Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 311_1

311_1

Published by sunisa.n.kak, 2020-01-30 22:50:22

Description: 311_1

Search

Read the Text Version

ไขห วดั ใหญ (Influenza) นพ.ประเสรฐิ เออื้ วรากลุ ภาควิชาจลุ ชวี วทิ ยา Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตรศ ิริราชพยาบาล ในขณะน้ไี ดม กี ารแพรร ะบาดของโรคไขห วัดใหญใ นยโุ รปและอเมรกิ า มคี วามกงั วลอยู มากในขอ ที่วา โรคน้ีจะแพรร ะบาดมายังประเทศไทยหรอื ไม ดังนน้ั จงึ นา ทเี่ ราจะมาทาํ ความรจู ักกบั โรคนกี้ ันบา ง ไขห วัดใหญค ืออะไร? ไขห วดั ใหญห รือ influenza เปน โรคตดิ เชอื้ ของระบบทางเดนิ หายใจอยา งเฉยี บพลนั เชอ้ื ตน เหตุเปน ไวรัสทเ่ี รยี กวา influenza virus หรือไวรสั ไขห วัดใหญ ซง่ึ มอี ยู 2 ชนิดคือ influenza A และ B สว นไวรัส influenza อีกชนดิ หนงึ่ คือ influenza C นนั้ เนอ่ื งจากมีความรนุ แรงนอ ยและไมม ี ความสาํ คัญในการแพรร ะบาดจึงอาจจะไมน ับอยูในกลมุ ของโรคไขห วดั ใหญ ไวรสั ไขหวัดใหญน ัน้ ติดเช้อื ในเยือ่ บทุ างเดนิ หายใจสว นบนคอื จมกู และคอและอาจลงไปถงึ สว นลางอนั ไดแ กหลอดลม และปอดดวย อาการของไขหวดั ใหญเปนอยา งไร? อาการของไขห วดั ใหญไ ดแก ไข ปวดศรษี ะ เจบ็ คอ ปวดเมื่อยกลา มเนอื้ ไอแหง ๆ คดั จมกู น้ํามกู ไหล อาการตางๆเหลา น้มี กั เกิดขึ้นอยางรวดเรว็ และอยูน าน 6-10 วนั ทาํ ไมจงึ ตองแยกไขห วดั ใหญออกจากไขห วัดธรรมดา? Common cold หรือไขหวดั ธรรมดาจะมอี าการคลายๆไขห วดั ใหญได แตขอ แตกตางก็คอื ไขหวัดธรรมดามักมีอาการคดั จมูกนาํ้ มกู ไหล ไอจาม คนั คอ เปน อาการเดน และไมค อยมีอาการไข และปวดกลามเนอ้ื ความสาํ คญั ทจ่ี ะตอ งแยกไขหวดั ใหญอ อกจากไขห วัดธรรมดานนั้ เนื่องจาก ไขหวัดใหญจะมีภาวะแทรกซอ นไดบอ ยกวา และโดยทว่ั ไปอาการจะรนุ แรงและยาวนานกวา ไขหวัดธรรมดา ไขหวัดธรรมดานนั้ โดยท่วั ไปมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอนทรี่ นุ แรงไดนอ ยมาก แต ไขห วดั ใหญโดยเฉพาะในกลมุ เสี่ยงอาจเกดิ ภาวะแทกซอ นท่รี นุ แรงถงึ ชีวิตไดเ ชนปอดบวม ดังนนั้ หากสามารถแยกไขห วัดใหญอ อกจากไขห วดั ธรรมดาไดกจ็ ะชว ยใหดแู ลผูปว ยทมี่ ีความเสย่ี งสงู ได ดีข้ึน

ใครบา งท่เี สยี่ งทีจ่ ะเกิดอาการรนุ แรงจากการตดิ เชอ้ื ไขห วดั ใหญ? ผทู เ่ี สยี่ งตอภาวะแทรกซอ นรนุ แรงจากไขหวดั ใหญไดแ กผูท ี่มีโรคประจาํ ตัวไดแก โรคปอด เร้ือรัง หอบหดื โรคหวั ใจ เบาหวาน และ ผสู งู อายุ จะวนิ ิจฉยั ไขห วดั ใหญไดอ ยา งไร? จากลกั ษณะอาการเพยี งอยา งเดียวอาจยากทจ่ี ะบอกวา ผปู วยรายใดเปน ไขห วัดใหญราย ใดเปนไขหวัดธรรมดาจากการตดิ เชอ้ื ไวรสั อนื่ ๆ ในชวงทมี่ ีการระบาดอาจจะชว ยใหว นิ ิจฉัยไดง า ย ข้ึน การวินจิ ฉยั ยนื ยันทางหอ งปฏบิ ตั กิ ารทําไดโดยแยกเชอ้ื ไวรสั จากไมป ายคอ (throat swab) หรอื น้าํ ที่ดูดจากหลังโพรงจมูก (nasopharyngeal aspirate) ซ่ึงกนิ เวลาอยางนอยประมาณ 1 สปั ดาห หรือดวยการตรวจหาโปรตีนแอนตเิ จนของไวรสั ในสง่ิ สง ตรวจน้ันซง่ึ ไดผ ลเร็วในไมก ชี่ ่วั โมง อยางไร ก็ตามการตรวจทั่ง 2 แบบน้นั ยงุ ยากและทาํ ไดใ นหอ งปฏบิ ัตกิ ารบางแหงเทา นน้ั และใชใ น การศกึ ษาติดตามการระบาดของไวรัสมากกวา ที่จะนาํ มาใชในการรกั ษาผปู ว ยแตล ะราย การรกั ษาไขห วดั ใหญท าํ อยางไร? การรักษาสว นใหญเ ปนการรกั ษาตามอาการไดแกย าบรรเทาปวดลดไข ยาแกไอ ถงึ แมม ี ยาทก่ี ดการเพม่ิ จาํ นวนของไวรัสไดโ ดยตรง แตย านี้ไมม ใี ชทว่ั ไป และในกรณีสว นใหญไ มม ีความ จาํ เปนตอ งใช ยาจะมคี วามสาํ คญั เฉพาะในรายที่มอี าการรนุ แรงเชน การตดิ เชือ้ ในผูส งู อายุ ยา ดงั กลาวนมี้ ดี ว ยกนั 2 ชนดิ คอื Amantadine และ Rimantadine วคั ซีนไขห วัดใหญเปน อยา งไร? วัคซนี ใชป องกนั การตดิ เชือ้ และตองใหซ ํ้าทุกปกอนฤดกู ารระบาด แนะนาํ ใหฉดี วัคซนี ใน กลมุ ที่เสยี่ งตอการเกดิ ภาวะแทรกซอนรนุ แรงหากติดเชื้อ ไดแ ก ผูส งู อายุมากกวา 65 ป ผทู ี่มโี รค ปอดเร้อื รงั เบาหวาน และผทู ีม่ ีภูมคิ ุมกนั บกพรอ ง วคั ซีนจะสามารถปองกนั การตดิ เชือ้ สายพนั ธทุ ี่ เหมือนหรือคลา ยกับสายพนั ธุของไวรัสท่ีใชท ําวัคซีนเทา นัน้ ในแตละปสายพนั ธทุ ีใ่ ชท าํ วัคซีนจะ แตกตางกนั ไปตามความคาดหมายวา เชือ้ สายพนั ธใุ ดจะระบาดในปน น้ั ๆ ดังนั้นการฉดี วคั ซีนจงึ อาจไมส ามารถปองกนั เชอ้ื สายพนั ธใุ หมท ี่เพิง่ จะเกิดข้นึ ได ไขห วัดใหญแ พรเ ชื้ออยา งไร? ไวรสั ไขหวดั ใหญเขา สูรา งกายทางทางเดนิ หายใจ โดยเช้ือจะอยใู นละอองฝอยในอากาศที่ ออกมาจากการไอจามของผปู ว ย เมอ่ื สูดหายใจเอาเช้อื เขา ไป เชอื้ กจ็ ะเขา ไปเพม่ิ จาํ นวนอยูในเซลล เยือ่ บุทางเดนิ หายใจ และทาํ ใหเ กดิ อาการปวยใน 18 ถึง 72 ชวั่ โมง

สถานการณไ ขหวดั ใหญใ นปจ จบุ นั เปน อยางไร? ความสาํ คญั ของไขห วัดใหญอ ยูทก่ี ารทไ่ี วรัสนีม้ ีการแพรร ะบาดอยางกวางขวางไดบ อย บางคร้งั เปน การแพรร ะบาดทวั่ โลก (pandemic) การแพรระบาดนี้มักเกิดในชวงฤดหู นาว โดยทว่ั ไปทกุ ฤดหู นาวจะมีจาํ นวนผูปว ยสงู ขน้ึ กวา ฤดูอนื่ ๆ ในแตล ะปม กี ารประมาณวา มผี ูติดเชอื้ ไขห วดั ใหญท วั่ โลกสงู ถงึ 10-15% ของประชากรท้ังหมด การท่ีไวรสั มีการแพรร ะบาดไดอ ยาง กวางขวางนี้เนอ่ื งมาจากลกั ษณะท่สี าํ คญั ของไวรสั ชนดิ นท้ี มี่ กี ารเปลยี่ นแปลงลกั ษณะของโปรตนี สาํ คัญทเี่ ปน เปาหมายในการโจมตขี องระบบภมู ิคุมกันของรา งกายไดงา ย เมอ่ื ลักษณะของโปรตีน ดังกลา วเปลย่ี นแปลงไปกท็ าํ ใหภ ูมคิ มุ กนั ในรางกายของผูที่เคยติดเชอื้ ไมสามารถปอ งกนั การติด เชือ้ ของไวรสั สายพนั ธุใหมไ ดท ําใหสามารถตดิ เชอ้ื ซ้ําไดอกี ดงั น้นั เม่อื ไวรสั มกี ารเปลย่ี นแปลงไป ครง้ั หนง่ึ กจ็ งึ มกั จะมีการระบาดตามมาเพราะไมม ผี มู ีภมู คิ ุมกนั ตอไวรสั สายพนั ธุใหมอ ยเู ลย จงึ ทํา ใหมีไวรัสสายพันธุตา งๆอยมู ากมาย โดยมรี ะบบเรียกชอื่ สายพนั ธุของไวรสั ที่จะบอกชนิดวา เปน A หรือ B สถานที่ทแ่ี ยกเชอื้ ไดเปน ครง้ั แรก ปท แ่ี ยกเชื้อไดเ ปนครงั้ แรก และชนิดของโปรตีนสําคัญทีผ่ วิ ของไวรสั ทเ่ี ปน เปา หมายของระบบภูมคิ มุ กันคอื hemagglutinin และ neuraminidase เชน ไวรสั A/Bangkok/01/79(H3N2) ซ่ึงแยกไดทก่ี รงุ เทพฯในป คศ. 1979 เปน ไวรัสตวั ท่ี 1 ที่แยกไดใ นปน นั้ และมี hemagglutinin type 3 และ neuraminidase type 2 และไวรสั ท่กี ําลงั แพรระบาดอยูใน ยุโรปและอเมรกิ าสวนใหญเ ปน influenza A(H3N2) แตกม็ รี ายงานพบ A(H1N1) ปนอยูบา งใน บางประเทศรวมทงั้ influenza B ที่มลี ักษณะคลาย B/Yamanashi/166/98 อยา งไรก็ตามระดับ ของการระบาดในปจ จบุ ันถงึ แมจะมจี าํ นวนผปู ว ยเพมิ่ สงู ขน้ึ แตกย็ งั ไมจ ดั อยูในระดับทีม่ กี ารระบาด เพียงจดั อยใู นระดับที่เรยี กวา มผี ปู ว ยมากกวา ทคี่ าดในฤดูนั้น (higher than expected seasonal activity) กลาวคือยงั เปน ระดับท่ไี มร ุนแรงนักคือมีผปู ว ยระหวา ง 200-400 รายตอ ประชากร 100,000 คน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook