Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore study_1

study_1

Published by Frank Panuwat, 2019-02-03 21:16:11

Description: study_1

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 หลกั การพ้นื ฐานของระบบ คอมพวิ เตอร์

ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์ (Computer) เป็นเครอื่ งมือหรืออุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ทสี่ ามารถอ่าน และ บนั ทกึ ข้อมูล ตลอดจนรบั คาสัง่ เพ่ือแก้ไขปญั หา หรือทาการคานวณท่ีสลับซับซ้อน แสดงผลลัพธ์ ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยา มีไว้สาหรับผ่อนแรงกายและสมองมนุษย์ ความสาคัญของ คอมพิวเตอร์ประการหนึ่งก็คือ ความสามารถประมวลผลข้อมูลได้อัตโนมัติ ตามโปรแกรมที่ มนุษย์ป้อนคาส่ังให้ทา ผลลัพธ์ท่ีได้จากการประมวลผล คือ ข้อมูล/สารสนเทศทาให้เกิด ประโยชนต์ ่อการใช้งานดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่

1. คอมพิวเตอรก์ ับงานด้านการศึกษา ปัจจุบันตามสถานศึกษาต่าง ๆ ได้มีการนา คอมพิวเตอร์มาใชใ้ นการเรยี นการสอนอยา่ งมากมาย ร ว ม ทั้ ง ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ใ น ง า น บ ริ ห า ร ข อ ง โรงเรียน เช่น การจัดประวัตินักเรียน ประวัติครู อาจารย์ การคัดคะแนนสอบ การจัดทาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ในงานห้องสมุด เป็นต้น ตัวอย่างใน การประยุกต์ด้านการศึกษา เช่น โปรแกรมรายงาน การลงทะเบยี นเรยี น โปรแกรมตรวจข้อมลู

2. คอมพิวเตอร์กบั งานดา้ นวิทยาศาสตร์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ส า ม า ร ถ ท า ง า น ร่ ว ม กั บ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ เช่น เครื่องมือ วิเคราะห์ สารเคมี เครื่องมือการทดลองต่าง ๆ แม้กระทั่งการเดินทางของยานอวกาศต่าง ๆ การ ถา่ ยภาพพน้ื ผิวโลก บนดาวอังคาร เป็นต้น

3. คอมพิวเตอรก์ ับงานด้านการออกแบบทางวิศวกรรม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ส า ม า ร ถ ท า ง า น ใ น ด้ า น วิศวกรรมได้ตั้งแต่ข้ันตอนการลอกเขียนแบบ จ นกร ะท่ั งถึ งการ ออกแ บบโค รงส ร้ างขอ ง สถาปัตยกรรมต่าง ๆ ตลอดจนช่วยคานวณ โครงสร้าง ช่วยในการวางแผน และควบคุมการ สร้าง

4. คอมพิวเตอร์กบั งานด้านธุรกิจทว่ั ไป ในแวดวงธนาคารนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้ เข้ามามีบทบาทมากที่สุด เพราะธนาคารจะมีการ นาข้อมูล(Transaction) เป็นประจาทุกวัน การหา อั ต ร า ด อ ก เ บี้ ย ต่ า ง ๆ น อ ก จ า ก นี้ ก า ร ใ ช้ บริการ ATM ซึ่งลูกค้าสามารถฝาก-ถอนเงินได้จาก เครื่องอัตโนมัติ ซ่ึงทาให้สะดวกแก่ผู้ใช้บริการเป็น อย่างย่ิง และเป็นทีน่ ิยมแพร่หลายในปจั จุบนั

5. คอมพิวเตอร์กบั งานดา้ นธนาคาร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ส า ม า ร ถ จั ด เ ก็ บ ข้ อ มู ล ไ ด้ มากมาย มีความรวดเร็วและถูกต้อง ทาให้สามารถ ได้ข้อมูลที่ช่วยให้สามารถตัดสินใจในการดาเนิน ธุรกิจ ตลอดจนงานทางด้านเอกสาร งานพิมพ์ต่าง ๆ เป็นต้น

6. คอมพวิ เตอรก์ ับงานด้านรา้ นค้าปลกี ปัจจุบันเห็นได้ว่า ได้มีธุรกิจร้านค้าปลีก หรือท่ีเรียกว่า “เฟรนไชส์” เป็นจานวนมาก ได้มี การนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการให้บริการลูกค้า เช่น ให้บริการชาระค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า และค่า โทรศัพท์ เป็นต้น จาเป็นได้ว่ามีการ Online ระหว่างร้านค้าเหล่านั้นกับหน่วยงานน้ัน ๆ เพ่ือ สามารถตัดยอดบัญชีกันได้

7. คอมพวิ เตอรก์ บั งานดา้ นการแพทย์ คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในการเก็บ ประวัติของคนไข้ ควบคุมการรับและการจ่ายยา ตลอดจนยังอยู่ในอุปกรณ์เคร่ืองมือทางการแพทย์ เช่น เคร่อื งมือผา่ ตดั บนั ทึกการเต้นของหัวใจ ตรวจ คลื่นสมอง และด้านการหาตาแหน่งของอวัยวะ ก่อนการผา่ ตดั เปน็ ต้น

8. คอมพิวเตอร์กบั งานด้านคมนาคมและการสอ่ื สารฟ ในยุคปัจจุบันถือว่าเป็นยุคที่เป็นการ ส่ือสารแบบไร้พรมแดน จะเห็นได้จากการส่ือสาร ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ในเครือข่ายสาธารณะที่ เรียกว่า เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซ่ึงสามารถท่ีจะ ส่ือสารกับทุกคนได้ท่ัวทุกมุมโลก โดยผ่านเครือข่าย คอมพวิ เตอร์นี้ และยงั มีโปรแกรมที่สามารถจะใช้ใน การพูดคุยกันได้ ไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ด้วยกัน หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ส่ือสารกับ เครื่องโทรศัพท์ท่ีบ้านหรือท่ีทางาน โดยส่งผ่านทาง แอพพลิเคชน่ั ตา่ ง ๆ

9.คอมพิวเตอรก์ ับงานดา้ นอตุ สาหกรรม ใ น ว ง ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม นั บ ไ ด้ ว่ า คอมพิวเตอรไ์ ด้เข้ามามบี ทบาทเปน็ อยา่ งมาก ตั้งแต่ การวางแผนการผลิต กาหนดเวลาการผลิต จนกระทั่งถึงการผลิตสินค้า ควบคุมระบบการผลิต ทั้งหมด ในรายงานอุตสาหกรรมได้มีการนา คอมพิวเตอร์มาใช้ในการควบคุมการทางานของ เครื่องจักร เช่น การเจาะ ตัด ไส กลึง เป็นต้น ต ล อ ด จ น โ ร ง ง า น ผ ลิ ต ร ถ ย น ต์ ก็ จ ะ ใ ช้ หุ่ น ย น ต์ คอมพิวเตอร์ในการทาสี พ่นสี รวมถึงการประกอบ รถยนต์ เปน็ ต้น

10. คอมพิวเตอร์กบั หนว่ ยงานราชการ คอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้ในงานทะเบียน ราษฎร ช่วยในการนับคะแนนการเลือกต้ังและการ ประกาศผลเลือกตั้ง การคิดภาษีอากร การเก็บ ข้อมูล สถิติสามะโนประชากร การเก็บเงินค่าไฟฟ้า น้าประปา ค่าโทรศัพท์ เปน็ ตน้

องค์ประกอบของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีทางานเป็นระบบ และจาเป็นต้องมีองค์ประกอบของ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ทางานประสานกัน เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างสมบูรณ์ จะ ประกอบด้วย 5 ส่วน คอื 1. ฮารด์ แวร์ (Hardware) 2. ซอฟตแ์ วร์ (Software) 3. บุคลากรทางคอมพวิ เตอร์ (Peopleware) 4. ขอ้ มูลและสารสนเทศ (Data and Information) 5. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงานหรอื กระบวนการทางาน (Procedure)

1.ฮารด์ แวร์ ฮาร์ดแวร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้างท่ีสามารถแตะต้องสัมผัสได้ด้วยมือ ตัวเคร่ือง ประกอบด้วย อุปกรณ์ช้ินส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ที่มีการทางานประสานกันระหว่าง อุปกรณต์ ่าง ๆ เพื่อก่อใหเ้ กิดการประมวลผล ส่วนประกอบสาคัญของฮารด์ แวร์ แบง่ ออกเปน็ 5 สว่ น คือ 1. หนว่ ยประมวลผลกลาง (Center Processing Unit : CPU) 2. หนว่ ยความจาหลัก (Main Memory) 3. อปุ กรณน์ าเขา้ ข้อมลู (Input Devices) 4. อปุ กรณแ์ สดงผลข้อมูล (Output Devices) 5. อุปกรณเ์ กบ็ ขอ้ มูล (Storage Devices)

1. หนว่ ยประมวลผลกลาง (Center Processing Unit : CPU) ห น่ ว ย ป ร ะ ม ว ล ก ล า ง ห รื อ ซี พี ยู ห รื อ โปรเซสเซอร์ หรือไมโครชิป ซีพียู คือ สมองของ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการทางาน ท้ังระบบ ภายในไมโครคอมพิวเตอร์จะเรียกโปรเซสเซอร์ว่า “ไมโครโปรเซสเซอร์” (Microprocessors) หรือ ชิป (Chip) ซึ่งบรรจุอยู่บนเมนบอร์ด ผู้ผลิตซีพียู มักจะนาช่ือชิปไปตั้งช่ือรุ่นเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น Pentium Dual Core, Core 2 Duo, Core i3, Core i7 และ Core i7 Extreme เปน็ ตน้

เมนบอรด์ เมนบอร์ด คอื แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ขนาด ใหญ่ท่ีบรรจุอุปกรณ์ชิ้นส่วนต่าง ๆ แผ่นเมนบอร์ดทา ด้วยไฟเบอร์กลาส ลวดลายท่ีเห็นเป็นลายวงจร โลหะทองแดงเป็นตัวนาไฟฟ้าได้ดี เมนบอร์ดจะมีชิป พเิ ศษช่วยในการประมวลผล

2. หนว่ ยความจาหลกั (Main Memory) หน่วยความจาหลักมีหน้าท่ีเก็บข้อมูล เพ่ือใช้ ในการคานวณ และเก็บคาส่ังขณะกาลังประมวลผล หน่วยความจาหลัก มีอยู่ 2ชนิด คือ หน่วยความจา ช่วั คราว (Random Access Memory : RAM) และ หน่วยความจาถาวร (Read Only Memory : ROM) หน่วยความจาแบบชั่วคราว แรมจะทางานได้ จะต้องมีกระแสไฟเล้ียง (โวลาไทล์ : Volatile) มี หน่วยเป็นเมกะไบต์ (MB) ส่วนหน่วยความจาแบบ รอม อ่านข้อมูล มาใช้งานได้ แต่ไม่สามารถบันทึก ขอ้ มลู เกบ็ ลงไปในรอมได้ ปกติใชห้ น่วยความจาแบบ

3. อุปกรณร์ ับขอ้ มูล (Input Devices) อุปกรณ์รับข้อมลู หมายถงึ กระบวนการปอ้ น ข้อมูล คาส่ัง โปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนการโต้ตอบของผู้ใช้โปรแกรมกับเครื่อง คอมพวิ เตอร์ นอกจากนี้แล้ว คาว่า Input ยังหมายถึง อปุ กรณ์ซง่ึ สามารถปอ้ นขอ้ มูลและคาสง่ั หรอื โปรแกรม เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล ซึ่งมีหลายประเภทด้วยกัน เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ ไมโครโฟน สแกนเนอร์ กล้องดจิ ติ อล เปน็ ตน้

4. อปุ กรณแ์ สดงผลขอ้ มลู (Output Devices) ท า ห น้ า ที่ แ ส ด ง ผ ล ลั พ ธ์ ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร ประมวลผลข้อมูล ลักษณะการแสดงในรูปแบบของ รายงานและกราฟิก ซึ่งสามารถพิมพ์ด้วยเคร่ืองพิมพ์ หรือแสดงผลผ่านทางจอภาพ ผลลัพธ์ท่ีอยู่ในรูปของ ส่ิงพิมพ์เรียกว่า Hard Copy และผลลัพธ์ท่ีแสดงผล ทางจอภาพเรียกวา่ Soft Copy นอกจากน้ี การแสดง ในรูปแบบอื่น ๆ เช่น เสียงผ่านทางลาโพง และภาพ วิดีโอ

5. อปุ กรณจ์ ดั เกบ็ ขอ้ มูล (Storage Devices) อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล หรือเรียกว่า หน่วย จัดเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit) มี ไว้เพ่ือจัดเก็บข้อมูลในรูปของส่ือต่าง ๆ ท่ีสามารถ นามาใช้งานในภายหลังได้ เน่ืองจากหน่วยเก็บข้อมูล และโปรแกรมชั่วคราว เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลหรือโปรแกรมทุกอย่างที่เก็บในแรมจะหาย เพราะไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเล้ียง เรียกหน่วยเก็บ ข้อมูลนี้ว่า โวลาไทล์ (Volatile) ดังนั้น จึงจาเป็นต้อง มีหน่วยเก็บข้อมูลภายนอกที่เรียกว่า Secondary Storage

2. ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟต์แวร์หรอื โปรแกรม คือ ชดุ คาสง่ั ทเี่ ขยี นขึ้นเพื่อส่งั ให้คอมพวิ เตอร์ (ฮาร์ดแวร์) ทางาน ซอฟต์แวร์ยงั แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คอื ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และซอฟตแ์ วร์ ประยกุ ต์ (Application Software) สว่ นที่ 1 ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software) คอื โปรแกรมระบบ มีไว้สาหรับจัดการกับระบบพืน้ ฐานท่ีจาเป็นของเครื่องคอมพวิ เตอรแ์ ละ อานวยความสะดวกในการใช้งานเครื่องคอมพวิ เตอร์ สว่ นหนงึ่ จะเกบ็ ไว้บนแผงวงจรหลกั เรียกว่า รอม ไบออส (ROM BIOS) ซงึ่ จะถูกกาหนดจากโรงงานผู้ผลติ อีกส่วนหน่งึ จะเก็บไวใ้ นหนว่ ยความจาสารอง ข้อมูล ซ่ึงหมายถึงโปรแกรมระบบปฏิบัตกิ าร เชน่ ระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์ เปน็ ต้น

2. ซอฟต์แวร์ (Software) มีโปรแกรมทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 4 โปรแกรม คอื 1. OS (Operating System) คอื โปรแกรมจัดระบบงาน ทาหนา้ ท่ีควบคมุ การทางานของเคร่ืองและ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ใหส้ ามารถทางานได้โดยอัตโนมัติ 2. Translation Program คอื โปรแกรมท่ที าหนา้ ทแ่ี ปลคาสงั่ ต่าง ๆ ให้อยูใ่ นลกั ษณะของคาส่งั ท่ี เครื่องสามารถรบั ร้แู ละทางานได้ 3. Unility Program คอื โปรแกรมท่ที าหน้าท่อี านวยความสะดวก เชน่ โยกย้าย หรือคัดลอกข้อมูล จากอปุ กรณ์อยา่ งหนงึ่ ไปยังอุปกรณ์อีกโปรแกรมหนง่ึ 4. Diagnostic Program คือ โปรแกรมตรวจสอบข้อผิดพลาดในการทางานของอปุ กรณต์ า่ ง ๆ

2. ซอฟต์แวร์ (Software) ส่วนที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ (Application Software) คอื โปรแกรมประยกุ ต์ หรอื ชดุ ของโปรแกรมท่เี ขียนขึ้นเพอ่ื ใช้กับงานใดงานหนง่ึ โดยเฉพาะ ซ่งึ แบง่ ออกเป็น 2 โปรแกรม คอื 1. โปรแกรมทีผ่ ู้ใช้เขียนขึ้นเอง เรียกว่า User Program โดยใช้ภาษาต่าง ๆ เชน่ ภาษา Pascal ภาษา Cobol ภาษา C ภาษา C++ เปน็ ต้น 2. โปรแกรมสาเรจ็ รปู เรยี กว่า Package Program เปน็ โปรแกรมทถ่ี กู สร้างหรอื เขยี นไว้เสรจ็ แลว้ พร้อมทีจ่ ะนามาใชไ้ ดท้ ันที ผูใ้ ชเ้ พยี งฝกึ ใช้โปรแกรมนนั้ ๆ ให้ตรงกบั งาน เชน่ MS-WORD, MS- EXCEL, MS-PowerPoint โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรม Photoshop เป็นตน้

3. บุคลากรทางคอมพวิ เตอร์ บุคลากรทางคอมพิวเตอรเ์ ปน็ องค์ประกอบทสี่ าคญั สว่ นหน่ึงของคอมพิวเตอร์ ท้ังน้ี เนื่องมาจาก การทางานของคอมพิวเตอร์จาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีบุคลากรทางด้านคอมพวิ เตอร์เป็นผู้ออกแบบและ พัฒนาระบบ รวมทั้งการส่ังให้คอมพิวเตอร์ทางานตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ บุคลากรที่มีความ เก่ียวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ มีบทบาทหน้าท่ีแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของงานที่รับผิดชอบ ซึ่ง สามารถสรุปบุคลากรทางคอมพิวเตอร์มีหลายระดับด้วยกัน ดังน้ี 1. ผบู้ รหิ ารคอมพวิ เตอร์ มีหน้าท่จี ดั การและบรหิ ารงานตา่ ง ๆ 2. นักวเิ คราะหร์ ะบบ (System Analysis : SA) มหี นา้ ท่วี เิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ 3. นกั ออกแบบระบบ (System Designer) มหี น้าท่ีปฏบิ ัติการใหเ้ ปน็ ไปตามทน่ี กั วเิ คราะห์ ข่าวสารวางไว้ 4. นกั เขยี นโปรแกรมระบบ (System Programmer : SP) มีหน้าทีเ่ ขยี น ทดสอบและแก้ไข ปรับปรงุ โปรแกรมทใ่ี ชเ้ ฉพาะงาน

3. บคุ ลากรทางคอมพวิ เตอร์ 5. นักโปรแกรมประยกุ ต์ (Application Programmer) หนา้ ทเี่ ขยี น ทดสอบและแก้ไข ปรบั ปรุง โปรแกรมทใี่ ชเ้ ฉพาะงาน 6. นักบารุงรักษาโปรแกรม (Maintenance Programmer) มหี น้าทเ่ี ปลย่ี นแปลงแกไ้ ขระบบทเี่ ขยี นไว้ เดิมในบางจุดให้ทนั สมยั เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของระบบ 7. ผจู้ ดั การระบบเครือข่าย (System or Network Managers) มหี น้าทบ่ี ารงุ รักษาระบบเครือข่ายใน องคก์ รใหส้ ามารถดาเนินการไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธภิ าพ 8. ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrators : DBA) มีหน้าท่ใี นการออกแบบและควบคุมการใช้ งานฐานขอ้ มูล รวมทั้งการจัดเก็บข้อมลู และการแกป้ ัญหาเม่ือระบบฐานขอ้ มูลมปี ัญหาเกิดขึน้ 9. เว็บมาสเตอร์ (Web Master) คือ บคุ คลที่ทาหน้าท่ีวางแผน ดแู ล บรหิ ารและจัดการเว็บไซต์ เพ่อื ให้ เว็บไซตน์ ั้น ๆ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ท่ีกาหนดไว้

3. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ 10. ชา่ งเทคนิคทางคอมพิวเตอร์ (Computer Technicians) มหี นา้ ที่แก้ไขปัญหาทางด้านฮารด์ แวรใ์ ห้ สามารถใช้งานได้ สามารถอัพเกรดคอมพวิ เตอร์ บารุงรักษาอุปกรณฮ์ ารด์ แวร์และระบบเครือข่าย 11. พนักงานเตรยี มขอ้ มลู (Data Preparation Clerk) มหี น้าที่เตรยี มข้อมลู ใหอ้ ยู่ในรูปแบบท่ี คอมพวิ เตอร์อ่านได้ 12. ผู้ใช้โปรแกรม (User) เป็นผ้นู าโปรแกรมทเ่ี ขียนเสร็จมาใชง้ าน

4. ขอ้ มลู และสารสนเทศ (Data and Information) ขอ้ มูล คอื ความจริง (Facts) ขอ้ มูลดิบ (Raw Data) ที่จัดเก็บลงในคอมพิวเตอร์ และสามารถเรียก ข้อมูลเหล่าน้ันมาใช้งานได้ ข้อมูลในท่ีน้ีอาจเป็นได้ท้ัง ข้อความ (Text) ตัวเลข (Number) ภาพ (Image) แล ะเสียง (Sound) ซึ่งข้อมูลดังกล่าวซึ่งได้จัดเก็บลงใน คอมพิวเตอร์แล้วจะถูกแปลงเป็นระบบเลขฐานสอง และจัดเก็บอยใู่ นรูปแบบของไฟล์ข้อมูลเพื่อสะดวกต่อ การเรยี กใชง้ านตอ่ ไป

5. ข้ันตอนการปฏิบตั ิงานหรือกระบวนการทางาน (Procedure) เป็นข้ันตอนวิธีการปฏิบัติงานในการจัดเก็บ รักษ าข้อมูล ให้อยู่ใ นรูปแบบท่ีจ ะท าให้ เป็น ส า ร ส น เ ท ศ เ ช่ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง า น ข อ ง คอมพวิ เตอร์

คณุ สมบัติของคอมพิวเตอร์ คณุ สมบัติของคอมพวิ เตอร์ ทาใหม้ นษุ ยไ์ ด้นาคอมพิวเตอรม์ าเปน็ เครือ่ งมือเพือ่ ใช้งานในดา้ น ตา่ ง ๆ มากมาย เน่ืองจากคอมพิวเตอรม์ คี ุณสมบัตดิ ังนี้ 1. การทางานดว้ ยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Machine) 2. การทางานดว้ ยความเร็วสูง (High Speed Processing) 3. ความถกู ต้องแม่นยาและเชือ่ ถอื ได้ (Accuracy and Reliability) 4. จัดเก็บขอ้ มลู ไดใ้ นปรมิ าณมาก (Can Store a lot of Data) 5. การสอ่ื สารและเครอื ขา่ ย (Communications and Networking)

1. การทางานดว้ ยระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Machine) จากคาจากัดความของคาว่าคอมพิวเตอร์ เป็ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการบันทึกข้ อมูล ประมวลผล และแสดงผลลพั ธ์นนั้ จะเห็นได้ว่าการ จดั เก็บข้อมลู ท่ีบนั ทึกผ่านทางคีย์บอร์ดหรืออปุ กรณ์ อื่ น ๆ ข้ อ มู ล เ ห ล่ า นั้น จ ะ ถู ก แ ป ล ง ใ ห้ เ ป็ น สัญญาณไฟฟ้ า เพื่อให้ คอมพิวเตอร์เข้ าใจและ สามารถประมวลผลได้ และเม่ือคอมพิวเตอร์ ป ร ะ ม ว ล ผ ล เ รี ย บ ร้ อ ย แ ล้ ว ข้ อ มู ล ท่ี เ ป็ น สัญญาณไฟฟ้ าจะถูกแปลงกลับให้เป็ นรูปแบบท่ี มนษุ ย์สามารถเข้าใจได้

2. การทางานด้วยความเรว็ สูง (High Speed Processing) การนับความเร็วของคอมพิวเตอร์จะนับจาก ความถ่ีของสัญญาณท่ีใช้ในซีพียู โดยมีหน่วยเป็น “เม กะเฮิร์ต” (MHz) จานวนสัญญาณนาฬิกา 1 ล้าน สัญญาณท่ีทริกให้ซีพียูทางานในหน่ึงวินาที เช่น ซีพียู ความเร็ว 500 MHz จะมีสัญญาณนาฬิกาทริกให้ซีพียู ทางาน 500 ล้านสัญญาณในหน่ึงวินาที สรุปคือ ย่ิง ตัวเลขมาก ยิ่งเร็วมาก เพราะการทางานของ คอมพิวเตอร์เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น การ ดาเนินงานต่าง ๆ จึงกระทาได้อย่างรวดเร็ว มากกว่า พันลา้ นคาสั่งใน 1 วนิ าที

3. ความถกู ตอ้ งแม่นยาและเช่อื ถอื ได้ (Accuracy and Reliability) คอมพิวเตอร์จะทางานตามคาส่ังท่ีมนุษย์ เขียนโปรแกรมหรือเขียนคาส่ังไว้ ถ้าผู้ใช้ป้อนข้อมูล และชุดคาส่ังท่ีมีความถูกต้อง ผลลัพธ์ท่ีได้จากการ ประมวลผลก็จะมีความถูกต้อง เช่ือถือได้ แต่ถ้าผู้ใช้ ป้อนข้อมูลที่ผิดพลาดเข้าไป ก็จะได้การประมวลผลท่ี ผิดพลาด ดังคากล่าวท่ีว่า ถ้านาข้อมูลขยะป้อนเข้าไป ให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล ผลลัพธ์ที่ได้ก็คือ ขยะ นน่ั เอง (Garbage In, Garbage Out : GIGO)

4. จดั เกบ็ ข้อมลู ไดป้ ริมาณมาก (Can Store a lot of Data) คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจาที่ทาหน้าท่ีเก็บข้อมูลที่บันทึกเข้า ไป สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก ซึ่งจะขึ้นอยู่กับขนาดของ คอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จะมีหน่วยเก็บ ข้อมูลสารองท่ีสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหม่ืนล้านตัวอักษร หรือ ฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาดความจุ 80 GB (กิกะไบต์) สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ มากถงึ แปดหมื่นลา้ นตัวอักษร ทาใหส้ ามารถจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ในปริมาณมาก อีกทั้งเทคโนโลยีของส่ือจัดเก็บข้อมูลในปัจจุบัน ก้าวหน้ามาก อุปกรณ์จัดเก็บมีขนาดเล็กลง แต่สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ ในปริมาณมากขึ้น ดังน้ัน สามารถจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ได้อย่างง่าย และสะดวกรวดเรว็ กว่าเดิม

5. การส่อื สารและเครอื ขา่ ย (Communications and Networking) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถ ติดต่อกับคอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่น ๆ และสามารถ ท า ง า น ท่ี ห ล า ก ห ล า ย ม า ก ข้ึ น ก ว่ า ก า ร ใ ช้ เ ค ร่ื อ ง คอมพิวเตอร์แบบระบบเดี่ยว ตัวอย่างเช่น การนา คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อการ สืบค้นข้อมูลจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์อื่น (Remote Computer)

ชนิดของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์สามารถจาแนกไดห้ ลายประเภท ขน้ึ อยกู่ ับความแตกตา่ งของขนาดเคร่ือง ความเร็ว ในการประมวลผลและราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก โดยทั่วไปนิยมจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์ เป็น 6 ประเภทดงั น้ี 1. ซเู ปอรค์ อมพิวเตอร์ (Super Computer) 2. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ หรือคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe Computer) 3. มนิ ิคอมพวิ เตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง (Mini Computer) 4. เซิร์ฟเวอรค์ อมพิวเตอร์ (Server Computer) 5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) 6. คอมพวิ เตอร์แบบฝงั (Embedded Computer)

1. ซูเปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Super Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมีประสิทธิภาพในการ ทางานสูงสุด ราคาแพงมาก ความสามารถในการ ประมวลผลท่ีทาได้มากกว่าพันล้านคาสั่งต่อวินาที ตัวอย่างการใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เช่น การ พยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ งานวจิ ัยด้าน วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมและงานอ่ืน ๆ ที่มีการ คานวณซบั ซอ้ น

2. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ หรือคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe Computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ที่มี ความสามารถสูงรองจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถ รองรับการทางานจากผู้ใช้หลายร้อยคนในเวลา เดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มีหนว่ ยความจา หลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้เป็น จานวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้องค์กร ขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้จานวนมากใน เวลาเดียวกัน เช่น งานธนาคาร การจองตั๋วเคร่ืองบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการเรียนของ นักศกึ ษา เปน็ ต้น

3. มินคิ อมพิวเตอร์ หรอื คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง (Mini Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลางที่มีประสิทธิภาพ ใ น ก าร ท างาน น้อยก ว่ าเม นเ ฟร ม แ ต่สู งก ว่ า ไมโครคอมพิวเตอร์ และสามารถรองรับการทางาน จากผู้ใช้ได้หลายคน ในการทางานท่ีแตกต่างกันจาก จุดเริ่มต้นในการพัฒนาท่ีต้องการให้คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น การคานวณ ทางด้านวิศวกรรม ทาให้การพัฒนามินิคอมพิวเตอร์ เจริญอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันธุรกิจและองค์การหลาย ประเภทนิยมนามินิคอมพิวเตอร์มาใช้ในการให้บริการ ข้อมูลแก่ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม การ ทางานด้านบัญชีขององค์การธรุ กิจ เปน็ ต้น

4. เซริ ์ฟเวอรค์ อมพวิ เตอร์ (Server Computer) ค า ว่ า เ ซิ ร์ ฟ เ ว อ ร์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ป็ น คอมพิวเตอร์ท่ีสนับสนุนการทางานของคอมพิวเตอร์ เครือข่าย ซึ่งใช้ในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น แฟ้มข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ เช่น เคร่ืองพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ เป็น ตน้

5. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Micro Computer) ไมโครคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล เรียกกันสั้น ๆ ว่า “เคร่ืองพีซี” เป็นช่ือย่อของ บริษัท IBM ใช้เรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ขนาด 16 บิต ที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นมาเป็นเคร่ืองแรกใน ราวปี ค.ศ. 1981 และหลังจากนั้นเป็นต้นมา IBM- PC ก็เป็นท่ีนิยมกันท่ัวโลก จึงได้มีบริษัทต่าง ๆ ท่ัวไป ไ ด้ ท า ก า ร ส ร้ า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ลี ย น แ บ บ พี ซี ของ IBM และเรียกกันว่า “พซีคอมแพทิเบล” (PC- Compatible)

6. คอมพิวเตอร์แบบฝงั (Embedded Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีสนับสนุนการทางานของ คอมพิวเตอร์ที่ฝังในอุปกรณ์ต่าง ๆ นิยมนามาใช้ทางาน เฉพาะด้าน พิจารณาจากภายนอกจะไม่เห็นว่าเป็น คอมพิวเตอร์ และจะทาหน้าท่ีควบคุมการทางาน บางอย่างของอุปกรณ์นั้น ๆ คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่องเล่นเกม ระบบเติมน้ามันอัตโนมัติ โทรศัพทม์ อื ถอื เปน็ ตน้

โครงสร้างของคอมพวิ เตอร์ โครงสร้างคอมพิวเตอร์ (Structure Computer) คือ ส่วนประกอบสาคัญต่าง ๆ ที่มีความ เกี่ยวข้องกัน การนาคาว่าโครงสร้างและคอมพิวเตอร์มารวมกันเป็นโครงสร้างคอมพิวเตอร์ หมายถึง ส่วนประกอบสาคัญ ต่าง ๆ ท่ีนามาสร้างเป็นคอมพิวเตอร์และโครงสร้างภายในคอมพิวเตอร์ จะ ประกอบด้วยโครงสร้างหลัก 3หน่วย คือ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลัก และอินพุต/ เอาตพ์ ตุ 1. หน่วยประมวลผลกลาง (Center Processing Unit : CPU) ซพี ียู (CPU) เป็นชิปซิลิกอน (Silicon Chip) หรอื วงจรรวม (Integrated Circuit หรอื IC) โดย ภายในซพี ียปู ระกอบด้วย ส่วนสาคัญ 3 สว่ น คือ หนว่ ยควบคมุ หนว่ ยคานวณและตรรกะ และ หน่วยความจารีจสิ เตอร์

โครงสรา้ งของคอมพิวเตอร์ 1.1. หน่วยควบคมุ ทาหน้าท่ีควบคุมการทางานของอุปกรณ์ทุกชนิดในระบบคอมพิวเตอร์ ควบคุมการทางานระหว่าง หนว่ ยความจาหลัก และหน่วยคานวณและตรรกะ รวมถึงควบคุมการทางานระหว่างหน่วยความจาหลัก และอุปกรณ์อนิ พตุ /เอาต์พุต 1.2. หนว่ ยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic : ALU) ทาหน้าท่ีในการคานวณ (Arithmetic) การเปรียบเทียบ (Comparsion) และปฏิบัติการทาง ตรรกะ (Logical Operations) ภายใตก้ ารควบคุมของโปรแกรมคอื - Arithmetic Operations คานวณทางคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร และยกกาลัง ลกั ษณะทีใ่ ชท้ างคณติ ศาสตร์ คอื + - * / ^

แบบฝึกหดั ทา้ ยหนว่ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook