246 วารสารวิชาการมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 27 ฉบบั ท่ี 54 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 การวิเคราะหย์ ทุ ธศาสตรอ์ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นของ ประเทศไทย เพือ่ พฒั นาการทอ่ งเทยี่ วอย่างย่งั ยืน Th e Tourism Strategic Analysis of Local Administration for Sustainable Tourism Develop ment ปริญ ญา นาคปฐม (Parinya Nakpathom)1 กฤษฏิพทั ธ์ พิชญะเดชอนนั ต์ (Krittipat Pitchayadejanant)2 ประสทิ ธชิ์ ัย อักษรนิตย์ (Prasitchai Aksonnit)3 บตุ รี ถ่นิ กาญจน์ (Buthri Thinkarn)4 วรรณวภิ า หรสู กลุ (Wanwipa H roosakool)5 Received: November 27, 2018 Revised: January 16, 2019 Accepted: February 13, 2019 บทคัดยอ่ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษายุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินของประเทศไทย และ 2) วิเคราะห์ยุทธศาสตร์และยุทธวิธี 1 สาขาการจดั การการบรกิ ารและการทอ่ งเทย่ี วนานาชาติ วทิ ยาลยั นานาชาติ มหาวทิ ยาลยั บรู พา Department of International Hospitality and Tourism Management, Burapha University International College 2 สาขาการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั บูรพา Department of Logistics Management, Burapha University International College 3 สาขาการจดั การการบรกิ ารและการทอ่ งเทยี่ วนานาชาติ วทิ ยาลยั นานาชาติ มหาวทิ ยาลยั บรู พา Department of International Hospitality and Tourism Management, Burapha University International College 4,5 ส�ำนักบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลัยบรู พา Academic Service Center, Burapha University
วารสารวชิ าการมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา ปที ี่ 27 ฉบับท่ี 54 247 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 ด้านการท่องเท่ียวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อความอย่างย่ังยืน โดยใช้ระเบียบ วธิ วี จิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ดว้ ยการวเิ คราะหเ์ อกสารจากแหลง่ ขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิ ไดแ้ ก่ แผนยทุ ธศาสตร์ และเอกสารสาธารณะ โดยรวบรวม และน�ำมาจัดกระท�ำกับข้อมูลด้วยการเรียบเรียง ข้อมูลใหม ่เพ่ือให้เห็นยุทธศาสตร์และยุทธวิธีท่ีชัดเจน โดยใช้หลักการคัดเลือกเอกสาร 4 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ ความจรงิ ความถกู ต้องน่าเชื่อถอื ความเปน็ ตัวแทน และความหมาย รวมทงั้ ใชข้ นั้ ตอนการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3 ขน้ั ต อน ไดแ้ ก่ การลดทอนขอ้ มลู การแสดงขอ้ มลู และการสรา้ งขอ้ สรปุ และการพสิ จู นข์ อ้ สรปุ ผลการวจิ ยั พบวา่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ มีนโยบายทางด้านการท่องเที่ยว 7 ยุท ธศาสตร์ 28 ยุทธวิธีดังนี้ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ดา้ นการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ประกอบด ว้ ย 4 ยทุ ธวธิ ี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ดา้ นการสง่ เสรมิ การท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ ประกอบด้วย 4 ยุทธวิธี ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการส่งเสริม การตลาดและการประชาสมั พนั ธ์ ประกอบดว้ ย 4 ยทุ ธวธิ ี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ดา้ นการพฒั นา พน้ื ทใ่ี หม้ มี าตรฐานตามหลกั สากล ประกอบดว้ ย 4 ยทุ ธวธิ ี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 ดา้ นการพฒั นา บุคลากรทางการท่องเท่ียว ประกอบด้วย 4 ยุทธวิธี ยุทธศาสตร์ท ี่ 6 ด้านการสร้าง ภาคีเครือข่าย ประกอบดว้ ย 4 ยุทธวิธี และยทุ ธศาสตรท์ ี่ 7 ด้านการบรหิ ารจัดการทาง การท่องเท่ียว ประกอบด้วย 4 ยุทธวิธี นอกจากน้ี ผลการวิจัยสามารถใช้เป็นแนวทาง ในการก�ำหนดยุทธศาสตร์และยุทธวิธีด้านการพัฒนา ด้านการท่องเที่ยวขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ เพือ่ ความยง่ั ยนื คำ� สำ� คญั : ยทุ ธศาสตรก์ ารท่องเทีย่ ว, องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ Abstract The objectives of this study are 1) to study the tourism strategies of Local Administration of Thailand and 2) to analyze the strategic plan and action plan from tourism development planning of Local Administration for sustainability. This research is conducted by using qualitative methods. The data are retrieved from strategic plan of Local Administration and public documents by arranging into category. The principles of document selection in qualitative method must be 4 stages: authenticity, credibility, representativeness, and meaningfulness. In addition, this study applies
248 วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ปที ี่ 27 ฉบับที่ 54 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 qualitative research processes which consist of 3 stages: data reduction, data presentation, and verifying conclusion. Research finding are classified tourism strategies of Local Administration into 7 strategies with 28 action plans; 1) In frastructure development consisting of 4 action plans; 2) New form of tourism promotion consisting of 4 action plans; 3) Marketing and public relation promoting consi sting of 4 action plans; 4) Local landscape development based on in ternational standard consisting of 4 action plans; 5) Human resource d evelopment in tourism consisting of 4 action plans; 6) Collaboration and networking consisting of 4 action plans; and 7) Administration of tourism consisting of 4 action plans. Moreover, research finding can be the guideline for directing strategies and action plan to develop the sustainable tourism development by Local Administration. Keywords: Tourism Strategic, Local Administration บทน�ำ รัฐบาลไทยได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579 (ส�ำนัก เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตร,ี 2559) โดยวเิ คราะหส์ ถานการณภ์ ายในและภายนอกประเทศ รวมทง้ั ศกึ ษาผลการพฒั นาประเทศไทยตงั้ แตอ่ ดตี ถงึ ปจั จบุ นั ในปี 2559 รายไดป้ ระชาชาติ ต่อหัวของประเทศไทย เพิ่มข้ึนเป็น 212,980 บาทต่อปี ซ่ึงรายได้หลักมาจากฐาน การผลติ อตุ สาหกรรม และเกษตรกรรมทม่ี คี วามหลากหลายมากขน้ึ อาทิ กลมุ่ ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมอาหาร สินค้าเกษตร การบริการ ด้านสุขภาพ และท่ีส�ำคัญของที่มาของรายได้ประชากรไทยมาจากอุตสาหกรรม การบริการ นอกจากนี้รัฐบาลไทยได้ก�ำหนดโยบายเพอ่ื ใชพ้ ฒั นาการท่องเทยี่ ว ซงึ่ นบั วา่ เปน็ แหลง่ รายไดท้ สี่ ำ� คญั ในการนำ� มาซง่ึ เงนิ ตราตา่ งประเทศ โดยการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ ว ให้เป็นเคร่ืองมือส�ำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เพ่ือก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับประชาชนการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค รวมไปถึงการค้าและ การลงทุน ด้วยการพฒั นา ยกระดับคุณภาพ และศกั ยภาพของอุตสาหกรรมการบรกิ าร
วารสารวิชาการมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ปที ่ี 27 ฉบบั ที่ 54 249 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 และอตุ สาหกรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งใหส้ งู ขนึ้ เชน่ การขนสง่ (ทางบก ทางอากาศ และทางทะเล) และส่งเสริมธุรกิจการบริการให้เป็นฐานรายได้ใหม่ โดยมุ่งเน้นให้ประเทศไทยเป็น เมืองหลวงแหง่ การบริการและการทอ่ งเที่ยวของอาเซียนในอนาคต ป ัจจุบันประเทศไทยยังส่งเสริมอุตสาหกรรมการบริการ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว ซงึ่ การทอ่ งเทยี่ วของประเทศไทยมงุ่ เนน้ ตวั ชวี้ ดั เชงิ ปรมิ าณ มากกว่าเชิงคุณภาพ และขาดการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ อย่างต่อเน่ือง นอกจากน้ี แหล่งท่องเท่ียวของประเทศไทยมีความเ สื่อมโทรมลงจากการใช้ประโยชน์ท่ีไม่ยั่งยืน ขาดการก�ำหนดกลยุทธ์ เป้าหมาย และกา รบริหารจัดการที่ชัดเจน จากปัญหาดังกล่าว ก่อให้เกิดผลกระทบหลายด้านต่อท้องถิ่น อาทิ การสูญหายของวัฒนธรรมพื้นถ่ิน การอพยพย้ายถ่ิน การเคลื่อนย้ายแรงงาน ส่งผลต่อวิถีชีวิตคนไทยท้ังระดับครอบครัว และชุมชน รวมท้ังยังก่อให้เกิดปัญหาระดับประเทศ อาทิ ความม่ันคงปลอดภัย การรับนักท่องเท่ียวจ�ำนวนมาก และมลภาวะและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสภาพธรรมชาติ ถูกท�ำลาย เนื่องจากถูกใช้ประโยชน์เกินความสามารถท่ีจะรองรับ (Beyond carry capacity) ท�ำใหห้ น่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งต้องเร่งสรา้ งสรรค์ และพฒั นาการบริการรูปแบบ ใหม่ ๆ ท่ีสามารถจูงใจให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาท่องเท่ียวในแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ท�ำให้หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนจ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา การทอ่ งเท่ยี วเพ่ือความย่ังยืน โดยม่งุ เนน้ การปรับโครงสร้างพ้นื ฐาน การพัฒนาบุคลากร การยกระดับมาตรฐานการบรกิ าร การสรา้ งแบรนดท์ างการท่องเที่ยว เป็นตน้ การพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นท่ีต่าง ๆ จ�ำเป็นต้องได้รับการส่งเสริมจาก หน่วยงานภาครัฐเป็นส�ำคัญ น่ันคือ “องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน” หรือ อปท. ท่ีต้อง สรา้ งแหลง่ ท่องเท่ยี วในพื้นทใ่ี ห้มีความโดดเดน่ ในเศรษฐกจิ ฐานชีวภาพและอุตสาหกรรม และบริการแห่งอนาคต (New s-curves) เพ่ือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพสูง ซึ่งการพัฒนาการท่องเท่ียวน้ันจ�ำเป็นต้องพัฒนาคุณภาพ และสร้างเอกลักษณ์ทาง การทอ่ งเทย่ี วของแตล่ ะพนื้ ทเ่ี พอ่ื ใหเ้ ปน็ จดุ หมายปลายทางทสี่ ำ� คญั นอกจากนนั้ การเตบิ โต ทางการท่องเที่ยวส่งผลถึงการสร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้ชุมชน ในระยะยาวองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นต้องส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทางการท่องเท่ียวท่ีมีคุณภาพ อย่างย่ังยืน ไม่ก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ไม่ท�ำลายวิถีชีวิต และเอกลักษณ์ของชุมชน (กรมการท่องเที่ยว และส�ำนักบริการ
250 วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา ปที ี่ 27 ฉบับที่ 54 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 วิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560, หน้า 4) ท่ีส�ำคัญต้องบูรณาการการท่องเที่ยว เพ่ือให้เกิดการเชื่อมโยงทางการท่องเท่ียวในพื้นที่ กลุ่มจังหวัด ภูมิภาค และประเทศ เพ่ือนบ้าน ซ่ึงจะช่วยยกระดับการท่องเท่ียวของประเทศไทยให้เป็นหน่ึงในประเทศ เป้าหมายทนี่ กั ทอ่ งเทยี่ วทุกคนตอ้ งเดินทางมาทอ่ งเท่ยี วครัง้ หนงึ่ ในชวี ติ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีภารกิจส�ำคัญในการก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์ ของพนื้ ทเ่ี พอื่ นำ� ไปใชพ้ ฒั นา และแกไ้ ขปญั หาด า้ นการทอ่ งเทยี่ วเพอื่ ใหเ้ กดิ การขบั เคลอื่ น ไปสู่ความส�ำเร็จในการพัฒนาการท่องเที่ยว ของพื้นที่โดยเน้นหลักการเติบโตอย่าง สมดุลและยั่งยืน ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาแผนพัฒ นาท้องถิ่นของจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ทั้ง 77 จังหวัดของประเทศไทย โดยเน้นการศึกษาที่แผนยุทธศาสตร์ด้านการท่องเท่ียว เพ่ือน�ำเสนอรูปแบบการพัฒนาด้านการท่องเท่ียวขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อยา่ งยั่งยืนในอนาคต วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั 1. ศึกษายุทธศาสตร์ด้านการท่องเท่ียวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ของประเทศไทย 2. วิเคราะห์ยุทธศาสตร์และยุทธวิธีด้านการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวของ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ เพอื่ ความยัง่ ยนื การทบทวนวรรณกรรม 1. ย ทุ ธศาสตรท์ ่ีเก่ยี วขอ้ งกับการท่องเทย่ี ว ประเทศไทยมีการก�ำหนดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579 (ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี คณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์แห่งชาติ, 2559) เพ่ือเป็นแนวทางในการบริหารประเทศ ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” ซึ่งมียุทธศาสตร์ท่ีส�ำคัญ 6 ด้าน ได้แก่ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ความม่ันคง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสและ
วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา ปีท่ี 27 ฉบับที่ 54 251 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 ความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็น มิตรต่อส่ิงแวดล้อม และยุทธศาสตร์ที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครฐั ซงึ่ การท่องเทย่ี วถูกระบุไว้ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 คอื การสร้างความสามารถ ในการแข ่งขัน โดยมีภารกิจส�ำคัญ 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) การพัฒนาภาคการผลิต และบริการ 2) การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนและการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อเพ่ิม ขดี ความ สามารถในการแขง่ ขนั 3) การพฒ ั นาสงั คม ผปู้ ระกอบการ (Entrepreneurial society) เพื่อสร้างผู้ประกอบการทางธ ุรกิจ และ 4) การวางรากฐานท่ีแข็งแกร่ง เพ่ือสนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถใ นการแข่งขัน ที่ส�ำคัญยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ได้สรุปการพัฒนาการท่องเที่ยวค วรส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างมีคุณภาพไว้ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ความยง่ั ยนื บรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพ และการกระจายรายได้ ส่ทู อ้ งถิน่ ดังภาพที่ 1 ภาพที่ 1 การพัฒนาความหลากหลาย คณุ ภาพ และสร้างเอกลกั ษณ์การท่องเทย่ี วไทย ทีม่ า: ยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579 (สำ� นักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตร,ี 2559, หน้า 76)
252 วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ปที ่ี 27 ฉบบั ที่ 54 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 นอกจากน้ี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 พ.ศ. 2560- 2564 (ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560) ได้น�ำปัญหาที่เกิดข้ึน ในประเทศไทย มาก�ำหนดเป้าหมายของการขับเคล่ือนการพัฒนาตามวาระการพัฒนา ท่ียั่งยืน (Sus tainable development goals: SDGs) และสอดคล้องกับเป้าหมาย ในระยะยาวยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 มีเปา้ หมายการพฒั นา 6 ด้าน ปร ะกอบด้วย 1) คนไทยทมี่ ีคุณลกั ษณะเป็น คนไทยทส่ี มบรู ณ์ 2) การลดความเหลอ่ื มลำ้� ดา้ น รายไดแ้ ละความยากจน 3) ระบบเศรษฐกจิ มีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ 4) ทุนทางธร รมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมสามารถ สนับสนุนการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มีความม่ันคงอาหาร พลังงาน และน�้ำ 5) มีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้างภาพลักษณ์ดี และเพม่ิ ความเชอ่ื มนั่ ของนานาชาตติ อ่ ประเทศไทย และ 6) มรี ะบบบรหิ ารจดั การภาครฐั ท่ีมีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอ�ำนาจและมีส่วนร่วมจาก ประชาชน ซึ่งแผนฯ ดังกล่าวประกอบไปด้วย 10 ยุทธศาสตร์ โดยกา รท่องเท่ียวมี ส่วนเกี่ยวข้องในทุกยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560-2564 ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ ด้านทนุ มนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหลือ่ มล้าในสังคม ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การเสริมสรา้ งความม่ันคงแห่งชาติเพื่อการพฒั นาประเทศสู่ความม่ังค่ัง และยง่ั ยนื ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทจุ รติ ประพฤติ มิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย ยุทธศาสตร์ท่ี 7 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และ นวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์ ท่ี 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพอ่ื การพัฒนา การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทุกแผนระดับประเทศต้องได้รับการส่งเสริม และสนับสนุนแผนระดับท้องถิ่นภายใต้กระทรวงมหาดไทย น่ันคือ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน หรือ อปท. ซ่ึงกระทรวงมหาดไทยได้จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์กระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2560-2564 (ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, 2560, หน้า 4)
วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ปที ่ี 27 ฉบับท่ี 54 253 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 ไดว้ เิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มทง้ั ภายในและภายนอก (SWOT Analysis) นำ� ไปสกู่ ารกำ� หนด จดุ ยืน อตั ลกั ษณ์ วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ เปา้ หมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ รวมทงั้ มีการก�ำหนด เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ดั ระดบั เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ ซงึ่ มคี วามสอดคลอ้ งกบั และความ เชอ่ื มโยงกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560- 2564) โดยมียุทธศาสตร์สำ� คญั ดังน้นั แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2560- 2564 จึงมีความส�ำคัญในการก�ำหนดทิศ ทางการด�ำเนินงานของกระทรวงมหาดไทย ในฐานะผู้น�ำส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนงา นตามนโยบายรัฐบาลงานตามภารกิจของ กระทรวงมหาดไทย และงานในระดับพื้น ที่ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้มีรากฐานการด�ำรงชีวิตและพัฒนาสู ่อนาคตได้อย่างม่ันคงและสมดุล ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยา่ งเปน็ รปู ธรรมและยง่ั ยนื ตอ่ ไป 2. อ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ อปท. เป็นหน่วยงานภายใต้กรมส่งเสริม การปกครองทอ้ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย นบั วา่ เปน็ หนว่ ยงานสำ� คญั ขอ งรฐั ทมี่ กี ารดำ� เนนิ งานเป็นอิสระจากส่วนกลาง ท�ำหน้าที่บริหารจัดการกิจการต่าง ๆ ในท้องถิ่นของตน ซ่ึงผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องได้รับเลือกต้ังจากประชาชนในท้องถิ่นน้ัน ๆ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมสี ว่ นร่วมในการใชอ้ �ำนาจรฐั ดูแลตนเองมากข้นึ เพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพ ด้านการใช้จ่ายของรัฐ เน่ืองจากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถตัดสินใจ ใชง้ บประมาณไดต้ รงตามความตอ้ งการของประชาชนมากกวา่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในประเทศไทยสามารถจำ� แนกออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รปู แบบทว่ั ไป อันประกอบดว้ ย องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด (อบจ.) เทศบาล (เทศบาล นคร เทศบาลเมือง และเทศบาลต�ำบล) และองค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) และ 2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ คือ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา (สถาบนั พระปกเกล้า, 2559) กองกฎหมายและระเบียบท้องถ่ิน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินระบุว่า ประเทศไทยมีการแบง่ พ้ืนทอ่ี อกเป็น 77 จังหวดั กระจายอยใู่ น 6 ภูมภิ าค ไดแ้ ก่ 1. ภาคเหนือ ประกอบไปดว้ ย 9 จังหวดั ไดแ้ ก่ เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำ� พูน ลำ� ปาง และอตุ รดติ ถ์
254 วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ปีท่ี 27 ฉบบั ที่ 54 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ประกอบไปดว้ ย 20 จงั หวดั ไดแ้ ก่ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บึงกาฬ บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร สุรินทร์ ศรีสะเกษ หนองคาย หนองบัวล�ำภู อุดรธานี อุบลราชธานี และอำ� นาจเจริญ 3. ภาคกลาง ประกอบไปด้วย 21 จังหวัด ได้แก่ ก�ำแพงเพชร ชัยนาท นครนายก นครปฐม นครสวรรค์ นนทบุร ี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ลพบุรี สมุทรปรากา ร สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สิงห์บุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี สระบุรี อ่างทอง และอุทัย ธานี 4. ภาคตะวนั ออก ประกอบไปด้วย 7 จังหวดั ไดแ้ ก่ จนั ทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง และสระแกว้ 5. ภาคตะวันตก ประกอบไปด้วย 5 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ตาก ประจวบครี ีขันธ์ เพชรบรุ ี และราชบรุ ี 6. ภาคใต้ ประกอบไปดว้ ย 14 จงั หวดั ไดแ้ ก่ กระบี่ ชมุ พร ตรงั น ครศรธี รรมราช นราธวิ าส ปัตตานี พังงา พทั ลงุ ภูเก็ต ระนอง สตลู สงขลา สรุ าษฎรธ์ านี และยะลา นอกจากนี้ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ไดก้ ระจายอำ� นาจการปกครอง ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ออกเป็น 7,851 แห่ง แบ่งออกเป็น องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด 76 แห่ง เทศบาลนคร 30 แห่ง เทศบาลเมือง 178 แห่ง เทศบาลต�ำบล 2,233 แหง่ และองค์การบริหารส่วนตำ� บล 5,334 แหง่ มรี ายละเอียดดังตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 ข้อมูลจำ� นวนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ แยกรายภูมิภาค 1. เหนือ ภาค อบจ. เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำ� บล อบต. รวม 93 14 372 505 903 2. ตะวันออกเฉยี งเหนือ 20 5 36 820 1,914 2,795 3. กลาง 21 10 58 442 1,446 1,977 4. ตะวันออก 73 23 175 329 537 5. ตะวันตก 51 11 121 311 449 6. ใต้ 14 8 36 303 829 1,190 รวม 76 30 178 2,233 5,334 7,851 ข้อมลู ณ วันที่ 1 ธนั วาคม 2560 ท่ีมา: http://www.dla.go.th/work/abt/province.jsp
วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา ปีที่ 27 ฉบับที่ 54 255 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 3. ง านวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง ผู้วิจัยได้ศึกษางานวิจัยที่เก่ียวข้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาท่องเท่ียวของ จังหวดั ตา่ ง ๆ รวมท้ังแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วท่สี ำ� คัญของประเทศไทย มรี ายละเอยี ดดงั นี้ อดุ มลกั ษณ์ เพง็ นรพฒั น์ (2560, หนา้ 28) ไดศ้ กึ ษาเรอ่ื ง ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา ศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษาพบว่า ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพการท่องเท่ียวเชิงวัฒ นธรรมของจังหวัดศรีสะเกษ ประกอบด้วย 5 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ (1) การผลกั ดนั จงั หว ดั ศรสี ะเกษเปน็ ศนู ยก์ ลางความหลากหลายของ การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมเขตอีสานใต้ (2) การยกระดับการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ของจังหวดั ศรสี ะเกษส่เู ศรษฐกจิ สรา้ งสรรคเ์ พอ่ื เพ่มิ มูลคา่ ใหช้ มุ ชน (3) การพฒั นาปัจจัย สนับสนุนทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (4) การสร้างปัจจัยทางการท่องเที่ยวท่ีเอื้อ ต่อการแข่งขันเพ่ือส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ (5) ส่งเสริมการมี ส่วนรว่ มของภาครฐั เอกชน ชุมชน และเครอื ขา่ ย อรญั ยา ปฐมสกลุ , วศิ าล ศรมี หาวโร และสมคดิ รตั นพนั ธ์ุ (2560, หนา้ 177) ได้ศึกษาเร่ือง การพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงนิเวศของชุมชน: กรณีศึกษาต�ำบลท่าชนะ อำ� เภอท่าชนะ จังหวดั สุราษฎร์ธานี ผลการศกึ ษาพบวา่ การสรา้ งยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา การทอ่ งเทยี่ วเชงิ นิเวศของชมุ ชนไดป้ ระกอบดว้ ย 4 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ (1) ยทุ ธศาสตร์ เชงิ รกุ คอื การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว สง่ เสรมิ ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม การจดั ระเบยี บชมุ ชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย การสร้างความเชื่อม่ัน และส่งเสริมกิจกรรม การท่องเท่ียว และพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถ่ิน (2) ยุทธศาสตร์เชิงป้องกัน คือ เพ่ือการพัฒนาฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน (3) ยุทธศาสตร์เชิงแก้ไข คือ เสริมสร้างองค์ความรู้เพ่ือส่งเสริมกิจการการท่องเท่ียว และ (4) ยุทธศาสตร์เชิงวิกฤต คอื การพฒั นาโครงการพืน้ ฐาน และส่ิงอ�ำนวยความสะดวกเพ่ือการท่องเทย่ี ว พงษศ์ กั ดิ์ เพชรสถติ (2559, หนา้ 57) ไดศ้ กึ ษาเรอ่ื ง ยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร จัดการทางการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ของจังหวัดก�ำแพงเพชร ได้ให้ข้อเสนอแนะทาง การวางแผนยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมในการบริหารจัดการทางการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ของจังหวัดก�ำแพงเพชร ไว้ 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ภาคประชาชนและองค์กรท้องถิ่น (2) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการภาคเอกชน
256 วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ปีที่ 27 ฉบบั ท่ี 54 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 (3) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการภาครัฐ และ (4) ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนและองคก์ รท้องถิน่ สุชน อินทเสม (2555, หน้า 10) ได้ศึกษาเร่ือง ยุทธศาสตร์การพัฒนา ก า ร ท ่อ ง เ ท่ี ย ว แบบ ย่ังยื น จั ง ห วั ด ป ระ จว บคี รี ขัน ธ ์ : กรณีศึกษาต�ำบลปากน้�ำปราณ ผลการศึกษาพบว่า ยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวเน้น 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและส ่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (2) ส่งเสริมและเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน (3) การบริหารจัดการทางการท่องเที่ยว แบบบูรณาการ และ (4) ส่งเสริมการมีส่วนร ่วมทุกภาคส่วนเพ่ือพัฒนาการท่องเที่ยว แบบยัง่ ยนื คนงึ ภรณ์ วงเวยี น (2554, หนา้ 265-269) ไดศ้ กึ ษาเรอื่ งการพฒั นายทุ ธศาสตร์ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ผลการศึกษา พบว่า ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนในภาคตะวันออกของไทย ประกอบด้วย 3 ประเด็น ได้แก่ (1) เสริมสร้างคุณภาพชีวิตและความม ่ันคงปลอดภัย ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ใหแ้ กป่ ระชาชนทอ้ งถนิ่ และนกั ทอ่ งเทยี่ ว (2) เสรมิ สรา้ งการจดั การ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และระบบสาธารณูปโภค (3) พัฒนาศักยภาพ แหลง่ ท่องเทยี่ วเชงิ นิเวศและการตลาดท่องเทยี่ วเชิงคุณภาพอย่างยั่งยืน วธิ กี ารวจิ ัย การวจิ ยั นี้เปน็ การวิจยั เชงิ คุณภาพ (Qualitative research) ด้วยการวเิ คราะห์ เอกสารจากแหลง่ ขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary data) ไดแ้ ก่ แผนยทุ ธศาสตร์ (Secondary document) และเอกสารสาธารณะ (Public document) ที่เขียนและตีพิมพ์โดย องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เพอื่ สำ� รวจหาขอ้ มลู ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วตามสภาพความเปน็ จรงิ ประกอบดว้ ยนโยบายและยทุ ธศาสตร์ รวมทงั้ แนวโนม้ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารจากแผนยุทธศาสตร์และเอกสารสาธารณะ ท่ีสอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงคข์ องงานวจิ ยั (Mogalakwe, 2006, หนา้ 224) ดงั นนั้ การคดั เลอื กเอกสาร จงึ มคี วามสำ� คญั มาก โดยผวู้ จิ ยั มเี กณฑใ์ นการคดั เลอื กเอกสารตามแนวทางการศกึ ษาของ Scott (1990, หนา้ 6) ประกอบไปดว้ ย 4 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ 1) ความจรงิ (Authenticity) หมายถึง เอกสารต้องเป็นข้อมูลที่แท้จริง (Origin) จากผู้เขียน หรือหน่วยงานที่มี
วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ปีท่ี 27 ฉบับที่ 54 257 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 ความน่าเชอ่ื ถือ รวมถงึ ข้อมลู ในเอกสารต้องสอดคล้องกบั ข้อมลู ในบริบทอ่นื ๆ ทีเ่ กิดขึ้น ณ ชว่ งเวลาในขณะนนั้ 2) ความถกู ตอ้ งนา่ เชอ่ื ถอื (Credibility) หมายถงึ เอกสารตอ้ งไม่มี ความผดิ พลาดคลาดเคลอื่ นจากความเปน็ จรงิ 3) ความเปน็ ตวั แทน (Representativeness) หมายถึง เอกสารดังกล่าวสามารถเป็นตัวแทนเอกสารอื่น ๆ ประเภทเดียวกัน และ 4) ความหมาย (Meaning) การคดั เลอื กเอกสารตอ้ งมคี วามชดั เจนเขา้ ใจงา่ ย โดยผู้วจิ ัย ตอ้ งพิจารณาข้อมลู คร่าว ๆ ของเอกสารว ่า ขอ้ มลู ดังกล่าวมคี วามหมายสามารถตีความ ในระดับขอ้ เทจ็ จริง และนำ� ไปสู่การสรุปสา ระสำ� คญั ต่อไป ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอ นการวิเคราะห์ข้อมูลของ Ahmed (2010, หน้า 6 อ้างถึง Miles & Huberman, 1994) ที่กล่าวว่าขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคณุ ภาพ ประกอบดว้ ย 3 ขนั้ ตอน ได้แก่ 1) การลดทอนข้อมูล (Data reduction) โดยผู้วิจัยได้การเรียบเรียง (Editing), การจัดกลุ่ม (Segmenting), และการสรุป (Summering) จากนั้นน�ำข้อมูลมาใส่รหัส (Coding) และเขียนข้อเขียนเพ่ือเตือน ความทรงจ�ำ (Memoing) ที่ส�ำคัญต้องเชื่อมโยงข้อมูลไปสู่การหาแก ่นเร่ือง (Theme) และการจัดกลุ่ม (Clustering) เพ่ือสร้างเป็นแนวความคิดรวบยอดและน�ำความคิด รวบยอดมาสกู่ ารอธบิ าย 2) การแสดงขอ้ มลู (Data display) ผวู้ จิ ยั ไดน้ ำ� ขอ้ มลู มาจดั การ (Organize), การบีบอัด (Compress) และการรวบรวม (Assemble) รายละเอียด ท้ังหมดเข้าด้วยกัน และ 3) การสร้างข้อสรุปและการพิสูจน์ข้อสรุป (Drawing and verifying conclusion) เพอื่ ทำ� การสรา้ งขอ้ สรปุ ของงานวจิ ยั ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั ภาพท่ี 2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การแสดงขอ้ มลู Data collection) (Data display) การลดทอนขอ้ มูล การสรา้ งข้อสรุปและ (Data reduction) การพิสูจนข์ ้อสรปุ (Drawing and verifying conclusion) ภาพท่ี 2 ขนั้ ตอนการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ (Ahmed, 2010, p. 6 cited in Miles & Huberman, 1994)
258 วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา ปีที่ 27 ฉบบั ท่ี 54 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 ผลการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาวิเคราะห์เอกสารจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) จากแผนยุทธ ศาสตร์ (Secondary document) และเอกสารสาธารณะ (Public document) ที่เขียน และตีพิมพ์โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผลการศึกษาพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมียุทธศาสตร์การพัฒนาและส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว ของทอ้ งถนิ่ โดยนำ� เสนอผา่ นแผนยุทธศาสตร์ (Secondary document) และเอกสาร สาธารณะ (Public document) สามารถส รุปประเด็นส�ำคัญได้ 7 ประเด็น ได้แก่ 1) การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน 2) การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วรปู แบบใหม่ 3) การสง่ เสรมิ การตลาดและการประชาสัมพันธ์ 4) การพัฒนาพื้นที่ให้มีมาตรฐานตามหลักสากล 5) การพฒั นาบคุ ลากรทางการทอ่ งเทย่ี ว 6) การสรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ย และ 7) การบรหิ าร จัดการทางการทอ่ งเท่ียว มรี ายละเอียดดงั ภาพที่ 3 การบริหาร พัฒนาพ้นื ที่ จัดการทาง โครงสร้างพ้นื ฐาน การท่องเทยี่ ว การสง่ เสริม การสง่ เสริม ประเด็นการพฒั นา การทอ่ งเที่ยว และการสรา้ ง การท่องเที่ยว รูปแบบใหม่ เครอื ขา่ ย ขององคก์ รปกครอง การส่งเสริม ส่วนท้องถิ่น การตลาดและ ประชาสัมพันธ์ การพัฒนา การพัฒนาพ้นื ท่ี บุคลากรด้าน ตามมาตรฐาน การท่องเท่ยี ว สากล ภาพที่ 3 ประเดน็ การพฒั นา การท่องเทย่ี วขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ที่มา: การสังเคราะหข์ องผูว้ จิ ัย
วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา ปที ่ี 27 ฉบับท่ี 54 259 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 1. ก ารพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ภาคเหนือ เป็นภูมิภาคท่ีมีอัตลักษณ์ วิถีชีวิตที่เป็นมนต์เสน่ห์ รวมท้ังมีต้นทุน เชิงวัฒนธรรมท่ีมีความหลากหลาย ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภูมิภาคน้ี เนน้ การพ ฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทมี่ กี ารสรา้ งกจิ กรรมทางการทอ่ งเทยี่ วใหม้ คี วามหลากหลาย และมกี ารจดั การทอ่ งเท่ยี วอยา่ งยง่ั ยืน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เน้น ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานท่ี ส่งเสริม สนับสนุนการท่องเท่ียว และปรับ ปรุงมาตรฐานในเร่ืองส่ิงอ�ำนวยความสะดวก การคมนาคมขนส่ง ภูมิทัศน์ ความปลอดภ ัย และสุขอนามัย โดยค�ำนึงถึงการเข้าถึงใน แหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน นอกจากน้ียังเน้น การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานใหเ้ กดิ ความเชอ่ื มโยง อาทิ การพฒั นาเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี ว ให้ได้มาตรฐาน และเกิดความเช่ือมโยงระหว่างเมืองหลักและเมืองรอง ได้แก่ แหล่งท่องเที่ยวเส้นทางอารยธรรมขอมจากปราสาทหินพิมายของจังหวัดสู่นครวัด ในประเทศกัมพูชา และประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน และต่อยอดสู่กา รพัฒนาโครงสร้าง พ้ืนฐานและระบบการให้บริการโลจิสติกส์ (Logistics) เพื่อสนับสนุนการค้า การลงทุน และการท่องเทีย่ ว ภาคกลาง เนน้ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการอำ� นวยความสะดวกในการเขา้ ถงึ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีอยู่เดิม เพ่ือการให้บริการแก่ นักท่องเท่ียว โดยเฉพาะแหล่งท่องเท่ียวที่มีสภาพเสื่อมโทรม และขาดการพัฒนา ด้วยการฟนื้ ฟู อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม และการปรบั ปรงุ สภาพภมู ิทศั น์ นอกจากนมี้ กี ารปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์ โดยการสรา้ งภมู สิ ถาปตั ยท์ สี่ ามารถเชอ่ื มโยงการทอ่ งเทยี่ ว ระหว่างแหล่งท่องเที่ยวเดิม และแหล่งท่องเท่ียวใหม่ เพ่ือกระจายการกระจุกตัวของ นักท่องเทย่ี วเฉพาะพืน้ ท่ี ภาคตะวันออก มีความพร้อมทางการท่องเท่ียวสูง และมีความหลากหลาย ระดับนานาชาติ ยุทธศาสตร์ภูมิภาคน้ีเน้นการพัฒนาคุณภาพด้านการบริการ และ การท่องเท่ียวชุมชนบริเวณชายฝั่งทะเล โดยการฟื้นฟู ปรับปรุง พัฒนาป้ายบอกทาง และนำ� เสนอกิจกรรมท่องเทย่ี วท่เี ปน็ อตั ลกั ษณ์ ภาคตะวันตก เน้นยุทธศาสตร์การแก้ปัญหา อาทิ แหล่งท่องเที่ยวเส่ือมโทรม เสน้ ทางเขา้ สแู่ หลง่ ทอ่ งเทยี่ วทรดุ โทรม การจราจรตดิ ขดั หนาแนน่ แหลง่ น้�ำเพอ่ื การอปุ โภค
260 วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ปที ี่ 27 ฉบบั ที่ 54 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 บริโภคไม่เพียงพอ และปรับปรุงป้ายบอกทางโดยปรับปรุง พัฒนา ยกระดับแหล่ง ท่องเท่ยี วเดมิ ให้เกดิ ความย่ังยนื และสรา้ งเส้นทางเช่อื มโยงทางการท่องเที่ยว ภาคใต้ เน้นการพัฒนาการคมนาคมขนส่งเช่ือมโยงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศ แล ะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติฝั่งอ่าวไทย อันดามัน และภาคใต้ตอนล่าง ให้มีภูมิทัศน์ท่ีดี เพ่ิมการปรับปรุงภูมิสถาปัตย์เพ่ือสอดคล้องกับภูมิภาคอาเซียน รวมท้ังพัฒนาเส้นทางคมนาคม โครงสร้าง พ้ืนฐาน ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก และ ความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยวอย่างมีประส ิทธิภาพ ส่งเสริมให้พัฒนาบริเวณด่าน การค้าชายแดนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในก ารรองรับนักท่องเท่ียวที่มีปริมาณสูงขึ้น ส่งเสริมการลงทุนภาคธุรกิจการท่องเที่ยว และภาคการบริการเพื่อความได้เปรียบทาง การแข่งขัน ที่ส�ำคัญเพ่ือส่งผลต่อชุมชนให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ และระบบเศรษฐกจิ ของจังหวดั 2. ก ารสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วรูปแบบใหม่ ภาคเหนอื สง่ เสรมิ การบรหิ ารจดั การ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาทา งการทอ่ งเทย่ี ว รวมทั้งส่งเสริมรูปแบบและกิจกรรมทางการท่องเท่ียวเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า และบรกิ ารทางการทอ่ งเทยี่ ว ไดแ้ ก่ การทอ่ งเทยี่ วรปู แบบใหม่ การทอ่ งเทยี่ วเพอื่ ผสู้ งู อายุ และผพู้ กิ าร โดยค�ำนงึ ถึงการจัดการคณุ ภาพทางการท่องเที่ยวทคี่ วามยงั่ ยืน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งเสริม และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ โดยเน้น การส่งเสริมและสนับสนุนเช่ือมโยงท้ังทางธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของ ชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนการลงทุนให้เกิดแหล่งท่องเท่ียวใหม่เพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับสินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียว ตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด ได้แก่ การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมและประเพณี (วิถีชีวิตอีสาน) การท่องเท่ียวยุค ก่อนประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเท่ียวของชุมชน การท่องเท่ียว ธรรมชาติ (อุทยานแหง่ ชาติ/เข่อื น/ลมุ่ นำ้� โขง) การท่องเท่ียวนนั ทนาการ การทอ่ งเท่ยี ว เชิงศาสนา การท่องเท่ียวภูมิปัญญาท้องถิ่น (จังหวัด/กลุ่มจังหวัด/ประเทศเพ่ือนบ้าน) การท่องเท่ียวอารยธรรมขอม การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ และการท่องเท่ียวเชิงเกษตร สุขภาพ โดยบูรณาการความรู้ด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อมเพื่อการทอ่ งเทยี่ วอย่างยง่ั ยนื
วารสารวชิ าการมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา ปที ี่ 27 ฉบับที่ 54 261 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 ภาคกลาง ส่งเสริมความหลากหลายด้านรูปแบบการท่องเที่ยวตามแนว เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในท้องถ่ินให้ได้มาตรฐาน และพัฒนา รูปแบบทางการท่องเที่ยวท่ีสามารถเข้าถึงและจูงใจนักท่องเที่ยว ได้แก่ การท่องเท่ียว มรดกโลก การท่องเท่ียวทางแม่น�้ำล�ำคลอง การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ การท่องเท่ียวเพื่ออายุวัฒนะ การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมและประเพณี การท่องเท่ียวชุมชน การท่องเท่ียวผู้ส ูงอายุ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสมัยใหม่ การท่องเท่ียวเชิงวิชาการ การท่องเที่ยวป ระวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตและ ภมู ปิ ัญญา การท่องเท่ยี วเชงิ ธรรมชาติ กา รท่องเท่ียวเชงิ สขุ ภาพ การท่องเทีย่ วผจญภยั การท่องเที่ยวเชิงกีฬา และการท่องเท่ียว เชิงศาสนา รวมทั้งส่งเสริมและสร้างกิจกรรม ทางการท่องเที่ยวใหม่ ๆ เช่น การล่องเรือ กิจกรรมร่วมกันของครอบครัว การเรียนรู้ ทางการเกษตร และการศึกษาดูงาน และสร้างสรรค์กิจกรรมยามค�่ำคืนเพื่อดึงดูด นักท่องเท่ียวให้การพักค้าง ที่ส�ำคัญต้องพัฒนาสินค้าแนว “หัตถอุตสาหกรรม” ให้เป็น จุดเด่นเพ่ือให้นักท่องเท่ียวเกิดความสนใจ ส่งผลให้ขยายฐานจ�ำน วนนักท่องเที่ยว ให้เพิ่มข้ึน ภาคตะวันออก ส่งเสริมให้พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวใหม่ ๆ ท่ีเน้นการจัดการ การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน และเชื่อมโยงรูปแบบการท่องเที่ยวให้เข้ากับกลุ่มประเทศ อาเซียน ได้แก่ การท่องเท่ียวเชิงเกษตร การท่องเท่ียวชุมชนการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ การท่องเทีย่ วทางธรรมชาตกิ ารท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ การทอ่ งเทย่ี วเชิงสุขภาพ ภาคตะวันตก ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนากิจกรรมด้านการท่องเที่ยวใน แหล่งท่องเท่ียวท่ีมีศักยภาพ ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเท่ียวเชิงเกษตร และการพักผอ่ นแบบครอบครวั ภาคใต้ เน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นการท่องเที่ยวสีเขียว (Green tourism) โดยส่งเสริม สนับสนุน ฟื้นฟู และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อเช่ือมโยง เครือข่ายทางการท่องเท่ียวในทุกพื้นท่ี ได้แก่ การท่องเท่ียวเชิงเกษตร การท่องเที่ยว เชิงธรรมชาติ การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ การท่องเท่ียววัฒนธรรมท้องถ่ิน การท่องเท่ียว เชิงประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเท่ียวทางศิลปวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (น�้ำแร่/แพทย์แผนไทย) เป็นต้น เพอื่ ยกระดับมาตรฐานดา้ นการท่องเทยี่ วและสร้างรายได้ใหก้ ับประชาชนในพ้นื ที่
262 วารสารวชิ าการมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปที ี่ 27 ฉบับที่ 54 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 3. ก ารส่งเสริมการตลาดและการประชาสมั พันธ์ ภาคเหนือ ส่งเสริมการตลาดเชิงรุกผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social media) กับ กลุ่มนักท่องเท่ียวคุณภาพผ่านการพัฒนาศักยภาพกลุ่มท่องเที่ยว รวมถึงส่งเสริม การท่องเท่ียว รูปแบบต่าง ๆ ท้ังในประเทศ และต่างประเทศด้วยภาษาที่หลากหลาย โดยเน้นการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว และบริการทางการท่องเท่ียวเพ่ือจัดการ การทอ่ งเทยี่ วอยา่ งตอ่ เนื่อง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งเสริม และพัฒนาช่องทางการตลาดเชิงรุก เพื่อเชื่อมโยงการท่องเท่ียวกับประเทศเพื่อนบ ้าน โดยเจาะกลุ่มนักท่องเท่ียวเป้าหมาย ผ่านการประชาสัมพันธ์ด้วยส่ือต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นแหล่งท่องเที่ยวท่ีมี ศักยภาพ ด้วยการบูรณาการร่วมกับการสร้างภาพลักษณ์ผ่านผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ท่ีมีมาตรฐาน เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมผลิตภัณฑ์ และบริการด้านการท่องเที่ยวเพื่อให้ สามารถแขง่ ขันได้ ภาคกลาง ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้มีลัก ษณะโดดเด่น เฉพาะตามปฏิทิน การท่องเท่ียวอย่างต่อเนื่อง เพ่ือการขยายตลาดการท่องเที่ยว และ การประชาสัมพันธ์เชิงรุกทางการท่องเท่ียวเพื่อดึงดูดนักท่องเท่ียวด้วยการสร้างแบรนด์ กลุ่มจังหวัดด้านการท่องเที่ยวให้ชัดเจนผ่านการประสัมพันธ์ ด้วยการน�ำเสนอข้อมูล ผา่ นนวตั กรรมใหม่ ๆ ในรปู แบบตา่ ง ๆ ทที่ นั สมยั เปน็ สากล ไดแ้ ก่ สอ่ื ออนไลนใ์ นระบบ แอปพลเิ คช่ันรองรับการท่องเท่ยี ว การปรับปรุงศูนยบ์ รกิ ารนักทอ่ งเที่ยว ภาคตะวนั ออก สง่ เสรมิ การสรา้ งภาพลกั ษณแ์ ละพฒั นากจิ กรรมการประชาสมั พนั ธ์ การทอ่ งเทย่ี วแบบกลมุ่ จงั หวดั ทห่ี ลากหลาย โดยเนน้ การประชาสมั พนั ธท์ ยี่ กระดบั ศกั ยภาพ เพื่อขยายการตลาดเชิงรุกให้ตรงกับลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพผ่านสื่อสมัยใหม่ โดยใช้ ภาษาตา่ งประเทศ ภาคตะวันตก ส่งเสริมการบริหารจัดการด้านการตลาด ส่งเสริมภาพลักษณ์ และการประชาสัมพันธ์ให้มีความต่อเน่ือง ด้วยการน�ำเสนออัตลักษณ์การท่องเท่ียว ของกลุ่มจังหวัด ผ่านระบบสารสนเทศท่ีมีความสะดวก รวดเร็ว และง่ายต่อการเข้าถึง ขอ้ มูลขา่ วสารทางการท่องเท่ียว ภาคใต้ พัฒนาการตลาดเชิงบูรณาการบนอัตลักษณ์และภูมิปัญญา ส่งเสริม ตลาดการท่องเที่ยวท้ังใน และต่างประเทศอย่างต่อเน่ือง เพ่ือสร้างความเชื่อมั่นด้าน
วารสารวชิ าการมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา ปีที่ 27 ฉบบั ท่ี 54 263 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 ความปลอดภัยและเพ่ิมจ�ำนวนนักท่องเท่ียว รวมทั้งพัฒนาแหล่งข้อมูลส�ำหรับ การประชาสัมพันธ์เชิงรุก แหล่งท่องเท่ียวของจังหวัดท้ังปี ผ่านส่ือและช่องทางที่ หลากหลาย เช่น การใช้เทคโนโลยีผ่านส่ือสังคมสมัยใหม่ท่ีนักท่องเท่ียวท่ัวโลกสามารถ เข้าถึงข้อ มูลการท่องเท่ียวในแหล่งท่องเที่ยว เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้เกิดการท่องเที่ยว ในพ้ืนทขี่ องกล่มุ จงั หวดั 4. ก ารพัฒนาพนื้ ทใี่ หม้ ีมาตรฐาน ตามหลกั สากล ภาคเหนอื สรา้ งจติ สำ� นกึ ทางการท อ่ งเทย่ี ว เพอ่ื ภาพลกั ษณท์ ดี่ ที างการทอ่ งเทยี่ ว ด้วยการพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศท างการท่องเที่ยวท่ีมีความหลากหลายทาง การท่องเทย่ี วระดบั ท้องถ่นิ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ พฒั นา ปรับปรุงสภาพแวดล้อม ฟ้นื ฟูแหล่งทอ่ งเท่ยี ว เดิม และพัฒนาแหล่งเที่ยวใหม่เพื่อพัฒนาศักยภาพการท่องเท่ียวให้ได้รับการรับรอง ตามมาตรฐาน และส่งเสริมการจัดกิจกรรมการท่องเท่ียวกลุ่มจังหวัดเพื่อให้สามารถ ท่องเทย่ี วได้ทง้ั ปี โดยเช่ือมโยงกับการทอ่ งเท่ยี วเชงิ เกษตรและวฒั นธร รมลมุ่ นำ้� โขง ภาคกลาง สง่ เสรมิ และพฒั นาสงิ่ อำ� นวยความสะดวกในการเขา้ ถงึ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ให้ได้มาตรฐานสากล จัดระบบรักษาความสงบเรียบร้อยที่มีประสิทธิภาพด้าน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว เพ่ือสร้างความเชื่อมั่นทาง การท่องเท่ียว โดยเน้นพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้มีความสะอาด และปลอดภัย รวมท้ัง สร้างจิตส�ำนึกการเป็นเจ้าบ้านที่ดี และส่งเสริมผู้ประกอบการด้านการธุรกิจท่องเที่ยว สู่มาตรฐานสากล ภาคตะวันออก ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสร้างจุดขายทางการท่องเท่ียวที่ ชดั เจน รวมทงั้ สรา้ งแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว และพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเสอื่ มโทรมใหม้ มี าตรฐาน ตามหลักสากล ภาคตะวันตก ส่งเสริมการท่องเที่ยวตามอัตลักษณ์และความปลอดภัยตาม หลกั สากล เนน้ การพฒั นาสงิ่ อำ� นวยความสะดวก ระบบรกั ษาความปลอดภยั การคมนาคม และพัฒนามาตรฐานการบรกิ าร ภาคใต้ ส่งเสริม พัฒนา และฟื้นฟูแหล่งท่องเท่ียวให้มีศักยภาพ โดยให้ สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ีให้มีความโดดเด่น เช่ือมโยงกับภูมิภาคอาเซียนเพ่ือ
264 วารสารวชิ าการมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ปที ี่ 27 ฉบับที่ 54 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 พร้อมรองรับนักท่องเท่ียวในระดับนานาชาติ รวมท้ังปรับโครงสร้างองค์กรเพ่ือรองรับ การพัฒนามาตรฐานการทอ่ งเทยี่ วสมู่ าตรฐานสากล 5. ก า รพัฒนาบคุ ลากรทางการท่องเที่ยว ภาคเ หนือ พัฒนาบุคลากรทางการท่องเที่ยวให้มีทักษะด้านการบริการ และ ทางภาษาเพ่ือขยายความเช่ือมโยงทางเศรษฐกิจ โดยเน้นสร้างกรอบความร่วมมือ แบบทวภิ าคี และพหพุ าคี ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื พฒั นาศกั ย ภาพบคุ ลากร ผู้ประกอบการ และองค์กร ทางการท่องเท่ียว เพื่อรองรับการให้บริการทา งการท่องเท่ียวสู่การบริการที่มีมาตรฐาน และคุณภาพ นอกจากนี้ควรจัดอบรมมัคคุเทศก์ท้องถิ่น และอาสาสมัครช่วยเหลือ ด้านการใหบ้ ริการแก่นกั ท่องเทย่ี ว ภาคกลาง ฝึกอบรม พัฒนาความรู้ ทักษะ การส่ือสารด้วยภาษาต่างประเทศ และปลูกจิตส�ำนึกแก่บุคลากรในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวให้มีขีดความสามารถ ในการตอ้ นรบั และการบรกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี วเพมิ่ มากขน้ึ ไดแ้ ก่ เจา้ หนา้ ท่ี ผปู้ ระกอบการ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และประชาชนให้รักถิ่นเกิดอย่างต่อเนื่อง โดยเน้น การให้ความรู้ ความเข้าใจ และการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เช่น การอนุรักษ์ทรัพยากร การจัดการแหล่งท่องเท่ียวสู่สากล ภูมิปัญญาท้องถ่ิน การสร้างเครือข่าย และจิตส�ำนึก ของผ้ใู ห้บรกิ ารทางการทอ่ งเทย่ี ว เปน็ ตน้ ภาคตะวันออก เป็นพ้ืนที่ที่ขาดบุคลากรทางการท่องเที่ยว เนื่องจากประชากร วัยสูงอายุเพิ่มข้ึน ขณะที่ประชากรวัยเด็ก และวัยท�ำงานลดลง จ�ำเป็นต้องใช้แรงงาน ขา้ มชาติมาใหบ้ ริการเป็นจำ� นวนมาก ภาคตะวันตก พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว และผู้ประกอบการ ด้วยการ สง่ เสรมิ ทักษะการใหบ้ ริการด้านการทอ่ งเที่ยว ทกั ษะภาษา บคุ ลกิ ภาพ และการตดิ ตาม และประเมนิ ผล/แผนงานและโครงการ นอกจากน้ี ต้องเร่งสรา้ งความรู้และความเขา้ ใจ ในการก�ำหนดทิศทาง/แนวทางการพัฒนาต้ังแต่ระดับท้องถิ่น พื้นที่ จังหวัด และ ภมู ภิ าคใหเ้ กิดผลการบูรณาการทางดา้ นการท่องเทีย่ ว ภาคใต้ ส่งเสริม และพัฒนาบุคลากรภาคการท่องเท่ียวให้มีประสิทธิภาพ ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ โดยเน้นความรู้ด้านแหล่งท่องเท่ียว ศิลปวัฒนธรรม
วารสารวชิ าการมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ปีท่ี 27 ฉบับที่ 54 265 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 ธรรมชาติ เกษตรกรรมยง่ั ยนื และการบรกิ าร เพอื่ สรา้ งมลู คา่ การทอ่ งเทยี่ วทไ่ี ดม้ าตรฐาน สากล รวมท้ังสนบั สนนุ ผู้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว มัคคเุ ทศก์ และอาสาสมคั รชุมชน ในการปลูกฝังจิตสํานึกให้ดูแลและรักษาทรัพยากรด้านการท่องเท่ียว เพ่ือเสริมสร้าง ความเข้ม แข็งของชุมชนด้านการบริหารจัดการทางการท่องเที่ยว ซึ่งสอดคล้องกับ กฎ ระเบยี บ และเกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ 6. ก ารสรา้ งภาคีเครอื ขา่ ย า ภาคเหนือ ส ่งเ สริ ม ก า รส ร้ า งภ คี เครื อ ข ่า ย ชุ มช น โดยการพัฒนาเส้นทาง การท่องเที่ยวและการจัดการองค์ควา มรู้ชุมชนด้านการการบริหารจัดการด้าน การท่องเที่ยวเพ่ือการอนุรักษ์ และฟื้นฟู ด้วยการใช้เทคโนโลยี Geographic information system (GIS) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ทุกภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชนท้องถิ่น และสถาบันการศึกษาด้าน การรักษาทรัพยากรทางการท่องเท่ียว เพื่อสร้างเครือข่ายและค วามร่วมมือด้าน การท่องเที่ยว รวมท้ังสนับสนุนชุมชนในพื้นที่ให้มีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดความยั่งยืน อยา่ งต่อเนอ่ื ง ภาคกลาง ส่งเสริม อบรม และพัฒนาองค์กรเพื่อสร้างประสิทธิภาพบริการ ด้านการท่องเท่ียวเชิงเครือข่ายการท่องเที่ยวด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเนน้ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มเพอื่ บรู ณาการรว่ มกนั ทง้ั ภาครฐั และเอกชน ของทกุ ภาคสว่ น ท่ีเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ได้แก่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น การสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจชุมชน จัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเช่ือมโยงพื้นที่ใกล้เคียง การดูแล รักษาแหล่งท่องเท่ียว และสร้างความเช่ือมโยงเส้นทางการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด โดยยึดหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ภาคตะวนั ออก สง่ เสรมิ และพฒั นาเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี วทางทะเล เนน้ การเชอื่ มโยง การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด ด้วยการสร้างแบรนด์การท่องเท่ียวกลุ่มจังหวัด ซึ่งน�ำเสนอ การเป็นเมอื งไมซ์ (MICE City) ภาคตะวันตก ส่งเสริมสินค้า และการบริการทางการท่องเที่ยวรูปแบบ แหล่งท่องเที่ยวเชื่อมโยง โดยสร้างภาคีกลุ่มจังหวัดท่ีมีทิศทางการพัฒนาการท่องเท่ียว
266 วารสารวชิ าการมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ปที ่ี 27 ฉบับท่ี 54 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 ร่วมกันเป็นวงจรภายในกลุ่มจังหวัด เช่น ภาคีเครือข่ายด้านการท่องเท่ียวกลุ่มจังหวัด Royal coast ภาคใต้ ส่งเสริม และพัฒนาการสร้างระบบเครือข่ายการท่องเท่ียวในชุมชน แล ะ ป ระ ชา ช นที่ร ว มตัว กัน อ ย ่า ง เ ข ้ ม แข็ ง ร ่ว ม กั บองค ์ก ร ปก ค ร อง ส ่ ว น ท้ อ ง ถ่ิน ให้ มี จิตส�ำนึกในการดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยว และทรัพยากรธรรมชาติโดยเน้นการฟื้นฟู และอนรุ กั ษอ์ ยา่ งยง่ั ยนื ภายใตก้ ารมสี ว่ นรว่ มขอ งภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน เร่งรัดการป้องกันปัญหาจากการท่องเที่ยว และพัฒนากลไกการจัดการท่องเที่ยว รูปแบบเช่ือมโยงกลุ่มจังหวัดท้ังทางฝั่งจังหวัด ทะเลอ่าวไทย ฝั่งจังหวัดทะเลอันดามัน แบบพหพุ าคี และประชาคมอาเซียน 7. ก ารบริหารจดั การทางการทอ่ งเทีย่ ว ภาคเหนือ ส่งเสริมการพัฒนา สร้างภาพลักษณ์ และการจัดท�ำฐานข้อมูลทาง การท่องเที่ยวเพือ่ การบริหารจดั การทรพั ยากรทางการท่องเท่ยี วแบบบรู ณาการ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ส่งเสริม พฒั นา และอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรการทอ่ งเทยี่ ว อย่างเป็นระบบ โดยสนับสนุนให้องค์กรปกครองท้องถิ่นและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เพ่อื สร้างความเข้มแขง็ ในการบริหารจัดการและพัฒนาการทอ่ งเที่ยวอยา่ งย่งั ยืน ภาคกลาง ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผน และพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลการท่องเท่ียวของกลุ่มจังหวัดด้านแหล่งท่องเที่ยวให้มีประสิทธิภาพและ คณุ ภาพ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ ว ตลอดจนการเพม่ิ ศกั ยภาพ พฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว รวมทง้ั รณรงคใ์ หเ้ ดก็ เยาวชน และประชาชนทว่ั ไปเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ในกิจกรรมการท่องเท่ียวทุกรูปแบบในพื้นที่ให้มีจิตส�ำนึก ความรัก ความหวงแหน และเหน็ ความสำ� คญั ในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร สงิ่ แวดลอ้ ม และประเพณที อ้ งถนิ่ ของตนเอง เพ่อื สร้างความประทบั ใจ และสร้างแรงจูงใจใหน้ ักทอ่ งเท่ียวทง้ั ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ ภาคตะวันออก น�ำเทคโนโลยีสารสารเทศมาใช้ในการการบริหารจัดการเพื่อ จดั ระเบยี บดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว รวมทง้ั บรหิ ารผลติ ภณั ฑ์ และการบรกิ ารทางการทอ่ งเทยี่ ว ทมี่ ีมาตรฐานตามหลักสากล ภาคตะวันตก พัฒนากลไกการบริหารจัดการทางการท่องเท่ียวเชิงพื้นที่ ดว้ ยการจดั ใหม้ รี ะบบขอ้ มลู เพอื่ การจดั การทอ่ งเทยี่ วอยา่ งเปน็ ระบบ จดั ระบบการโลจสิ ตกิ ส์
วารสารวชิ าการมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ปที ่ี 27 ฉบบั ที่ 54 267 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 ทางการทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ชอ่ื มโยง จดั ระเบยี บปา้ ยประชาสมั พนั ธต์ า่ ง ๆ และสง่ เสรมิ การวจิ ยั เพื่อเตรียมความพร้อมแหล่งทอ่ งเทย่ี วเพ่อื รองรบั นกั ท่องเท่ียว ภาคใต้ ส่งเสริมการบริหารจัดการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพ และมีศักยภาพใน การแข่งข ันตามมาตรฐานด้านแหล่งท่องเที่ยวท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งพัฒนา ความปลอดภัย และมสี ิง่ อำ� นวยความสะดวกให้แกน่ ักทอ่ งเท่ียว จากการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของอ งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ จาก 6 ภูมิภาคพบว่า ยุทธวิธีท่ีส�ำคัญท ่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้เป็นแนวทาง การพัฒนาทางด้านการท่องเทย่ี ว ประกอบ ด้วย 28 ยุทธวธิ ี มีรายละเอียดดงั ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แนวทางการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วดว้ ยยทุ ธวธิ ขี ององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธวธิ ี 1. การพฒั นาโครงสรา้ ง 1.1 ปรับปรุงภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยวเดิม และสร้างแหล่งท่องเท่ียวใหม่ พนื้ ฐาน เพือ่ กระจายการกระจุกตวั ของนกั ท่องเที่ยวเฉพาะพื้นท่ี 1.2 พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานเพอ่ื เชอ่ื มโยงการทอ่ งเท ยี่ วแบบระหวา่ งเมอื ง หลัก เมอื งรอง และประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน 1.3 พฒั นาระบบโลจิสตกิ ส์ (Logistics) เพ่ือส่งเสริมการท่องเทีย่ ว การคา้ และการลงทุนส่งผลต่อชุมชนให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ และ สรา้ งรายได้ 1.4 พัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วใหม้ มี าตรฐานตามหลกั สากล ไดแ้ ก่ ส่งิ อ�ำนวย ความสะดวกความปลอดภยั และสุขอนามัย 2. การส่งเสรมิ 2.1 ส่งเสริมการบริหารจัดการ ป้องกัน แก้ไขปัญหา และพัฒนาแหล่ง การท่องเท่ียว ทอ่ งเทยี่ วใหม่ ๆ ในกลมุ่ พน้ื ทที่ ม่ี ศี กั ยภาพ โดยเนน้ การจดั การการทอ่ ง รปู แบบใหม่ เท่ยี วแบบยงั่ ยนื 2.2 พัฒนารูปแบบการท่องเท่ียวตามแนวเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และ กิจกรรมทางการท่องเท่ียวท่ีสามารถเข้าถึงและจูงใจนักท่องเท่ียว เพ่อื สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ใหก้ ับสินค้า และบริการทางการทอ่ งเที่ยว 2.3 สนับสนุนเช่ือมโยงเครือข่ายทางการท่องเท่ียวในทุกพ้ืนที่ ท้ังทาง ธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชมุ ชน 2.4 สนบั สนนุ การลงทนุ ทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชนในแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วใหม่ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า และบริการด้านการท่องเที่ยวตาม แผนพฒั นาการท่องเทีย่ วกลมุ่ จงั หวดั
268 วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา ปีท่ี 27 ฉบับท่ี 54 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธวธิ ี 3. การสง่ เสรมิ 3.1 สง่ เสรมิ การตลาดเชงิ รกุ ผา่ นสอ่ื สมยั ใหมก่ บั กลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วคณุ ภาพ การตลาดและ ดว้ ยภาษาตา่ งประเทศทห่ี ลากหลาย โดยเนน้ การประชาสมั พนั ธแ์ หลง่ การประชา สมั พันธ์ ทอ่ งเท่ียว และบรกิ ารทางการทอ่ งเทีย่ วอย่างต่อเนื่อง 3.2 จัดท�ำเครื่องมือและช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย เพ่ือ ช่องทางการตลาดท่ีเช่ือมโยงการท่องเท่ียวกับประเทศเพื่อนบ้าน ผา่ นการนำ� เสนออตั ล กั ษณก์ ารท่องเท่ยี วของกลมุ่ จังหวดั 4. การพัฒนาพ้นื ท่ี 3.3 บูรณาการและสร้าง ภาพลักษณ์ทางการท่องเท่ียว ผ่านผลิตภัณฑ์ ใหม้ ีมาตรฐาน สินคา้ ชมุ ชนท่ีมีมาตร ฐาน เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถทางการแข่งขัน ตามหลกั สากล 3.4 สง่ เสริม สนบั สนุน แ ละพฒั นาการตลาดเชงิ บรู ณาการบนอัตลักษณ์ และภูมิปัญญา ให้มีความโดดเด่นตามปฏิทินการท่องเที่ยวเพื่อให้ เกิดการทอ่ งเท่ยี วทัง้ ปี 4.1 สรา้ งจติ สำ� นกึ และภาพลกั ษณท์ ด่ี ที างการทอ่ งเทยี่ ว ดว้ ยการเสรมิ สรา้ ง เฝา้ ระวัง สง่ เสริม และพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วให้ไดม้ าตรฐานสากล 4.2 จัดระบบรักษาความสงบเรียบร้อยเพื่อสร้างความเชื่อมั่นทาง การท่องเที่ยว ให้มีประสิทธิภาพเพื่อความปลอด ภัยในชีวิตและ ทรพั ย์สนิ ของนกั ท่องเท่ยี ว 4.3 ส่งเสริมการท่องเท่ียวตามอัตลักษณ์ และการท่องเที่ยวปลอดภัย สู่มาตรฐานสากล เน้นการพัฒนาส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ระบบ การรักษาความปลอดภัย การคมนาคมขนส่ง และพัฒนามาตรฐาน การบริการดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว 4.4 ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรมให้มีศักยภาพ เพื่อสร้างจุดขายทาง การท่องเท่ียวที่ชัดเจน โดยสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่ให้มี ความโดดเดน่ เอกลกั ษณ์ และเชอื่ มโยงเพอ่ื ความพรอ้ มในการรองรบั นักท่องเทย่ี วในระดับนานาชาติ
วารสารวิชาการมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ปีที่ 27 ฉบับท่ี 54 269 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 ยุทธศาสตร์ ยทุ ธวิธี 5. การพัฒนาบุคลากร 5.1 พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร ผปู้ ระกอบการ และองคก์ รทางการทอ่ งเทย่ี ว ทางการทอ่ งเท่ยี ว ให้มีทกั ษะดา้ นการบริการ ภาษา และสร้างจติ ส�ำนึกการเป็นเจา้ บ้าน ท่ีดี โดยเน้นสร้างกรอบความร่วมมือแบบทวิภาคี และพหุพาคี สู่การบรกิ ารที่มมี าตรฐานและคุณภาพ 5.2 จัดฝึกอบรมความรู้ ทักษะ ภาษาต่างประเทศ บคุ ลิกภาพ และปลูก 6. การสร้างภาคี จติ สำ� นกึ แกบ่ คุ ล ากร ในอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วใหม้ คี วามสามารถ เครือขา่ ย ในการต้อนรับแ ละการให้บริการนักท่องเที่ยว เช่น มัคคุเทศก์ ท้องถ่ิน ประกอ บธุรกิจการท่องเที่ยว อาสาสมัครช่วยเหลือ และ แรงงานข้ามชาต ิ 5.3 ส่งเสริมการสร้างความรู้ และความเข้าใจด้านแหล่งท่องเที่ยว ศลิ ปวัฒนธรรม ธรรมชาติ และการบริการ เพอ่ื ก�ำหนดทศิ ทางต้งั แต่ ระดบั ทอ้ งถน่ิ พนื้ ท่ี จงั หวดั และภมู ภิ าค แกบ่ คุ ลากรทางการทอ่ งเทยี่ ว ใหม้ ีประสิทธภิ าพทัง้ ดา้ นคุณภาพและปริมาณ 5.4 พัฒนาชุมชนให้มีส่วนร่วมเพื่อสร้างประสิทธิภาพบริการด้าน การทอ่ งเทย่ี วเชิงเครอื ขา่ ยการทอ่ งเทย่ี ว โดยเน้น กระบวนการมีส่วน ร่วมเพื่อบูรณาการร่วมกันทั้งภาครัฐ และเอกชน ของทุกภาคส่วน ที่เก่ียวข้องกับการท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์ และฟื้นฟูในอย่าง ต่อเนือ่ งในการบรหิ ารจัดการแหล่งทอ่ งเท่ยี วเพอ่ื ใหเ้ กิดความยั่งยนื 6.1 ส่งเสริมการสร้างภาคีเครือข่ายชุมชน โดยการพัฒนาเส้นทาง การท่องเท่ียวด้วยการใช้เทคโนโลยี Geographic information system (GIS) 6.2 สร้างเครือข่ายและความร่วมมือด้านการท่องเท่ียวกับหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชนท้องถิ่น และสถาบนั การศกึ ษา เพอ่ื ความร่วมมือรกั ษา ป้องกนั พัฒนากลไก และทรพั ยากรทางการทอ่ งเทีย่ ว 6.3 พัฒนาธุรกิจชุมชน ร่วมกับการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเช่ือมโยง พนื้ ทใี่ กลเ้ คยี ง การดแู ลรกั ษาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย โดยยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 6.4 สรา้ งภาคกี ลุม่ จังหวดั ทางการทอ่ งเที่ยวแบบเชื่อมโยงแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว ที่มีทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวร่วมกันเป็นวงจรภายใน กลุ่มจังหวัด แบบพหุพาคีและประชาคม ด้วยการสร้างแบรนด์ การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด เช่น ภาคีเครือข่ายด้านการท่องเท่ียว กลุม่ จังหวัดชายฝั่งทะเล (Royal coast) เมืองไมซ์ (MICE City)
270 วารสารวิชาการมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปที ี่ 27 ฉบบั ท่ี 54 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี 7. การบรหิ ารจัดการ 7.1 ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ โดย ทางการท่องเที่ยว สนับสนุนท้องถ่ินและชุมชนให้มีส่วนร่วมในการวางแผน เพ่ือสร้าง ความเข้มแข็งในการบริหารจัดการและพัฒนาการท่องเท่ียวอย่าง ยงั่ ยนื 7.2 พัฒนา และประยุกต์การใช้เทคโนโลยีสารสารเทศ เพ่ือจัดท�ำระบบ ฐานข้อมูลทางการท ่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดด้านแหล่งท่องเท่ียว แบบบูรณาการใหม้ ีป ระสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ตามมาตรฐานสากล 7.3 รณรงค์ให้เดก็ เยาวช น และประชาชนทวั่ ไป ใหม้ ีส่วนร่วมในกิจกรรม การท่องเท่ียวทุกรูปแบบ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาทาง การทอ่ งเท่ียว 7.4 ส่งเสริมการวิจัยในพื้นท่ีเพื่อเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยว ในการรองรบั นกั ทอ่ งเท่ยี ว อภิปรายผลการวจิ ัย ผลการวิจัยเรื่องการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินของ ประเทศไทย เพ่ือพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร แลว้ นำ� มาเรยี บเรยี งใหมเ่ พอื่ เสนอยทุ ธศาสตรแ์ ละยทุ ธวธิ ที ชี่ ดั เจนสำ� หรบั ใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการพัฒนาการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอย่างยั่งยืน ผลการศึกษา พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมียุทธศาสตร์ทางด้านการท่องเที่ยว 7 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 28 ยทุ ธวธิ ี ได้แก่ 1) การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน สอดคล้องกบั อรัญยา ปฐมสกุล และคณะ (2560, หน้า 189) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ของชมุ ชน: กรณศี กึ ษาต�ำบลทา่ ชนะ อำ� เภอท่าชนะ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ผลการศึกษา พบวา่ การพฒั นาการท่องเท่ียวควรพฒั นาโครงการพ้นื ฐาน และสง่ิ อำ� นวยความสะดวก เพื่อการท่องเที่ยว 2) การส่งเสริมการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ สอดคล้องกับอุดมลักษณ์ เพง็ นรพฒั น์ (2560, หนา้ 41) ไดศ้ กึ ษาเรอื่ ง ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาศกั ยภาพการทอ่ งเทย่ี ว เชิงวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษาพบว่า การส่งเสริมการท่องเท่ียวควร การผลักดันให้เกิดความหลากหลายของการท่องเที่ยว 3) การส่งเสริมการตลาดและ การประชาสัมพันธ์ สอดคล้องกับพงษ์ศักด์ิ เพชรสถิต (2559, หน้า 58) ที่ศึกษาเร่ือง
วารสารวชิ าการมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา ปที ่ี 27 ฉบบั ท่ี 54 271 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทางการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนของจังหวัดก�ำแพงเพชร ผลการศึกษาพบว่า การส่งเสริมการท่องเที่ยวควรใช้ยุทธวิธีการส่งเสริมการตลาด และประชาสัมพันธ์อย่างมีวิสัยทัศน์ 4) การพัฒนาพ้ืนท่ีให้มีมาตรฐานตามหลักสากล สอดคล้อ งกับอรัญยา ปฐมสกุล และคณะ (2560, หน้า 187) ท่ีกล่าวว่า การพัฒนา พื้นท่ีการท่องเที่ยวควรส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม การจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย การสรา้ งค วามเชอื่ มนั่ และสง่ เสรมิ กจิ กรรมการทอ่ งเทยี่ ว และพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถ่ินใ ห้มีมาตรฐานตามหลักสากล 5) การพัฒนา บุคลากรทางการท่องเทยี่ ว สอดคล้องกบั อ รัญยา ปฐมสกลุ และคณะ (2560, หนา้ 177) ที่กลา่ ววา่ ควรเสรมิ สร้างองค์ความรู้ใหก้ บั บุคลากรทางการท่องเท่ียวเพ่ือสง่ เสรมิ กจิ การ การทอ่ งเทยี่ ว 6) การสรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ย สอดคลอ้ งกบั อดุ มลกั ษณ์ เพง็ นรพฒั น์ (2560, หน้า 28) ท่ีศึกษาเร่ือง ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษาพบว่า การส่งเสริมการท่องเที่ยวควรบูรณาการการมี ส่วนร่วมของภาครัฐ เอกชน ชุมชนและเครือข่าย และ 7) การบ ริหารจัดการทาง การทอ่ งเทย่ี ว สอดคลอ้ งกบั สชุ น อนิ ทเสม (2555, หนา้ 17) ไดศ้ กึ ษาเรอ่ื ง ยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแบบยง่ั ยนื จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ:์ กรณศี กึ ษาตำ� บลปากนำ�้ ปราณ ผลการศึกษาพบว่า การบริหารจัดการทางการท่องเที่ยวควรมีพัฒนาการท่องเท่ียว แบบบูรณาการ เน้นการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนเพื่อสร้างความยั่งยืน นอกจากน้ี แนวทางการพัฒนาด้านการท่องเท่ียวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรด�ำเนินตาม 7 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 28 ยุทธวิธี เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน นำ� ไปใช้ ในการพฒั นาการท่องเที่ยวของพน้ื ที่และกลุ่มพ้ืนที่ในอนาคต กิตติกรรมประกาศ งานวจิ ยั นเ้ี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของโครงการวจิ ยั เรอื่ ง “การจดั ทำ� หลกั สตู รผนู้ ำ� การทอ่ งเทยี่ ว ระดับพ้ืนท่ี” โดยงานวิจัยฉบับน้ีได้รับความอนุเคราะห์ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก กรมการท่องเท่ียว กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 คณะผู้วิจัยขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ เจ้าหน้าท่ีงานวิจัย และผู้ให้ข้อมูลทุกท่านที่ได้ให้ ขอ้ มลู คำ� แนะนำ� และค�ำชแ้ี นะต่าง ๆ ผวู้ ิจัยขอกราบพระคณุ อยา่ งสงู ไวใ้ นท่นี ้ี
272 วารสารวชิ าการมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ปที ี่ 27 ฉบับท่ี 54 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2562 รายการอ้างองิ กรมการท่องเที่ยว และส�ำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2560). หลักสูตร การอ บรมผู้นำ� การทอ่ งเท่ยี วท้องถิน่ . กรงุ เทพฯ: กรมการท่องเทยี่ ว. คนึงภรณ์ วง เวียน. (2554). การพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขา วชิ ายุทธศาสตรก์ ารพัฒนา, บณั ฑิตวทิ ยาลัย, มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร. พงษศ์ กั ด์ิ เพชรสถติ . (2559). ยทุ ธศาสตรก์ ารบ รหิ ารจดั การทางการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื ของจังหวัดก�ำแพงเพชร. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และ สงั คมศาสตร์, 2(2), 57-68. สถาบนั พระปกเกลา้ . (2559). ประเภทขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น. วันทค่ี ้นขอ้ มูล 25 ธันวาคม 2559, จาก http://wiki.kpi.ac.thindex.php?title=ประเภท ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560 ). แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรงุ เทพฯ: สำ� นกั งาน คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต.ิ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย. (2560). แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2560- 2564. กรงุ เทพฯ: ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. สำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตร,ี คณะกรรมการจดั ทำ� ยทุ ธศาสตรช์ าต.ิ (2559). ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). กรงุ เทพฯ: สำ� นักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี. สุชน อินทเสม. (2555). ยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเท่ียวแบบย่ังยืนจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์: กรณีศึกษาต�ำบลปากน้�ำปราณ. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, 7(1), 10-23. อรญั ยา ปฐมสกลุ , วศิ าล ศรมี หาวโร และสมคดิ รตั นพนั ธ.์ุ (2560). การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว เชงิ นเิ วศชมุ ชน: กรณศี กึ ษา อำ� เภอทา่ ชนะ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ าน.ี วารสารราชภฏั สุราษฎรธ์ านี, 4(1), 177-194. อดุ มลกั ษณ์ เพง็ นรพฒั น.์ (2560). ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาศกั ยภาพการทอ่ งเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรม จังหวดั ศรสี ะเกษ. วารสารการบริการและการทอ่ งเทยี่ วไทย, 12(2): 28-42.
วารสารวชิ าการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา ปีท่ี 27 ฉบับท่ี 54 273 พฤษภาคม - สิงหาคม 2562 Ahmed, J.U. (2010). Documentary research method: new dimensions. Indus Journal of Management & Social Science, 4(1): 1-14. Mogalakwe, M. (2006). The use of documentary research methods in s ocial research. African Sociological Review, 10(1), 221-230. Scott, J. (1990). Documentary research. London: SAGE.
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: