Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการนำยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกล

แนวทางการนำยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกล

Published by J มากสาระ, 2022-02-07 09:16:55

Description: แนวทางการนำยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกล

Search

Read the Text Version

OJED OJED, Vol. 12, No. 4, 2017, pp. 773-790 An Online Journal of Education http://www.edu.chula.ac.th/ojed วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทางการศกึ ษา แนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศไปส่กู ารปฏิบัติ ของโรงเรียนสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน APPROACHES FOR IMPLEMENTATION OF DISTANCE LEARNING INFORMATION TECHNOLOGY (DLIT) STRATEGIES IN SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION นางสาวนภสั สรณ์ ฐติ ิวัฒนานนั ท์ * Napatsorn Thitiwatthananan ผศ.ดร.วิรุจ กิจนนั ทววิ ัฒน์ ** Assistant Professor Virut Kitnanthavivut, Ph.D. บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการนายุทธศาสตร์การจัด การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2) เพื่อนาเสนอแนวทางการนายุทธศาสตร์การจดั การศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนมัธยมศึกษาจานวน 269 โรงเรียน ผู้ตอบแบบสอบถามโรงเรียนละ 2 คน คือ ผู้บริหาร 1 คน และครูผู้สอน 1 คน รวมทั้งหมด 538 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดย 1) แบบสอบถามสภาพปัจจบุ นั และสภาพท่พี ึงประสงคใ์ นการนายุทธศาสตร์การจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปสกู่ ารปฏิบัติของโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2) แบบสัมภาษณ์เพื่อประเมินความเหมาะสม ของแนวทางการนายุทธศาสตรก์ ารจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียน วิเคราะห์ข้อมูล เชิงปริมาณโดยการใช้โปรแกรม SPSS for window เพ่ือให้ได้ข้อมูลด้านสภาพปัจจุบันและสภาพท่ีพึงประสงค์จากค่าสถิติ พื้นฐาน โดยใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) และวิเคราะห์และจัดลาดับความ ต้องการจาเป็น วิเคราะห์ค่าดัชนีความต้องการจาเป็น โดยใช้สูตร Modified Priority Needs Index (PNI Modified) (นง ลักษณ์ วิรัชชัย และสุวิมล ว่องวานิช, 2542) ข้อมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินความเหมาะสมและความ เป็นไปได้ของแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่ การปฏิบัติของโรงเรียน ผลการวิจยั พบวา่ ยทุ ธศาสตร์ 3 5 7 ซึง่ เป็นยทุ ธศาสตร์ในการดาเนนิ งานเพ่อื ขบั เคล่ือนการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศตามมาตรฐานการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศึกษาสาหรับสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มี แนวทางการนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติจานวน 17 แนวทางโดยเรียงลาดับตามค่าดัชนีความต้องการจาเป็น ดังนี้ 1. ด้าน กระบวนการเรียนรู้ 2.ด้านการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา 3. ด้านความร่วมมือภาครัฐ เอกชน และชุมชน 4. ด้านการเรียนการ สอน 5.ดา้ นทรพั ยากรการเรียนรู้ และ 6. ดา้ นโครงสร้างพืน้ ฐาน 773 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

* นสิ ติ มหาบณั ฑิตสาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั E-mail Address: [email protected] **อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาธุรกจิ และอาชวี ศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศกึ ษา E-mail Address: [email protected] ISSN 1905-4491 774 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

Abstract This research aims to proposed approaches for implementation of Distance learning information technology (DLIT) strategies in schools under the office of the Basic Education Commission, Both quantitative and qualitative methods of research methodology were used, with data collected from school director and teacher who teach student by DLIT in schools under the office of Secondary Area 269 schools and provided qualitative data from interviewing school directors and teacher to suggest approaches for implementation of Distance learning information technology (DLIT) Strategies in schools under the office of the Basic Education Commission The Questionnaire and interviews were used to collect data and analyse by calculating the mean, percentages and PNI modification was used to analysed needs assessment for approaches for implementation. The result of the study revealed that the needs of implementation of Distance learning information technology (DLIT) Strategies in schools under the office of the Basic Education Commission is in the following order 1. Learning process 2. Institutional management within the institution 3. Cooperation in public, private and community 4. Teaching and learning 5. Learning resources and 6.Infrastructure คาสาคัญ: ยทุ ธศาสตร์/ การจดั การศึกษาทางไกล/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/ โรงเรียนสงั กดั สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน KEYWORDS: Strategies/ Distance Education Management/ Information Technology/ Schools under the Office of the Basic Education Commission บทนา กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (2557) ได้กล่าวไว้ในแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร (ฉบบั ที่ 3) ของประเทศไทย พ.ศ. 2557 – 2561 ว่าจากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลภาพรวม การพัฒนา สถานการณ์ และแนวโน้มการเปล่ียนแปลงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จากแหล่งข้อมูล ทัง้ ในและต่างประเทศ รวมท้ังผลงานวิจัยต่างๆ ที่เก่ียวข้องพบว่า ในช่วงทศวรรษท่ีผ่านมา มีการเปล่ียนแปลง อย่างมากมายในโลกของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และแนวโน้มในอนาคตข้างหน้า เทคโนโลยี ทีน่ กั วเิ คราะหจ์ ากหลาย ๆ สานกั รวมไปถงึ ผเู้ ชยี่ วชาญและนักคดิ ระดบั โลกต่างลงความเห็นว่าจะส่งผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในปจั จุบนั และในอกี 5 – 10 ปขี ้างหน้า ประกอบด้วย เทคโนโลยีพกพา (Mobile) เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) การประมวลผลแบบก้อนเมฆ (Cloud Computing) และ เทคโนโลยีจัดการข้อมูลจานวนมหาศาล (Big Data) ซึ่งจะมีบทบาทสาคัญในการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต และ วิธีการในการดาเนินการทางธุรกิจและการเปล่ียนแปลงแนวนโยบายของรัฐต่อประชาชน การหลอมรวม เทคโนโลยีท้ัง 4 เร่ืองดังกล่าวนี้เข้าด้วยกันได้อย่างเหมาะสมลงตัว จะก่อให้เกิดการยกระดับในการพัฒนา ประเทศไดอ้ ยา่ งมนี ัยสาคญั การท่ีประเทศไทยจะพัฒนาเข้าสู่ยุคเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าว ได้นน้ั จาเป็นอยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะต้องมีการเตรยี มประชาชนให้มีความพร้อมสู่รูปแบบวิถีสังคมสมัยใหม่ที่ใช้เทคโนโลยี 775 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

สารสนเทศเป็นเครื่องมือหลักในการดาเนินชีวิตและการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศซ่ึงการจะหล่อหลอมให้ ประชาชนมที ักษะและคณุ ลกั ษณะดังกลา่ วไดน้ ้ันเคร่ืองมือสาคัญท่ีสุดคือ การศึกษา นน่ั เอง อย่างไรก็ตามสภาพการจัดการศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบันกาลังประสบปัญหาในด้านคุณภาพ ของผู้เรียนปรากฏอยู่ในหลายพ้ืนที่ซ่ึงมีสาเหตุมาจากการขาดแคลนครูผู้สอน และครูผู้สอนขาดทักษะ ประสบการณ์ในการสอน รวมถึงแหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท่ีไม่มีประสิทธิภาพ การใช้ทรพั ยากรท่ีมอี ย่อู ยา่ งกระจัดกระจายไมค่ ุ้มคา่ และขาดการวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบซ่ึงข้อมูล จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่าปัญหาของการจัดการศึกษาไทยคือ การขาดแคลนครูผู้สอน และการพัฒนาครูผู้สอนให้มีความสามารถและโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ตลอดจนการบริหารจัดการทรัพยากรและการแก้ปัญหาในโรงเรียนไม่เป็นระบบ ส่งผลให้คุณภาพ การศกึ ษามีความแตกต่างกนั ความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษาไทยถือเป็นเครื่องบ่ันทอนความเจริญทางจิตใจและ การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ในอนาคตซ่ึงถือเป็นส่วนสาคัญท่ีสะท้อนความม่ันคงของชาติ (สานักงานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา, 2559) สถาบันวจิ ัยเพื่อการพฒั นาประเทศไทย (2556) กล่าวไว้ในรายงานฉบับสมบรู ณ์ การจัดทายุทธศาสตร์ การปฏริ ูปการศึกษาข้ันพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ โดยช้ีให้เห็นว่าสาเหตุหลักส่วนหน่ึงของปัญหาคุณภาพ การศกึ ษาไทย คือ หลักสตู รและตาราเรียนของไทยไม่สอดคล้องกับ การพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ซ่ึงมผี ลทาให้การเรียนการสอน ตลอดไปจนถึงการทดสอบ ยงั คงเนน้ การจดจาเนื้อหามากกว่า การเรียนเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริง อีกทั้งสภาพการจัดการศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบัน กาลังประสบปญั หาในด้านคณุ ภาพของนกั เรียนปรากฏอยใู่ นหลายพ้ืนท่ี ซ่ึงมีสาเหตุจากการขาดครูผู้สอนหรือ ครูผู้สอนไม่ครบชั้นไม่ครบสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอนมีประสบการณ์หรือทักษะการจัดการเรียนรู้น้อย ขาดสื่อ อุปกรณ์ท่ีทันสมัยและเข้าถึงได้ลาบาก ครูผู้สอนมีเวลาในการจัดการเรียนการสอนน้อย กิจกรรมของโรงเรียนมีมาก ทรัพยากรท่ีมีกระจัดกระจายไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่าและการแก้ปัญหาต่าง ๆ ทาได้ ในวงจากดั ปัญหาคุณภาพการศึกษาไทยเป็นปัญหาเรื้อรังท่ีสะสมมาอย่างยาวนานซ่ึงหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ และเอกชนได้พยายามหาทางแก้ไขและยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง รวมถึง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ก็ได้ทรงตระหนักถึงสภาพปัญหาต่าง ๆ ที่สร้างความเหล่ือมล้าของ คุณภาพการศึกษาด้วยเช่นกันจึงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ต้ังสถานีส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม โดย โรงเรยี นวังไกลกังวลเปน็ แมข่ ่ายถ่ายทอดสัญญาณไปส่โู รงเรียนท่ัวประเทศ เพ่ือแก้ปัญหาการขาดแคลนครูและ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนไม่ว่าจะอยู่ในเมืองหรือชนบทให้ใกล้เคียงกัน และต่อมาสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงมีพระปณิธานอันแน่วแน่ในการท่ีจะนาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชใ้ นการยกระดับคุณภาพชวี ิตและเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาของประชาชน ทรงเจริญรอยตามเบื้องพระยุคล บาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่ได้ทรงใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหลายรูปแบบในโครงการ 776 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

พัฒนาประเทศเพื่อนาความร่มเย็นเป็นสุขให้เกิดแก่ประชาชนชาวไทย (ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล, 2559) หน่วยงานหลักทางการศึกษาที่เก่ียวข้องในการดาเนินการเพ่ือเผยแพร่พระราชกรณียกิจและสนอง พระราชดาริของทั้งสองพระองค์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยให้เจริญก้าวหน้า คือ สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานซงึ่ มีการสง่ เสริมสนบั สนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาอย่างต่อเน่ือง สาหรับปีงบประมาณ 2560 มีการระบุถึงความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศไว้ในนโยบายการลดความ เหลอื่ มลา้ ทางการศึกษาและยกระดับมาตรฐานการศึกษา เรื่อง การสร้างความทัดเทียมทางการศึกษาด้วยการ จัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และส่ือดิจิทัล โดยมีจุดเน้นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา ปรากฏอยู่ในยทุ ธศาสตร์ จุดเน้นท่ี 5 ซึ่งได้ระบุไว้ว่า 1. หน่วยงานทุกระดับพัฒนาระบบ ICT เพื่อการศึกษาให้ เหมาะสมกับสถานศึกษาและผู้เรียน 2. หน่วยงานทุกระดับพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้เป็นฐานเดียวกัน ในเร่ืองข้อมลู นักเรียน ข้อมูลครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ข้อมูลสถานศึกษาและข้อมูลข้าราชการและ บุคลากรอื่น ในการใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ 3. หน่วยงานทุกระดับพัฒนา DLTV และ DLIT ให้ เหมาะสมกับสถานศึกษาและผู้เรียน 4. ผู้เรียนมีคอมพิวเตอร์ใช้ในการเรียนรู้ (สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน, 2560) จากจุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงการให้ ความสาคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศโดยใช้เป็นเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนในสังกัด โดยได้กาหนดแผนงาน โครงการต่าง ๆ ขึ้นมาเพื่อให้การพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศเกิดผลเป็นรูปธรรมจึงได้ดาเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกล (Distance Learning - DL) ขึ้น เพอ่ื เป็นการจดั การศึกษาท่ีใช้เทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอนในทุกห้องเรียน แก้ปัญหาการขาด แคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก ครูสามารถจัดการเรียนรู้ในทุกสาระได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนและครูได้ เขา้ ถึงสอื่ เทคโนโลยีท่ีทันสมัย นักเรียนและครูมีเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา โดยการนาเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (Distance Learning) มายกระดับคุณภาพ การศึกษาซ่ึงแบ่งเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบท่ีหนึ่ง การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) และรูปแบบท่ีสอง การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโลยีสารสนเทศ (Distance Learning Information Technology: DLIT) โดยได้ดาเนินงานอย่างเร่งด่วนเพ่ือแก้ปัญหา คุณภาพการศกึ ษา มีการจัดสภาพการสนับสนุนการจดั การเรียนการสอนของครูอย่างครบถ้วน ท้ังกระบวนการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการสร้างความรู้ จากการลงมือปฏิบัติ เนื้อหาตลอดจนสื่อ และอุปกรณ์ท่ีจาเป็นในการจัดเรียนการสอนซ่ึงจะเป็นการลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา ลดช่องว่างและ เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพให้กับประชาชนชาวไทยทุกคน อันเป็นการดาเนินการตามรอย เบื้องพระยุคลบาทและสนองพระราชดาริ ในการพัฒนาการศกึ ษาไทยให้เจริญกา้ วหนา้ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) ช่วยแก้ปัญหา โรงเรยี นขนาดเลก็ ท่ีประสบปัญหาการมคี รผู สู้ อนไม่ครบชนั้ และครูผู้สอนที่สอนไม่ตรงสาขาวิชาเอก ในโรงเรียน 777 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

ขนาดเล็กจานวน 15,369 โรงเรียน และการต่อยอดการพัฒนาด้วยการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโลยี สารสนเทศ (Distance Learning Information Technology : DLIT) ท่ีช่วยแก้ปัญหาคุณภาพการศึกษาใน โรงเรียนขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และขนาดใหญ่พิเศษ จานวน 15,553 โรงเรียน ซ่ึงเป็นไปตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2553 มาตรา 37 ท่กี ลา่ วไว้วา่ ในกรณีท่ีเขตพื้นท่ีการศึกษาไม่อาจบริหารและจัดการได้ตามวรรคหน่ึง กระทรวงอาจจัดให้มีการจัดการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐานดังต่อไปนี้ เพื่อส่งเสรมิ การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานคือ การจัดการศึกษาทางไกลและ การจัดการศึกษาที่ให้บริการหลายเขตพื้นที่ (ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล , 2559) การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) เป็นเครื่องมือสาคัญท่ีส่งเสริมให้มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในเชิงบูรณาการท้ังผู้บริหาร ครูผู้สอน และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา สามารถนาโปรแกรมประยุกต์มาใช้ในการติดต่อสื่อสาร ผลิตเอกสาร การสร้างไฟล์นาเสนอ การสร้างและ สืบค้นวิดีโออื่น ๆ ท่ีสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้สอดคล้องกับภาระงานและกระบวนการจัดการเรียนรู้ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นกระบวนการสร้างความรู้จากการลงมือปฏิบัติ รวมท้ังการเข้าถึง เน้อื หาและสือ่ ทจ่ี าเปน็ ในการจัดการเรยี นการสอนซง่ึ เป็นการลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา ลดช่องว่างและ เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพให้กับประชาชนชาวไทยทุกคน (สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน, 2559) ในการดาเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ได้มี การขยายผลในโรงเรียนต่าง ๆ ท่ีเข้าร่วมโครงการจากทุกภูมิภาคของประเทศไทยตั้งแต่ปี 2557 และได้มีการ พัฒนาโรงเรียนให้สามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นส่วนหน่ึงในการพัฒนาการเรียนการสอนอย่าง ต่อเน่ือง โดยในการขับเคลื่อนโครงการได้มีการกาหนดเกณฑ์ในการประเมินท่ีบ่งชี้ทิศทางและเป้าหมายของ การดาเนินงานเพ่ือให้หน่วยงานและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องสามารถนายุทธศาสตร์ไปปฏิบัติให้เกิดผลลัพธ์และ ผลผลิตที่บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ การขับเคลื่อนการดาเนินงานของโครงการดังกล่าวใช้ยุทธศาสตร์ 3 5 7 ซึ่งประกอบด้วย “3 ข้อต้องมี” หมายถึง ส่ิงสาคัญ 3 ข้อที่โรงเรียนต้องจัดหาให้มีเพื่อให้ครู นักเรียน และผู้มี ส่ ว น เ กี่ ย ว ข้ อ ง ไ ด้ น า ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ไ ก ล ผ่ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ “5 ข้อต้องทา” หมายถึง ส่ิงสาคัญ 5 ข้อท่ีผู้บริหารสถานศึกษาต้องทา หรือดาเนินการเพื่อให้ การบรหิ ารจดั การเก่ียวกับการจดั การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ประสบผลสาเร็จ “7 ข้อ ต้องปฏิบัติ” หมายถึง สิ่งสาคัญ 7 ข้อที่ครูผู้สอนต้องนาลงสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดการใช้การจัดการศึกษา ทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ในการจดั การเรยี นการสอนอนั นาไปสู่การพฒั นาศกั ยภาพผู้เรียน แต่ อย่างไรก็ตามจากรายงานผลการนิเทศติดตามและประเมินผลการดาเนินงานพบว่า ส่ิงท่ีเป็นอุปสรรคในการ ขับเคล่ือนโครงการทาให้ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้เกิดจากหลายปัจจัยด้วยกัน เช่น ระบบ Internet ของโรงเรียนไม่มีประสิทธิภาพ ครุภัณฑ์ได้รับการจัดสรรให้กับโรงเรียนไม่เพียงพอ ครูผู้สอนและบุคลากร 778 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

ทางการศึกษาขาดความรู้ในการเข้าไปใช้ระบบ การจัดระบบเครือข่ายภายใน (LAN) และระบบ WIFI ยังไม่ ทั่วถึง (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2559) ซึ่งจากข้อบ่งชี้ถึงปัญหาและอุปสรรคดังกล่าว สะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติที่ต้องได้รับการพัฒน าและปรับปรุงแก้ไข เพ่ือใหบ้ รรลุตามวัตถุประสงคท์ ตี่ ง้ั ไว้ จากสภาพการดาเนนิ งานทป่ี ระสบปัญหาข้างต้น ทาให้ผู้วิจัยตระหนักและเห็นความสาคัญของการหา แนวทางการนายุทธศาสตรก์ ารจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนโดย ม่งุ หวงั ว่าจะได้ขอ้ ค้นพบที่สามารถใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลใหก้ ับผบู้ ริหารหรอื ผทู้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกาหนดยุทธศาสตร์ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศได้มีแนวทางในการดาเนินงาน รวมท้ังใช้ผลของงานวิจัยน้ี เป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใหส้ ามารถนาไปประกอบการพิจารณาในการกาหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศรวมไปถึงต่อยอดและใช้เป็นกรอบในการ พัฒนาการบริหารจัดการโครงการอ่ืนๆ ตามนโยบายการศึกษาในมิติตา่ งๆ ตอ่ ไป วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพท่ีพึงประสงค์ในการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกล ผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศไปส่กู ารปฏบิ ัติของโรงเรยี นสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 2. เพื่อนาเสนอแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่ การปฏบิ ัตขิ องโรงเรยี นสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน วธิ ดี าเนนิ การวิจยั 1.ระเบยี บวิธวี จิ ัย 1.1 ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง ในการวจิ ัยคร้งั น้ี มีรายละเอียดดังน้ี 1.1.1. ประชากร โรงเรียนในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) ท่ไี ด้รบั ระบบโครงขา่ ยการเรียนรไู้ ร้พรมแดน จานวน 870 โรงเรียน 1.1.2.กลมุ่ ตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนมัธยมศึกษาซึ่งผู้วิจัยคานวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ ตาราง Krejcie & Morgan (1970) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 269 โรงเรียน จากโรงเรียนท้ังหมด 870 โรงเรียน ผู้วิจัยเลือกโรงเรียนจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จากสานักงานเขตพื้นท่ี 779 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

การศึกษามธั ยมศึกษา จานวน 42 เขต จากน้ันใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random sampling) โดยการ จบั สลาก เมือ่ ไดโ้ รงเรียนที่เปน็ กลมุ่ ทจ่ี ะศึกษาแลว้ ผ้วู จิ ยั จะส่งจดหมายพร้อมแนบแบบสอบถามไปยังผู้ให้ข้อมูล โรงเรียนละ 2 คน ซึ่งมีตาแหน่ง ผู้บริหาร 1 คน และครูผู้สอน 1 คน รวมขนาดกลุ่มตัวอย่างท่ีให้ข้อมูลเชิง ปริมาณทัง้ หมด 538 คน โดยผตู้ อบแบบสอบถามตอ้ งมคี ุณสมบตั ิ ดงั นี้ คอื 1) เปน็ ผบู้ ริหารทบี่ ริหารโรงเรียนโดยมงุ่ เนน้ การพัฒนาคุณภาพเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา 2) เป็นครผู สู้ อนท่ีใช้ DLIT ในการจดั การเรียนการสอนในชนั้ เรียน 2.เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจัย เคร่อื งมือที่ใช้ในการวิจยั ครง้ั น้ีมี 2 เครื่องมอื ประกอบดว้ ย 1) แบบสอบถามสภาพปจั จุบันและสภาพที่พงึ ประสงค์ในการนายทุ ธศาสตรก์ ารจดั การศึกษาทางไกล ผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศไปสูก่ ารปฏบิ ัติของโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 2) แบบประเมินความเหมาะสมและความเปน็ ไปได้ของแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษา ทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศไปสู่การปฏบิ ัติของโรงเรียน การสรา้ งเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั มีข้นั ตอนดงั น้ี 1.การสร้างแบบสอบถามสภาพปจั จบุ ันและสภาพทพ่ี ึงประสงคใ์ นการนายุทธศาสตรก์ ารจัดการศกึ ษาทางไกล ผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศไปส่กู ารปฏบิ ัติของโรงเรยี นสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 1.1 ศึกษาเอกสารทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและนาผลการศึกษามาเป็นแนวทางในการสร้างและ ปรับปรงุ เครอ่ื งมือ โดยกระบวนการตา่ งๆ อย่ภู ายใตก้ ารแนะนาของอาจารย์ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ 1.2 กาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยตามกรอบมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือ การศกึ ษาสาหรับสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 สรา้ งแบบสอบถามโดยกาหนดประเดน็ ใหค้ รอบคลมุ ขอบเขตที่กาหนดในกรอบแนวคิด 1.4 นาแบบสอบถามเสนออาจารย์ทป่ี รกึ ษา เพ่ือตรวจสอบ ปรับปรุง และแก้ไข 1.5 นาแบบสอบถามเสนอผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน เพ่ือตรวจสอบแก้ไขด้านการใช้ภาษา เน้ือหา และโครงสร้างของแบบสอบถามโดยใช้เทคนิค IOC (Index of Item – Objective Congruence) แล้วนา ข้อเสนอแนะของผ้ทู รงคุณวุฒมิ าปรบั ปรงุ แก้ไข 1.5.1 ผู้ทรงคุณวุฒิท้ังหมด 5 ท่าน เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย 3 ท่าน ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 ท่าน และผู้บริหาร 1 ท่าน โดยผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 5 ท่าน มีความรู้ความสามารถมีความเชี่ยวชาญ ในดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ซึง่ มีเกณฑ์ในการคัดเลือกดงั นี้ 1.5.1.1 เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยท่ีมีความเช่ียวชาญเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศกับ การศกึ ษา โดยมีประสบการณ์มาแล้วไม่น้อยกวา่ 10 ปี 1.5.1.2 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโลยีสารสนเทศในสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีประสบการณม์ าแล้วไม่น้อยกวา่ 10 ปี 780 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

1.5.1.3 เป็นผู้บริหารท่ีบริหารโรงเรียนโดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษาไมน่ อ้ ยกว่า 10 ปี โดยกรรมการแตล่ ะท่านมเี กณฑ์ในการลงความเหน็ และให้คะแนน ดงั นี้ +1 หมายถงึ ขอ้ ความหรอื ข้อคาถามน้นั ใช้ได้ มีความเหมาะสมของเนอ้ื หาตามกรอบแนวคิดของการวิจยั 0 หมายถงึ ขอ้ ความหรือขอ้ คาถามนั้น ไม่แน่ใจ วา่ มคี วามเหมาะสมของเน้อื หาตามกรอบแนวคดิ ของการวิจยั หรือไม่ -1 หมายถงึ ขอ้ ความหรือขอ้ คาถามนั้น ยงั ไม่มคี วามเหมาะสม ของเนื้อหาตามกรอบแนวคดิ ของการวจิ ัย 1.5.2 คานวณคา่ ดัชนี IOC ของแบบสอบถามให้มคี วามครอบคลมุ โครงสร้างเน้ือหา ปรับแก้ภาษาที่ใช้ มีความชัดเจนและตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคาถามกับจุดมุ่งหมายที่ต้องการวัด ซ่ึงผลการตรวจสอบ พบวา่ ค่าดชั นี IOC ที่คานวณได้ตอ้ งมากกว่า 0.05 จึงจะถือวา่ ข้อคาถามน้ันสอดคลอ้ งกับจุดมุ่งหมายของการวดั 1.6. นาแบบสอบถามมาปรบั แกต้ ามคาแนะนาของผูท้ รงคุณวฒุ ิ แล้วนาเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาเพื่อ พิจารณาความเห็นชอบในการปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถาม และจัดพิมพ์แบบสอบถาม ฉบับสมบูรณ์พร้อม นาไปใช้จริง 2.การสร้างแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษา ทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนในโครงการซึ่งผู้วิจัยสังเคราะห์ข้ึนจากข้อมูลเชิง ปรมิ าณเพอื่ เปน็ ข้อมูลสัมภาษณใ์ นการตรวจสอบแนวทางการนายุทธศาสตรไ์ ปสู่การปฏบิ ัติ 2.1 นาผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการนา ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนมาสร้างแบบ ประเมินความเหมาะสมและความเปน็ ไปได้ของรา่ งแนวทาง 2.2 นาแบบประเมนิ เสนออาจารยท์ ป่ี รึกษาตรวจปรบั และแก้ไข 2.3 นาแบบประเมินให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินร่างแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกล ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนในโครงการที่ผู้วิจัยสังเคราะห์ขึ้นจากข้อมูลเชิงปริมาณ เพอื่ เป็นข้อมูลให้ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ผู้บริหาร และครูผู้สอน จานวน 3 คน ประเมินความเหมาะสมและ ความเป็นไปไดข้ องร่างแนวทาง โดยกาหนดคณุ สมบตั ขิ องผทู้ รงคณุ วุฒไิ ว้ ดังน้ี 1. เปน็ ผทู้ ีม่ ีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกบั การศกึ ษา 2. เป็นผูท้ ม่ี คี วามเช่ียวชาญดา้ นการบรหิ ารการศึกษา 3. เป็นผู้ท่มี ีความรคู้ วามสามารถและมปี ระสบการณใ์ นการบริหารโรงเรยี นทจ่ี ัดการศึกษาทางไกลผ่าน เทคโนโลยสี ารสนเทศ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 781 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

ขอ้ มลู เชิงปรมิ าณจากแบบสอบถามสภาพปัจจบุ ันและสภาพทพี่ ึงประสงคใ์ นการนายทุ ธศาสตร์การจัด การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ผู้วิจยั เกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยวิธกี ารสง่ แบบสอบถามทางไปรษณยี ์ มีขัน้ ตอน ดังนี้ 1. การทาหนงั สอื ขอความรว่ มมอื ในการวิจัย จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเสนอไปยัง ผูอ้ านวยการโรงเรยี นทเ่ี ป็นกลุม่ ตวั อยา่ งเพื่อขอความอนุเคราะหใ์ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 2. การดาเนนิ การสง่ แบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังโรงเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงผู้วิจัยได้แนบซอง เปลา่ และติดแสตมป์ในการสง่ แบบสอบถามกลับ เพื่อใหผ้ ู้ตอบแบบสอบถามส่งแบบสอบถามกลบั คืนผวู้ จิ ัย 3. การตรวจสอบการรับและส่งเอกสารกลับคืนของทางโรงเรียนโดยใช้โทรศัพท์ติดตามความคืบหน้า ในการดาเนินการจัดเกบ็ ข้อมลู 4. การนาแบบสอบถามท่ีได้รับกลับคืนมาทาการลงรหัส (Coding) เพ่ือเตรียมทาการวิเคราะห์ข้อมูล ในขน้ั ตอนต่อไป ข้อมลู เชิงคุณภาพจากแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการนายุทธศาสตร์ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติ เก็บข้อมูลโดยการให้ผู้ทรงคุณวุฒิ นกั วิชาการ ผบู้ รหิ าร และครูผู้สอนประเมินแนวทางการนายุทธศาสตร์การจดั การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศแลว้ นามาสรปุ ปรับปรุงแนวทางพฒั นา วเิ คราะหข์ อ้ มูล ข้อมูลเชิงปริมาณ วเิ คราะห์ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณโดยการใช้โปรแกรม SPSS for window ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถามวิเคราะห์จากค่าสถิติพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างเพื่อให้ทราบ ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างโดยใชส้ ถิตบิ รรยาย ไดแ้ ก่ คา่ ความถี่ (frequency) และคา่ ร้อยละ (percentage) ขอ้ มลู ด้านสภาพปัจจบุ ันและสภาพทีพ่ งึ ประสงคข์ องโรงเรียนในโครงการ วเิ คราะห์จากค่าสถิติพ้ืนฐาน ของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถ่ี (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ด้วยการ ใช้โปรแกรม SPSS for window และวิเคราะห์และจัดลาดับความต้องการจาเป็น วิเคราะห์ค่าดัชนีความ ต้องการจาเป็น โดยใชส้ ูตร Modified Priority Needs Index (PNI Modified) (นงลักษณ์ วิรัชชัย และสุวิมล วอ่ งวานชิ , 2542) ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ วิเคราะหข์ อ้ มูลจากแบบประเมนิ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการนายุทธศาสตร์การ จัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนในโครงการโดยวิเคราะห์ ข้อมูลโดยการหาค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และนาเสนอในรูปแบบตารางประกอบคาอธิบาย หลังจากน้ันนาผลท่ีได้จากการตรวจสอบความเหมาะสมของร่างแนวทางจากผู้ทรงคุณวุฒิมาดาเนินข้ันตอน 782 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

ปรบั ปรุง และแก้ไข และนาเสนอแนวทางต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์เพ่ือพิจารณาและนาข้อเสนอแนะที่ ได้ปรับปรุงแกไ้ ขแนวทางใหม้ ีความสมบูรณ์มากยง่ิ ขนึ้ ในรายงานวทิ ยานิพนธฉ์ บบั สมบูรณ์และเผยแพรต่ ่อไป สรปุ ขั้นตอนการดาเนนิ งานวจิ ัย การวิจยั คร้ังน้ี มขี ัน้ ตอนในการวิจัย 2 ขั้นตอน ดังตอ่ ไปน้ี ขั้นตอนท่ี 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษา ทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ไปสกู่ ารปฏบิ ัติของโรงเรียนสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พนื้ ฐาน ข้ันตอนที่ 2 นาเสนอแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปสูก่ ารปฏบิ ัตขิ องโรงเรียนสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สามารถสรุปขั้นตอนการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัยและผลลัพธ์ท่ีได้ในแต่ละข้ันตอนรายละเอียดตาม ตาราง ดังนี้ ตาราง ขน้ั ตอนการดาเนินการวจิ ัย ข้นั ตอนการวิจยั วิธีดาเนนิ การวจิ ยั ผลลพั ธ์ ข้นั ท่ี 1 ศกึ ษาสภาพปัจจบุ ันและสภาพที่ 1.1 ประชากร คอื โรงเรียนสังกัด 1.สภาพปัจจุบนั และสภาพที่พึงประสงค์ พึงประสงค์ในการนายทุ ธศาสตร์การจดั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ ในการนายุทธศาสตรก์ ารจัดการศกึ ษา การศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยี พ้ืนฐานในสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา ทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ (DLIT) ไปสูก่ ารปฏบิ ัตขิ อง มธั ยมศึกษาทเี่ ข้าร่วมโครงการพัฒนา (DLIT) ไปสู่การปฏิบตั ิของโรงเรยี นสังกดั โรงเรียนสังกดั สานกั งานคณะกรรมการ คณุ ภาพการศึกษาทางไกลผา่ น สานักงานคณะกรรมการการศึกษา การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) ทไี่ ดร้ บั ขนั้ พืน้ ฐาน ระบบโครงข่ายการเรียนรู้ไร้พรมแดน จานวน 870 โรงเรยี น 1.2 กลมุ่ ตวั อย่าง คอื โรงเรยี น มธั ยมศกึ ษา ในสงั กัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน จานวน 269 โรงเรียน 1.3 ผูใ้ ห้ข้อมูลแบ่งเป็น 2 กลุม่ คือ 1) ผบู้ ริหารโรงเรียน และ 783 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

ข้ันตอนการวิจัย วธิ ดี าเนินการวจิ ยั ผลลพั ธ์ 2) ครูผสู้ อนท่ใี ช้ DLIT ในการจดั การ เรยี นการสอนในชน้ั เรยี น 1.4 เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ คือ แบบสอบถาม สภาพและปัญหาในการนายุทธศาสตร์ การจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศ (DLIT) ไปสูก่ ารปฏบิ ัตขิ อง โรงเรียนสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 1.5 วเิ คราะหข์ ้อมลู โดยการ วเิ คราะห์ จากค่าสถิตพื นื้ ฐานของกลมุ่ ตวั อยา่ ง โดยใช้สถิติบรรยาย ไดแ้ ก่ ค่าความถ่ี (Frequency) และค่ารอ้ ยละ (Percentage) ด้วยการใช้โปรแกรม SPSS for window และวเิ คราะห์และจดั ลาดบั ความต้องการจาเปน็ วิเคราะห์ค่าดชั นี ความตอ้ งการจาเป็น โดยใชส้ ตู ร Modified Priority Needs Index (PNI Modified) 2.นาเสนอแนวทางการนายุทธศาสตร์ 2.1 ร่างแนวทางการนายุทธศาสตรก์ าร 2.(รา่ ง) แนวทางการนายุทธศาสตร์การ การจดั การศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยี จัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยี จดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยี สารสนเทศไปสู่การปฏบิ ตั ขิ องโรงเรยี น สารสนเทศ (DLIT) ไปสู่การปฏบิ ตั ขิ อง สารสนเทศ (DLIT) ไปสูก่ ารปฏิบตั ขิ อง สงั กัดสานักงานคณะกรรมการ โรงเรยี นสังกดั สานกั งานคณะกรรมการ โรงเรยี นสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน การศึกษาขนั้ พื้นฐานโดยผวู้ ิจยั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานโดยผู้วิจัย 2.2 ประเมนิ ความเหมาะสมของรา่ งแนว 3.ความเหมาะสมของแนวทาง ทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษา การนายทุ ธศาสตร์การจัดการศกึ ษา ทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัด (DLIT) ไปสกู่ ารปฏิบตั ขิ องโรงเรียนสงั กัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา พื้นฐานโดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ นกั วชิ าการ ขนั้ พ้นื ฐาน โดยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ผู้บรหิ ารและครผู ูส้ อน จานวน 3 คน โดยใช้แบบประเมิน 784 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

ขนั้ ตอนการวิจยั วิธีดาเนนิ การวจิ ยั ผลลพั ธ์ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ของแนวทาง 2.3 นาเสนอแนวทางการนายุทธศาสตร์ 4.แนวทางการนายุทธศาสตรก์ ารจดั การจดั การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี การศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยี สารสนเทศ (DLIT) ไปสูก่ ารปฏบิ ตั ขิ อง สารสนเทศ (DLIT) ไปสู่การปฏิบตั ขิ อง โรงเรยี นสังกัดสานักงานคณะกรรมการ โรงเรยี นสงั กดั สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน การศึกษาข้นั พ้นื ฐานฉบับสมบรู ณ์ ผลการวิจยั จากการศึกษาสภาพปจั จบุ ันและสภาพที่พงึ ประสงค์ในการนายทุ ธศาสตร์การจดั การศึกษาทางไกล ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบตั ขิ องโรงเรยี นสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ผวู้ จิ ัยสามารถสรุปผลการวจิ ัยตามวัตถุประสงค์ไดด้ งั นี้ 1.สภาพปจั จุบันและสภาพทพ่ี งึ ประสงค์ในการนายุทธศาสตร์ 3 5 7 ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคล่ือน การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียน โดยมีรายละเอียดคือ “3 ข้อ ต้องมี” “5 ข้อต้อง ทา” และ “7 ข้อ ต้องปฏิบตั ิ” ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ 3 5 7 1. ยทุ ธศาสตร์ “3 ขอ้ ต้องม”ี “3 ข้อ ตอ้ งมี หมายถึงส่ิงสาคญั 3 ขอ้ ที่โรงเรยี นต้องจัดหาให้มีเพื่อให้ครูผู้สอน นักเรียน และผู้มี ส่วนเก่ียวข้องได้นาไปใช้ในการดาเนินงานการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ประกอบด้วย 1.1 ตอ้ งมีโครงสร้างพ้ืนฐานทเี่ อื้อต่อการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) 1.2 ต้องใช้โทรทัศน์/จอภาพ และคอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ DLIT อย่าง คุม้ คา่ 1.3 ต้องมีส่ือ วัสดุ อุปกรณ์สาหรับนักเรียนมีเพียงพอต่อการเรียนรู้ด้วยการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) 2. ยทุ ธศาสตร์ “5 ข้อต้องทา” 785 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

“5 ข้อต้องทา”หมายถึงสิ่งสาคัญ 5 ข้อที่ผู้บริหารสถานศึกษาต้องทา หรือดาเนินการ เพื่อให้การ บรหิ ารจดั การเกี่ยวกับการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) ประสบผลสาเร็จประกอบดว้ ย 2.1 ต้องตระหนักและให้ความสาคญั ของการจดั การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2.2 ต้องเป็นผู้นา และมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศ (DLIT) 2.3 ตอ้ งส่งเสริม สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) 2.4 ต้องนิเทศภายใน กากับติดตาม การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศ (DLIT) 2.5 ต้องส่งเสรมิ การเข้าร่วมเครือขา่ ยการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) 3. ยุทธศาสตร์ “7 ข้อ ตอ้ งปฏบิ ัติ” “7 ข้อ ต้องปฏิบัติ” หมายถึงสิ่งสาคัญ 7 ข้อท่ีครูผู้สอนผู้สอนต้องนาลงสู่การปฏิบัติ เพ่ือให้ เกดิ การใช้การจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) ในการจัดการเรียนการสอนอันนาไปสู่การ พฒั นาศกั ยภาพผ้เู รียน ประกอบด้วย 3.1 ต้องจัดเตรียมส่ือ วัสดุ และอุปกรณ์ที่จาเป็นต่อการนาไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอน และการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) 3.2 ต้องพัฒนาตนเองให้มีความรู้เก่ียวกับการใช้การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) 3.3 ต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ตามความเหมาะสม 3.4 ต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้และให้นักเรียนเข้าถึงการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศ (DLIT) ตามความเหมาะสม 3.5 ต้องวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยวิธีการ เครื่องมือท่ีหลากหลายครอบคลุม มาตรฐาน และตัวชี้วัดหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละคร้ัง แต่ละหน่วยการเรียนรู้ เพ่ือให้ทราบถึงผลการ เรียนร้ขู องนักเรยี น 3.6 ต้องนาผลการวัดและประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย และวางแผนการสอนซ่อมเสริม โดยใช้การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) ตามความเหมาะสม 786 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

3.7 ต้องเข้าร่วมเครือข่ายชุมชนการเรียนรู้ครูผู้สอนมืออาชีพเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในอันท่ีจะได้นาองค์ความรู้ต่างๆ ไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและสภาพที่พงึ ประสงค์ในการนายุทธศาสตรก์ ารจัดการศึกษาทางไกล ผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศไปสกู่ ารปฏบิ ตั ขิ องโรงเรียนสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมกี าร วเิ คราะหค์ า่ ดัชนีความตอ้ งการจาเปน็ โดยใช้สตู ร Modified Priority Needs Index (PNI Modified) พบวา่ ค่าดชั นีมีลาดบั ความตอ้ งการจาเป็นมากทีส่ ุดไปหาน้อยที่สุด ดังน้ี 1. ดา้ นกระบวนการเรียนรู้ (PNI Modified = 0.495) 2.ด้านการบรหิ ารจดั การภายในสถานศึกษา (PNI Modified = 0.485) 3. ดา้ นการเรียนการสอน (PNI Modified = 0.461) 4. ด้านความรว่ มมอื ภาครฐั เอกชน และชมุ ชน (PNI Modified = 0.459) 5. ด้านทรัพยากรการเรียนรู้ (PNI Modified = 0.361) 6. ดา้ นโครงสรา้ งพืน้ ฐาน (PNI Modified = 0.306) โดยสามารถกาหนดแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัด สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จานวนรวม 17 แนวทาง ซ่ึงผู้วิจัยกาหนดแนวทางจากผลการ จดั ลาดบั คา่ PNI Modified รายข้อยอ่ ยในแตล่ ะด้านที่มีค่า PNI Modified สูง ดงั นี้ 1. ดา้ นกระบวนการเรียนรู้ 1.1 ครูควรทาวิจัยปฏิบตั กิ ารในชน้ั เรยี นเกีย่ วกบั ผลของการจัดการเรยี นร้โู ดยใช้ DLIT ในกลุ่ม สาระการเรยี นรแู้ ละนกั เรียนระดบั ช้ันต่างๆ 1.2 ครูควรวิเคราะหน์ กั เรยี นเป็นรายบุคคลโดยการนาผลการวดั และประเมินจาก แบบทดสอบของ DLIT Assessment มาปรับใชใ้ หเ้ หมาะสมกับสาระการเรียนรู้และระดับชั้นของนกั เรยี น 1.3 ครูควรนาแบบทดสอบที่อยูใ่ น DLIT Assessment ท้ังกอ่ นเรยี น หลังเรียน และระหว่าง เรียน มาใช้ในการวัดประเมินผลพฒั นาการการเรียนรขู้ องนักเรียน 2.ดา้ นการบริหารจดั การภายในสถานศึกษา 2.1 ผู้บรหิ ารควรมีการกากับติดตามและประเมินผลการใช้ DLIT ผ่านชอ่ งทางท่ีสะดวกในการ รายงานผลและวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงาน เช่น ส่ือออนไลนห์ รือแอปพลิเคชัน่ ต่างๆ 2.2 ผู้บริหารควรมีการสรุปและรายงานผลการนิเทศภายในด้านการใช้ DLIT อย่างต่อเนื่อง และเปน็ รปู ธรรม 2.3 ผู้บริหารควรสะท้อนผลการจัดการเรียนโดยใช้ DLIT อย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องเพื่อให้ ครูตระหนกั ถึงความสาคญั และประโยชน์ของการใช้ DLIT ในการจัดการเรียนการสอน 3. ด้านการเรียนการสอน 787 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

3.1 ครูควรกาหนดแผนในการสอนและการซ่อมเสริมนักเรียนโดยใช้ DLIT ทีเ่ หมาะสมกับ เนอ้ื หาหลกั สูตรและระดบั ช้ันของนกั เรยี น 3.2 ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ DLIT ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนทกี่ าหนดไวอ้ ยา่ ง เป็นรูปธรรมโดยคานึงถงึ ความเหมาะสมของหลักสูตรและบรบิ ทของนักเรียน 3.3 ครคู วรมกี ารสรปุ ผลพฒั นาการของนักเรยี นจากการสอนซอ่ มเสรมิ เปน็ รายบุคคลและ นาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ การจัดการการเรียนการสอนและการซ๋อมเสริมอยา่ งสม่าเสมอ 4. ด้านความร่วมมือภาครัฐ เอกชน และชมุ ชน 4.1 ครูควรมีการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่านทาง DLIT PLC มากข้ึนและสร้าง เครือข่ายการทางานร่วมกันโดยใช้ Cloud Computing เพ่ือการประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลออนไลน์บน เครือข่ายอนิ เตอร์เนต็ 4.2 ครูควรมีการสร้างสื่อนวัตกรรมทางการศึกษาและกาหนดช่องทางในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพ่ือเป็นส่ือกลางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาร่วมกัน เช่น School Channel และ Teacher Channel เป็นต้น 5. ดา้ นทรพั ยากรการเรยี นรู้ 5.1 โรงเรียนควรมีระบบการให้บริการนักเรียนในการใช้สื่อ วัสดุ และอุปกรณ์ต่างๆ ในการ เข้าใชง้ าน DLIT อยา่ งทว่ั ถึงและเพียงพอ 5.2 โรงเรยี นควรมีการระดมทรัพยากรจากหน่วยงานต่างๆ เพ่ือจัดหา ส่ือ วัสดุ และอุปกรณ์ ในการใช้ DLIT เพอื่ เพม่ิ โอกาสในการเข้าถงึ การใช้งานของนักเรียนมากขนึ้ 5.3 โรงเรยี นควรมรี ะบบการซอ่ มแซมและบารุงรักษาการใช้งานของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ อย่าง เปน็ รปู ธรรมและกาหนดผ้รู ับผิดชอบใหบ้ ารุงรกั ษาอปุ กรณใ์ หส้ ะดวกต่อการใช้งานอยูเ่ สมอ 6. ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน 6.1 โรงเรียนควรจัดสรรงบประมาณในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เช่น โทรทัศน์/จอภาพ/ คอมพิวเตอร์อย่างทั่วถงึ และเพียงพอ 6.2 โรงเรียนควรมีการจัดสภาพห้องเรียนที่เอ้ือต่อการใช้คอมพิวเตอร์ประกอบการจัดการ เรยี นการสอนโดยใช้ DLIT 6.3 โรงเรียนควรวางระบบการใช้งานส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ ให้เป็นระเบียบ ตรวจสอบได้และ พรอ้ มใช้งานเสมอ อย่างไรกต็ าม แนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลผ่านทางเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่ การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีผู้วิจัยนาเสนอนั้น เป็นเพียง ทางเลือกหนึ่งที่ผู้บริหาร หรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องสนใจจะนาไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละโรงเรียน เพื่อใหก้ ารดาเนินการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศประสบผลสาเร็จในการขับเคลื่อนการจัด การศึกษาใหม้ คี ุณภาพตอ่ ไป 788 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

อภิปรายผล ผลการวจิ ยั มีประเดน็ สาคัญที่ควรนามาอภิปราย ดงั นี้ 1. จากผลของการวิจัยเร่ือง แนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานซึ่งจุดประสงค์ข้อท่ี 1 เพ่ือศึกษา สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์และวิเคราะห์จัดลาดับความต้องการจาเป็น โดยใช้สูตร Modified Priority Needs Index (PNI Modified) ซ่ึงผลของการหาค่าดัชนีความต้องการจาเป็นพบว่า ด้านกระบวนการ เรียนรู้ มีลาดับของค่า PNI modiflied สูงท่ีสุด โดยมีค่าอยู่ท่ี 0.495 ในข้อย่อยที่ว่า ครูมีการทาวิจัยปฏิบัติการใน ชั้นเรียนเก่ียวกับผลของการนา DLIT มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน แสดงให้เห็นว่าในปัจจุบันโรงเรียนท่ีนา DLIT ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ไม่ได้มีการทาวิจัยปฏิบัติการในช้ันเรียนเพื่อศึกษาถึงผลของการนา DLIT มาใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอนเท่าที่ควร ดังน้ันผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องท้ังผู้บริหารและครูผู้สอนควรตระหนัก และเห็นถงึ ความสาคญั ในการทาวจิ ัยปฏิบัติการในช้ันเรยี นควบคู่กันไปดว้ ย 2. ผลการวิจัย ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน พบว่า ค่า PNI modified รายข้อ มีลาดับท่ีต่าท่ีสุดจากมาตรฐาน การบรหิ ารเทคโนโลยที ั้ง 6 ด้าน คอื 0.306 ซงึ่ สะทอ้ นให้เห็นว่า ผู้บรหิ ารและครผู ู้สอนในโรงเรียนท่ีใช้ DLIT ได้รับการจัดสรรโทรทัศน์ / จอภาพ และคอมพิวเตอร์ เพ่ือใช้ในการจัดการเรียนการสอนตามวัตถุประสงค์ โครงการ แต่อยา่ งไรกต็ ามในบางโรงเรียนอาจประสบปญั หาเร่อื งการจัดสรรที่ไมท่ ว่ั ถึงและไม่เพียงพออยบู่ า้ ง ข้อเสนอแนะ 1.ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1.1 โรงเรียนควรนาแนวทางในการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศ (DLIT) ไปสกู่ ารปฏบิ ัติเพือ่ ให้เกดิ ผลลัพธแ์ ละผลผลิตตามเปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ 1.2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรนาแนวทางการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ไปกระตุ้น ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหารโรงเรียนท่ีอยู่ภายใต้การกากับดูแล พัฒนาการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน เทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ไปสกู่ ารปฏบิ ัตใิ หม้ ปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ขึ้น 1.3 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานควรนาแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัด การศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ไปสู่การปฏิบัติมาใช้เป็นกรอบในการกาหนดแนวทาง การดาเนนิ งานทีเ่ ปน็ ประโยชน์กบั โรงเรยี นท่เี ขา้ ร่วมโครงการรวมถึงการขยายผลโครงการในอนาคต 2.ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครั้งตอ่ ไป 789 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790

2.1 ควรศึกษาเพ่ิมเติมเกี่ยวกับผลของการนาแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษา ทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ไปสกู่ ารปฏิบตั ิว่าโรงเรียนมีการดาเนินการประสบความสาเร็จและมี ประสทิ ธภิ าพหรือไมอ่ ยา่ งไร 2.2 ควรมีการศึกษาความย่ังยืนของการนาแนวทางการนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษา ทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน 2.3 ควรมกี ารศึกษาปัจจัยท่ีทาให้การนายุทธศาสตร์การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี สารสนเทศไปส่กู ารปฏิบัติของโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานประสบความสาเร็จ ในแตล่ ะบรบิ ททแ่ี ตกตา่ งกนั ของสถานศกึ ษา 2.4 ควรมีการศึกษาเก่ียวกับทัศนคติของผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วนเก่ียวกับการนายุทธศาสตร์ การจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่การปฏบิ ตั ขิ องโรงเรียนว่าจากการปฏิบัติในบริบทต่างๆ ของสถานศกึ ษา ผ้ปู ฏิบัตพิ บปญั หาหรอื อปุ สรรคใดบา้ งเพ่ือนามากาหนดกรอบในการพฒั นาต่อไป รายการอ้างอิง ภาษาไทย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. (2557). แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ฉบับที่ 3) ของประเทศไทย พ.ศ.2557 – 2561. กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร. สถาบนั วิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย. (2556). รายงานฉบบั สมบูรณ์ การจัดทายทุ ธศาสตรก์ ารปฏริ ปู การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานใหเ้ กดิ ความรบั ผิดชอบ. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2559). บทวิเคราะห์การศึกษาไทยในโลกศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟิค สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน. (2559). คูม่ ือการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล. [Online.] สืบคน้ จาก: http:// www.dlthailand.com สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน. (2560). นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ 2560. กรงุ เทพฯ. ศูนย์พฒั นาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล. (2559). แนวทางการดาเนินงานพัฒนา คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT). กรุงเทพฯ: อกั ษรไทย. 790 OJED, Vol.12, No.4, 2017, pp. 773-790


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook