษา …………….. สังกดั  สพฐ.  สช.  อศ.  กศน. ระดับเงิน ……………………………………………………………… ๑. ข้อมูลสถานศกึ ษา ส ถ า น ที่ ตั้ ง ...........................ห มู่ ที่ .............ถ น น ........................................ต า บ ล /แ ข ว ง ................................อ า เ ภ อ /เ ข ต ...........................................จังหวดั ....................................โทรศพั ท.์ ............................... โทรศัพท์ (มอื ถือ).....................................โทรสาร ...................................E-mail: …………………………….……………. ๒. ข้อมูลผปู้ ฏิบัตหิ นา้ ท่ี ปกี ารศึกษา …………….. ชอ่ื - นามสกุล (ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา) ......................................................ตาแหนง่ ............................................. ช่ือ - นามสกลุ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) .....................................................ตาแหน่ง.............................................. ได้ตรวจสอบผลการดาเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ชอื่ สถานศึกษา...................................................................ได้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์ และมีผลงานในระดับดีเด่น ขอรับรองว่า ขอ้ มูลท้ังหมดเป็นความจรงิ (ลงช่ือ)............................................ (ลงช่อื ).................................................. (………………………………………) (.................................................) ตาแหน่ง............................................. ตาแหน่ง.............หนว่ ยงานตน้ สังกดั .............. ประธานคณะกรรมการประเมิน วันท่ี........เดือน..........................พ.ศ................ วนั ที่........เดอื น.........................พ.ศ................... (ลงช่ือ).......................................................ผู้สมัคร (......................................................) ตาแหน่ง ศกึ ษาธิการจงั หวัดอ่างทอง วันท่ี..............เดือน................................พ.ศ............... ค่มู อื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 42

คารบั รองผลการดาเนินงาน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ปกี ารศกึ ษา ……………..  สังกัด  สพฐ.  สช.  อศ.  กศน.  ระดับทอง  ระดับเพชร  รักษามาตรฐานระดับเพชรปีที่ ๑  รักษามาตรฐานระดับเพชรปีที่ ๒  รักษามาตรฐานระดบั เพชรปที ่ี ๓ ……………………………………………………………… โทรศัพท์ (มือ ๑. ข้อมลู สถานศึกษา สถานทตี่ ้งั ...........................หมู่ที่.............ถนน.......................................ตาบล/แขวง........................................... อาเภอ/เขต..............................................จังหวัด....................................โทรศัพท์.............................................. ถือ).....................................โทรสาร...................................E-mail : …………………………….………… ๒. ขอ้ มูลผปู้ ฏบิ ัติหนา้ ท่ี ปีการศกึ ษา ………………. ชื่อ - นามสกุล (ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา) ......................................................ตาแหน่ง.............................................. ชื่อ - นามสกลุ (ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ) .....................................................ตาแหนง่ .............................................. ได้ตรวจสอบผลการด าเนนิ งานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ชอ่ื สถานศึกษา...................................................................ไดด้ าเนินการตามหลักเกณฑ์ และมีผลงานในระดับดีเด่น ขอรับรองว่า ข้อมลู ทงั้ หมดเปน็ ความจรงิ (ลงช่อื )............................................ (ลงชื่อ)................................................ (………………………………………) (.................................................) ตาแหนง่ ............................................. ตาแหน่ง..............หนว่ ยงานต้นสังกดั …………….. ประธานคณะกรรมการประเมิน วันท.ี่ .......เดือน.........................พ.ศ.................. วนั ท่ี........เดือน..........................พ.ศ................ (ลงชอ่ื ).................................................... (....................................................) ตาแหน่ง ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด................... วันที่............เดอื น...........................พ.ศ................ ค่มู อื การดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 43

(ตัวอย่าง ) บนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ระหวา่ ง ผู้อานวยการโรงเรียน.....................(โรงเรียนต้นแบบ)......................... กบั ผู้อานวยการโรงเรียน....................(โรงเรยนี เครือขา่ ย)......................... .............................................. บันทึกข้อตกลงฉบบั น้ี ทาขน้ึ ระหว่าง “โรงเรียน..........(โรงเรียนต้นแบบ)............” โดย.............ผู้อานวยการโรงเรียน(ต้นแบบ).............. กับ “โรง เรยี น......(โรงเรยี นเครอื ข่าย)......” โดย..............ผอู้ านวยการโรงเรียน(เครือข่าย).............ซ่ึงได้เห็นชอบ ร่วมกันในการประกาศ เจตนารมณ์เพื่อแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด แอลกอฮอล์ สื่อลามก อนาจาร การพนัน การ ทะเลาะวิวาท ที่เป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงและความสงบสุขของนักเรียน/นักศึกษาใน สถานศึกษาให้เกิดผล สัมฤทธิ์สรา้ งความเช่อื มนั่ และอุ่นใจให้กับผู้ปกครองนักเรียน/นักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นรูปธรรม โดยใช้ ยุทธศาสตร์โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข มาดาเนินการให้ บรรลุผลสาเร็จ โดยมี รายละเอียด ดังน้ี .........…................................….........................................................…............……….................................................... …................................................................................................................................................................................. ท้งั สองฝา่ ยจงึ ได้ลงนามรว่ มกันไว้เป็นหลกั ฐาน (ลงชือ่ )…............................................................... (...............................................................) ผอู้ านวยการโรงเรยี น............(โรงเรียนต้นแบบ)............. วนั ที่..............เดือน.................................พ.ศ.................. (ลงช่ือ).................................................................. (...............................................................) ผอู้ านวยการโรงเรยี น............(โรงเรียนเครือขา่ ย)............. วนั ท่ี..............เดอื น.................................พ.ศ................... คู่มอื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 44

มาตรการดา้ นป้องกนั ตวั ชีว้ ดั ท่ี 11 แบบสรปุ ผลการดาเนนิ งานห้องเรยี นสขี าว/แผนกสขี าวท้งั หมด ภาคเรยี นที่ ..................ปกี ารศึกษา....................... โรงเรยี น.................................................................. สังกัด............................................................................................... ที่ ระดับชั้น จานวนคะแนนรวม ตามแบบห้องเรียนสี ผลการประเมิน อยู่ใน ขาว 2 ระดับ 1 ป. 4/ 2 ป. 5/ 3 ป. 6/ 4 ม. 1/ 5 ม. 2/ 6 ม. 3/ 7 ม. 4/ 8 ม. 5/ 9 ม. 6/ 10 ปวช. 1/ 11 ปวช. 2/ 12 ปวช. 3/ 13 ปวส. 1/ 14 ปวส. 2/ รวม ห้องเรยี นทั้งหมด........................หอ้ ง หอ้ งเรียนสีขาวดเี ด่น………..………….หอ้ ง คิดเปน็ ร้อยละ................... สรปุ ผลการประเมิน (มาตรฐานด้านการป้องกัน ตวั บง่ ช้ที ี่ 1.1) ระดบั ดเี ดน่ ตา่ กว่ารอ้ ยละ 50  ระดบั ดีเดน่ ร้อยละ 5๐-5๙  ระดับดีเดน่ ร้อยละ 6๐-6๙ ระดับดเี ดน่ รอ้ ยละ 7๐-7๙ ระดบั ดีเด่นร้อยละ 8๐-89  ระดับดีเด่น ร้อยละ ๙๐-๑๐๐ (ลงช่ือ)................................................ผูร้ ับรองข้อมลู (.................................................) ตาแหน่ง .............................................. (ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา) คู่มือการดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หน้า 45

บทที่ 4 แนวทางการประเมนิ โครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ศนู ย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงศึกษาธิการ (ศอ.ปส.ศธ.) ได้เนินงาน ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ภายใต้โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้นักเรียน/นักศึกษาไม่ไปเก่ียวข้องกับยาเสพติดและอบายมุข โดยสถานศึกษา เชิดชูเกียรติ เสมา ป.ป.ส. ระดับเงนิ , ระดับทอง, ระดับเพชร, รักษามาตรฐานระดับเพชรปที ี่๑ - 3 ดงั นน้ั เพื่อให้การมอบรางวัล เชิดชูเกียรติเสมา ป.ป.ส. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงกาหนดแนวทางการประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ดงั นี้ 1. ดา้ นการส่งผลงาน สถานศึกษาต้องส่งผลงานขอรับการประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมขุ ต่อเนื่องตดิ ต่อกันทุกปี แบ่งการประเมนิ เป็น 1) ระดับเงนิ 2) ระดบั ทอง 3) ระดบั เพชร 4 รกั ษา มาตรฐานระดบั เพชรปที ี่ 1 – 3 เมอื่ สถานศึกษาผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ รกั ษามาตรฐานระดบั เพชรปที ่ี ๓ จะได้รับ มอบ “ป้ายสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ” หากไม่ดาเนินการต่อเน่ืองต้องเริ่มขอรับการ ประเมินฯ ต้ังแต่ระดับเงินใหม่ ยกเว้นขอรับการประเมินฯ ต่อเนื่องแล้วผลการประเมินไม่ผ่าน สามารถประเมินระดับเดิม ท่ี ผลงานไม่ผ่านได้ เช่น ปีการศึกษา 2563 ขอรับการประเมินระดับทองประเมินฯแต่ผลการระดับเขต หรือระดับ จงั หวัดไมผ่ ่าน ดังนัน้ ปีการศกึ ษา 2564 สามารถขอรับการประเมินในระดับทองได้ เป็นต้น 2. ดา้ นระยะเวลาการประเมินผลงานเงิน ลาดับ ขนั้ ตอน ระยะเวลา 1 หนว่ ยงานต้นสงั กดั ดาาเนนิ การดังนี้ 1) แจง้ สถานศึกษาในสังกดั สง่ ใบสมัครขอรับการประเมนิ ฯ 1 - 15 กุมภาพันธ์ 2) แต่งต้ังคณะกรรมการลงพน้ื ที่ประเมินผลงานเชิงประจกั ษส์ ถานศกึ ษาทยี น่ื ขอรบั การประเมินฯ ตามหลักเกณฑ์ทกี่ ระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด 3) จัดทาประกาศรายชื่อสถานศึกษาทผี่ า่ นเกณฑป์ ระเมินเปน็ “สถานศึกษาสีขาว กมุ ภาพันธ์-มนี าคม ปลอดยาเสพติดและอบายมุขดเี ด่น ระดับเงิน”ระดับหนว่ ยงานพรอ้ มชื่อ มีนาคม ผู้บรหิ ารและครูผู้รบั ผิดชอบ 4) จดั ทาแบบ สร.1 และส่งสาเนาประกาศรายชอื่ สถานศึกษาท้งั หมดทผี่ ่านเกณฑ์ ประเมนิ พรอ้ มรับรองสาเนาถูกต้องให้สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พร้อมจัดทา มีนาคม ทะเบียนข้อมลู สถานศึกษาสขี าวฯของหน่วยงาน 2 สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดดาเนนิ การดังน้ี 1) ตรวจสอบความถูกตอ้ งของแบบ สร.1 และสาเนาประกาศรายช่อื สถานศึกษาที่ เมษายน เกณฑ์ประเมินฯ ระดับหน่วยงานตน้ สงั กดั จดั ทาเกยี รตบิ ตั รระดบั เงิน (ลงนามโดยศึกษาธกิ ารจังหวัด) เพอื่ มอบให้ 2) สถานศกึ ษา จานวน 3 ฉบับ ไดแ้ ก่ (1) สถานศกึ ษา (2) ผู้บริหาร (3) ครผู ู้รบั ผิดชอบ พร้อมจัดทาทะเบยี นข้อมูลสถานศึกษาสขี าวฯของหน่วยงาน เมษายน ดาเนนิ การมอบเกยี รตบิ ัตรระดับเงนิ โดยประสานผู้ว่าราชการจังหวัด/ผ้ตู รวจ 3) ราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร/ศกึ ษาธิการภาคเปน็ ประธานมอบเกียรติบัตรใหก้ บั 26 มิถุนายน สถานศึกษาตามความพรอ้ มและบริบทของแต่ละพื้นท่ี คู่มอื การดาเนินงาน โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 46

ระดบั ทอง ลาดบั ขั้นตอน ระยะเวลา 1 หน่วยงานตน้ สังกดั ดาเนนิ การดังนี้ 1) แจง้ สถานศึกษาในสงั กดั ส่งใบสมคั รขอรับการประเมินฯ 1 - 15 กมุ ภาพันธ์ 2) แต่งตงั้ คณะกรรมการลงพ้ืนที่ประเมินผลงานเชงิ ประจักษส์ ถานศกึ ษายน่ื ขอรบั การประเมนิ ฯ ตามหลกั เกณฑ์ทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด กุมภาพนั ธ์-มีนาคม 3) จดั ทาประกาศรายช่ือสถานศึกษาทีผ่ า่ นเกณฑป์ ระเมนิ เปน็ “สถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุขดเี ดน่ ระดบั ทอง”ระดบั หนว่ ยงานพรอ้ มชื่อ ผบู้ ริหารและครูผู้รับผิดชอบ มีนาคม 4) จดั ทาแบบ สร.1 และสง่ สาเนาประกาศรายชอ่ื สถานศึกษาทั้งหมดท่ีผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ พร้อมรับรองสาเนาถูกต้องให้สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พร้อมจดั ทา ทะเบียนข้อมูลสถานศกึ ษาสีขาวฯของหน่วยงาน มีนาคม 2 สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั ดาเนนิ การดังนี้ เมษายน 1) แตง่ ตงั้ คณะกรรมการประเมินผลงานสถานศกึ ษาดา้ นเอกสาร ตามทห่ี นว่ ยงานตน้ สงั กัดเสนอขอรับการประเมนิ ฯ 2) จดั ทาประกาศรายช่ือสถานศึกษาท่ผี ่านเกณฑป์ ระเมนิ เป็น “สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุขดเี ดน่ ระดับทอง” ระดับจังหวัดพรอ้ มชอื่ ผบู้ รหิ าร และครูผูร้ ับผิดชอบ พร้อมจัดทาทะเบียนข้อมลู สถานศึกษาสีขาวฯของหนว่ ยงาน เมษายน 3) สรุปภาพรวมตามแบบ สร2. พร้อมรบั รองสาเนาทา้ ยประกาศ เมษายน สง่ สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เพื่อขอรบั เกยี รติบัตรระดบั ทอง 4) ดาเนินการมอบเกยี รติบัตรระดบั ทอง โดยประสานผูว้ า่ ราชการจงั หวดั / กระทรวงศกึ ษาธิการ/ศึกษาธิการภาคเป็นประธานมอบเกียรตบิ ตั รใหก้ บั สถานศึกษาตามความพร้อมและบริบทของแตล่ ะพ้ืนที่ 26 มถิ นุ ายน 3 สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดาเนนิ การสง่ เกียรติบัตรระดับทอง พฤษภาคม (ลงนามโดยปลัดกระทรวงศึกษาธิการ)ให้สานักงานศึกษาธิการจังหวัด สถานศึกษาละ 3 ฉบับ ได้แก่(1) สถานศึกษา(2) ผบู้ ริหาร(3) ครูผูร้ ับผดิ ชอบ คู่มือการดาเนนิ งาน โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กศน.อาเภอแสวงหา หนา้ 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook