Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเย็บแผล

การเย็บแผล

Published by kong nuttapoom, 2021-08-23 08:07:19

Description: การเย็บแผล

Search

Read the Text Version

คู่มือ การเยบ็ แผล Suturing techniques By นาย ณฐั ภูมิ ผอ่ งใส รหสั นกั ศึกษา 61102301044

คาํ นาํ รายงานฉบับนีเ้ ป-นส/วนหนึง่ ของวิชาวิชาการรักษาพยาบาลเบอื้ งต>น (พย. 1426) โดยมี จุดประสงคN เพอ่ื การศกึ ษาความรเู> กย่ี วกบั เรือ่ งการเยบ็ แผล (Suring Technique) ซึง่ รายงานนม้ี ี เนื้อหาเกยี่ วกับความร>ู ลักษณะของแผล การเตรียมผู>ปaวยกอ/ นทำการเย็บแผล อปุ กรณใN นการเยบ็ แผล การฉีดยาชา ลกั ษณะการเยบ็ แผล ขน้ั ตอนการเย็บแผล และการใหค> ำแนะนำหลังเยบ็ แผล ผ>จู ัดทำไดเ> ลือก หัวข>อนีใ้ นการทำรายงาน เนอื่ งมาจากเป-นเรื่องท่ีน/าสนใจ รวมถึงเป-น การศึกษาหา ความร>ูเพม่ิ เตมิ นอกบทเรยี น ผจ>ู ัดทำจะต>องขอขอบคุณ อาจารยN อวินนทN บวั ประทุม ผูใ> หค> วามร>ู และแนวทาง การศกึ ษาและใหค> วามชว/ ยเหลอื มาโดยตลอด ผูจ> ัดทำหวงั ว/ารายงานฉบบั นี้ จะใหค> วามร>ู และเปน- ประโยชนแN ก/ ผอ>ู /านทุก ๆ ทา/ น ก

สารบญั คำนำ ก สารบญั ข วัตถปุ ระสงคข1 องการเย็บแผล 4 ลกั ษณะของแผล 5 ลกั ษณะของการเย็บแผล 10 การเตรยี มผ@ปู วA ยกBอนทำหตั ถการ 16 ข#นั ตอนการฉีดยาชา 20 การคาํ นวณยาชา 24 ผลของยาชา 25 การเตรียมอปุ กรณ์เยบ็ แผล 26 ขัน้ ตอนการเยบ็ แผล 32 การให@ยาปฏิชีวนะและยาแก@ปวด 40 การให@วัคซีนปอL งกนั บาดทะยกั 42 คำแนะนำ 43 บรรณานุกรม 45 ข

วตั ถุประสงค์ของการทาํ หัตถการ เพื?อการห้ามเลือด (Stop Bleeding) ซ่อมแซมส่วนทบี? าดเจบ็ (Reconstruction) ลดอาการปวดและการตดิ เชื#อ (Decrease pain and infection) ลดรอยแผลเป็ นทอ?ี าจเกดิ จากบาดแผลน#ัน ๆ เพม?ิ การหายของแผล 4 (Reduce scar) (Increase healing of ulcer)

การเยบ็ แผล (Suture) การเยบ็ แผล เป็ นหัตถการพ3ืนฐานในการดูแล แผลที:อาจเกิดจากอุบตั ิเหตุ หรือการผา่ ตดั การ มีความรู้เกี:ยวกบั แผลเข็มเยบ็ ชนิดและขนาด ของไหมเยบ็ และวธิ ีการเยบ็ แผลชนิดต่างๆ จะ ช่วยให้แพทยส์ ามารถให้การดูแลบาดแผลได้ อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม 5

ลกั ษณะของแผล 1. แผลจากอบุ ัตเิ หตุ การการเยบ็ แผลจาํ เป็ นตอ้ งพิจารณา ลกั ษณะของแผล กน้ แผล ระดบั การ ปนเป<ื อน การบาดเจบ็ ต่ออวยั วะขา้ งเคียง • แผลขอบเรียบ (cut wound) หรือเกิดจากของมีคม แผลชนิดน<ี มกั มีเน<ือตายนอ้ ย เหมาะกบั การเยบ็ • แผลฉีกขาด (laceration wound) เกิดจากการกระแทกโดยตรงหรือครูด บด ขอบแผลมกั ไม่เรียบมีเน<ือชอกช<าํ อาจจะมีเลือดไปเล<ียงไม่เพียงพอ ทาํ ใหแ้ ผล สมานหรือเกิดการติดเช<ือได้ จึงควรเล็มขอบแผลให้แผลเรียบข<ึน ตดั เอาเน<ือตาย ออกใหม้ นัL ใจวา่ มีเลือดมาเล<ียงเพียงพอก่อนทาํ การเยบ็ 6

• บาดแผลตดั (incisions) เป็นบาดแผลจากของมีคม เช่น มีด ขอบโลหะ กระจก เศษแกว้ ตดั ผา่ นผวิ หนงั มกั มีเลือดออกมากเพราะเสน้ เลือดถูกตดั ขาดบริเวณขอบ แผลท<งั ๆทีLเน<ือเยอLื โดยรอบมิไดถ้ ูกกระทบกระเทือนบาดแผลประเภทน<ีติดเช<ือโรค ไดน้ อ้ ยทLีสุดเพราะมีเลือดออกมาก จึงชะลา้ งเอาสLิงสกปรกและเช<ือโรคออกมาดว้ ย บาดแผลถูกบีบหรือบด (crushed wounds) มกั เกิดจากอุบตั ิเหตุรุนแรง บาดแผลของผิวหนังและเน<ือเยืLอโดยรอบถูกทาํ ลายไป มาก มักมีกระดูกหัก และ บาดแผลฉีกขาดร่วมอยู่ด้วย เช<ือโรคเข้าไปสู่ส่วนลึกได้มาก มีความเจ็บปวดและ เลือดออกรุนแรง 7

• แผลทะลุทะลวง (penetration wound) ลกั ษณะแผลมีการฉีกขาดและการบด ทาํ ลายของเน<ือเยLือ ซLึงเกิดจากวตั ถุแทงทะลุผ่านผิวหนงั เขา้ ไปถึงเน<ือเยLือทLีอยลู่ ึก ๆหรือ อวยั วะภายใน ทาํ ใหม้ ีการตกเลือด เช่น แผลถูกยงิ (gun shot wound) กระสุนวงLิ ผ่านเยืLอบุผิวหนัง และเน<ือเยLือทLีอยู่ใต้ ผิวหนัง ทาํ ให้เกิดการฉีกขาด(laceration) การบดทาํ ลาย (crushing) เกิดคลืLน(shock wave) และเกิดช่องวา่ งชวLั คราว (temporarycavitation) ตามทีLแนวกระสุนผา่ นไป ซLึงเกิดมากหรือนอ้ ยข<ึนอยู่ กบั ความเร็วของกระสุน 8

สําหรับบาดแผลทไ2ี ม่ควรเยบ็ ได้แก่ บาดแผลทมี2 คี วามสกปรกมากๆ มดี งั นี= สุนขั กดั ตกน<าํ ครํา แผลติดเช<ือ 9

ลกั ษณะของการเยบ็ แผล 1. simple interrupted suture เป็นวธิ ีท*ีใชบ้ ่อย ใชไ้ ดใ้ นทุก กรณีของการเยบ็ ทว*ั ไป เหมาะสาํ หรับแผลที* ตFืน กน้ แผลไม่ลึก 10

ลกั ษณะของการเยบ็ แผล 2. Continuous running suture มกั ใชเ้ ยบ็ แผลท*ียาวและ ค่อนขา้ งตรง สะดวก 11

ลกั ษณะของการเยบ็ แผล 3. Horizontal mattress suture technique เป็นการเพิ0มแรงดึงเน7ือเยอ0ื เขา้ หากนั 12

ลกั ษณะของการเยบ็ แผล 4. Vertical mattress suture technique เหมาะสาํ หรับ แผลที0กน้ แผลลึกตอ้ งการแรงดึงจากไหมและใหข้ อบแผลชนกนั สนิทป้องกนั การเกิดการมว้ นของขอบแผลลงไปดา้ นใน 13

ลกั ษณะของการเยบ็ แผล 5. เยบ็ แบบซอ้ น ( Mattress suture) คือ การเยบ็ ยอ้ นตอบกลบั โดยใชเ้ ข็มเยบ็ ตกั เขา้ ไปที0เนGือใตผ้ ิวหนงั ให้ลึก จากขอบแผลข้างหน0ึงไปโผล่ขอบแผลอีกข้างแล้วยอ้ นเข็ม กลบั มา ตกั ขอบแผลตGืน ฯ แทงเข็มขGึนมาใกล้ ตาํ แหน่งเดิมท0ี แทงครGังแรก แลว้ ผกู ปมตกั ดา้ นส่วนท0ีเหลือออก 14

ลกั ษณะของการเยบ็ แผล 6. Subcuticular suture เพื*อลดแรงตึงของผวิ หนงั ดา้ นบน 15

การเตรียมผู้ป่ วยก่อนทาํ หัตถการ 1. ซกั ประวตั ิทLีจาํ เป็น การเกิดบาดแผล โรคประจาํ ตวั ประวตั ิแพย้ า แพย้ าชา ภูมิคุม้ กนั บาดทะยกั 2. การประเมินบาดแผล - การสูญเสียเลือด ว่ามีเลือดออกภายนอกให้เห็น หรือว่ามีเลือดออก ภายใน ซLึงตอ้ งประเมินโดยใช้ สญั ญาชีพเป็นหลกั และอLืน ๆ ประกอบ - ขนาดและลกั ษณะของบาดแผล วา่ มี การถลอก ฟกช<าํ หอ้ เลือด หรือ แผลฉีกขาดหรือไม่ - แผลมีขนาดกวา้ งยาวลึกเท่าใด มีการฉีกขาดถึงtendon ไหม 16

การเตรียมผู้ป่ วยก่อนทาํ หัตถการ 3. การตรวจบาดแผล - สอบถามขอ้ มูลผปู้ ่ วย ประเมินลกั ษณะบาดแผล : ตาํ แหน่ง ขนาด (กวา้ ง หยาวหลึก เป็นcm.) เน<ือเยอLื ในแผล ผวิ หนงั รอบแผล สLิงแปลกปลอม สารคดั หลงLั อาจพิจารณาฉีดยาชาเฉพาะทีLขณะตรวจ ประเมินเพืLอลดความเจบ็ ปวดของบาดแผล - แผลทีLควรเยบ็ คือแผลอุบตั ิเหตุไม่ควรเกิน 6 ชม. หรือ นานเกิน 6 ชวัL โมง แต่ไม่เกิน 12 ชม. แต่ ขอบ แผลเรียบ เน<ือเยอLื ไม่ซ<าํ แผลไม่สกปรก - หากแผลนานเกิน 12 ชม. ไม่ตอ้ งเยบ็ แต่นดั ทาํ แผลทุกวนั 17

การเตรียมผู้ป่ วยก่อนทาํ หัตถการ 4. การทำความสะอาดผิวหนังรอบๆบรเิ วณแผล (ตอ> ) - สวมถงุ มือ Disposable แลว6 ใชผ6 า6 ก<อซชบุ น้ำสบCูเหลว ฟอกผวิ หนงั รอบๆ แผล โดยเชด็ วนออกด6านนอก ตดั ขนในกรณีที่ บรเิ วณนน้ั มขี นมาก - ใชน6 ้ำสะอาดล6างนำ้ สบCอู อกให6สะอาด แล6วล6างจนกวCา บริเวณรอบๆแผลสะอาด - ใช6ผา6 สะอาดหรือกอ< ซซับรอบๆแผลให6 แห6ง 18

การเตรียมผู้ป่ วยก่อนทาํ หัตถการ 5.ให%ยาระงบั ความร%ูสกึ เฉพาะที่ (ยาชา) หรือยาดมสลบ ขน้ึ อยู5กับสภาพของแผลและผ>ปู @วย 6.ตดั แตง> ขอบแผลให%เรยี บเท>าทจ่ี ำเปนF เลม็ เอาเนื้อตายออก ดว> ยกรรไกรตดั ช้นิ เนือ้ 7. เย็บแผล 19

ขFนั ตอนการฉีดยาชา เตรยี มอปุ กรณM ไดแ% ก> • Syringe • เขม็ ฉีดยา No.18 ใชด้ ูดยาชา • เขม็ ฉีดย No.24 ใชฉ้ ีดยายา • ยาชา Linocaine Hydrochloride หรือ Lidocaine หรือ Xylocaine ขนาดท0ีนิยมใช้ คือ 0.5%, 1%, 2% 20

ขFนั ตอนการฉีดยาชา • ดูดยาชาชนิดท0ีตอ้ งการใชอ้ อกมาเตรียมไว้ • ดูดยาชาชนิดที0ตอ้ งการใชอ้ อกมาเตรียมไว้ โดยขนาดท0ีใชใ้ นผใู้ หญ่คือ ไม่เกิน 300 mg หรือ 5 mg/kg • ใช้ Povidine solution เชด็ ผวิ หนงั บริเวณท0ีจะฉีดยาชา โดยวนออก ดา้ นนอกใหห้ ่างจากตาํ แหน่งที0จะฉีดยาชาเป็นวงกลมเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง ประมาณ 1 นิ7ว 21

ขFนั ตอนการฉีดยาชา • การฉีดยาชาเฉพาะท0ีขณะแทงเขม็ ผา่ นผวิ หนงั เขา้ สู่ช7นั Intradermal ควรทดสอบทุกคร7ังเพ0ือป้องกนั การฉีดยาเขา้ หลอดเลือด • การฉีดยาชารอบๆแผล (Infiltration) ในกรณีท0ีบาดแผลอยบู่ ริเวณ อ0ืนที0ไม่ใช่นิ7วมือหรือนิ7วเทา้ และการฉีดยาชาโดยการสกดั ก7นั เสน้ ประสาท (nerve block) กรณีที0บาดแผลอยบู่ ริเวณนิ7วมือและ นิ7วเทา้ ใหร้ อ 1 นาที เพ0ือใหย้ าชาออกฤทธWิ 22

การเลือกใชข้ นาดที:เหมาะสมและการคาํ นวณยาชา ชนดิ ของยา 2 g/100 ml ขนาดยา 2000 mg/100 ml 2% Lidocaine 1 g/100 ml 20 mg/ml 1000 mg/100 ml 1% Lidocaine 0.5 g/100 ml 10 mg/ml 500 mg/100 ml 0.5% Lidocaine 5 mg/ml 1% Xylocaine without adrenaline ขนาดยา 3-5 mg/kg 1% Xylocaine with adrenaline ขนาดยา 3-5 mg/kg 23

การคาํ นวณยาชา คาํ นวณจากสูตร นGาํ หนกั ผปู้ ่ วย (kg) x 5 mg/ml / ยาชา 2% xylocaine (20 mg/ml) เช่น ผปู้ ่ วยหนกั 40 kg จะได้ 40 kg x 5 mg/ml = ไม่เกิน 10 cc 20 mg/ml ผปู้ ่ วยหนกั 50 kg จะได้ 50 kg x 5 mg/ml = ไม่เกิน 12.5 cc เป็นตน้ 20 mg/ml 24

ผลของยาชา ยาชาจะกดระบบประสาทกลาง เปน1 ภาวะตอ6 เนือ่ งหลังจากการกระต=ุน เชน6 อาจจะเป1นผลทำ ให=เกดิ ความดันโลหติ ตำ่ และการหายใจชา= ลงเนอื่ งจากศนู ยH ควบคุมการหายใจถกู กด และมอี าการงว6 งเหงา ซมึ เซา จนอาจถงึ ขัน้ โคม6าได= ผล ใน การกดระบบประสาทส6วนกลางจะมอี นั ตรายมากกวา6 การกระตุ=นระบบ ประสาท สว6 นกลาง ยาชาอาจมีผลทำให=ความดนั เลอื ดต่ำได= เนอ่ื งจากมีการกดทรี่ ะบบประสาท ส6วน medulla ยาชาเกือบทกุ ตวั นอกจากจะสามารถ ขยายหลอดเลือดได=โดย ตรงแลว= ยงั มผี ลโดยตรงต6อหัวใจทำให=หวั ใจเตน= ช=าลง 25

การเตรียมอุปกรณ์เยบ็ แผล 1. Needle holder ใช้สาํ หรับการจบั เขม็ เพื4อคมุ นํา9 หนกั และ ทิศทางในการเยบ็ แผล 2.Forceps ประกอบดว> ย Tooth Forceps ใช>สำหรบั หยบิ จบั ภายนอก เช/น ผิวหนงั หรอื ถ>าหากตอ> งการหยิบจับภายใน อาจ เป-นประเภทของการหยบิ จับพังผดื และ Non Tooth Forceps หยิบจบั ภายใน 26

การเตรียมอุปกรณ์เยบ็ แผล 3. กรรไกรตัดไหม ขอ> สังเกตของกรรไกรตัดไหม คอื ส/วนใหญ/ ด>านหนึ่งจะมน แต/ อีกดา> นหนึ่งจะมปี ลายแหลม 4.เขม็ และไหมเยบ็ วัสดเุ ย็บ หรือด>ายท่ีใช>กันโดยท่วั ไป คอื Silk และ Nylon เปน- ด>ายที่ใช>เย็บภายนอกแต/ Silk จะมี ราคา ถกู กว/า นอกจากนน้ั กจ็ ะมไี หมละลาย (Chromic Catgut) ซึ่งใช> สำหรบั เย็บอวยั วะภายใน 27

การแบ่งชนิดของไหมและดา้ ย วัสดุในการเยบ็ แบง/ ออกเป-น 2 ประเภท ได>แก/ 1.วัสดทุ ล่ี ะลายไดเ> อง 2.ชนิดท่ีไมล/ ะลาย 1. วสั ดุทล่ี ะลายไดEเอง (Absorbable Sutures) ประกอบด>วยเสน> ใยธรรมชาติ ไดแ> ก/ Catgut ทำมาจาก Collagen ใน Submucosa ของลำไส>แกะหรือววั ละลายไดเ> พราะกระต>ุนให>เกิด acute intflammation โดยรอบ เริ่มยย/ุ และแตกภายใน 4-5 วนั และจะหมดไปภายใน 2 สัปดาหN เสน> ใยสงั เคราะหN เชน/ - Polyglycolic acid (Dexon), Polyglycan (Vicryl) และ Polydioxanone (PDS) Plain catgut ละลาย ไดเ> ร็ว 5-10 วัน ใชเ> ย็บกล>ามเนอื้ ทไ่ี มล/ ึกมาก ไมต/ >องใชแ> รงในการดงึ รัง้ มาก เช/น บริเวณปาก ลำตวั ท่แี ผลไม/ลกึ - Chromic catgut ละลายไดช> >า 10-20 วัน ไมค/ /อยระคายเคอื ง ใช>ในการเยบ็ กล>ามเนือ้ ท่ี ตอ> งใช>ระยะ เวลานานเพื่อท่จี ะทำให>แผลตดิ เหงื่อมาก เชน/ รักแรฝ> าa มือ ฝaาเทา> หรอื บรเิ วณท่ี เคล่ือนไหวมากเชน/ ขอ> พับ หรือ แผลทมี่ ีน้ำเหลืองซึมหรือเป†ยกขึ้นมาก 28

การแบ่งชนิดของไหมและดา้ ย 2. วสั ดุที่ไมล> ะลายเอง (Non-Absorbable Sutures) ประกอบด6วย - เส6นใยตามธรรมชาติ เชนC ไหมดำ (Silk) ราคาถูก ผูกปมงาC ย และไมคC ลายแตC ทำจากเสน6 ใยหลายเสน6 มาประกอบกัน จงึ ทำให6มีซอกมมุ ที่มีเชื้อแบคทเี รยี หลบซCอนได6 วสั ดเุ หลาC นี้จะเปราะเมอ่ื อยใูC นเนอ้ื เยื่อประมาณ 1 ปa ด6าย 29

การเลือกขนาดและวสั ดุเยบ็ แผล แผลบริเวณหนาE Nylon No 5/0 - 6/0. เปลอื กตา Prolene, Silk No 6/0 - 7/0 เย่อื บตุ า No 7/0 - 8/0 Plain gut No 3/0 - 5/0 แผลบริเวณทรวงอก หนEาทอE ง Nylon No 5/0 - 6/0 แผลบรเิ วณปลายนว้ิ Nylon No 3/0 - 5/0 แผลชัน้ ใตEผวิ หนัง Dexon, Vicryl No 3/0 - 5/0 แผลชั้นกลEามเนอ้ื Dexon, Vicryl No 2/0 - 3/0 แผลบริเวณหนงั ศีรษะ Nylon No 3/0 - 4/0 Nylon No 4/0 - 5/0 แผลบริเวณลำตัว แขนขา Nylon No 3/0 - 4/0 แผลบรเิ วณฝาo มอื หลังมอื เทEานว้ิ เทาE แผลในปาก chromic/plain catsut 30

การเตรียมอุปกรณ์เยบ็ แผล 5.นำ้ เกลอื และนำ้ ยาฆ>าเชอื้ ไดแY ก> 6. ผYากbอซ Povidine หรือ Chlorhexidine 31

ขั้นตอนการเย็บแผล 1.ยึดหลักปราศจากเช้ือ (Sterile Technique) โดยเฉพาะการใสถC งุ มอื 2.เลอื กเข็มให6เหมาะกับแผลท่ีจะเย็บเข็ม Cutting คือเข็มทม่ี คี มด6านขา6 งใช6 สำหรบั เยบ็ เน้ือท่ี มีความเหนยี ว เชนC พังผดื ผิวหนงั และเอน็ ตCางๆ เปนq ตน6 - เขม็ Taper หรือเขม็ กลม (Round) ใช6สำหรับเย็บเนื้อท่ีอCอนและไมCต6องการให6 ขอบเขม็ บาดเน้อื ไดแ6 กCการเยบ็ ลำไส6 กลา6 มเนอ้ื ตCอมตCางๆ และหลอดเลือด ปลอก ประสาท เปนq ตน6 - เขม็ โค6งมาก สำหรบั เย็บแผลแคบๆ - เขม็ โค6งนอ6 ย สำหรบั แผลท่ีมีเนอ้ื ที่เยบ็ กว6าง 32

ขั้นตอนการเย็บแผล 3. การจบั เข็ม ถ6าเปนq เขม็ เยบ็ ผ6าหรอื เขม็ ตรงใช6มือจับเยบ็ แตCถา6 เปนq เขม็ โค6ง ต6องใชค6 ีม จบั เข็มท่ปี ระมาณ 1/3 คCอนมาทางโคนเขม็ เพราะหากจับท่ปี ลายเขม็ มากไป จะทำให6แทง เขม็ ผCานโค6งเขา6 ไปใน เน้อื ที่จะเยบ็ ลำบาก สนดา6 ยท่ีจะใชเ6 ย็บ เขา6 ทีร่ เู ข็ม ตัดด6ายใหเ6 หลือ ความ ยาวประมาณ 1 คบื 33

ข้ันตอนการเยบ็ แผล 4. การใชค> ีมจบั เขม็ (Needle Holder) ควรจับให> ด>ามอย5ใู นอุง> มือน้วิ ชว้ี างใกลก> ับข>อต5อ เพื่อจะตกั ได> มนั่ คงและแมน5 ยำ Needle holder ยาว Needle holder ส<นั 34

ขนั้ ตอนการเยบ็ แผล 5.เวลาตักควรปwกเข็มลงไปตรงๆให6ตัง้ ฉากกับผวิ หนงั หรอื เน้อื ที่จะเย็บ เพราะ จะทำให6 งCาย ไมคC วรตักเฉียง เพราะผิวหนังท่ีจะถูกเยบ็ จะมคี วามยาวมากทำให6 เยบ็ ยาก และการปกw เข็มควรปwกให6หCางจากขอบแผลพอสมควร 35

ข้ันตอนการเย็บแผล 6. หมนุ เขม็ ให6ปลายเขม็ เสยข้ึน โดยใช6ขอ6 มอื อยาC ดันไปตรงๆเพราะ เขม็ โค6งอาจจะหกั ให6 ปลCอยคบี จากโคนเข็มมาจบั ปลายทโี่ ผลพC น6 ผวิ หนงั อีกดา6 นหนึ่งของแผลข้นึ มา ให6ปลายแหลม (ถ6าจับตรงปลาย แหลม จะทำใหง6 อ) แลว6 คCอยๆหมนุ เขม็ ตามความโค6งของเขม็ จนกระ ทง้ั โคน เขม็ หลดุ จากผิวหนัง 36

ข้ันตอนการเย็บแผล 7. ใชม6 อื ซ6ายจบั โคนเชือกไว6 มือขวาถือคีมจับ เขม็ รดู ออกไปจนเขม็ หลุดจากเชอื กแล6ว วางคมี มา จับปลาย เชอื กอกี ดา6 นหน่ึง จัดความยาวของเชอื ก สองดา6 นให6 เทCากัน พรอ6 มกบั ดึง ขอบแผลใหม6 า ติดกนั แลว6 ผูกเงอื่ นตาย 37

ขัน้ ตอนการเย็บแผล 8. ใชก6 รรไกรตัดไหมตัดดา6 ยโดยใหเ6 หลอื โคนไว6 ยาว ประมาณคงเซนติเมตร จะเย็บก่เี ขม็ ก็ สุดแล6วแตคC วามยาวของ แผล โดยทั่วไปจะเยบ็ แตลC ะเปลาะหาC งกันประมาณ 1 เชนติ เมตร ถา6 ยังเหน็ วCาหาC งเกินไปอาจเย็บเสริมตรงกลางได6 และ ในกรณที แ่ี ผลใหญCมากอาจเย็บเสรมิ ตรง กลางได6 และในกรณี ทแ่ี ผลใหญมC ากอาจตักเขม็ 2 ครงั้ 38

ขน้ั ตอนการเย็บแผล 9. ข6อควรปฏิบัติภายหลงั การเยบ็ แผล - เมือ่ เย็บแผลเรยี บร6อยแล6ว ให6ตรวจสอบความเรียบรอ6 ย ของแผล ดตู ำแหนCงท่มี ี เลือดออกผดิ ปกติ เพ่อื ปอ• งกันการเกิด Hematoma ในภายหลงั - ใชผ6 า6 ก<อสซบั แผลให6แหง6 แลว6 ป‚ดด6วยผ6าก<อซทมี่ ขี นาด เหมาะสมกับบาดแผล - ป‚ดทับดว6 ยพลาสเตอรƒตามแนวขวางของกลา6 มเนื้อ 39

การใหย้ าปฏิชีวนะและยาแกป้ วด 1.กรณที ีผ่ Eูปoวยไมมs ปี ระวตั แิ พEยากลุมs Penicilin พิจารณาให>ยาดงั นี้ - หากแผลปนเป‡อˆ นไม/มาก ไม/มสี ่งิ แปลกปลอมในแผล เน้ือเยือ่ ไดร> บั การบาดเจบ็ ไม/มาก ขอบแผล เรียบ เชน/ แผลถกู ของมีคมบาดให>ยา Amoxicillin ตดิ ต/อกนั นาน 5 วนั - หากแผลมกี ารปนเปอˆ‡ นมาก เนื้อเยอ่ื ช้ำแผลกระร/ุงกระรง่ิ ขอบแผลไม/เรียบ และมีสิง่ แปลกปลอม ในแผลนานเกิน 6 ชวั่ โมง ให>ยา Cloxacilin ติดตอ/ กันนาน 5 วนั หรอื อาจจะ พจิ ารณาให> Dicloxcillin ติดต/อกันนาน 5 วัน - แผลถูกสตั วหN รอื คนกัด ใหย> า Amoxicilin ติดต/อกนั นาน 5 วัน 40

การใหย้ าปฏิชีวนะและยาแกป้ วด 2. กรณที ีผ่ ปYู วf ยมีประวัติแพYยากล>ุม Penicilin ให6 พจิ ารณาให6ยา Roxithromycin ตดิ ตอC กันนาน 5 วนั 3. กรณผี Yูปวf ยมีอาการปวดใหYรักษาดYวย Paracetamol หรือถ6ามีการปวดรนุ แรง แผล มขี นาดใหญC มีการบวมชำ้ มากอาจ ใหก6 ารรักษาดว6 ยยากลCุม NSAIDs รCวมดว6 ยกไ็ ด6 โดยควรเลือกใช6 Ibruprofen เปนq ยาตวั แรกท่ีเลือกใช6 41

การใหว้ คั ซีนป้องกนั บาดทะยกั พจิ ารณาใหYวคั ซีนปอn งกันบาดทะยกั จากการซักประวัติการได6รับภมู คิ ุ6มกนั บาดทะยกั ดังน้ี - กรณีผ6ูปว‹ ยทย่ี งั ไมเ> คยไดรY บั วคั ซีนปอ• งกันบาดทะยักมากอC น หรอื ไดร6 ับมาแลว6 นานเกนิ 10 ปa ให6ฉดี 3 ครัง้ ๆละ 0.5 cc. เดอื นที่ 0, 1, 6 - กรณีท่ีผป6ู ว‹ ยเคยไดYรับวัคซีนครบ 3 ครัง้ แลว6 ไมเC กิน 10 ปa จะไมฉC ดี ซ้ำ - กรณีทผี่ 6ปู ว‹ ยไดร6 บั วักซีนครบ 3 คร้งั มาแลว6 แตCนานเกนิ 10 ปa จะฉีด Booster 1 คร้ัง 42

คาํ แนะนาํ 1. ระวังอยาC ให6แผลสกปรก และเปยa กนำ้ 2. แผลท่ีต6องพนั ผ6า หรือเขา6 เผอื ก เพอ่ื ใหเ6 คลื่อนไหวได6น6อยใน 24 ชั่วโมง แรก สังเกตการ ไหลเวยี นเลอื ด ถา6 บวม ปวดและแนนC มาก ใหม6 าพบแพทยƒกอC น วันนดั และควรยกอวัยวะท่มี ี บาดแผลใหส6 งู กวาC ระดับหวั ใจใน 24-48 ชัว่ โมงแรก เพ่อื ปอ• งกันไมใC หแ6 ผลบวม 3. ถ6ามีอาการอักเสบ ได6แกC แผลบวมแดง มีไข6 หรือ มอี าการปวด มหี นอง ให6มาพบแพทยƒ กอC นนดั 43

คาํ แนะนาํ 4. ใหม= าตัดไหมตามนดั ถา= เป1นแผลเยบ็ ไมค6 อ6 ยปลอ6 ยให=ไหมค=างไว=นานเกนิ ไป โดย - แผลที่บริเวณใบหน=า ตัดไหมประมาณวันท่ี 5 - แผลที่หนังศรี ษะ ตัดไหมประมาณวนั ที่ 7 – 10 - แผลบรเิ วณลำตวั ทไ่ี มต6 งึ มาก ตัดไหมประมาณวนั ที่ 5 - บรเิ วณข=อ ตัดไหมประมาณ วนั ท่ี 10 - 14 - แผลบริเวณ แขน ขาหรือผวิ หนงั ที่ตึงมาก ตัดไหมประมาณวันที่ 7 – 10 หรอื อาจถงึ 10-14 วนั ในตำแหน6งท่ีมีการเคลอ่ื นไหวมาก 5. แนะนำการมารบั ภูมิค=ุมกนั ต6อเนอื่ งให=ครบตามกำหนดของการใหภ= ูมคิ =ุมกัน 6. แนะนำให=รบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระ โยชนH เพื่อสง6 เสรมิ การหายของบาดแผล 44

บรรณานกุ รม คณะแพทยศN าสตรมN หาวิทยาลัยศรนี ครนิ วโิ รฒ.(2563).หัตถการการเย็บแผล.สืบค>นวนั ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2564 จาก http://med.swu.ac.th/surgery/images/SAR54/1.pdf ปย• ะนันทN วังกุลางกรู .(2560).การเยบ็ แผล (suturing).สืบคน> วนั ท่ี 21 สงิ หาคม พ.ศ.2564 จาก https://meded.psu.ac.th/binlaApp/class05/388_531/Suturing/index3.html จติ นา อาจสนั เทยี๊ ะ.(2563).การเยบ็ แผล.สืบค>นวันท่ี 21 สงิ หาคม พ.ศ.2564 จาก https://www.slc.ac.th/home/img/ebook/3/G3-1/mobile/index.html#p=1 จุฑารัตนN ผ>ูพทิ กั ษกN ลุ .(2559).Miner Operation.สืบค>นวนั ท่ี 21 สงิ หาคม พ.ศ.2564 จาก http://pws.npru.ac.th/poopitukkul/data/files.pdf มูลนธิ ฺสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน.(2560).บาดแผล.สบื คน> วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2564 จาก https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=8&chap=7&page=t8-7- infodetail16.html 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook