Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย 4 ต้นฉบับเอกสารสอนนักเรียน 32103

หน่วย 4 ต้นฉบับเอกสารสอนนักเรียน 32103

Published by pim, 2021-08-19 04:07:35

Description: หน่วย 4 ต้นฉบับเอกสารสอนนักเรียน 32103

Search

Read the Text Version

สงั คมศกึ ษานา่ รู้ BY ครนู ายสงั คมศกึ ษา https://www.ครนู ายสงั คมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ ประมวลสรปุ ความรวู้ ชิ า ส 32103 เศรษฐศาสตร์ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 – 6) สว่ นท่ี 2 เศรษฐศาสตรม์ หภาค https://www.ครนู ายสงั คมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 นโยบายการเงนิ • เงนิ คือ สื่อกลางท่ีสังคมยอมรบั เพ่อื ใช้ในการซ้อื ขายแลกเปลีย่ น เชน่ ใบไม้ หอยเบี้ย โลหะ กระดาษ เปน็ ตน้ • ประเภทของเงนิ ในปัจจุบัน มี 2 ประเภท 1. เหรียญกษาปณ์ - ผผู้ ลติ คอื โรงงานกษาปณ์ กรมธนารกั ษ์ กระทรวงการคลงั - ไม่สามารถใชแ้ ลกเปล่ยี นเงินตราต่างประเทศได้ 2. ธนบัตร - ผูผ้ ลติ คือธนาคารแห่งประเทศไทย - สามารถใชแ้ ลกเปล่ียนเงินตราตา่ งประเทศได้ * สง่ิ ทใ่ี กลเ้ คยี งกบั เงนิ คอื เช็ค (เงนิ ฝากประเภทกระแสรายวัน) • หนา้ ทข่ี องเงนิ มี 4 ประการดงั นี้ - ใช้ซ้อื ขาย แลกเปล่ียนสนิ ค้า และการบรกิ าร - ใชช้ ําระหนตี้ ามกฎหมาย - ใช้เปน็ เครอื่ งวดั มูลค่าสินค้า และการบริการ - ใช้เป็นเครือ่ งรกั ษามูลคา่ สินคา้ และการบริการ 1 #คณุ ครูคนเบ้อื งหลัง #สงั คมเคลด็ ลับฉบบั ครู วร. สงั คมศึกษาฯ วัชรวิทยา

สังคมศกึ ษาน่ารู้ BY ครนู ายสังคมศกึ ษา https://www.ครนู ายสงั คมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ • คา่ ของเงนิ มี 2 ค่า 1) ค่าภายใน คือการนําเอาเงินจํานวนหนึ่งๆไปเทียบซื้อกับสินค้าและบริการ หรือเรียกว่า อำนาจการซอื้ ของเงนิ เชน่ เงนิ 100 บาท ซอ้ื กะเพราหมกู รอบได้ 4 จาน หรอื นวดฝา่ เทา้ ได้ 1 ช่ัวโมง 1.1) คา่ ภายในลดลง หมายถึงอำนาจการซอ้ื ของเงนิ ลดลง (ซอ้ื ของไดน้ ้อยลง) ซ่ึงมกั จะ เกดิ ข้ึนในภาวะเงินเฟอ้ เชน่ อดีต 100 บาท ซ้ือกะเพราหมกู รอบได้ 4 จาน ปจั จบุ นั 100 บาท ซอ้ื กะเพราหมูกรอบได้ 2 จาน หรอื ปจั จุบนั 200 บาท ซื้อกะเพราหมูกรอบได้ 4 จาน 1.2) ค่าภายในเพิ่มขึ้น หมายถึงอำนาจการซื้อของเงินเพิ่มขึ้น (ซื้อของได้มากขึ้น) มัก เกิดขึ้นในภาวะเงนิ ฝดื เชน่ อดีต 100 บาท ซื้อกะเพราหมูกรอบได้ 4 จาน ปัจจบุ นั 100 บาท ซอ้ื กะเพราหมกู รอบได้ 8 จาน หรอื ปจั จุบัน 50 บาท ซื้อกะเพราหมูกรอบได้ 4 จาน ดชั นรี าคา (Price Index) คือราคาของสนิ คา้ และการบริการในเวลาใดเวลาหน่ึง - ดัชนีราคาสูงขน้ึ คอื ราคาแพงข้ึน ซงึ่ จะเกดิ ในภาวะเงินเฟ้อ - ดัชนรี าคาลดลง คือ ราคาลดลง ซ่ึงจะเกิดในภาวะเงนิ ฝืด สรปุ ดัชนีราคาจะ แปรผกผนั กับอำนาจการซื้อของเงิน ดัชนรี าคาสูงขึ้น อำนาจการซือ้ ของเงินจะลดลง ดัชนรี าคาต่ำลง อำนาจการซื้อของเงนิ จะเพิ่มขึ้น 2) ค่าภายนอก คือ การนําเอาเงินสกลใดสกุลหนึง่ ไปเทียบกับเงินตา่ งประเทศอีกสกลุ หน่ึง หรือ ทเ่ี ราเรยี กว่า อตั ราแลกเปลย่ี นเงนิ ตราต่างประเทศ ซึง่ จะถกู กาํ หนด โดยปัจจัย 3 ปจั จัย ได้แก่ 1. ภาวะเศรษฐกจิ (อปุ สงค์ของเงนิ สกุลดงั กล่าว) 2. Nation Bank (ธนาคารแห่งประเทศไทย) 3. IMF (International Monatary Fund) หรือกองทุนการเงินระหว่างประเทศ 2 #คณุ ครคู นเบื้องหลงั #สงั คมเคลด็ ลบั ฉบับครู วร. สังคมศึกษาฯ วัชรวิทยา

สงั คมศึกษาน่ารู้ BY ครูนายสงั คมศกึ ษา https://www.ครนู ายสังคมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วชิ า ส 32103 เศรษฐศาสตร์ ตวั อย่างคา่ เงนิ ภายนอก เชน่ 1 บาท แลกได้ 400 กีบ (ลาว) 30 บาท แลกได้ 1 ดอลลาร์ (สหรฐั อเมริกา) * คา่ เงนิ แขง็ ตวั หมายถึง สามารถแลกเงินสกลุ ต่างประเทศไดม้ ากขน้ึ เชน่ อดตี 30 บาท แลกได้ 1 ดอลลาร์ ปัจจุบัน 30 บาท แลกได้ 1.25 ดอลลาร์ หรือ ปจั จุบนั 25 บาท แลกได้ 1 ดอลลาร์ ปัจจยั ทท่ี าํ ใหเ้ งนิ แขง็ ตวั 1. ภาวะเศรษฐกจิ ประเทศอยใู่ นระดบั ดี 2. เงินไหลเขา้ ประเทศ มากกวา่ เงนิ ไหลออกนอกประเทศ (ดูได้จาก บัญชกี ารชาํ ระเงนิ ระหวา่ งประเทศ เกินดุล หรือ บัญชที นุ สาํ รองระหวา่ งประเทศ เกนิ ดุล) ผลกระทบจากเงนิ แขง็ ตวั ขอ้ ดี ภาระการชําระหนล้ี ดลง (ในสายตาคนไทย) ซ้อื สนิ ค้าจากต่างประเทศได้ถกู ลง (ในสายตาคนไทย) ข้อเสยี เงินไหลออกนอกประเทศมากข้ึน เพราะคนไทยแห่ไปซ้อื สนิ คา้ จาก ต่างประเทศ หรือไปเทีย่ วตา่ งประเทศมากข้นึ เงนิ ไหลเข้าประเทศน้อยลง เพราะต่างชาตซิ ้อื สนิ คา้ หรอื เข้ามาเทย่ี ว เมอื งไทย นอ้ ยลง (สินค้าไทยจะมรี าคาแพงขึน้ ในสายตาของต่างชาติ) คนไทยทไ่ี ดป้ ระโยชน์ คนไทยทเี่ สยี ประโยชน์ 1. ผู้นําเขา้ 1. ผ้สู ง่ ออก 2. คนไทยท่ีไปเท่ียวต่างประเทศ 2. ธรุ กจิ ท่องเทยี่ วในไทยจะซบเซา 3. ลูกหนี้คนไทยที่ยืมเงนิ จากตา่ งประเทศ 3. รัฐบาล (เงนิ ออกประเทศ > เงนิ เขา้ ) สรุป : เงนิ บาทแข็งตวั สง่ ผลใหไ้ ทยน้นั สง่ ออกน้อยลงแตน่ ําเข้ามากขึน้ 3 #คุณครคู นเบือ้ งหลัง #สังคมเคลด็ ลับฉบบั ครู วร. สังคมศึกษาฯ วัชรวิทยา

สังคมศึกษานา่ รู้ BY ครูนายสงั คมศึกษา https://www.ครนู ายสงั คมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ * คา่ เงินอ่อนตัว หมายถงึ สามารถแลกเงนิ สกุลต่างประเทศไดน้ ้อยลง: เชน่ อดตี 40 บาท แลกได้ 1 ดอลลาร์ ปจั จุบัน 40 บาท แลกได้ 0.5 ดอลลาร์ หรอื ปจั จบุ นั 80 บาท แลกได้ 1 ดอลลาร์ ปจั จยั ทท่ี าํ ให้เงนิ ออ่ นตัว 1. ภาวะเศรษฐกิจของประเทศอยู่ในภาวะทีไ่ มด่ ี 2. เงนิ ไหลออกประเทศ มากกวา่ เงินไหลเข้าประเทศ (บญั ชีการชาํ ระเงินขาดดลุ ) ผลกระทบจากเงินอ่อนตวั ขอ้ ดี เงนิ ไหลออกนอกประเทศนอ้ ยลง เพราะสินค้าและการท่องเที่ยว ตา่ งประเทศมีราคาแพงขึ้น (ในสายตาคนไทย) เงินจากต่างประเทศไหลเขา้ มามากข้นึ เพราะสินค้าไทย และการท่องเทย่ี วในไทยมรี าคาถูกลง (ในสายตาคนตา่ งชาติ) ขอ้ เสีย ภาระการชาํ ระหนี้เพ่ิมขนึ้ (ในสายตาคนไทย) สินค้าจากตา่ งประเทศมีราคาสูงข้ึน (ผนู้ ําเขา้ อว้ กแตกแน่) คนไทยทไ่ี ดป้ ระโยชน์ คนไทยทเ่ี สยี ประโยชน์ 1. ผสู้ ง่ ออก 1. ผนู้ าํ เขา้ 2. ธุรกจิ ทอ่ งเท่ียวไทยจะคกึ คัก 2. คนไทยท่ไี ปเที่ยวต่างประเทศ 3. รัฐบาล (เงนิ เขา้ ประเทศ > เงนิ ออก) 3. ลูกหน้ที ยี่ มื เงนิ จากตา่ งประเทศ สรปุ ; เงินบาทอ่อนตวั ส่งผลใหไ้ ทยนัน้ ส่งออกมากขนึ้ และนาํ เขา้ นอ้ ยลง * ววิ ัฒนาการการแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตา่ งประเทศของประเทศไทย ชว่ งเวลา ระบบแลกเปลยี่ น อดตี - พ.ศ. 2527 แบบคงท่ี พ.ศ. 2527 - 2540 แบบตะกร้าเงิน โดยผกู คา่ เงินไวก้ ับเงินหลายสกลุ พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน แบบลอยตัวแบบมกี ารจดั การ 4 #คุณครคู นเบื้องหลัง #สังคมเคลด็ ลับฉบับครู วร. สังคมศกึ ษาฯ วชั รวิทยา

สังคมศกึ ษานา่ รู้ BY ครูนายสังคมศึกษา https://www.ครูนายสงั คมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ • ปริมาณเงิน (Money Supply) คือ ปริมาณของเงินทั้งหมดที่อยู่ในมือของเอกชน (ประชาชน + ห้างรา้ นต่างๆ) โดยไม่รวม เงนิ ท่อี ยู่ในครอบครองของรฐั บาล! ซึ่งมี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ความหมาย อย่างแคบ (M 1) คือ เหรียญกษาปณ์ + ธนบัตร + เงินฝากกระแส รายวนั (เช็ค) ใน ธ.พาณชิ ย์ 2) ความหมาย อย่างกว้าง (M 2) คือ M1 + เงินฝากแบบออมทรัพย์และแบบประจำ ใน ธ.พาณิชย์ เงินฝากในบริษัทเงินทุนและบริษัทหลักทรัพย์ (หุ้น) พันธบัตรรัฐบาล และตั๋วเงิน ต่าง ๆ หมายเหตุ : ปัจจุบนั เงินในความหมายกวา้ งที่สุด (M3) จะรวมอยใู่ น M2 • ลกั ษณะของปรมิ าณเงนิ จะมี 3 ประเภท 1. เงินเฟ้อ (Inflation) คือปริมาณเงินในระบบมีมากเกินไป (พูดง่ายๆ ก็คือปริมาณเงินของ ประชาชนมีมากกว่าของรัฐบาล) ซึ่งมีผลทําให้ประชาชนเกิดความอยากซื้อ และทําให้แนวโน้ม สินคา้ และ การบริการเกอื บทกุ อย่างราคาสูงขน้ึ เรอ่ื ย ๆ คาํ ท่สี ามารถใช้แทนเงนิ เฟ้อ การวดั ว่าเกิดภาวะเงนิ เฟ้อ • เศรษฐกิจขยายตัวมากเกินไป หรอื เงินฝืด สามารถดูได้จาก • เศรษฐกิจดี ดชั นรี าคาสนิ คา้ • เงินเฟ้ออาจจะเกิดได้ในช่วงสงคราม สาเหตุ 1. ดา้ นอปุ สงค์ คือภาวะทีป่ ระชาชนท่วั ไปมรี ายไดส้ ูงขนึ้ 2. ดา้ นอปุ ทาน คือภาวะที่ตน้ ทนุ การผลติ สนิ คา้ และการบริการสูงขึ้น *** การปรบั ขนึ้ ของคา่ จ้างข้ันต่ำ เป็นสาเหตุเงนิ เฟ้อทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน ผลกระทบ ผไู้ ดเ้ ปรยี บ ผเู้ สยี เปรยี บ 1. พอ่ คา้ แม่คา้ 1. ลูกคา้ (ผูบ้ รโิ ภค) 2. ลกู หนี้ 2. เจ้าหน้ี 3. ผู้มีรายได้รายวัน 3. ผู้มีรายได้รายเดือน 5 #คุณครูคนเบือ้ งหลงั #สงั คมเคลด็ ลบั ฉบับครู วร. สงั คมศกึ ษาฯ วัชรวิทยา

สงั คมศึกษานา่ รู้ BY ครูนายสังคมศกึ ษา https://www.ครูนายสังคมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วชิ า ส 32103 เศรษฐศาสตร์ แนวทางแก้ไข ➢ ใชน้ โยบายการเงนิ แบบหดตัว โดย ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ได้แก่ - ลดการพิมพ์ธนบตั ร - ธนาคารพาณชิ ยต์ อ้ งเพมิ่ อัตราดอกเบ้ีย (ทง้ั เงินกู้และเงินฝาก) - เพม่ิ การออกขายพนั ธบัตรรัฐบาล - ลดเครดิตธนาคารพาณิชย์ - ธนาคารพาณชิ ย์เพมิ่ อัตราเงนิ สดสํารอง - ธนาคารกลางเพิ่มการขายหลักทรัพยใ์ ห้แกธ่ นาคารพาณชิ ย์และเอกชน - ข้นึ อัตราชว่ งรบั ซ้ือตวั๋ สัญญา ➢ ใชน้ โยบายการคลงั แบบหดตวั โดย รฐั บาล ได้แก่ - จดั ทําแผนงบประมาณแบบเกนิ ดุล (รายได้ มากกว่า รายจา่ ย) - ขึน้ ภาษแี ละลดสวัสดิการ - ลดภาษีดอกเบ้ยี เงินฝาก (ไม่ใช่ลดดอกเบีย้ เงินฝากนะคับ) ของประชาชน (ทําใหป้ ระชาชนแห่นาํ เงนิ ของตนไปฝากธนาคารมาก ๆ) - ผลักภาระต่าง ๆ ของรัฐใหแ้ ก่ประชาชน เชน่ ใหส้ รา้ งระบบสาธารณปู โภคต่าง ๆ ดว้ ยเงินของประชาชนทลี่ งขนั กนั เอง 2. เงินฝดื (Deflation) คือ ปริมาณเงินในระบบมีน้อยเกินไป (พูดงา่ ย ๆ กค็ อื เงนิ ของรฐั บาลมี มากกว่าเงินของประชาชน) ซึ่งมีผลทําให้ประชาชนมีความรู้สึกไม่อยากซื้อสินค้า เนื่องจาก กระเป๋าตังค์ของประชาชน หดตัวเกินไป อันเป็นผลทําให้แนวโน้มราคา สินค้าและการบริการ เกือบทุกอย่างต่ำลงเรื่อย ๆ จนทําให้ผู้ผลิตสินค้าต้องลดภาระรายจ่าย โดยการปลดคนงาน บางส่วนออก ทําให้ให้กลายเป็นคนตกงาน และอาจจะเป็นอาชญากรตามมาก็ได้ ฉะนั้นต้องทํา ให้กระเปา๋ ตงั คข์ องประชาชนให้ ขยายตัวเร็วทีส่ ดุ ) การกระตุ้นใหป้ ระชาชนออมเงนิ คาํ ที่มักจะใชแ้ ทนเงนิ ผิด ฯ จะทําใหเ้ กิดภาวะเงินฝืดนะคับ • เศรษฐกิจตกต่ำ • เศรษฐกิจไม่ดี ซึ่งจะทาํ ใหเ้ ศรษฐกิจย่งิ แย่เขา้ ไปใหญ่ • เศรษฐกิจอบเซา • เศรษฐกจิ ถดถอย • เศรษฐกจิ ชะลอตัว • เศรษฐกจิ หดตัว 6 #คุณครูคนเบอื้ งหลงั #สงั คมเคลด็ ลบั ฉบับครู วร. สังคมศึกษาฯ วัชรวิทยา

สงั คมศกึ ษานา่ รู้ BY ครูนายสังคมศกึ ษา https://www.ครนู ายสงั คมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ สาเหตุ 1. ธนาคารแห่งชาตพิ ิมพธ์ นบัตรออกมาน้อยเกินไป 2. อตั ราดอกเบ้ยี ของธนาคารอยใู่ นระดับสูงเกนิ ไป (แบงค์ปล่อยกู้โคตรยากเลย) 3. ประชาชนแห่มาซือ้ พนั ธบตั รรัฐบาลมากเกินไป 4. รฐั บาลใช้ แผนงบประมาณแผน่ ดินแบบเกินดลุ 5. อนื่ ๆ เชน่ รฐั บาลผลกั ภาระต่าง ๆ ใหแ้ ก่ประชาชนเป็นผู้ออกค่าใชจ้ า่ ยมากเกินไป ผลกระทบ ผเู้ สยี เปรยี บ ผไู้ ดเ้ ปรยี บ 1. พอ่ ค้า แมค่ า้ 2. ลูกหนี้ 1. ลกู คา้ (ผู้บรโิ ภค) 3. ผู้มีรายได้รายวัน 2. เจ้าหน้ี 3. ผู้มีรายได้รายเดือน แนวทางแกไ้ ข ➢ ใชน้ โยบายการเงนิ แบบขยายตวั ไดแ้ ก่ - เพมิ่ การพิมพ์ธนบตั ร - ธนาคารพาณชิ ย์ลดอัตราดอกเบี้ย (ทงั้ เงินก้แู ละเงนิ ฝาก) - ลดการขายพันธบัตรรฐั บาล - เพม่ิ เครดิตธนาคารพาณชิ ย์ - ธนาคารพาณิชย์ลดอตั ราเงินสดสํารอง - ธนาคารกลางลดการขายหลักทรัพยใ์ หแ้ ก่ธนาคารพาณิชยแ์ ละเอกชน - ลดอตั ราช่วงรบั ซ้ือตัว๋ สัญญา ➢ ใชน้ โยบายการคลงั แบบขยายตวั ได้แก่ - จดั ทําแผนงบประมาณแบบขาดดลุ (รายจา่ ย มากกวา่ รายได)้ - ลดภาษแี ละเพม่ิ สวัสดิการ - รฐั ต้องเพมิ่ การโครงการต่าง ๆ ของรัฐให้แกป่ ระชาชน และเร่งสรา้ งงานใหแ้ ก่ ประชาชน ตลอดจนต้องกระตุ้นให้คนมา Shopping มากขน้ึ เงินจะได้สะพัด 7 #คุณครูคนเบอ้ื งหลงั #สังคมเคลด็ ลับฉบบั ครู วร. สงั คมศึกษาฯ วัชรวิทยา

สังคมศึกษาน่ารู้ BY ครูนายสังคมศึกษา https://www.ครูนายสังคมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วชิ า ส 32103 เศรษฐศาสตร์ 3. เงินดึงตัว คือภาวะที่ปริมาณเงินในระบบมีจํากัดเนื่องจากธนาคารพาณิชย์ไม่ปล่อยกู้ให้แก่ ประชาชน ผลกระทบ ทําให้ไม่เกดิ การลงทุนหรือจา้ งงานเพิ่ม แนวทางแกไ้ ข ปล่อยกูเ้ พมิ่ หรอื ลดอัตราดอกเบ้ยี (ทัง้ เงนิ กแู้ ละเงินฝาก) การธนาคาร • ธนาคาร หมายถึงสถาบันที่ทําหน้าที่รับฝากเงิน ปล่อยสินเชื่อ ตลอดจนหน้าที่ในด้านต่าง ๆ เช่น รับชําระค่าน้ำ-ไฟ โอนเงนิ • ธนาคารแบง่ ออกเปน็ 4 ประเภทดงั น้ี 1 ธนาคารแหง่ ชาติ 2 ธนาคารพาณชิ ย์ 3 ธนาคารท่ตี ั้งขึ้นมาเพือ่ วัตถุประสงคเ์ ฉพาะอย่าง 4 สถาบนั ท่ที าํ หน้าทใ่ี กล้เคียงกับธนาคาร • ธนาคารแหง่ ชาติ หรอื ธนาคารแหง่ ประเทศไทย (แบงคช์ าต)ิ สถานะ มีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นรูปแบบรัฐวิสาหกิจ ภายใต้การดูแลของผู้ว่าการ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย และมีอำนาจหนา้ ทีด่ ังน้ี 1. กําหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (ควบคุมเงินอ่อน - เงินแข็ง ซึ่งต้อง ปรึกษาร่วมกบั ลกู พใ่ี หญ่ น่ันคือ IMF) 2. เปน็ นายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย์ และกำกบั ดแู ลสถาบันการเงนิ ภายในประเทศ 3. รกั ษาทนุ สํารองระหว่างประเทศ (ได้แก่ เงินบาท เงนิ ตราตา่ งประเทศ และทองคํา) 4. รกั ษาเสถยี รภาพปริมาณเงนิ ในประเทศ (ควบคุมเงนิ ไม่ให้เฟ้อ - ฝืดเกินไป) 4.1 ควบคุมการพมิ พธ์ นบตั ร 4.2 ควบคุมการขายพนั ธบตั ร 4.3 ควบคุมอัตราดอกเบย้ี ธนาคารพาณชิ ย์ 4.4 ควบคุมปรมิ าณเงินสดสาํ รองของธนาคารพาณชิ ย์ 8 #คณุ ครคู นเบ้ืองหลงั #สงั คมเคลด็ ลับฉบบั ครู วร. สังคมศกึ ษาฯ วชั รวิทยา

สงั คมศกึ ษานา่ รู้ BY ครนู ายสงั คมศึกษา https://www.ครูนายสงั คมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ • ธนาคารพาณชิ ย์ 1. ธนาคารพาณิชย์เอกชน เชน่ ธนาคารกรุงเทพฯ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ไทยพาณิชย์ กสกิ ร ไทย ทิสโก้ เป็นตน้ 2. ธนาคารพาณิชย์ของรฐั บาลคือธนาคารกรงุ ไทย หน้าท่ี 1) รับฝากเงนิ 2) ปล่อยสินเช่ือ 3) รับซอื้ ต๋วั เงนิ จากประชาชน 4) อ่ืน ๆ เชน่ ชําระหนนี้ ้ำไฟ โอนเงิน ฯลฯ • ธนาคารทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะอยา่ ง 1. ธนาคารออมสนิ (อินเทรนด์ แนวเศรษฐกจิ พอเพยี งแบบสดุ ๆ) 2. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) 3. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธ.อ.ส.) 4. ธนาคารอสิ ลามแห่งประเทศไทย 5. ธนาคารเพอ่ื พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs Bank) 6. ธนาคารเพอ่ื การส่งออกและนําเขา้ แหง่ ประเทศไทย (EXIM Bank) • สถาบนั ทท่ี าํ หนา้ ทใ่ี กลเ้ คยี งกบั ธนาคาร 1. สหกรณ์ หมายถึงสถาบันการเงินที่เกิดจากการรวมตัวกันของสมาชิกตั้งแต่ 2 คนข้ึน ไป เพือ่ ช่วยเหลอื สมาชกิ โดย ไมห่ วงั ผลกําไร 1.1 สหกรณ์การเกษตร เชน่ ลาํ ไย ลน้ิ จ่ี สม้ ) 1.2. สหกรณ์ประมง ** 1.1-1.4 สามารถให้สมาชิกกู้ยืมเงินได้ 1.3 สหกรณบ์ ริการ เชน่ แท็กซี่ รถแดง 1.4 สหกรณ์ออมทรพั ย์ เชน่ ครู ทหาร 1.5 สหกรณร์ ้านคา้ เชน่ โรงเรยี น โรงงาน สมาชิกจะไดเ้ งินปันผลในปลายปี ยิ่งซือ้ มาก กจ็ ะไดเ้ งนิ ปนั ผลมากนะคับ) แต่สมาชกิ ไม่สามารถกู้ยมื เงนิ ได้ 9 #คุณครูคนเบ้ืองหลัง #สงั คมเคลด็ ลบั ฉบับครู วร. สงั คมศกึ ษาฯ วชั รวิทยา

สงั คมศึกษานา่ รู้ BY ครูนายสังคมศึกษา https://www.ครูนายสงั คมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ 2. สถานธนานุบาล - ธนานเุ คราะห์ หรือ โรงรับจาํ นาํ 3. บรษิ ัทเงินทนุ หลักทรพั ยท์ ่ีใหก้ ้เู พ่อื นาํ เงนิ ไปลงทุน เช่น เกยี รตินาคนิ กิมเอง เป็นต้น 4. บริษัทเครดิตฟองซเิ อรใ์ ห้กเู้ พือ่ ลงทนุ โดยการใชอ้ สงั หาริมทรัพยค์ ้ำประกัน NOTE ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... นโยบายการคลงั • การคลงั คอื เศรษฐกิจภาครัฐบาลซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับโดยคณะรฐั มนตรี • อำนาจหนา้ ทข่ี องกระทรวงการคลงั 1. งบประมาณแผน่ ดิน (รายรบั - รายจ่าย) 2. ภาษี - สวสั ดกิ าร 3. การกอ่ หน้ี (ก่อให้เกดิ หน้สี าธารณะ) 4. เหรียญกษาปณ์ 5. เครอื่ งมอื ในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกจิ ต่อปัญหาการกระจายรายได้ เชน่ การประกัน ราคา การพยงุ ราคา • งบประมาณแผ่นดิน คือ แผนของรัฐบาลในการกําหนดรายรับ - รายจ่ายของรัฐต่อประชาชน ซง่ึ จะตอ้ งจัดทาํ เปน็ พระราชบัญญัติ (ตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากรฐั สภาเสียกอ่ น) • การเร่มิ นับแผนงบประมาณประจาํ ปี เริ่มจาก วนั ที่ 1 ตลุ าคม ของปีทผี่ า่ นมา จนถงึ วนั ที่ 30 กนั ยายน ของปปี จั จบุ นั เชน่ งบประมาณปี 2564 เรมิ่ นับจาก วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2563 จนถงึ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2564 10 #คณุ ครคู นเบอ้ื งหลงั #สงั คมเคลด็ ลับฉบับครู วร. สงั คมศกึ ษาฯ วชั รวิทยา

สังคมศกึ ษานา่ รู้ BY ครูนายสังคมศึกษา https://www.ครูนายสังคมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ ปีงบประมาณ 2564 เปน็ งบประมาณแบบขาดดลุ (รายได้ 2.67 ล้านลา้ นบาท และรายจ่าย 3.28 ลา้ นล้านบาท) ขาดดุลท้งั หมด 608,962.5 ลา้ นบาท คาดวา่ หนสี้ าธารณเมื่อสนิ้ ปงี บประมาณ 9.3 ลา้ นลา้ นบาท หรอื 57% ของจดี พี ี (11 October 2020.) • โครงสรา้ ง (สว่ นประกอบ) ของงบประมาณแผน่ ดนิ 1. รายรบั 1.1 รายได้ 1) ภาษี มี 2 ประเภท คือ - ภาษีทางตรง (44.3%) คือภาษีที่รัฐบาลจะเรียกเก็บจากผู้ที่มีรายได้ โดยตรงหรอื เจ้าของทรพั ยส์ ิน เชน่ ภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา/นิตบิ ุคคล ภาษีโรงเรอื น ภาษีท่ีดิน ภาษปี ้าย เป็นตน้ - ภาษีทางออ้ ม (55.79%) คอื ภาษที ผี่ ูข้ ายสามารถผลักภาระไปให้แก่ผู้ซื้อ ได้ เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ VAT (ปัจจุบันมีอัตรา 7%) ภาษีศุลกากร ภาษีสรรสามิตร ภาษี น้ำมัน เป็นต้น 2) รฐั พาณิชย์ (รฐั เป็นผูค้ ้า) เช่น การบินไทย โรงงานยาสูบ ไฟฟ้า ประปา 3) ค่าธรรมเนียม คา่ ปรับตา่ ง ๆ 1.2 เงนิ กู้ (ทาํ ใหเ้ กิดหนส้ี าธารณะ) โดยจะมแี หลง่ เงนิ ก้จู าก 2 แหล่งดงั นี้ 1) กู้ภายใน (จากประชาชน) โดยการปล่อยขายพันธบัตรรัฐบาลให้แก่ ประชาชนหรอื เอกชน 2) ก้ภู ายนอก (จากตา่ งประเทศ) - IMF ให้กูย้ มื สำหรับนาํ ไปรักษาทุนสํารองระหวา่ งประเทศ - World Bank ใหก้ เู้ พอื่ นําไปพัฒนาประเทศ 1.3 เงนิ คงคลัง คือของรัฐบาลทเ่ี หลอื จากงบประมาณของปีทผ่ี า่ นมา 11 #คุณครคู นเบือ้ งหลัง #สงั คมเคลด็ ลับฉบบั ครู วร. สังคมศึกษาฯ วัชรวิทยา

สังคมศึกษานา่ รู้ BY ครนู ายสังคมศกึ ษา https://www.ครูนายสังคมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วชิ า ส 32103 เศรษฐศาสตร์ ฐานภาษี (Tax Base) คือสิ่งทถี่ กู ใช้เปน็ ฐานในการประเมนิ การจัดเก็บภาษอี ากรแตล่ ะประเภท ตาม อัตราภาษีที่กําหนดไว้ โดยทั่วไปฐานภาษีมักเป็นสิ่งที่สามารถใช้เป็นเครื่องวัด ความสามารถในการเสีย ภาษีของบุคคลได้ด้วย สิ่งที่ใช้เป็นฐานในการจัดเก็บภาษีอาจได้แก่ รายได้ มลู ค่าของทรัพย์สิน คนไทยทกุ คนมหี นา้ ทต่ี อ้ งเสยี ภาษี ไม่ว่าจะมงี านทาํ หรอื ไม่มงี านทาํ ท่ีเหน็ ง่ายๆกค็ ือ ตอ้ งเสีย ภาษมี ลู คา่ เพ่มิ (VAT) ทมี่ นั มากบั สินคา้ ทุกชนดิ ใน 7-eleven หนสี้ าธารณะ (Public Debt) คอื การกู้ยืมเงนิ ของรัฐบาลเมอ่ื รฐั บาลมีรายไดไ้ ม่เพยี งพอต่อ รายจา่ ย จึงจําเปน็ ต้องกู้เงินมาใช้จา่ ย โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐบาลของประเทศกําลงั พฒั นาซ่ึง รัฐบาลจะก่อ หนีส้ าธารณะได้ 2 แบบ คอื 1. หนี้สาธารณะทร่ี ัฐบาลกูย้ ืมเงนิ โดยตรง เชน่ กู้จาก IMF, รฐั บาลญีป่ นุ่ , การจาํ หนา่ ยพนั ธบตั ร ใหแ้ ก่ เอกชน หรือธนาคารแห่งประเทศไทย เปน็ ต้น 2. หนี้สาธารณะท่ีรฐั บาลเปน็ ผู้คาํ้ ประกัน เชน่ คา้ํ ให้แก่รฐั วิสาหกจิ ตา่ ง ๆ ได้แก่ การไฟฟ้า การ ประปา ได้กเู้ งนิ จากต่างชาตเิ พ่อื นาํ ไปลงทุนในโครงการพน้ื ฐานและพฒั นาประเทศ รฐั วสิ าหกจิ คือกจิ การท่รี ฐั บาลเป็นเจา้ ของ (ถือหุ้นเกิน 50%) และมวี ัตถุประสงค์เพอ่ื แสวงหา กําไร เพ่อื นํารายไดด้ ังกลา่ วมาพฒั นาประเทศ ตัวอยา่ งรัฐวิสาหกิจ เชน่ กฟภ. ปตท. 2. รายจ่าย 2.1 เงินเดอื นข้าราชการ 2.2 พฒั นาประเทศ 2.3 ปอ้ งกนั ประเทศ 2.4 ใชห้ น้ี 2.5 อื่น ๆ เช่น เงินช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ NOTE ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . 12 #คุณครคู นเบอ้ื งหลัง #สงั คมเคลด็ ลับฉบบั ครู วร. สงั คมศกึ ษาฯ วัชรวิทยา

สงั คมศึกษานา่ รู้ BY ครูนายสงั คมศึกษา https://www.ครนู ายสงั คมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วชิ า ส 32103 เศรษฐศาสตร์ • ประเภทของแผนงบประมาณ (เปรียบเทียบระหว่าง รายได้ กบั รายจา่ ย) 1. งบประมาณแบบเกินดลุ (รฐั บาลจะเอากาํ ไรจากประชาชน) คือ รายได้มากกวา่ รายจา่ ย ใชเ้ พื่อแกไ้ ขปญั หาเงนิ เฟอ้ แตถ่ า้ ใช้นานเกนิ ไปอาจจะทาํ ใหเ้ กดิ ปัญหาเงินฝดื 2. งบประมาณแบบขาดดลุ (รัฐบาลยอมขาดทนุ ต่อประชาชน) คอื รายจ่ายมากกวา่ รายได้ ใช้เพื่อแกไ้ ขปญั หาเงนิ ฝดื หรอื เพื่อกระตุ้นเศรษฐกจิ แต่ถ้าใชน้ านเกนิ ไปอาจทําให้เกดิ ปัญหาเงนิ เฟ้อ 3. งบประมาณแบบสมดลุ คอื รายได้ = รายจ่าย สรุป การใช้นโยบายการคลังของรัฐบาลเพื่อรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจ รัฐบาลจะทาํ ตรงข้ามกับประชาชนทั่วไป คือ รัฐบาลจะใช้จ่ายให้น้อยลงในเวลาที่เศรษฐกิจดี (ช่วงที่ประเทศ เกิดภาวะเงินเฟ้อ) และจะใช้จ่ายให้มากขึ้นในเวลาที่เศรษฐกิจไม่ดี (ช่วงที่ประเทศเกิดภาวะเงิน ฝืด) ตารางสรปุ มาตรการการแกไ้ ขปญั หาเงนิ ภาวะเงนิ มาตรการ นโยบายการเงนิ นโยบายการคลงั แผนงบประมาณ เงนิ เฟอ้ หดตัว หดตวั เกนิ ดุล เงนิ ฝดื ขยายตวั ขยายตัว ขาดดุล ธนาคารโลกไดจ้ ดั กลุ่มจัดกลุ่มประเทศตามระดบั รายได้ไว้ 4 กลุม่ ดงั น้ี 1. ฐานะรวย มี 60 ประเทศ เช่น France, Netherlands, Spain, Sweden, Belgium, Canada, Finland, Czech, Hong Kong, Japan, Korea, Kuwait, UK, US 2. ฐานะปานกลางค่อนข้างรวย มี 41 ประเทศ เช่น Argentina, Mexico, South Africa, Malaysia, Thailand 3. ฐานะปานกลางค่อนข้างจน มี 55 ประเทศ เช่น Bhutan, Bolivia, Cameroon, Philippines, Peru, Egypt, 4. ฐานะยากจน มี 53 ประเทศ เชน่ Afghanistan, India, Bangladesh, Ethiopia, Mali ทีม่ า: World Bank list of economies (July 2011) 13 #คณุ ครูคนเบื้องหลงั #สงั คมเคลด็ ลับฉบับครู วร. สงั คมศกึ ษาฯ วชั รวิทยา

สังคมศกึ ษานา่ รู้ BY ครูนายสงั คมศกึ ษา https://www.ครูนายสงั คมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ การพฒั นาเศรษฐกจิ 3 1 4 2 ประเทศไทย ตา่ งประเทศ สมมตุ ิ 1 คือรายไดข้ องคนไทย ในประเทศไทย (900 ล้านบาท) 2 คอื รายไดข้ องคนตา่ งชาติ ในประเทศไทย (100 ล้านบาท) 3 คอื รายได้ของคนตา่ งชาติ ในต่างประเทศ ( - ) 4 คอื รายไดข้ องคนไทย ในตา่ งประเทศ (40 ลา้ นบาท) การพฒั นาเศรษฐกจิ สามารถวดั ไดจ้ ากดัชนี ตอ่ ไปน้ี • GDP (Gross Domestic Product) หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ คือมูลค่า ของสินค้าและการบรกิ ารข้ันสุดทา้ ย ท่ถี กู ผลิตขนึ้ ในประเทศในช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตขึ้นมาด้วยทรัพยากรของชาติใด เช่น หากเป็น อตุ สาหกรรมตา่ งประเทศ ถ้ามาทำธรุ กิจในประเทศไทย จะถอื ว่าเป็น GDP ของไทยทงั้ หมด ไม่ วา่ จะสญั ชาตใิ ดก็ตาม สตู ร(ลดั ) GDP = 1 + 2 (900 ลา้ นบาท +100 ล้านบาท) = 1,000 ล้านบาท สตู ร GDP = C+I+G+(X-M) โดยท่ี C คอื Consumption (รายจา่ ยเพอ่ื การบริโภค) หมายถงึ การบริโภคของภาคเอกชน และ ประชาชน ซึ่งรวมค่าใช้จ่ายสว่ นบคุ คลแทบท้งั หมด เชน่ คา่ อาหาร สาธาณูปโภค เปน็ ต้น แต่ ไม่รวมการซอ้ื ทีอ่ ยอู่ าศัยหลงั ใหม่ 14 #คุณครูคนเบื้องหลงั #สังคมเคลด็ ลับฉบับครู วร. สงั คมศกึ ษาฯ วชั รวิทยา

สังคมศึกษานา่ รู้ BY ครูนายสังคมศึกษา https://www.ครูนายสงั คมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ I คือ Investment (การลงทุนภาคเอกชน) หมายถึง การลงทุนของธุรกิจในสินคา้ ทนุ ของภาคเอกชน เชน่ การก่อสร้างอสงั หารมิ ทรัพย์, เครื่องจักรสำหรับโรงงาน เป็นต้น G คือ Government Spending (รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการโดยรัฐบาล) หมายถึง ค่าใช้จา่ ยท้งั หมดของรฐั บาลทีใ่ ช้ซ้อื สินคา้ และบริการขั้นสดุ ท้าย ซึ่งรวมถงึ เงินเดือนของ ข้าราชการ การซื้ออาวธุ ทางทหาร และคา่ ใชจ้ ่ายลงทนุ ของรัฐ (X-M) คือ รายจ่ายเพ่ือการนำเขา้ และสง่ ออก X = Export (สง่ ออก + ท่องเทย่ี ว) *มีผลตอ่ GDP ของประเทศไทยมากท่สี ดุ I = Import (นำเขา้ ) วธิ กี ารวดั GDP จะมี 2 วิธี ดงั น้ี 1. การวดั รายไดท้ ีไ่ ดจ้ ากการขายสนิ คา้ และบรกิ ารขนั้ สดุ ทา้ ย GDP = คา่ จ้างและเงินเดือนลูกจ้าง + รายไดเ้ จ้าของธรุ กิจสว่ นตวั + กําไรของบริษทั + ดอกเบี้ย(รายได้เจา้ หน)ี้ + ค่าเช่า (รายได้เจา้ ของสินทรัพย์) +ภาษธี รุ กจิ ทางออ้ ม +ค่าเสอ่ื มราคา +รายไดส้ ทุ ธขิ องคนต่างชาติในประเทศ 2. การวดั รายจา่ ยทจ่ี า่ ยใหส้ นิ คา้ และบรกิ ารขนั้ สดุ ทา้ ย GDP = รายจา่ ยเพื่อบริโภค +รายจ่ายเพ่ือลงทนุ รายจ่ายรัฐบาล – รายจ่ายสทุ ธิ ของตา่ งประเทศทซ่ี อ้ื สินค้าผลิตในประเทศ * GNP (Gross National Product) หรือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ คือมูลค่าของ สินค้าและการบริการขั้นสุดท้ายที่ ถูกผลิตขึ้นจากประชากรในสัญชาติเดียวกันทั้งหมด ในช่วง เวลาหนึง่ ๆ (นบั เฉพาะรายได้จากคนไทยเทา่ น้นั ไม่ว่าจะอยปู่ ระเทศใดในโลกน้ีก็ตาม) สตู ร ลดั GNP = 1 + 4 (900 ลา้ นบาท + 40 ล้านบาท) = 940 ล้านบาท สตู ร GNP = GDP + รายไดค้ นไทยจากตา่ งแดน - รายได้จากต่างแดนในไทย 15 #คณุ ครูคนเบือ้ งหลัง #สงั คมเคลด็ ลบั ฉบับครู วร. สงั คมศึกษาฯ วัชรวิทยา

สงั คมศกึ ษานา่ รู้ BY ครูนายสงั คมศึกษา https://www.ครูนายสงั คมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ สรปุ ความแตกตา่ งระหวา่ ง GDP และ GNP GDP เอาไว้วดั ระดบั การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศซง่ึ คดิ เปน็ % GNP เอาไว้วัดความม่งั คั่ง ร่ำรวยของประเทศ * ประเทศที่รวยแลว้ จะมี GNP มากกว่า GDP * ประเทศท่ีกําลังพัฒนา จะมี GDP มากกวา่ GNP ขอ้ จาํ กดั ของ GDP และ GNP 1. ไม่สามารถนําไปใช้วดั การกระจายรายได้ของคนในประเทศได้ 2. ไมส่ ามารถคาํ นวนรายไดจ้ ากอาชีพอสิ ระได้ เช่น นกั รอ้ งตามผบั เปดิ ท้ายขายของ 3. เป็นการวัดได้แค่ประมาณและราคาของสินค้าและการบริการ แต่ไม่สามารถวัด คุณภาพของสินคา้ ได้ NOTE ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . 16 #คุณครูคนเบื้องหลงั #สังคมเคลด็ ลบั ฉบบั ครู วร. สังคมศกึ ษาฯ วัชรวิทยา

สงั คมศึกษาน่ารู้ BY ครนู ายสังคมศกึ ษา https://www.ครูนายสงั คมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วชิ า ส 32103 เศรษฐศาสตร์ NI (National Income) รายได้ประชาชาติ หมายถึงรายได้ของคนทั้งชาติ ได้แก่ ค่าเช่า + ค่าจา้ ง + ดอกเบ้ยี + กำไร โดยหัก ค่าเสอื่ มราคา ค่าภาษที างออ้ ม และคา่ ระวาง ค่าขนส่ง) สตู ร NI = คา่ เช่า + ค่าจ้าง + ดอกเบ้ีย + กำไร หรือ สตู ร NI = GNP - คา่ เสื่อมราคา - ค่าภาษีทางออ้ ม – คา่ ระวาง ขอ้ ดี - เปรียบเทียบฐานะเศรษฐกิจของชาติปีนี้ : ปที ่ีแล้ว เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการวางแผน พัฒนาประเทศ - เปรยี บเทยี บกบั เศรษฐกจิ ประเทศอน่ื ขอ้ เสีย - คำนวณเฉพาะสินค้าเสยี ภาษีเท่านนั้ ไมร่ วมสนิ คา้ ไม่เสียภาษี - จงึ มีความคาดเคล่ือนสูง - วัดแคเ่ ชงิ ปริมาณเทา่ นัน้ ไม่ไดว้ ัดในเชิงคุณภาพ (ไมไ่ ด้บอกการกระจายรายได้) PCI (Per Capita Income) หรือ รายไดต้ ่อหัว หมายถึง รายไดต้ อ่ บุคคล ในรอบ 1 ปี สูตร PCI = NI ประชากรทง้ั ประเทศ สรปุ ตวั เลขของ GDP GNP NI และ PCI ขอ้ ดี ใช้วดั อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ ขอ้ เสยี ไม่สามารถสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงระดบั การกระจายรายไดอ้ ย่างแท้จริง การวดั ระดับการเปดิ ประเทศ (Degree of Opennes) วัดจาก อตั ราส่วนระหว่างมลู คา่ สนิ คา้ เขา้ และสนิ คา้ ออก กบั ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ Export + Import GDP 17 #คณุ ครคู นเบ้อื งหลัง #สงั คมเคลด็ ลับฉบับครู วร. สังคมศึกษาฯ วัชรวิทยา

สังคมศกึ ษาน่ารู้ BY ครูนายสังคมศึกษา https://www.ครนู ายสังคมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ NOTE ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . 18 #คุณครูคนเบื้องหลัง #สงั คมเคลด็ ลบั ฉบับครู วร. สงั คมศึกษาฯ วชั รวิทยา

สังคมศึกษานา่ รู้ BY ครนู ายสงั คมศึกษา https://www.ครูนายสังคมศึกษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ การพฒั นาเศรษฐกจิ ของไทย เรมิ่ มีการพฒั นาอย่างมีแบบแผนตงั้ แตย่ คุ ที่ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เปน็ นายกรฐั มนตรี โดยเริ่มมีการ ใช้แผนพัฒนา เศรษฐกิจ ฉบับที่ 1 ใน พ.ศ. 2504 โดยแผนแรกมีอายุ 6 ปี แต่ สําหรับแผนต่อ ๆ ไป จนกระทั่งถึงแผนปัจจุบันมีอายุ 5 ปี ซึ่ง แนวคิดในการจัดทําแผนพัฒนา เศรษฐกิจได้รับการสนบั สนนุ จาก ประเทศสหรฐั อเมริกา แผนท่ี 1 พ.ศ. 2504 – 2509 เนน้ การปพู ืน้ ฐานระบบสาธารณูปโภค และเรง่ พัฒนาเมอื งหลวง แผนท่ี 2 พ.ศ. 2510 - 2514 เนน้ การเพ่มิ กําลังการผลติ ของประเทศและรายได้ประชาชาติ แผนที่ 3 พ.ศ. 2515 – 2519 เนน้ การเพ่มิ ความสาํ คญั ในการพัฒนาสว่ นภมู ภิ าคให้มากขนึ้ ในทุกภาค นโยบายประชากรคร้งั แรก แผนท่ี 4 พ.ศ. 2520 - 2524 เนน้ การทีจ่ ะฟื้นฟูและรกั ษาเสถียรภาพของประเทศให้ม่ันคงขึ้น แผนท่ี 5 พ.ศ. 2525 - 2529 เน้นโครงสร้างเศรษฐกิจให้มีการกระจายผลการพัฒนาให้ถึงมือ ชาวชนบทที่ยากจนใหท้ ่วั ถึง แผนท่ี 6 พ.ศ. 2530 - 2534 เน้นการยกระดบั การพัฒนาประเทศเพื่อให้เศรษฐกิจไทย ขยายตวั สงู แผนท่ี 7 พ.ศ. 2535 - 2539 เน้นรกั ษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ใหอ้ ย่ใู นระดบั ท่ีเหมาะสม แผนที่ 8 พ.ศ. 2540 – 2544 เนน้ การพฒั นามนุษยเ์ ปน็ ศูนย์กลาง แผนที่ 9 พ.ศ. 2545 - 2549 เน้นเศรษฐกิจพอเพยี ง แผนท่ี 10 พ.ศ. 2550 - 2554 เน้นเศรษฐกิจพอเพียง แผนท่ี 11 พ.ศ. 2555 - 2559 เน้นเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนามนุษย์ และการพัฒนาอย่าง ยง่ั ยืน แผนท่ี 12 พ.ศ. 2560 – 2564 นำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มาขยายผลใช้ในแผนเปน็ ครง้ั แรก NOTE ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... 19 #คุณครคู นเบ้อื งหลงั #สังคมเคลด็ ลบั ฉบบั ครู วร. สังคมศกึ ษาฯ วัชรวิทยา

สงั คมศกึ ษาน่ารู้ BY ครูนายสงั คมศกึ ษา https://www.ครูนายสงั คมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ ผลที่ตามมาอันเกิดจากการที่ประเทศไทยใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่ฉบับที่ 1- ปจั จบุ ัน ไดแ้ ก่ 1. เกิดความเหลือ่ มล้ำในเร่ืองของการกระจายรายไดส้ งู ขึ้น 2. อตั ราความยากจนลดลง (ฐานะความเปน็ อยู่ของคนไทยดขี ึน้ ) 3. มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างกว้างขวาง จนนําไปสู่ความเสื่อมโทรมของ ส่งิ แวดลอ้ ม วกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ของไทย • เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 (โรคต้มยํากุ้ง) หรือ Asia Financial Crisis เนื่องจากค่าเงิน บาทแขง็ ตัวมากเกินไป สาเหตุ 1. ประเทศไทยขาดดุล บัญชเี ดนิ สะพดั ติดตอ่ กันหลายปี 2. เศรษฐกิจไทยขาดความเชื่อมั่น ทําให้นักลงทุนต่างชาติถอนทุนออกจากไทยและ ภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 3. ระบบอัตราแลกเปลย่ี นแบบคงทท่ี อี่ งิ กับตะกรา้ เงนิ ท่ี เราใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2527 (โดยอิงกับเงินสกุลสําคัญๆ เช่น ดอลลาร์ ปอนด์ เยน เป็นต้น) ท่ที ําใหเ้ งนิ บาทไทยแขง็ เกินความเปน็ จริง ผล 1. ไทยก้เู งินจาก IMF เพือ่ รักษาเสถยี รภาพของค่าเงินบาท (นโยบายปกปอ้ งคา่ เงนิ บาท) 2. ไทยต้องเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยนจาก แบบคงที่ที่อิงกับตะกร้าเงิน (อิงค่าเงินจากเงินสกุลสําคัญ ของโลก เช่น ดอลลาร์ ปอนด์ เยน) มาเป็น แบบลอยตัวภายใต้ การจัดการ ของธนาคารแหง่ ประเทศไทย ตั้งแต่ วนั ที่ 2 ก.ค. 2540 3. การล้มละลายของบุคลธรรมดาและนิตบิ ุคคลอย่างกว้างขวางและเกิด NPL (Non Performing Loan) หรอื หน้ีเน่า 4. บญั ชเี ดินสะพัดเร่มิ เกินดลุ ขึ้นเรอ่ื ย ๆ เพราะ 4.1. คนต่างชาติเร่มิ เขา้ มาท่องเทยี่ วในไทยมากขึ้น 4.2. คนไทยลดการซือ้ สนิ คา้ จากต่างประเทศ 4.3. คนไทยลดการไปท่องเท่ียวต่างประเทศ 20 #คุณครคู นเบอื้ งหลงั #สงั คมเคลด็ ลับฉบบั ครู วร. สงั คมศึกษาฯ วชั รวิทยา

สงั คมศกึ ษานา่ รู้ BY ครนู ายสังคมศกึ ษา https://www.ครนู ายสังคมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ ภาวะ Subprime หรอื ทค่ี นไทยเรยี กวา่ Hamburger Crisis เป็นภาวะเศรษฐกิจ ตกต่ำ (เงินฝืดอยา่ งหนัก) โดยจุดเรมิ่ ตน้ จากสหรฐั อเมรกิ า ในช่วงปลายปี 2550 - 51 นั้น มี สาเหตมุ าจากการท่สี ถาบันการเงิน (ธนาคาร) ปลอ่ ยกู้ใหแ้ ก่ ลกู ค้าท่ไี ม่มีคณุ ภาพ และประเมิน สินทรัพย์ทใี่ ช้ค้าประกนั เกินจริง จนกอ่ ใหเ้ กดิ หนเ้ี นา่ (NPL) นั่นหมายถึงบรรดาลกู หนี้ทงั้ หลาย ไม่ มคี วามสามารถทจี่ ะชําระหน้ไี ด้ จนตอ้ งถูกฟ้องให้ลม้ ละลายในท่ีสดุ และตอ่ มาสถาบนั การเงนิ ทงั้ หลายดังกลา่ วไมม่ เี งินคนื ให้แกผ่ ทู้ ่ี นําเงินมาฝาก จึงสง่ ผลใหส้ ถาบันการเงนิ ทั้งหลาย ล้มละลาย เช่น Lehman Brother, AIG (อดีตสปอนเซอรข์ องทมี แมนยู) จากวิกฤติการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั่วโลกชะงัก ธนาคารทั้งหลายก็ เลยไมก่ ล้าที่จะปล่อยเงินกู้ใหก้ ับ ลูกคา้ รายใหม่ จึงส่งผลกระทบต่อการลงทนุ ท่ลี ดลงอย่างมาก 21 #คุณครูคนเบ้อื งหลงั #สังคมเคลด็ ลบั ฉบบั ครู วร. สังคมศึกษาฯ วัชรวิทยา

สงั คมศึกษานา่ รู้ BY ครนู ายสังคมศึกษา https://www.ครูนายสงั คมศกึ ษา.com/Online-lesson/s32103 เอกสารประกอบการสอน วิชา ส 32103 เศรษฐศาสตร์ NOTE ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . ............................................................................................................................. ........................... ..................................................................................................... .................................................. . 22 #คุณครูคนเบื้องหลงั #สังคมเคลด็ ลับฉบับครู วร. สังคมศึกษาฯ วัชรวิทยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook