Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คู่มือปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

Description: คู่มือปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

Search

Read the Text Version

คมู่ ือปฎบิ ัตงิ านวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ โดย วาณิชยา ตาชม บรรณารกั ษ์งานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนยบ์ รรณาสารและสอ่ื การศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

คำนำ คู่มือการปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ จัดทาขึ้นเพื่ออธิบายแนวทางการปฎิบตั ิงาน ประกอบไปด้วย ภาระหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบของบรรณารักษ์ รายละเอียดพื้นฐานเกี่ยวกับAACR 2 และ MARC 21 และการลงรายละเอียดพื้นฐานในการวิเคราะห์และลงรายการทางบรรณานุกรม ของหนังสือภาษาไทยของกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานให้มมี าตรฐานมากยิ่งขนึ้ คู่มือปฎิบัติงานฉบับนี้ เพื่อให้บรรณารักษ์งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ปฎิบัติงานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน และสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงาน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือปฎิบัติงาน ฉบับนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฎิบัติงานของห้องสมุดอัติโนมัติไม่มากก็น้อย หากผดิ พลาดประการใดผจู้ ัดทาขออภัยไว้ ณ โอกาสนีด้ ้วย วาณชิ ยา ตาชม บรรณารักษ์ งานพัฒนาและวิเคราหท์ รัพยากรสารสนเทศ ศนู ย์บรรณสารและสือ่ การศกึ ษา มหาวิทยาลยั พะเยา 15 พฤษภาคม 2561

สารบญั หน้าบทท่ี 1 บทนาความเป็นมาและความสาคัญ 1วัตถุประสงค์ของการทาคู่มือ 2ความเปน็ มาของงานพัฒนาและวิเคราะหท์ รัพยากรสารสนเทศ 2โครงสรา้ งการบริหารงานพัฒนาและวิเคราะหท์ รัพยากรสารสนเทศ 3ความสาคญั ของงานพฒั นาและวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศ 8บทบาทและหน้าทีข่ องบรรณารกั ษ์งานพฒั นาและวิเคราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศ 8บทท่ี 2 หลักเกณฑใ์ นการวิเคราะห์ประเภทของทรพั ยากรสารสนเทศทีใ่ ห้บริการในศนู ย์บรรณสารและสื่อการศกึ ษา 10ระบบการจดั หมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ 10การกาหนดเลขผู้แต่ง 47การกาหนดหวั เรื่อง 48วิธีการกาหนดหัวเรื่อง 49การทารายการบรรณานกุ รมทรัพยากรสารสนเทศ 49บทท่ี 3 แนวทางการลงรายการทางบรรณานกุ รมตามมาตรฐานAACR 2 และ MARC 21 53บทท่ี 4 วิธีการปฎิบตั ิงานข้ันตอนการปฎิบัติงาน 110แผนผงั การปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ 111รายละเอียดการปฎิบัติงาน 112บทท่ี 5 ปัญหาในการปฎิบตั ิงานและแนวทางแก้ไข 144

บรรณานุกรม 146ภาคผนวก 149

สารบัญภาพ หน้าภาพ 1 โครงสรา้ งการบริหารงานพฒั นาและวิเคราะหท์ รัพยากรสารสนเทศ 4ภาพ 2ภาพ 3 แผนผังการปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ 111ภาพ 4ภาพ 5 แสดงหน้าจอการป้อน Username และ Password 112ภาพ 6ภาพ 7 แสดงหน้าจอการคน้ หาข้อมลู 112ภาพ 8ภาพ 9 แสดงการค้นหา 113ภาพ 10ภาพ 11 กรณีซ้าในฐานข้อมลู ทรัพยากรสารสนเทศ 113ภาพ 12ภาพ 13 กรณีไม่ซ้าในฐานข้อมลู ทรพั ยากรสารสนเทศ 114ภาพ 14ภาพ 15 หนา้ จอ Bibliographic Record (หนา้ MARC) 114ภาพ 16ภาพ 17 การกรอกรายละเอียดทางบรรณานกุ รม 115ภาพ 18ภาพ 19 ระบบแจ้งเตือนการซา้ ขณะกรอกรายละเอียด 116ภาพ 20ภาพ 21 ระบบจง้ เตอื นซ้าก่อนบันทึก 116ภาพ 22 การเพิม่ ภาพปกหนังสอื 117 หนา้ จอเพิม่ Items 117 หนา้ จอ item details 118 การกรอกรายละเอียดต่างๆ ใน item details 118 การเพิม่ ทรพั ยากรสารสนเทศใหมท่ ีเ่ รยี บเร้อยแล้ว 119 การเขียนหมายเลข Bib หมายเลข Items และเลขเรียกทรัพยากรสารสนเทศ 119 การ View Bib 120 หนา้ จอแสดงการ View Item และการ View MARC 120 หนา้ จอ MARC 121 หนา้ จอ Items 121 หนา้ จอ Item details 122

หน้าภาพ 23 การกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ใน Item details 122ภาพ 24ภาพ 25 การเพิม่ ทรพั ยากรสารสนเทศซา้ ทีเ่ รียบร้อยแล้ว 123ภาพ 26ภาพ 27 การเขียนหมายเลข Bib หมายเลข Items และเลขเรียกทรพั ยากรสารสนเทศ 123ภาพ 28ภาพ 29 การตดิ บาร์โค้ดและการตดิ บัตรกา้ หนดส่ง 124ภาพ 30ภาพ 31 การตงั ค่าการพิมพส์ ้าหรบั หนงั สอื ที่จดั หมวดหมู่ในระบบ LC 125ภาพ 32ภาพ 33 สแกนบาร์โค้ดด้วยเครอ่ื งสแกนทีช่ อ่ ง Barcode 125ภาพ 34ภาพ 35 การกรอกจ้านวนตวั เลขและการเลอื ก Label type 126ภาพ 36ภาพ 37 การ Show label และ Print Label 126ภาพ 38ภาพ 39 การ Print preview 127ภาพ 40ภาพ 41 หนังสือทีพ่ ิมพเ์ ลขเรียกทรพั ยากรสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว 127ภาพ 42ภาพ 43 สติกเกอร์สา้ หรับหนังสอื ทีจ่ ัดหมวดหมใู่ นระบบ LC 128ภาพ 44ภาพ 45 อปุ กรณ์ในการตดิ เลขเรียกทรพั ยากรสารสนเทศ 128 ลา้ ดบั การตดิ สติกเกอร์ 129 การวัดจดุ ตดิ สนั หนงั สอื 129 การตดิ สนั หนงั สอื 130 การตดิ สนั หนังสอื อ้างองิ 130 การตดิ เทปใสหมุ้ สติกเกอร์เลขเรียกทรพั ยากรสารสนเทศ 130 การใชไ้ ม้รีดเทปใสให้เรียบ 131 การตดิ เลขเรียกทรัพยากรสารสนเทศที่เรียบร้อยแลว้ 131 การตดิ เลขเรียกทรัพยากรสารสนเทศทีเ่ รียบร้อยแลว้ (LC) 131 Passive Tag ที่ใชก้ บั คลื่นวิทยแุ บบ UHF 132 การตดิ Tag RFID 133 การลอกสติกเกอร์ Tag RFID 133

ภาพ 46 เครื่องอา่ น RFID หน้าภาพ 47 หนา้ จอการลงข้อมลู แท็ก 134ภาพ 48 การสแกนบาร์โค้ดในชอ่ งหมายเลข 1 134ภาพ 49 การลงขอ้ มลู แท็กแบบแนวนอน 135ภาพ 50 การลงขอ้ มูลแท็กแบบแนวตงั 135ภาพ 51 การลงขอ้ มลู แทก็ เรียบร้อยแลว้ 136ภาพ 52 การลงแทก็ ที่เคยถูกลงขอ้ มูลแลว้ 136ภาพ 53 หนงั สือไม่ได้ตดิ แทก็ 137ภาพ 54 Open File Location 137ภาพ 55 การเลือกไฟล์ในโฟเดอร์ 138ภาพ 56 การเลือกตาราง taggingdata 138ภาพ 57 การค้นหาหมายเลขบาร์โค้ดที่ไม่อัดเดทข้อมลู 139ภาพ 58 การลบหมายเลขบาร์โค้ดทีไ่ ม่อัพเดทข้อมลู 139ภาพ 59 การสแกนบาร์โค้ด 140ภาพ 60 การบันทึกข้อมลู ก่อนการเปลีย่ นสถานที่จดั เก็บ 140ภาพ 61 การเปลี่ยนแปลงข้อมูล Branch และ Location 141ภาพ 62 การตอบตกลงในการเปลี่ยนแปลง Location 141ภาพ 63 การเปลีย่ นแปลง Location เรียบร้อยแลว้ 142ภาพ 64 การประชาสัมพันธ์บนข่าวกิจกรรมศูนย์บรรณสารและสือ่ การศกึ ษา 142 143

สารบญั ตารางตาราง 1 รายละเอียดของความหมายแต่ละตาแหน่งของ Leader หน้าตาราง 2 ความหมายของเขตข้อมลู ควบคุมท่ัวไป 008ตาราง 3 สรุปกลุ่มเขตขอ้ มูลรายการหลกั และรายการเพิม่ 54 68 74

บทท่ี 1 บทนำ1. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศเป็นหน่วยงานหนึ่งของศูนย์บรรณาสารและสื่อการศึกษาและเป็นแหล่งจัดเก็บ รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ ที่ได้รับมาจากงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและกระบวนการต่อไปคือ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (Organization of information andmaterials) โดยการวิเคราะห์เน้ือหาทรัพยากรสารสนเทศ จัดหมวดหมู่และลงรายการทางบรรณานกุ รม ลงในโปรแกรมหอ้ งสมุดอัตโนมัติ ALIST การลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ คือ การลงรายละเอียดข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่ออธิบายลักษณะทรัพยากรสารสนเทศ โดยบรรณารักษ์จําเป็นต้องวิเคราะห์เนื้อหาของสารสนเทศ เพื่อกําหนดการลงรายการและกําหนดคําเพื่อใช้เป็นตัวแทนของเนื้อหา อันจะเปน็ ช่องทางการเข้าถึงรายการทางบรรณานกุ รมของทรัพยากรสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ถูกต้องตรงตามความต้องการ ซึ่งมาตรฐานการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่ใช้มาเป็นเวลานานคือ หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกนั (AACR2: Anglo-American Cataloguing Rules) ทีค่ รอบคลุมการบรรยาย ทรัพยากรสารสนเทศทั้งในรปู แบบสิง่ พิมพ์และรูปแบบดิจทิ ลั เนื่องจากทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณสารและสื่อการศกึ ษา มีหลายประเภท จะต้องมีการแยกประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ โดยใช้วิธีการต่างๆ เช่น การตั้งเลขหมู่ทรัยากรสารสนเทศ การตั้งเลขเรียกทรัพยากรสารสนเทศ เป็นต้น อาจจะเกิดความผิดพลาดในการปฎิบัติงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ รวมทั้งต้องใช้ทักษะความชํานาญของบรรณารักษ์ในการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ เนื่องจากจํานวนทรัพยากรสารสนเทศมีจํานวนมากเกินกว่าที่บรรรณารักษ์จะวิเคราะห์ได้ จะต้องใช้เวลาในการวิเคราะห์รวมถึงข้ันตอนต่างๆ ในการวิเคราะห์ก่อนทีจ่ ะนําทรัพยากรสารสนเทศออกใหบ้ ริการเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของผู้ใช้บริการ ผู้จัดทําคู่มือการลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศของกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อประกอบการปฎิบัติงานของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ

2ซึ่งเป็นการลงรายการทางบรรณานุกรมขั้นพื้นฐาน และอํานวยความสะดวกในการปฎิบัติงานไปในทิสทางเดียวกัน และพร้อมกันนี้ได้อธิบายพื้นฐานการลงรายการตามหลักเกณฑ์ AACR2 และการลงรายการทางบรรณานุกรม MARC21 เพือ่ ประกอบการปฎิบตั ิงานให้มปี ระสิทธิภาพมากยิ่งข้นึ2. วัตถุประสงค์ของคูม่ ือปฎิบตั ิงำน คู่มือการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา มีวัตถปุ ระสงค์ คือ 2.1 เพื่อเป็นแนวทางในการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศสําหรับบรรณารักษ์งานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศนู ย์บรรณสารและสื่อการศึกษา รวมไปถึงหอ้ งสมุดสาขาภายในมหาวิทยาลยั พะเยา ให้เปน็ มาตรฐานเดียวกัน 2.2 เพื่อเป็นคู่มือในการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพให้แก่นิสิต นักศึกษา สาขาวิชาบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สารสนเทศศกึ ษา หรอื สาขาวิชาทีเ่ กี่ยวข้อง3. ควำมเป็นมำของงำนพัฒนำและวิเครำะหท์ รัพยำกรสำรสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา เดิมมีชื่อว่า “ห้องสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา” เริ่มก่อต้ังมาต้ังแต่ พ.ศ. 2538 โดยเปิดให้บริการ ณ อาคารวิทยาศาสตร์ โรงเรียนพะเยาพิทยาคม เนื่องจากมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา เร่มิ ก่อต้ังและมีทีท่ ําการชว่ั คราวอยู่ที่โรงเรียนพะเยาพิทยาคม พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ได้ย้ายที่ทําการมาอยู่เลขที่ 19 หมู่ 2ตาํ บลแม่กา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา โดยหอ้ งสมุดต้ังอยู่บริเวณช้ัน 1 อาคารเรียนรวมหลังเดิม ในพ.ศ. 2543 ห้องสมุดย้ายมาอยู่ที่ชั้น 1 อาคารบริหาร หรอื อาคารสํานักงานอธิการบดีปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. 2544 ขยายการให้บริการออกเป็น 2 ห้อง มีพื้นที่ให้บริการ 648 ตารางวา มีที่นั่งอ่านท้ังหมด185 ที่น่ัง แบ่งการบริการออกเป็นบริการสารสนเทศทั่วไปและสารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและด้านกฎหมาย ซึ่งในปัจจุบันแยกออกเป็นห้องสมุดคณะพยาบาลศาสตร์ และห้องสมุดคณะนิตศิ าสตร์ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 ได้ย้ายที่ทําการห้องสมุดมายังอาคารหลังปัจจุบันซึ่งตั้งอยู่ในกลุ่มอาคารเรียนรวมหลังใหม่ เป็นอาคาร 3 ชั้น มีพื้นที่ท้ังหมด 11,213 ตารางเมตร ปีการศึกษา2554 เปิดบริการเฉพาะช้ันที่ 1 มีพื้นที่บริการ 3,346.42 ตารางเมตร พื้นที่สําหรับการทํางานของบุคลากร 639.58 ตารางเมตร และในปีเดียวกันนี้ มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ได้รับการยกฐานะ

3เป็นหน่วยงานในกํากับของรัฐ ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และได้เปลี่ยนชื่อเป็น “มหาวิทยาลัยพะเยา” ตามราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยาพ.ศ. 2553ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนที่ 44ก ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2553 จึงได้มีการแบ่งหน่วยงานในส่วนงานบริหารของมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2553 ออกเป็น 8 กอง 3 ศูนย์ และ 1สํานักงาน เพื่อให้การบริหารจัดการมีความคล่องตัวและสอดคล้องกับภารกิจห้องสมุดมหาวิทยาลัยพะเยา จึงได้ยกฐานะเป็น “ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา” มหาวิทยาลัยพะเยา และในปี พ.ศ.2556 ศนู ย์บรรณสารและสือ่ การศกึ ษา ได้เปิดบริการเตม็ พืน้ ที่ทั้งอาคาร งานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ เริ่มแรกเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ต้ังแต่ปี 2553 ได้ยกฐานนะเป็นงานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา และได้นําระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST มาใช้ในการปฏิบัติงาน มีบุคลากรเม่ือเริ่มแรก จํานวน 5 คน ในปี 2556 มีบุคลากรเพิ่มเป็น 9 คน และปัจจุบันมีจํานวน 6 คน แบ่งเป็นงานละ 1 คน ได้แก่ งานพัฒนาฯ งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศหนังสือภาษาต่างประเทศ งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศหนังสือกลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศหนังสือกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยานิพนธ์ และวิจัย งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศหนังสือกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ และนวนิยาย และงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศสื่อโสตทัศนวัสดุ ปัจจุบันงานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศมีหน้าที่ในการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ และวิเคราะห์เนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ กําหนดเลขหมู่ กําหนดหัวเร่ืองเพื่อสืบค้น และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศในระบบเพือ่ ให้ผู้ใชบ้ ริการสืบค้นได้4. โครงสรำ้ งกำรบริหำรงำนพัฒนำและวิเครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศ งานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มีผู้ปฏิบัติงานหลัก เป็นบรรณารักษ์ 6 คน รายละเอียดโครงสร้างการบริหารของงานพัฒนาและวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศ ศนู ย์บรรณสารและสื่อการศกึ ษา มีดงั นี้

4โครงสร้ำงกำรบรหิ ำรงำนพฒั นำและวิเครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศภำพ 1 โครงสร้ำงกำรบริหำรงำนพัฒนำและวิเครำะห์ทรพั ยำกรสำรสนเทศ

5หวั หน้ำงำนวเิ ครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ 1. ควบคุมและกํากับดูแลการปฏิบัติงานของบุคลากรงานพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากร สารสนเทศ 2. รับผิดชอบวิเคราะห์หมวดหมู่ กําหนดหัวเร่ือง และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ ภาษาต่างประเทศ 3. ช่วยปฏิบัติงานวิเคราะห์หมวดหมู่ กําหนดหัวเร่ือง และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ ภาษาไทย 4. รบั ผิดชอบงานเตรียมทรพั ยากรสารสนเทศออกใหบ้ ริการ 5. ควบคุมและตรวจสอบการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศตามาตรฐาน AACR 2 และ MARC 21 ของฐานข้อมลู ระบบหอ้ งสมดุ อัตโนมตั ิ ALIST 6. จัดทาํ คู่มอื การปฏิบตั ิงานวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศ 7. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณานุกรมที่ผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพื่อนําเข้า ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดศึกษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) และเปน็ ผู้รับผดิ ชอบนาํ เขา้ ฐานขอ้ มลู 8. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ / บุคลากรจาก หนว่ ยงานภายในและภายนอก 9. เป็นคณะทาํ งานฝ่ายวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศหอ้ งสมดุ สถาบันอดุ มศกึ ษา 10. งานอนื่ ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายงำนพัฒนำทรัพยำกรสำรสนเทศหนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ 1. รับผิดชอบงานจดั ซื้อทรัพยากรสารสนเทศ 2. รบั ผิดชอบการขอรบั บริจาคทรพั ยากรสารสนเทศ 3. รบั ผิดชอบและปฏิบัติงานติดตอ่ ร้านค้าเพือ่ จดั ซื้อ 4. รับผิดชอบและปฏิบัติงานประทับตราหนงั สือซือ้ /บริจาค

6 5. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ / บุคลากรจาก หนว่ ยงานภายในและภายนอก 6. เป็นคณะทาํ งานฝ่ายพฒั นาทรพั ยากรสารนเิ ทศห้องสมดุ สถาบันอุดมศกึ ษา 7. งานอื่น ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมายงำนวเิ ครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศกลมุ่ สำขำวิชำสังคมศำสตร์และมนุษยศำสตร์หนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ 1. รับผิดชอบวิเคราะห์หมวดหมู่ กําหนดหัวเรือ่ ง และลงรายการทรพั ยากรสารสนเทศภาษาไทย กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์ 2. รบั ผิดชอบงานเตรียมทรพั ยากรสารสนเทศออกใหบ้ ริการ 3. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณานุกรมที่ผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพื่อนําเข้า ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดศึกษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) 4. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ / บุคลากรจาก หนว่ ยงานภายในและภายนอก 5. งานอน่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมายงำนวเิ ครำะหท์ รพั ยำกรสำรสนเทศกลมุ่ สำขำวิชำวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี/วทิ ยำนิพนธ์/วิจยัหนา้ ทีค่ วารบั ผิดชอบ 1. รบั ผิดชอบวิเคราะห์หมวดหมู่ กาํ หนดหัวเรือ่ ง และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทย กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/วิทยานิพนธ์/วิจัย 2. รบั ผิดชอบงานเตรียมทรพั ยากรสารสนเทศออกใหบ้ ริการ 3. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณานุกรมที่ผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพื่อนําเข้า ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดศึกษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) 4. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ / บุคลากรจาก หนว่ ยงานภายในและภายนอก

7 5. งานอืน่ ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายงำนวเิ ครำะหท์ รัพยำกรสำรสนเทศกลุม่ สำขำวิชำวิทยำศำสตรส์ ขุ ภำพ/นวนิยำยหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ 1. รบั ผดิ ชอบวิเคราะห์หมวดหมู่ กาํ หนดหัวเรื่อง และลงรายการทรพั ยากรสารสนเทศภาษาไทย กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ/นวนิยาย 2. รับผิดชอบงานเตรียมทรพั ยากรสารสนเทศออกใหบ้ ริการ 3. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณานุกรมที่ผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพื่อนําเข้า ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดศึกษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) 4. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ / บุคลากรจาก หนว่ ยงานภายในและภายนอก 5. งานอน่ื ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายงำนวเิ ครำะห์ทรพั ยำกรสำรสนเทศสือ่ โสตทัศนวสั ดุหนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบ 1. รับผิดชอบวิเคราะห์หมวดหมู่ กําหนดหัวเร่ือง และลงรายการทรัพยากรสารสนเทศสื่อ โสตทศั นวสั ดุ 2. รบั ผิดชอบงานเตรียมทรพั ยากรสารสนเทศออกใหบ้ ริการ 3. ช่วยปรับปรุงแก้ไขระเบียนบรรณานุกรมที่ผ่านการตรวจจาก MARC Analyzer เพื่อนําเข้า ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดศึกษาไทย (Union Catalog of Thai Academic Libraries: UCTAL) 4. ฝึกประสบการณ์วิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ / บุคลากรจาก หนว่ ยงานภายในและภายนอก 5. งานอน่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย

85. ควำมสำคัญของงำนพัฒนำและวิเครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศ งาน พั ฒ น าแ ล ะวิ เค รา ะห์ ท รั พ ย า ก รส าร ส น เท ศ ทํ า ห น้ า ที่ ใน ก าร จั ด ระ บ บ ท รั พ ย า ก รสารสนเทศให้เปน็ หมวดหมู่ เพือ่ ให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเรว็ ถูกต้อง ทันสมยั และตรงกับความต้องการ โดยการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและวิธีการต่าง ๆ มาใช้ในการดําเนินงานสร้างฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศสําหรับเป็นเคร่ืองมือสืบค้นสารสนเทศที่มีบริการในศูนย์บรรณสารและสื่อการศกึ ษา6. บทบำทและหนำ้ ท่ขี องบรรณำรักษ์งำนพัฒนำและวิเครำะห์ทรัพยำกรสำรสนเทศ บทบาทและหน้าทีข่ องบรรณารกั ษ์งานพฒั นาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ของศูนย์บรรณสารและสือ่ การศกึ ษา มหาวิทยาลัยพะเยา มีดงั นี้ 1. ลงรายการทรพั ยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณสารและสือ่ การศกึ ษา ตามมาตรฐานการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ AACR 2 และ MARC 21 2. วิเคราะห์หวั เรื่องตาม Library of Congress Subject headings (LC), Medical SubjectHeading (NLM), หวั เรื่องภาษาไทยออนไลน์ของคณะทํางานกลุ่มวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศหอ้ งสมุดสถาบันอุดมศกึ ษา, หวั เรือ่ งภาษาไทยออนไลน์ของศนู ย์บรรณสารและสื่อการศกึ ษา 3. วิเคราะหเ์ ลขหมตู่ าม Library of Congress Classification, NLM Classification, Local Callnumber และกําหนดเลขผแู้ ต่งตามตารางเลขผแู้ ต่งหนังสือภาษาไทยสาํ เร็จรูปของหอสมดุ แห่งชาติและ Cutter-Sanborn 4. วิเคราะห์หวั เรือ่ งและกําหนดเลขหมู่หนังสอื ท่ัวไป วเิ คราะห์หวั เรือ่ งและกําหนดเลขหมู่วิทยานิพนธ์ วจิ ัย และวิเคราะหส์ ื่อโสตทศั นวสั ดุ 5. ตรวจรับและเตรียมทรพั ยากรสารสนเทศก่อนออกใหบ้ ริการ 6. ควบคุมตรวจสอบการลงรายการบรรณานุกรมในฐานข้อมลู เครือขา่ ยระบบหอ้ งสมุดอตั โนมตั ิ ALIST ของมหาวิทยาลยั พะเยา 7. ปรบั ปรุงแก้ไขระเบียนบรรณานกุ รมที่ผ่านการตรวจสอบจากโปรแกรม MARC Analyzerก่อนนาํ เข้าฐานข้อมลู สหบรรณานุกรมหอ้ งสมุดสถาบนั อดุ มศกึ ษา (UCTAL) 8. งานให้คําปรึกษาการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศแก่ห้องสมุดสาขา

9 9. ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพบรรณารักษ์ แก่นสิ ิตนกั ศึกษาจากสถาบนั ต่าง ๆ / บคุ ลากรจากหนว่ ยงานภายในและภายนอก 10. งานอืน่ ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

บทท่ี 2 หลักเกณฑใ์ นการวเิ คราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ปัจจุบันทรัพยากรสารสนเทศมีความหลากหลาย การมีหลักเกณฑ์กาหนดในการวิเคราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันน้ัน ย่อมเป็นผลดีต่อหอ้ งสมดุ ของตนเองและหอ้ งสมุดสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันได้ อีกท้ังยังอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใชบ้ ริการในด้านการสบื ค้นทรพั ยากรสารสนเทศ1. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศที่ใหบ้ ริการในศูนยบ์ รรณสารและสื่อการศึกษา ทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้รับการจัดซื้อ โดยการจัดโครงการตลาดนัดหนังสือเป็นประจาทุกปี ผ่านการแจกคูปองเงินสดให้กับอาจารย์ นิสิต และบุคลากร ได้คัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศเข้าศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา รวมท้ังได้รับอภนิ นั ทนาการจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และบคุ คลทวั่ ไป ทรพั ยากรสารสนเทศที่ได้รับมานั้นมคี วามหลากหลายประเภทและสาขาวิชา ซึ่งศูนย์บรรณสารและสือ่ การศกึ ษามีใหบ้ ริการหลกั ๆ ดงั น้ี 1. หนังสอื และตาราวิชาการ (General Books/Textbooks) 2. หนงั สืออ้างอิง (Reference Books) 3. วิทยานิพนธ์ (Thesis) 4. รายงานการวิจยั (Research Reports) 5. รายงานการประชมุ ทางวิชาการ (Proceedings) 6. วารสาร (Serials) 7. นวนิยายและเรื่องสั้น 8. โสตวสั ดุ (Audio Materials)2. ระบบการจดั หมวดหม่ทู รพั ยากรสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มีทั้งหมด 8 ประเภท มรี ะบบการจัดหมวดหมู่ 3 ระบบ คือ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน และระบบเลขหมู่ที่หน่วยงานกาหนด เพื่อให้มีความเหมาะสมกับเน้ือหา ลักษณะทางกายภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ความสะดวกในการจัดเก็บและการให้บริการ โดยกาหนดให้ใช้คู่มือในการจัดหมวดหมู่ การกาหนดหัวเร่ือง และการทารายการบรรณานุกรมที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมถึง

11ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ เพื่อให้ข้อมูลบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศมีมาตรฐานสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ (อังคณา สุริวรรณ์, 2552, เลขหน้า 10) การแบ่งการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณสารและสือ่ การศกึ ษา มี 3 ระบบ ดังน้ี 2.1 การแบง่ หมวดหมใู่ นระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification System: LC)สัญ ลักษณ์ ของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันจะเป็นสัญ ลักษณ์ ผสม (Mixed notation) โดยประกอบด้วยอักษร A-Z ยกเว้น I O W X Y แทนหมวดหมู่ใหญ่ 21 หมวด และแบ่งเนื้อหาย่อยโดยใช้ตัวเลข 1-9 ในแต่ละหมวดจะแยกการพิมพ์และการใช้โดยอิสระ บางหมวดมีเพียงเล่มเดียว เช่นหมวด A C D G J แต่บางหมวดมีหลายเล่ม เช่น หมวด B D มี 4 เล่ม หมวด H มี 2 เล่ม หมวด K มี 9เล่ม หรอื หมวด P มี 12 เล่ม เป็นต้น ลักษณะการแบ่งหมวดหมู่ของระบบหอสมุดรัฐสภาพอเมริกนั มีดงั น้ี (ระเบียบ สุภวิธี, 2559, หนา้ 12-14) 1. หมวดใหญ่ (Main classes) มี 21 หมวดใหญ่ คือ A เรือ่ งทว่ั ไป (General works) B ปรัชญา จติ วิทยา และศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) C ศาสตร์ทีเ่ กีย่ วข้องกับประวตั ิศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) D ประวัติศาสตร์ท่ัวไป และประวัติศาสตร์โลกเก่า (World history and history of Europe, Asia, Africa, Australia, New Zealand, etc. E-F ประวัติศาสตร์ทวีปอเมรกิ า (History of the Americas) G ภูมิศาสตร์ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Anthropology, Recreation) H สังคมศาสตร์ (Social sciences) J รฐั ศาสตร์ (Political science) K กฎหมาย (Law) L การศกึ ษา (Education) M ดนตรี (Music and books on music) N วิจติ รศลิ ป์ (Fine arts) P ภาษา และวรรณคดี (Language and literature) Q วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (Science)

12 R แพทยศาสตร์ (Medicine) S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) T เทคโนโลยี (Technology) U วิทยาศาสตร์การทหาร (Military science) V นาวิกศาสตร์ (Naval science) Z บรรณานุกรม และบรรณารักษศาสตร์ ทรัพยากรสารสนเทศ (ท่วั ไป) ( Bibliography, Library science, Information resources (General))2. หมวดย่อย (Subclasses)ใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ 2-3 ตัว ในแต่ละหมวดใหญ่จะใช้ตัวอักษรแบ่งหมวดย่อยไม่เท่ากัน บางหมวดใช้ตัวอักษร 2 เช่นหมวด B C D G หรือบางหมวดใช้ตัวอักษร 3 ตัว เช่นหมวด Kแตบ่ างหมวดไม่ใช้อักษรตวั ที่ 2 แบ่งย่อยเลย เชน่ หมวด E F เปน็ ต้นหมวด Q (วิทยาศาสตร์) หมวด H (สงั คมศาสตร์)QA คณิตศาสตร์ HA สถิติQB ดาราศาสตร์ HB ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์QC ฟิสิกส์ HC ประวัติและสภาวะทางQD เคมี HD ประวตั ิและสภาวะทางเศรษฐกิจQE ธรณีวิทยา HE การขนสง่ และการคมนาคมQH ธรรมชาติวิทยา HF การค้าQK พฤกษศาสตร์ HG การคลงัQL สตั วศาสตร์ HM สงั คมวิทยาQM กายวิภาคศาสตร์ HN ประวัติและสภาวะทางสงั คม ปญั หาสังคมQP สรีรวทิ ยา HQ ครอบครัวQR จุลชีววิทยา3. เน้ือหาย่อยของหนังสือ (Subjects)เป็นการแบ่งเน้ือหาที่จัดไว้ในหมวดย่อย (Subclasses)ให้ละเอียดและลึกมากยิ่งขึ้น โดยใช้เลข 1-9999 เติมหลังหมวดย่อยและอาจใช้จุดทศนิยม หรือใช้การกระจายโดยคัตเตอร์เลขหมู่ หรือตารางประเภทต่าง ๆ เพื่อกระจายเน้ือหาให้ละเอียดยิ่งขึ้นตัวอย่างการแบ่งเนือ้ หาย่อย

13HV SOCIAL PATHOLOGY. SOCIAL AND PUBLIC WELFAIR. CRIMNOLOGY.Protection, assistance and relief special classes Handicapped Physically handicapped3011 General works Biography For biography of rehabilitation patients, see RD796.A2+ For biography of persons with specific conditions, see the condition, e.g., Quadriplegics, RC406.Q333012 Collective3013.A-.Z Individual, A-Z Occupations for the physically handicapped3018 General woks3019.A-.Z By occupation, A-Z Housing for the physically handicapped3020 General works3020.2.A-.2.Z By region or country, A-Z Subarrange each country by Table H733021.A-.Z Special class of persons, A-Z3021.A35 Aged children, see HV903+3021.W66 Women3022 Transportation and travel By region or country United States3023.A1 Documents3023.A2 Periodicals, serials, societies, conferences, etc.

143023.A3 General works3023.A4-.Z By region or state, A-Z Under each state: .x General works .x2A-.x2Z Institutions. By place, A-Zนอกจากนี้การจัดห มวดห มู่ทรัพ ยากรส ารสนเทศของศูนย์บรรณ สารและ สื่อก ารศึกษ ากาหนดใชค้ ู่มอื ออนไลน์ในการจัดหมวดหมเู่ พิม่ เติมที่ http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/2.2 การจดั แบ่งหมวดหมู่ระบบหอสมดุ แพทย์แหง่ ชาติอเมริกันระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน (National Library of Medicine ClassificationSystem: NLM) อังคณา สุริวรรณ์ (2552, เลขหน้า 14-33) กล่าวว่าได้จัดแบ่ง เนื้อหาของศาสตร์ต่างๆ ในสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ออกเป็น 35 หมวดใหญ่ สัญลักษณ์ที่ใช้คือ ตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่ 1-2 ตัวอกั ษรแทนหมวดหมู่ใหญ่ และเลขอารบิคและจุดทศนิยมแทนเนื้อหาหมวดย่อยลงไป ซึ่งสัญลักษณ์ตัวอักษรโรมันที่ใช้ในระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกันจะเป็นอักษรที่ระบบหอสมุดรัฐสภาไม่ใช้ คือ อกั ษร Q และ W รายละเอียดการแบ่งหมวดหมรู่ ะบบ NLM ผเู้ ขียนได้อ้างอิง (ศรีรมย์คู้ลู้, 2547, หน้า 1-26) และ (United States National Library of Medicine, 2017) และได้อธิบายเพิม่ เติมในส่วนที่ข้อมลู ไม่สมบรู ณ์ ดงั น้ีPreclinical Sciences วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์พืน้ ฐานQS Human anatomy กายวิภาคศาสตร์มนษุ ย์ QS 1-132 Anatomy กายวิภาควิทยา, แบบจาลองสิง่ มีชีวติ เพื่อใชศ้ กึ ษา ด้านกายวิภาคศาสตร์, โครงกระดกู QS 504-539 Histology จุลกายวิภาคศาสตร์ของเนือ้ เยือ่ QS 604-681 Embryology วิชาว่าด้วย embryo, การกาเนิด การเจริญเติบโต และพฒั นาของ embryoQT Physiology สรีรวทิ ยา QT 1-33.1 Reference Works. General Works

15 ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งทว่ั ไปเกี่ยวกบั สรีรวทิ ยา QT 34-37.5 Physics. Mathematics. Engineering ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ QT 104-172 Human Physiology สรีรวทิ ยาของมนุษย์ QT 180-245 Physiology, Hygiene สรีรวทิ ยา. สุขวิทยา ความสะอาด QT 250-275 Leisure Activities. Sports Medicine กิจกรรมยามวา่ ง การแพทย์ที่เกีย่ วกับกีฬาQU Biochemistry ชีวเคมี QU 1-54 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งทวั่ ไปเกี่ยวกบั ชีวเคมี QU 55-70 Proteins. Amino Acids. Peptides โปรตนี . กรดอมีโน. สารประกอบน้าหนกั โมเลกลุ ตา่ ใหอ้ มิโน- แอซิด 2 ตัว หรอื มากกว่าเมอ่ื เกิด hydrolysis QU 75-99 Carbohydrates. Lipids คารโ์ บไฮเดรต. อินทรียสารจาพวก fatly acids, neutral fats, waxes, steroids และ phosphatides QU 100-133 Biochemistry of the Human Body วิทยาศาสตร์ทีเ่ กี่ยวกบั เคมีวิทยาของรา่ งกายมนุษย์ QU 135-144 Enzymes เอนไซม์ ตัวหมกั โปรตนี ทีค่ ดั หลั่งจากเซลล์มฤี ทธิ์กระตุ้นทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง QU 145-220 Nutrition. Vitamins โภชนาการ. วิตามิน QU 300-560 Cell Biology and Genetics ชีววิทยาและพันธศุ าสตร์ของเซลล์

16QU 300-375 Cells เซลล์QU 450-560 Genetics พันธศุ าสตร์QV Pharmacology เภสชั วิทยาQV 1-55 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งทั่วไปเกี่ยวกับเภสัชวทิ ยาQV 60-75 Dermatologic Agents. Gastrointestinal Agents ยารกั ษาโรคผวิ หนัง. ยารกั ษาโรคกระเพาะอาหารและลาไส้QV 76-115 Central Nervous System Agents. Local Anesthetics ยารักษาโรคระบบประสาทส่วนกลาง. ยาชา ยาสลบQV 120-140 Autonomic Agents. Nonmetallic Elements. Neuromuscular Agents ยารักษาโรคประสาทQV 150-160 Cardiovascular Agents. Renal Agents ยารักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ. ยารักษาโรคไตQV 170-177 Reproductive Control Agents ยาคมุ กาเนิดQV 180-195 Hematologic Agents ยาบารงุ เลือดQV 220-243 Local Anti-Infective Agents. Dyes. Tars ยาป้องกนั การตดิ เช้ือเฉพาะที่QV 270-285 Water. Electrolytes น้า. สารประกอบในสารละลายที่เป็นตวั นาไฟฟ้าและแตกตัวเป็นไอออนQV 290-318 Heavy Metals. Gases โลหะหนัก. ก๊าซต่าง ๆQV 350-370 Antibiotics. Tissue Extracts สารหรอื ยาปฏิชีวนะ. สารสกัดเนือ้ เยื่อ

17 QV 600-667 Toxicology พิษวิทยา วชิ าทีเ่ กี่ยวกับสารพิษและฤทธิ์ของมนั , ยาแก้พิษ การตรวจวเิ คราะห์ QV 600-607 General Toxicology พิษวิทยาทว่ั ไป QV 610-618 Inorganic Poisons ยาพิษที่เป็นอนินยสาร QV 627-633 Organic Poisons ยาพิษที่เป็นอินทรียสาร QV 662-667 Gas Poisons. Chemical Agents ก๊าซพิษ. สารเคมี QV 701-835 Pharmacy and pharmaceutics เภสชั ศาสตร์และเภสัชกรรม, เภสชั ภณั ฑ์ QV 701-737 General Pharmacy and Pharmaceutics เภสชั ศาสตร์และเภสัชกรรม, เภสชั ภัณฑท์ ั่ว ๆ ไป QV 738-772 Drug Standardization. Pharmacognosy. Medicinal Plants มาตรฐานของยา, เภสัชเวท, ยาสมนุ ไพร QV 773-835 Pharmaceutical Processes. Packaging. Labelling การบรรจุหบี หอ่ . ฉลากยาQW Microbiology. Immunology จุลชวี วิทยา QW 1-300 Microbiology จลุ ชีววิทยา QW 1-52 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรื่องทั่วไปเกีย่ วกับจลุ ชีววิทยา QW 55-85 Environmental Microbiology จลุ ชีววิทยาทางสง่ิ แวดล้อม QW 125-155 Bacteria

18 เช้ือแบคทีเรยี QW 160-170 Viruses เชอ่ื ไวรสั QW 180-190 Fungi. Bacterial Spores เช้ือรา. สปอร์ QW 300 Biological Warfare สงครามเช้ือโรคที่ใชแ้ บคทีเรยี , ไวรสั , สารพิษและอ่นื ๆ ในการทาลายคนQW 501-949 Immunology ภมู คิ ุ้มกันวิทยา การศกึ ษาเกีย่ วกับภูมคิ ุ้มกนั โรคและการสรา้ ง ภูมคิ ุ้มกันโรค QW 501-540 Reference Works. General Immunology ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งทัว่ ไปเกีย่ วกับภมู คิ ุ้มกนั วิทยา QW 541-568 Immunity by Type รูปแบบ ตัวอย่างภมู ิคมุ้ กันแต่ละชนิด QW 570-630.5 Antigens and Antibodies. Toxins and Antitoxins สารที่กระตุ้นการสร้าง Antibodies และโปรตนี ต้านพิษ ของ antigen เฉพาะอย่าง, ภูมคิ ุ้มกันในร่างกาย. พิษ (โดยเฉพาะพวกโปรตนี จากสตั ว์ พืช และแบคทีเรยี ที่ทา ให้เกิดโรค) สารพิษ และสารหรอื ยาตา้ นเฉพาะอย่าง, antibody ที่สามารถต้านพิษเฉพาะอย่าง QW 640-730 Immune Responses ปฏิกิรยิ าของภูมิคมุ้ กันโรค QW 800-949 Immunotherapy and Hypersensitivity การบาบดั โรคด้วยภมู ิคมุ้ กนั และความรสู้ ึกไวในที่มีตอ่ สิง่ กระตนุ้ ใด ๆ

19QX Parasitology พยาธิวิทยา, ปรสิตวิทยา QX 1-45 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งท่ัวไปเกี่ยวกบั พยาธิวิทยา, ปรสิตวทิ ยา QX 50-151 Unicellular Eukaryota โปรโตซวั QX 200-451 Helminths. Annelida หนอน หนอนพยาธิ ยาธิ. จาพวกหนอนไส้เดือน หรอื ปลิง QX 460-483 Arthropods สิ่งมีชีวติ มขี าเป็นปล้อง ๆ เช่น แมงมุม QX 500-675 Insects. Other Parasites แมลงมีขา 3 คู่ ลาตัวแบ่งเปน็ สามส่วน คือ หัว อก และท้อง และมกั มีปีก 1 คู่ เกี่ยวกับแมลงQY Clinical Laboratory Pathology พยาธิวิทยาคลินิก QY 1-39 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรื่องท่วั ไปเกีย่ วกับพยาธิวิทยาคลินกิ QY 50-60 Laboratory Animals หอ้ งทดลองเกีย่ วกับสตั ว์ QY 80-110 Laboratory Techniques หอ้ งปฏิบัติการทางเทคนิค QY 118-350 Specimen Analysis. Diagnostic Tests กระบวนการการทดลอง การทดสอบทางดา้ นการวิจัย QY 400-490 Hematologic Tests. Blood Chemical Analysis การตรวจทางโลหติ วิทยา. การวิเคราะหท์ างเคมีในเลือดQZ Pathology พยาธิวิทยา โรควิทยา ลกั ษณะโรค ความผิดปกติ QZ 1-39 Reference Works. General Works

20 ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งทัว่ ไปเกีย่ วกบั พยาธิวิทยา โรควิทยา ลกั ษณะโรค ความผิดปกติ QZ 40-105 Pathogenesis. Etiology การทาใหเ้ กิดโรค การกาเนิดของโรค. การศึกษาเกีย่ วกับสาเหตุของ โรค QZ 140-180 Pathologic Processes กระบวนการทางพยาธิวิทยา QZ 200-380 Neoplasms เนือ้ งอก QZ 310-380 Specific Types of NeoplasmsMedicinal and Related Subjects การแพทยแ์ ละเร่อื งที่เกี่ยวขอ้ งW Medical Professions อาชีพแพทย์ W 1-28 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งท่ัวไปเกี่ยวกับอาชีพแพทย์ W 32-64 Law. Ethics. Professional-Patient Relations กฎหมาย. หลักจริยธรรม W 74-81 Medical Economics เศรษฐศาสตร์ทางการแพทย์ W 82-83.1 Biomedical Technology เทคโนโลยีทางด้านชีวการแพทย์ W 84-85.5 Health Services. Patients and Patient Advocacy บริการเกี่ยวกบั สขุ ภาพ. คนไข้ และทนายความของคนไข้ W 87-96 Professional Practice การฝึกอาชีพ W 100-275 Medical, Dental, and Pharmaceutical Service Plans แผนงานการบริการทางด้านการแพทย์ ทนั ตกรรมและเภสชั กรรม

21 W 322-323 Social Welfare through Medicine บริการสวัสดิการสงั คมให้แก่แพทย์ W 601-925 Forensic Sciences นิตเิ วชศาสตร์ W 601-750 Reference and General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งทั่วไปเกี่ยวกบั นิตเิ วชศาสตร์ W 775-867 Medicolegal Examination การชนั สูตรบาดแผลในช่องปาก W 900-925 Disability Evaluation. Compensation การประเมนิ การไร้ความสามารถ. การชดเชยWA Public Health สาธารณสุขศาสตร์ WA 1-106 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งทวั่ ไปเกีย่ วกับสาธารณสขุ ศาสตร์ WA 108-245 Preventive Medicine การแพทย์ที่เกี่ยวกับการป้องกนั โรค เวชศาสตร์ป้องกนั WA 250-295 Accident and Injury Prevention. Disasters อบุ ตั ิเหตุ และการป้องกนั อันตรายและการบาดเจ็บ WA 300-395 Health Problems of Special Population Groups ปัญหาสขุ ภาพของประชากรกลุ่มพเิ ศษ WA 400-495 Occupational Medicine, Health, and hygiene อาชีพแพทย์ สขุ ภาพและสุขวทิ ยา WA 525-590 Health Administration and Organization การจดั การและการบริหารสขุ ภาพ WA 670-847 Sanitation. Environmental Control สุขอนามัย สุขาภิบาล การส่งเสริมสุขภาพ การควบคมุ สิ่งแวดล้อม WA 670-674 General Sanitation and Environmental Control

22 สุขภาพอนามัยท่ัวไป และการควบคมุ สิง่ แวดล้อม WA 675-690 Water สิ่งแวดล้อมที่เกีย่ วกบั น้า WA 695-722 Food. Food Safety สิง่ แวดล้อมทีเ่ กี่ยวกบั อาหาร WA 730-744 Drugs. Cosmetics สิ่งแวดล้อมทีเ่ กีย่ วกับยา และเครื่องสาอาง WA 750-776 Air. Noise สิ่งแวดล้อมทีเ่ กี่ยวกับอากาศ เสียง WA 778-790 Waste สิ่งแวดล้อมทีเ่ กีย่ วกับขยะ WA 795-830 Housing. Buildings. Public Facilities สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับบ้าน อาคาร สิ่งอานวยสาธารณะ ประโยชน์ WA 840-847 Mortuary Practices สิ่งแวดล้อมทีเ่ กี่ยวกับสถานทีเ่ กบ็ ศพ WA 900-950 Statistics. Surveys สถิต.ิ การสารวจWB Practice of Medicine อายรุ ศาสตร์ WB 1-117 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งท่ัวไปเกีย่ วกับอายุรศาสตร์ WB 120-130 Home Health Care. Works about Medicine for the Layperson การดแู ลสขุ ภาพหลังการรกั ษาทีบ่ ้านWB 141-293 Diagnosis การวินจิ ฉัยโรค การตรวจโรค

23 WB 141-142 General Diagnosis การวินจิ ฉยั โรค การตรวจโรคทัว่ ไป WB 143-182 Signs and Symptoms การแสดงอากัปกิริยา และอาการ เคร่ืองชี้บอกของการเกิด โรค WB 200-288 Physical Diagnosis การตรวจโรค การตรวจร่างกาย WB 290-293 Medical history. Clinical Reports ประวัติเกีย่ วกบั การรกั ษา การรายงานของคนไข้WB 300-962 Therapeutics การบาบดั โรค การรักษาโรค WB 300-395 General Therapeutics การบาบัดโรค การรกั ษาโรคท่ัวไป WB 400-449 Diet Therapy and Nutrition Therapy การควบคุมอาหารและโภชนาการ WB 460-556 Physical and Occupational Therapy การตรวจร่างกาย และอาชีวบาบดั การรักษาโดยให้ ทางานเบา ๆ ที่เปน็ การฝึกอาชีพไปในตวั WB 700-760 Medical Climatology การบาบัดโรค การรักษาโรค WB 880-962 Complementary and Alternative Therapies การบาบัดเสริมและการบาบดั ด้วยวิธีอน่ื ๆWC Communicable Diseases โรคติดเชื้อตา่ ง ๆ WC 1-100 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งทั่วไปเกี่ยวกับโรคติดเชือ้ WC 140-185 Sexually Transmitted Diseases

24 การตดิ เช้ือทีเ่ กิดจากการมเี พศสัมพันธ์ WC 195-425 Infection. Bacterial Infections การตดิ เช้ือ การตดิ โรค โรคติดเชือ้ ภาวะการติดเชือ้ WC 195 General Infection โรคติดเชือ้ ทวั่ ไป WC 200-255 Bacterial Infections โรคทีเ่ กิดจากเชือ้ แบคทีเรยี WC 260-290 Enteric Infections โรคติดเชือ้ ที่เกี่ยวกับลาไส้ WC 302-425 Other Bacterial Infections. Zoonotic Bacterial Infections โรคที่เกิดจากเชือ้ แบคทีเรยี อื่น ๆ โรคของสตั ว์ที่ตดิ ต่อไป ยังคนได้WC 450-475 Mycoses โรคที่เกิดจากเชือ้ ราWC 500-590 Virus Diseases โรคที่เกิดจากเชือ้ ไวรัส WC 500 General Virus Diseases โรคที่เกิดจากเชือ้ ไวรสั ทวั่ ไป WC 501-502 General RNA Virus Infections โรคทีเ่ กิดจากเชือ้ ไวรัสที่มกี ารสงั เคราะหโ์ ปรตนี ในเซลล์ WC 503-503.7 Acquired Immunodeficiency Syndrome. HIV Infections กลุ่มอาการของโรคทีม่ ลี ักษณะภูมคิ ุ้มกนั บกพร่อง. เช้ือ HIV WC 505-520 Viral Hemorrhagic Fevers. Other Virus Diseases โรคติดเชือ้ ที่ตดิ ต่อกนั ทางระบบทางเดินหายใจ WC 522-532 Infectious Mononucleosis. Arbovirus Infections

25 โรคติดตอ่ ที่เกิดจากความผิดปกติของเมด็ เลือดขาวที่มี นิวเคลียสเดียวในเลือด. โรคติดตอ่ ทีม่ แี มลงเป็นพาหะ นาโรคสมองอักเสบ, ไข้เหลือง WC 534-556 Viral Hemorrhagic Fevers. Other Virus Diseases ไข้ทีม่ อี าการเลือดไหลออกมาก. และโรคไวรัสอืน่ ๆ WC 570-590 Infectious Viral Skin Diseases เช้ือไวรัสที่ทาให้เกิดโรคผวิ หนงั WC 600-660 Rickettsiaceae Infections. Chlamydiaceae Infections เชื้ อ โรค ช นิ ด ห นึ่ งที่ ค ล้ าย แ บ ค ที เรี ย แ ต่ จั ด อ ยู่ ใน ต ร ะกู ล Rickettsiaceae WC 680-950 Tropical and Parasitic Diseases โรคที่เกิดในเขตร้อนและเกิดจากเชือ้ ปรสิตWD Disorders of Systemic, Metabolic or Environmental Origin, etc. โรคขาดสารอาหาร WD 100-175 Nutrition Disorders โภชนาการผิดปกติ WD 200-226 Metabolic Diseases โรคทีเ่ กีย่ วกับการเผาผลาญอาหาร WD 200-200.1General Metabolic Diseases โรคทีเ่ กี่ยวกับการเผาผลาญอาหารทวั่ ไป WD 200.5-214 Specific Metabolic Diseases โรคทีเ่ กีย่ วกบั การเผาผลาญอาหารเฉพาะด้าน WD 220-226 Water-Electrolyte Imbalance ภาวะที่ขาดความสมดลุ ของนา้ ในร่างกาย WD 300-380 Immunologic and Collagen Diseases. Hypersensitivity โรคทีเ่ กีย่ วกับภมู คิ ุ้มกันและเนือ้ เยือ่ คอลลาเจน. ภมู ไิ วเกิน

26 WD 400-430 Animal Poisons อาการพิษเนือ่ งจากสตั ว์ WD 500-530 Plant Poisons อาการพิษเนื่องจากพืช WD 600-670 Disorders and Injuries of Environmental Origin โรคและการบาดเจบ็ สาเหตจุ ากตวั กระทาทางกายภาพ WD 700-745 Aviation Medicine เวชศาสตร์การบิน WD 750-758 Space Medicine การแพทย์อวกาศ WD 800 Naval Medicine การแพทย์ทหารเรือ, เวชศาสตร์นาวีWE Musculoskeletal System ระบบกลา้ มเนื้อและโครงกระดกู WE 1-141 Reference Works. General Works ผลงานอ้างอิง. เรื่องทวั่ ไปเกี่ยวกบั ระบบกล้ามเนือ้ และโครงกระดูก WE 168-190 Orthopedic Procedures ศลั ยกรรมกระดกู การฟืน้ ฟู การปลกู กระดูก WE 200-259 Bones กระดูก สิง่ ที่คล้ายกระดกู โครงกระดกู WE 300-400 Joint and Connective Tissues เนือ้ เยื่อข้อตอ่ และเนือ้ เยื่อที่เกี่ยวพนั WE 500-600 Muscles and Tendons กล้ามเนือ้ และเส้นเอน็ WE 700-708 Head and Neck ศรี ษะและคอ WE 710-760 Torso

27 ลาตัวWE 800-886 Extremities ปลายแขนปลายขา WE 800 General Extremities โรคเกี่ยวกบั ปลายแขนปลายขาทว่ั ๆ ไป WE 805-835 Upper Extremity ปลายแขนปลายขาส่วนบน WE 850-886 Lower Extremity ปลายแขนปลายขาส่วนล่างWE 890 Podiatry การรกั ษาความผิดปกติของเท้า เท้าบาบดั ผลงานอ้างอิง. เรือ่ งทัว่ ไปเกีย่ วกับระบบกล้ามเนือ้ และโครงกระดูกWE 168-190 Orthopedic Procedures ศัลยกรรมกระดูก การฟืน้ ฟู การปลูกกระดกูWE 200-259 Bones กระดูก สิง่ ทีค่ ล้ายกระดกู โครงกระดกูWE 300-400 Joint and Connective Tissues เนือ้ เยือ่ ข้อตอ่ และเนือ้ เยื่อทีเ่ กี่ยวพันWE 500-600 Muscles and Tendons กล้ามเนือ้ และเส้นเอ็นWE 700-708 Head and Neck ศรี ษะและคอWE 710-760 Torso ลาตัวWE 800-886 Extremities ปลายแขนปลายขา

28 WE 800 General Extremities โรคเกี่ยวกบั ปลายแขนปลายขาทั่ว ๆ ไป WE 805-835 Upper Extremity ปลายแขนปลายขาส่วนบน WE 850-886 Lower Extremity ปลายแขนปลายขาส่วนล่าง WE 890 Podiatry การรักษาความผิดปกติของเท้า เท้าบาบัดWF Respiratory System ระบบหายใจ WF 1-110 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรื่องท่ัวไปเกีย่ วกบั ระบบหายใจ WF 101-110 Anatomy, Physiology, Biochemistry, etc. of the Respiratory System (General) ลักษณะทางกายวิภาค สรีรวทิ ยา ชีวเคมี และอื่น ๆ เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจท่ัวไป WF 140-900 Diseases of the Respiratory System โรคระบบทางเดินหายใจ WF 141-150 Diagnosis. Therapeutics การวินจิ ฉยั . การรกั ษาโรคระบบทางเดินหายใจ WF 200-415 Tuberculosis วณั โรค WF 450 Neoplasms (General) เนือ้ งอก WF 490-553 Pharynx. Trachea. Bronchi คอหอย หลอดลม หลอดลมใหญ่ WF 600-668 Lungs ปอด

29 WF 700-900 Pleura. Diaphragm. Mediastinum เยื่อหุ้มปอด กระบังลม เยื่อทีก่ ั้นกลางช่องอก WF 970-985 Thoracic Cavity. Thoracic Surgery ทรวงอก. ศัลยกรรมทรวงอกWG Cardiovascular System ระบบหัวใจรว่ มหลอดเลือด WG 1-113 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งท่วั ไปเกีย่ วกบั ระบบหวั ใจและหลอดเลือดหัวใจ WG 120-180 Cardiovascular Diseases, Diagnosis, and Therapeutics โรคเกี่ยวกับหวั ใจและหลอดเลือดหวั ใจ, การวินจิ ฉยั และการ รกั ษาโรค WG 200-460 Heart. Heart Diseases หวั ใจและโรคหัวใจ WG 500-700 Blood Vessels. Vascular Diseases หลอดเลือด. โรคเกี่ยวกับหรอื ประกอบด้วยท่อหรอื หลอด (นาส่ง ของเหลว, โลหติ , น้าเหลือง) WG 500-505 Blood Vessels (General) เรือ่ งเกี่ยวกับหลอดเลือดทั่ว ๆ ไป WG 510-595 Arteries เส้นโลหิตแดง, หลอดเลือดแดง WG 600-700 Veins. Capillaries เส้นโลหิตดา, เส้นเลือดฝอยWH Hemic and Lymphatic Systems ระบบทางเดินของเลือดและนา้ เหลือง WH 1-100 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรื่องท่ัวไปเกีย่ วกับระบบทางเดินของเลือดและ น้าเหลือง WH 120-540 Hematologic Diseases. Immunologic Factors. Blood Banks

30 โรคเกี่ยวกับเลือด ภมู ิคมุ้ กนั ธนาคารเลือด WH 600-700 Lymphatic System ระบบเกี่ยวกับต่อมนา้ เหลืองWI Digestive System ระบบกระเพาะอาหารและล้าไส้ WI 1-150 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . เรือ่ งทว่ั ไปเกี่ยวกับระบบกระเพาะอาหารและลาไส้ WI 101-113 Anatomy. Physiology. Hygiene กายวิภาคศาสตร์. สรีรวทิ ยา. สุขวิทยา ความสะอาด WI 140-150 Diseases. Diagnosis. Signs and Symptoms โรค. การวินจิ ฉยั โรค. อาการทีบ่ ่งบอกถึงการเกิดโรค WI 200-250 Stomatognathic System. Esophagus ระบบย่อยอาหาร WI 300-387 Stomach กระเพาะอาหาร ท้อง ช่องท้อง ความอยากอาหาร WI 400-575 Intestines ลาไส้ WI 400-480 Intestines (General) ลาไส้ทวั่ ไป WI 500-512 Small Intestine ลาไส้เลก็ WI 520-560 Large Intestine ลาไส้ใหญ่ WI 575 Peritoneum เยื่อบชุ อ่ งท้อง WI 600-650 Anus. Rectum ทวารหนกั ไส้ตรง

31 WI 700-770 Liver. Biliary Tract ตบั น้าดี WI 800-830 Pancreas ตบั อ่อน WI 900-970 Abdomen. Abdominal Surgery ช่องท้อง ส่วนท้องWJ Urogenital System ระบบปสั สาวะและอวยั วะสืบพันธุ์ WJ 1-190 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทัว่ ไปเกีย่ วกับระบบปัสสาวะและอวยั วะ สืบพนั ธ์ุ WJ 140-160 Urologic Diseases โรคเกีย่ วกบั ระบบทางเดินปสั สาวะ WJ 166-190 Therapeutics. Gynecological Urology การบาบัดรักษา. ระบบปัสสาวะทางนรเี วช WJ 300-378 Kidney ไต WJ 400-600 Ureter. Bladder. Urethra ท่อไต ท่อน้าปสั สาวะ กระเพาะปัสสาวะ WJ 700-875 Male Genitalia อวัยวะสืบพนั ธ์ุของเพศชายWK Endocrine System ระบบตอ่ มไร้ทอ่ WK 1-148 Reference Works. General Works ผลงานอ้างอิง. ผลงานทัว่ ไปเกี่ยวกบั ระบบต่อมไร้ท่อ WK 150-190 Hormones. Hormone Therapy

32 ฮอร์โมน. สารเคมีทีเ่ กิดในอวัยวะ หรอื ต่อมของรา่ งกายและเข้าสู่ กระแสโลหิตออกฤทธิ์กระตุ้นการปฏิบัติงานของเซลล์หรือ อวยั วะ WK 200-300 Thyroid Gland. Parathyroid Glands ต่อมไธรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อ 2 พู ที่อยู่ขา้ งของหลอดคอมีหน้าที่ ผลติ และหลัง่ thyroxin (มีฤทธิ์ในกาควบคุมการอตั ราสันดาป). ต่อมขนาดเล็กหลายต่อมทีอ่ ยู่ติดกบั ต่อมไธรอยด์ทีค่ วบคุม ปริมาณแคลเซียมในโลหิต WK 350-400 Pineal Gland. Thymus Gland ต่อมไร้ท่อที่อยู่ข้างหลงั กระดกู เต้านมข้ึนไปถึงบริเวณต่อม ไธรอยด์ WK 500-590 Pituitary Gland ต่อมที่ฐานสมองตรงแอ่งของกระดกู sphenoid WK 700-790 Adrenal Glands ต่อมหมวกไตซึง่ เป็นต่อมไร้ท่อที่อยู่เหนอื ไต หลง่ั ฮอรโ์ มนชอ่ื อดรีนาลิน WK 800-885 Islets of Langerhans กลุ่มเซลล์สรา้ งฮอร์โอนอินซลู ินของตบั อ่อน WK 900-920 Gonads ต่อมเพศ, อณั ฑะ, รงั ไข่WL Nervous System ระบบประสาท WL 1-102.3 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทวั่ ไปเกีย่ วกบั ระบบประสาท WL 102.5-102.9 Neurons เซลล์ประสาท WL 103-108 Psychophysiology. Neuroscience Specialties.

33 จติ สรีรวิทยา สรีรวทิ ยาที่เกีย่ วกบั ความสมั พนั ธ์ระหว่างจิตกบั ปรากฏการณ์ทางกาย. โรคประสาทWL 140-160 Diseases. Examination and Diagnosis (General) โรคเกี่ยวกับระบบประสาท. การทดสอบและการวินิจฉยั โรค (ทว่ั ไป)WL 200-405 Central Nervous System. Disorders. Therapeutics ระบบประสาทส่วนกลาง. ความผิดปกติ. การบาบัดโรค. การรักษา โรค WL 200-337 Central Nervous System ระบบประสาทส่วนกลางทว่ั ไป WL 340-346 Neurologic Manifestations การแสดงอาการทางโรคประสาท WL 348-362 Brain Diseases โรคเกี่ยวกับสมอง WL 368-370 Brain Surgery การผ่าตดั สมอง WL 385-390 Epilepsy. Movement Disorders ภาวะผิดปกติของระบบประสาททีม่ อี าการชดั และอาจ ถึงหมดสตไิ ปได้ โรคลมบ้าหมู WL 400-405 Spinal Cord ลาไขสันหลงั ทีเ่ ปน็ เนือ้ เยื่อประสาทในลากระดูกสนั หลังWL 500-544 Peripheral Nerves เส้นประสาทภายนอกWL 600-610 Autonomic Nervous System ระบบประสาทส่วนกลางที่เกี่ยวกับการทางานเองของอวัยวะใน ร่างกายWL 700-710 Sense Organs

34 อวยั วะสัมผสั อวัยวะประสาทสมั ผสั อวยั วะทีไ่ วต่อตัวกระตนุ้WM Psychiatry จติ เวชวิทยา WM 1-110 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานท่วั ไปเกี่ยวกบั จติ เวชวิทยา WM 140-167 Mental Disorders. Diagnosis. Behavioral Symptoms ความผิดปกติทางจติ . การวินจิ ฉัยโรคเกีย่ วกบั การแสดงออก ทางพฤติกรรม WM 170-197 Neurotic Disorders ความผิดปกติเกีย่ วกบั เส้นประสาท โรคประสาท WM 200-220 Psychotic Disorders ความผิดปกติของจิตใจ. อาการทางจิต WM 270-290 Substance-Related Disorders สาร สสาร เน้ือหนังมงั สาร่างกาย WM 300-308 Intellectual Disability ความบกพร่องทางสตปิ ัญญา WM 400-460.7 Therapies การบาบดั โรค การรักษาโรคทางจิต WM 475-611 Other Disorders ความผิดปกติทางจติ อืน่ ๆWN Radiology. Diagnostic Imaging รังสีวิทยา. รังสีวินิจฉยั WN 1-160 Reference Works. Diagnostic Technology ผลงานอ้างองิ . ผลงานทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการวินจิ ฉัย WN 180-240 Diagnostic Imaging. Radiography รงั สวี ินจิ ฉัย. การถ่ายภาพเอกซเรย์หรอื แกมมาเรย์ของอวยั วะ ภายในรา่ งกาย WN 250-250.6 Radiotherapy

35 รงั สบี าบดั WN 300-340 Radium ธาตกุ มั มนั ตภาพรังสีสูงทีเ่ ป็นโลหะชนิดหนึ่ง WN 415-665 Radioactivity (Excluding Roentgen Rays and Radium) กระบวนการทีธ่ าตบุ างชนิดปล่อยกัมมันตภาพรงั สี (รวมถึง เอกซเรย์ หรือแกรมมาเรย์ และเรเดียม) WN 415-420 General Radioactivity กระบวนการทีธ่ าตบุ างชนิดปล่อยกัมมันตภาพรงั สี (ท่ัวไป) WN 440-450 Nuclear medicine การรักษาโรคโดยใช้นวิ เคลียร์ WN 600-650 Radiation Effects. Radiation Protection ผลกระทบของรังสี. การป้องกันรงั สี WN 660-665 Radiometry การวดั ความเข้มข้นของพลงั งานที่แผ่ออกเปน็ คลืน่WO Surgery ศลั ยศาสตร์ WO 1-102 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานท่วั ไปเกีย่ วกบั ศัลยศาสตร์ WO 113-149 Antisepsis. Diseases. Diagnosis. Shock การทาให้ปราศจากเชือ้ จุลินทรีย์. การวินจิ ฉยั WO 162-176 Surgical Equipment. Artificial Organs อุปกรณ์เครือ่ งมือการผ่าตัด. อวัยวะเทียม WO 178-198 Principles of Care. Procedures หลักการดูแลและฟืน้ ฟผู ปู้ ่วยหลังการผ่าตัด WO 200-460 Anesthesia การไร้ความรู้สกึ ต่อความเจบ็ ปวด อาการชา WO 200-233.1Anesthesia Reference Works

36 ผลงานอ้างองิ . ผลงานทวั่ ไปเกี่ยวกับการไร้ความรู้สกึ ต่อ ความเจบ็ ปวด อาการชา WO 234-250 Pranesthetic Treatment. Equipment. Accidents การรกั ษาโดยใช้ยาชา ยาระงบั ความรสู้ ึก ยาสลบ WO 275-297 General Anesthesia เรื่องการไร้ความรู้สกึ ต่อความเจ็บปวด อาการชา ท่ัว ๆ ไป WO 300-375 Conduction anesthesia. Hypothermia. Diagnosis. Therapeutics การให้ยาระงับความรสู้ ึก. สภาวะอณุ หภูมริ ่างกายตา่ กว่า ปกติ (ภาวะตัวเย็นเกิน). การวินจิ ฉยั . การบาบัดรกั ษา WO 440-460 In Medical Specialties สาขาการแพทย์เฉพาะทาง WO 500-517 Operative Surgical Procedures. Techniques ข้ันตอนการผ่าตัด. เทคนิควิธีการ WO 600-640 Plastic Surgery. Reconstructive Surgical Procedures ศัลยกรรมพลาสติก การฟืน้ ฟู การสรา้ งข้นึ มาใหม่ WO 660-690 Transplantation การแลกเปลีย่ นอวัยวะ WO 700-820 Traumatic Injuries บาดแผล และอันตรายจากบาดแผล WO 925-950 Special Age Groups กลุ่มอายพุ ิเศษWP Gynecology นรเี วชวิทยา WP 1-390 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทวั่ ไปเกีย่ วกบั นรเี วชวิทยา WP 101-390 Anatomy. Diseases. Injuries

37 กายวิภาคศาสตร์. โรค. บาดแผลWP 400-480 Uterus. Cervix มดลูก ครรภ์ ปากมดลกู WP 400 General Works ผลงานทั่วไปเกีย่ วกบั มดลูก ครรภ์ ปากมดลูก WP 440-468 Uterine Diseases โรคเกีย่ วกบั มดลกู WP 470-480 Cervix Uteri. Cervix Diseases ปากมดลกู . โรคเกีย่ วกบั ปากมดลูกWP 500-560 Physiology สรรี วิทยาWP 565-570 Fertility. Infertility การตง้ั ครรภ์ การเป็นหมันWP 580-610 Menopause. Sexual Dysfunction ภาวะประจาเดือนหมด (ระหว่างอายุ 40-50 ปีในหญิง). ความ ผดิ ปกติของการปฏิบัติหน้าทีโ่ ดยเฉพาะระบบการสบื พันธ์WP 630-640 Contraception การคุมกาเนิด การป้องกนั การตงั้ ครรภ์WP 650-660 Therapy การบาบดั รกั ษาWP 800-910 Breast หนา้ อก เต้านม ทรวงอกWP 800-910 Breast หนา้ อก เต้านม ทรวงอก WP 800-825 Breast (General) โรคทีเ่ กีย่ วกับเต้านมทั่ว ๆ ไป

38 WP 840-870 Breast Diseases. Neoplasms โรคเกี่ยวกบั เต้านม. เนือ้ งอก WP 900-910 Therapy. Surgery การรกั ษา. การผ่าตัดWQ Obstetrics สตู ิศาสตร์ WQ 1-150 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทว่ั ไปเกีย่ วกับสูติศาสตร์ WQ 152-175 Childbirth. Prenatal Care การคลอดบุตร การคลอดลูก การดูแลก่อนคลอด WQ 200-212 Reproduction. Pregnancy การตงั้ ครรภ์ WQ 215-270 Pregnancy Complications โรคแทรกซ้อนในระหว่างการตั้งครรภ์ WQ 300-330 Labor ความเจ็บปวดในการคลอดบุตร WQ 400-450 Obstetric Surgical Procedures การคลอดบุตรโดยการผ่าตดั WQ 500-505 Postpartum Period ระยะหรือภาวะหลงั คลอด ระยะอยู่ไฟ ระยะหลักคลอดประมาณ 3-6 อาทิตย์WR Dermatology วิทยาโรคผิวหนัง WR 1-105 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทั่วไปเกี่ยวกบั วิทยาโรคผวิ หนัง WR 140-340 Skin Diseases โรคผวิ หนงั WR 345-375 Parasitic Skin Diseases

39 โรคผวิ หนงั ทีเ่ กิดจากเชือ้ ปรสิต WR 390-475 Skin Appendages ผวิ หนงั ที่งอก หรอื เพิม่ ขึน้ มา WR 500-600 Neoplasms. Ulcers. Occupational Dermatitis เนือ้ งอก แผลเปื่อย แผลพุพอง ภาวะที่เรื้อรังเกี่ยวกบั โรคผวิ หนัง ทีม่ กี ารอักเสบ WR 650-670 Therapy การรกั ษาWS Pediatrics กมุ ารเวชศาสตร์ WS 1-100 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทวั่ ไปเกีย่ วกับกุมารเวชศาสตร์ WS 103-105 Growth and Development การเจรญิ เติมโตและพฒั นาการของเดก็ WS 107-110 Intellectual Disability. Learning Disorders ภาวะปัญญาอ่อน ความบกพร่องทางจิต WS 113-141 Child Care. Nutrition. Physical Examination การดแู ลเด็ก โภชนาการ การทดสอบร่างกาย WS 200-342 Diseases of Children and Adolescents โรคของเดก็ และวัยรุ่น WS 200-220 General Diseases โรคท่ัว ๆ ไป WS 260-342 By System โรคของเด็ก โดยแยกตามระบบของรา่ งกาย WS 350-350.8 Child Psychiatry จติ เวชศาสตร์เดก็ WS 360-365 Pediatric Specialties

40 ความชานาญพิเศษทางดา้ นกมุ ารเวชศาสตร์ WS 405-460 By Age Groups โรคของเดก็ และวัยรุ่น โดยแยกตามกลุ่มของอายุ WS 462-463 Adolescent Psychology. Adolescent Psychiatry จติ วิทยาของวัยรุ่น. จติ เวชศาสตร์วยั รุ่นWT Geriatrics. Chronic Disease เวชศาสตรผ์ สู้ ูงอายุ โรคเรอ้ื รงั WT 1-39 Reference Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทว่ั ไปเกี่ยวกบั เวชศาสตร์ผู้สงู อายุ WT 100-166 Geriatrics การแพทย์ทีเ่ กีย่ วกบั โรคและการดูแลรักษาผสู้ ูงอายุ WT 500 Chronic Disease โรคเรือ้ รังของผสู้ ูงอายุ WU Dentistry. Oral Surgery ทันตแพทยศาสตร์ ศลั ยกรรมช่องปาก WU 1-49 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทวั่ ไปเกี่ยวกับทนั ตแพทยศาสตร์ ศลั ยกรรมช่องปาก WU 50-95 Ethics. Professional Practice and Personnel. Records หลักจรรยาบรรณของแพทย์ การรักษา การเกบ็ ประวตั ิ เอกสาร ของคนไข้ WU 100-113.7 Anatomy. Physiology. Hygiene กายวิภาคศาสตร์ สรีรวทิ ยา ความสะอาดของช่องปาก และฟัน WU 140-166 Diseases. Injuries. Technology. Therapeutics โรค อาการบาดเจ็บ การบาบัดรักษาโรคทีเ่ กี่ยวกับช่องปากและฟัน WU 170-190 Dental Chemistry and Materials ส่วนประกอบของฟัน WU 210-290 Dental Anatomy. Diseases

41 ลกั ษณะรูปร่างของฟัน. โรคเกี่ยวกับฟนั WU 300-360 Operative Dentistry วิชาทีว่ า่ ด้วยโรคของฟันและเหงอื ก การจัดฟนั รวมไปถึงปัญหา ในการออกเสียง WU 400-440 Orthodontics ทันตกรรมการจดั ฟนั WU 460-496 Special Patient Groups คนไข้กลุ่มพิเศษ WU 500-530 Prosthodontics ทนั ตกรรมประดิษฐ์ ทันตกรรมทีเ่ กีย่ วกบั การใส่ฟันปลอม WU 600-640 Oral Surgical Procedures การผ่าตดั ชอ่ งปากWV Otolaryngology วิทยาโสต นาสิก และกล่องเสียง WV 1-101 Reference Works. General Works ผลงานอ้างอิง. ผลงานทั่วไปเกี่ยวกับวิทยาโสต นาสิก และกล่อง เสียง WV 140-190 Diseases. Therapeutics โรค. การบาบัดรกั ษา WV 200-290 Ear หู WV 300-358 Nose and Paranasal Sinuses จมกู และโพรงจมกู WV 400-440 Pharyngeal Region บริเวณส่วนของหอคอย WV 500-540 Larynx กล่องเสียง อวัยวะเปล่งเสียงที่คอ

42WW Ophthalmology จักษุวิทยา WW 1-100 Reference Works. General Works ผลงานอ้างองิ . ผลงานทัว่ ไปเกีย่ วกบั จกั ษุวิทยา WW 101-290 Eye ตา WW 101-113 Anatomy. Physiology. Hygiene กายวิภาคศาสตร์ สรีรวทิ ยา ความสะอาด WW 140-160 Diseases. Color Perception โรคตาบอดสี WW 166-170 Therapeutics. Eye Banks การบาบดั โรค ธนาคารตา WW 202-290 Eye Structures and their Diseases โครงสรา้ งของตา WW 300-340 Refraction. Errors of Refraction การหกั เหของแสง ความผิดปกติตอ่ ความสามารถในการหกั เห แสงใหภ้ าพตกทีเ่ รตนิ า WW 350-358 Corrective Devices อปุ กรณ์ในการรกั ษา WW 400-460 Neuromuscular Mechanism. Neurologic Manifestations of Disease โครงสรา้ งหรอื กลไกทีม่ ผี ลตอ่ เส้นประสาทตาและกล้ามเนื้อตา. โรคทีแ่ สดงอาการออกทางประสาทตา WW 475-480 Manifestations of Disease. Poor Vision การแสดงอาการของโรคที่เกีย่ วกบั ตา WW 505-525 Occupational Ophthalmology. Eye Injuries อาชีพที่เสีย่ งต่อการบาดเจ็บทางตา WW 600-620 Age Groups