เอกสำรประกอบกำรเรยี นรู้ รำยวิชำเพมิ่ เติม กำรศกึ ษำค้นควำ้ และสร้ำงองค์ควำมรู้ ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 2 โรงเรยี นดำรงรำษฎรส์ งเครำะห์ จงั หวดั เชียงรำย
คำนำ การจัดการเรียนรใู้ นโรงเรยี นมาตรฐานสากล มุง่ เนน้ การเสริมสร้างความรู้ ความสามารถและ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และเป็นไปตามปฏิญญาว่าด้วยการจัด การศึกษาของ UNESCO ได้แก่ Learning to know, Learning to do , Learning to live with the others และ Learning to be ท้ังนเ้ี พอ่ื พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพ ทัง้ ในฐานะพลเมืองไทยและ พลโลก เทียบเคยี งไดก้ บั นานาอารยประเทศ หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลเป็นหลักสูตรที่ใช้เป็นเป้าหมายและทิศทางในการยกระดับ การจดั การศกึ ษาของทง้ั โรงเรยี น โดยการออกแบบหลักสูตรจะตอ้ งสอดคล้องกับหลกั การและแนวคิด ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ซ่ึง ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาคุณภาพบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม สาระ และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นท่กี ำหนด มีการพฒั นาตอ่ ยอดคณุ ลักษณะท่เี ทียบเคียงกบั สากล ค่มู ือการเรียนการสอนวชิ า การศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ : IS1 ของโรงเรยี น เทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี เล่มนี้ จัดทำตามกรอบแนวทางการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียน ในการดำเนินงานครั้งนี้คณะผู้จัดทำขอขอบคุณคณะครูทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ ให้ข้อมูล และเป็นกำลังใจ ในการจดั ทำจนสำเรจ็ สมบูรณ์ อันจะนำไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสบิ สาม ปทุมธานี ใหม้ คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐานเปน็ ทยี่ อมรบั ของชุมชนต่อไป คณะผ้จู ัดทำ
สำรบัญ หน้ำ แบบทดสอบก่อนเรียน....................................................................................................................1 บทที่ 1 สภาพความเปลีย่ นแปลงและปญั หาในสังคมยคุ ศตวรรษที่ 21.........................................4 ใบงานท่ี 1......................................................................................................................................6 บทที่ 2 การตั้งคาถามและการต้ังประเด็นปญั หา…………………………………………………………………..7 ใบงานที่ 2……………………………………………………………………………………………………………………...11 บทที่ 3 การตงั้ สมมติฐาน……………………………………………………………………………………………..…..13 ใบงานท่ี 3 , 4…………………………………………………………………………………………………………..…….15 บทท่ี 4 ความรู้ทวั่ ไปเก่ียวกบั โครงงาน..........................................................................................17 ใบงานท่ี 5.....................................................................................................................................25 บทท่ี 5 ตัวแปรและประเภทของตวั แปร……………………………………………………………………………..26 ใบงานท่ี 6 , 7…………………………………………………………………………………………………………………29 บทท่ี 6 แหลง่ สารสนเทศ………………………………………………………………………………………………….31 ใบงานที่ 8……………………………………………………………………………………………………………………...38 บทท่ี 7 ห้องสมดุ ดิจิทัล โรงเรยี นสุรศกั ดิ์มนตรี………………………………………………………………….…39 ใบงานท่ี 9……………………………………………………………………….……………………………………………..43 บทท่ี 8 ทรพั ยากรสารสนเทศ.......................................................................................................44 ใบงานที่ 10 , 11…………………………………………………………………………………………………………….49 บทท่ี 9 การอา้ งองิ ทางบรรณานุกรรม………………………………………………………………………………..51 ใบงานท่ี 12 , 13…………………………………………………………………………………………………………….56 บทที่ 10 การตรวจสอบความนา่ เชือ่ ถือของข้อมูล........................................................................57
1 แบบทดสอบก่อนเรียน ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 เรือ่ ง การศกึ ษาค้นควา้ และการสร้างองค์ความรู้ ชอื่ ...........................................................นามสกุล.................................................ชั้น………………เลขท่.ี ............... คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบทถี่ ูกตอ้ งท่สี ุด (ใหท้ าเครื่องหมายกากบาท X หน้าข้อทเี่ ลือก) 1. ในการเลือกประเดน็ ปญั หามาทาโครงงาน ควรคานงึ ถึงเร่อื งใดเปน็ ข้อแรก ก. ความสนใจของตนเอง ข. ความสนใจของผู้อ่นื ค. ความสนใจของชุมชน ง. ความสนใจของทุกคนในประเทศ 2. ทกั ษะใดท่มี ุ่งให้ผู้เรยี นสามารถค้นคว้าหาความร้ใู นประเดน็ ตา่ ง ๆ ของโลก โดยแสวงหาจากแหล่งข้อมูลที่ แตกตา่ งหลากหลาย ก. ทักษะการบริโภคส่อื และข้อมูลขา่ วสาร ข. ทกั ษะการศกึ ษา ค้นควา้ วิจยั ค. ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ ง. ทักษะการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. นักเรียนคนหนง่ึ สังเกตต้นไมใ้ นโรงเรยี น 5 ตน้ ทีป่ ลูกอยู่ในบรเิ วณเดียวกนั จานวนดอกแตกตา่ งกนั ทั้งๆที่ เปน็ ตน้ ไมช้ นดิ เดียวกัน อายุเท่ากัน นักเรยี นจะต้งั ปัญหาจากสถานการณข้างต้นไดอ้ ย่างไร ก. ทาไมตน้ ไม้มจี านวนดอกแตกต่างกัน ข. จานวนดอกของต้นไม้สมั พันธก์ บั ชนิดของต้นไมห้ รือไม่ ค. อายุของตน้ ไม้ส่งผลต่อจานวนดอกหรือไม่ ง. ความเป็นกรด –เบสของดินส่งผลต่อจานวนดอกหรือไม่ 4. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แสดงความเป็นพลโลกที่ดีในด้านใดมากทส่ี ุด ก. ความตระหนักในความหลากหลายทางเชื้อชาติ ข. การรกั ษาพัฒนาคุณภาพชวี ติ สู่การพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืน ค. ความสานกึ ในความเสมอภาคและความยตุ ธิ รรมในสงั คม ง. ความรูค้ วามเข้าใจธรรมชาติของความขัดแยง้ 5. ขอ้ ใดไม่ถกู ตอ้ งเก่ียวกับสมมติฐาน ก. การทานาย ข. การคาดเดาเหตุการณ์ล่วงหน้า ค. เปน็ ทฤษฎี ง. มีได้หลายสมมติฐาน 6. ถา้ นกั เรยี นกาลงั พมิ พ์คอมพิวเตอรแ์ ละพมิ พ์งานอยู่ เครือ่ งพิมพ์ดับและหยดุ ทางานกะทนั หนั สมมตฐิ านใด จะนา่ จะใกลเ้ คียงความจริงมากท่สี ดุ ก. ไฟฟา้ ดบั ทาให้เคร่อื งพิมพ์หยุดทางานกะทันหนั ข. เครอื่ งบินบนิ ผ่านมาเครอื่ งพมิ พห์ ยุดทางานกะทนั หัน ค. น้าท่วมเสาไฟฟ้าเครื่องพมิ พ์หยดุ ทางานกะทันหัน ง. ปล๊ักหลุดเครอ่ื งพิมพห์ ยุดทางานกะทนั หัน 7. นกั เรียนสอบตกวชิ าวิทยาศาสตร์ สมมติฐานใดจะน่าจะใกล้เคียงความจริงมากทีส่ ุด ก. รถบรรทกุ วิง่ ผา่ นทาให้สอบตก ข. เพื่อนคุยกนั เสยี งดังทาให้สอบตก ค. ไม่ไดอ้ า่ นหนงั สอื ทาใหส้ อบตก ง. ครูสอนมากเกินเน้ือหาทาให้สอบตก 8. พ้นื ถนนเขา้ ซอยบา้ นนักเรียนทรดุ ลง สมมตฐิ านใดดที ส่ี ุด ก. รถสบิ ลอ้ ว่ิงผา่ นทาให้ถนนทรดุ ลง ข. นอ้ งๆวิ่งเล่นกนั ทาใหถ้ นนทรดุ ลง ค. น้าไหลผ่านทาใหด้ ินทรดุ ลง ง. มกี ารขโมยดินทาให้ดนิ ทรุดลง
2 9. จุดเริ่มตน้ ของการตง้ั สมมติฐานต้องเริม่ จากสงิ่ ใดกอ่ น ก. การเรียนการสอน ข. การทดลอง ค. ปญั หา ง. สรุปผล 10. ขอ้ ใดไมใ่ ช่วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษาคน้ คว้า ก. ส่งเสรมิ ให้ร้จู ักการคิดวเิ คราะห์สงั เคราะหข์ ้อมูลไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล ข. เปน็ การพัฒนาทักษะทางภาษาในการอ่านการฟงั การเขียน ค. สง่ เสริมให้ตนเองรักการศกึ ษาคน้ คว้า ง. สามารถคัดลอกเนอ้ื หาข้อมลู ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ รวดเร็ว 11.ผลท่ไี ดร้ ับจากการใช้แบบสอบถามสามารถนามาใช้เป็นข้อมูลประเภทใด ก. ข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ ข. ข้อมูลเชงิ คุณภาพ ค. ขอ้ มูลเชงิ พรรณนา ง. ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณและเชิงคณุ ภาพ 12. ขอ้ ใดเป็นการจาแนกประเภทของแหลง่ เรียนร้ตู ามลักษณะท่ีตั้งได้ถกู ตอ้ ง ก. สถานประกอบการและแหลง่ เรียนรใู้ นท้องถ่นิ ข. ภมู ิปัญญาชาวบ้านและแหลง่ เรยี นรู้ในทอ้ งถ่นิ ค. แหลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรียนและภมู ิปญั ญาชาวบา้ น ง. แหล่งเรยี นรู้ในโรงเรียนและแหล่งเรยี นรใู้ นทอ้ งถิ่น 13. วตั ถุประสงคข์ องการจัดแหลง่ เรยี นรู้ในทอ้ งถน่ิ คือขอ้ ใด ก. พฒั นาชุมชนให้เจริญก้าวหน้า ข. เป็นขอ้ มลู เพือ่ การพัฒนาประเทศ ค. เป็นแหล่งค้นคว้าสนบั สนุนการเรยี นการสอน ง. เปน็ แหล่งการศกึ ษาตลอดชวี ติ ทป่ี ระชาชนสามารถแสวงหาความรู้ตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเองตลอดเวลา 14. แหล่งสารสนเทศท่ีนา่ เชอ่ื ถอื มากท่สี ุดคือแหล่งใด ก. สอ่ื อนิ เตอร์เน็ต ข. หนงั สอื พมิ พ์ ค. หนังสอื ในห้องสมดุ ง. นิตยสาร 15. ขอ้ ใดคอื แหลง่ อ้างอิงข้อมลู ทเี่ ชื่อถอื ไมไ่ ด้ ก. ทอี่ ยขู่ องสานักพมิ พ์ ข. นามปากกา ค. ทอี่ ยู่เว็บไซต์ ง. อเี มลล์ของผูเ้ ขียน 16. นักเรยี นคิดวา่ ข้อมูลของใครน่าเชอื่ ถอื ท่ีมากสุด ก. นายแพทยป์ ระเวศ วสี เขยี นบทความเร่ือง ชีวติ หลงั ความตาย ข. คุณครกู จิ มาโนชญ์ โรจนทรพั ย์ (ครูลิลล่)ี เขียนบทความเรื่อง ชีวิตทหารเกณฑ์ ค. พระมหาวฒุ ิชัย เขียนบทความเร่ือง อย่อู ยา่ งไรใจร่มเยน็ ง. คุณหญงิ พรทพิ ย์ โรจนสุนนั ท์ เขียนบทความเรอื่ ง ผมี ีจรงิ 17. ขอ้ ใดเปน็ ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ ก. ศาสนา ข. อายุ ค. น้าหนกั ง. ส่วนสูง
3 18. ใหเ้ รยี งลาดบั ให้ถูกตอ้ งในเร่อื ง การเตรียมการนาเสนอแนวคดิ 1. การวางแผนการนาเสนอขอ้ มูล 2. การตรวจสอบขอ้ มลู 3. การบนั ทกึ ขอ้ มลู 4. การรวบรวมขอ้ มลู ก. 4 – 2 – 3 – 1 ข. 1 – 2 – 4 – 3 ค. 4 – 3 – 2 – 1 ง. 3 – 4 –1 – 2 19. ขอ้ ใดเปน็ ข้นั ทุตยิ ภูมิ ก. พิพิธภณั ฑ์ ข. หนงั สอื พมิ พ์ ค. อปุ กรณ์ ง. ซากโบราณ 20. แผนที่ความคิด (Mind Map) เป็นตัวชว่ ยในการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบในหัวข้อใดมากที่สุด ก. การรวบรวมขอ้ มลู ข. การวิเคราะห์ปญั หา ค. การตดั สนิ ใจแก้ปัญหา ง. การหาทางเลือกในการแกป้ ญั หา .............................................................................................................................................................................. ผลคะแนน
4 บทที่1 สภาพความเปลย่ี นแปลงและปญั หาในสังคมยุค ศตวรรษที่ 21 สภาพความเปลี่ยนแปลงและปญั หาในสังคมยคุ ศตวรรษท่ี 21 ปัจจบุ นั ยคุ ศตวรรษท่ี 21 เป็นสังคมของความรทู้ ่ีไรพ้ รหมแดน เปน็ สงั คมแห่งการเจริญทางเทคโนโลยี เป็นสังคมของการสื่อสารและสารสนเทศ เป็นสงั คมของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเป็นสังคมทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยคนหมมู่ าก การประกอบกิจการหรอื ดาเนนิ การงานตา่ งๆ ยอ่ มมีวธิ ีการและจดุ หมายที่ตา่ งกนั ปัญหาจึง มอี ยู่ในทกุ ๆสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลง ปัญหาเป็นตัวถ่วง เหนยี่ วรงั้ ความเจริญของสังคม ปัญหาจึงจาเป็นต้อง ได้รบั การปอ้ งกัน หรือแก้ไข เพอ่ื ใหส้ ังคมตัง้ อยแู่ ละเจรญิ พัฒนาต่อไป เพอ่ื การอยู่รอดของมวลมนุษย์ ตวั อยา่ งปญั หาต่างๆ ในสงั คมปัจจุบัน ด้าน ปัญหา 1. ด้านความปลอดภัย 1. ปญั หาเครื่องบินตก 2. ปญั หาอาหารเปน็ พิษ • ความปลอดภยั ของชวี ติ • ความปลอดภัยของท่ีอยูอ่ าศัย 3. ปัญหามลภาวะอากาศ น้าเปน็ พิษ • ความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง 4. ปัญหาโจรผู้รา้ ย ขโมย ลกั ทรัพย์ ฉกชงิ วงิ่ ราว • ความปลอดภยั ในการส่ือสาร 5. ปญั หาการกอ่ สรา้ งทอ่ี ยู่อาศัยไมถ่ กู ตอ้ ง 6. ปัญหาการใชว้ สั ดกุ อ่ สรา้ งท่ีไม่เหมาะสม 7. ปญั หาการใช้ยวดยานพาหนะทเ่ี สอ่ื มสภาพ 8. ปัญหาการไมเ่ คารพกฎหมาย 9. ปัญหาการใชเ้ คร่ืองมือสื่อสารไมถ่ ูกต้องตามกาลเทศะ 10. ปัญหาการละเมิดสิทธสิ ่วนบุคคล
5 2. ด้านสขุ ภาพ 1. ปญั หาโรคอ้วน 3. ดา้ นเทคโนโลยี 2. ปัญหาอวัยวะออ่ นแรง 3. ปัญหาการตดิ เชอ้ื โรค 4. ดา้ นสงั คม 4. ปญั หาการใช้ยา 5. ด้านอาชพี 5. ปัญหาการใช้อปุ กรณ์เสริม ตกแต่ง ศัลยกรรม 6. ปัญหาโรคตดิ ตอ่ 1. ปัญหาการใชเ้ ทคโนโลยเี คล่อื นทเี่ ลน่ เกม 2. ปัญหาการเลอื กใช้เครอ่ื งมอื เทคโนโลยไี ม่เหมาะสม 3. ปญั หาความขาดแคลนคอมพิวเตอร์ 4. ปญั หาความขาดแคลนผชู้ านาญดา้ นเทคโนโลยี 5. ปญั หาการใช้งานอปุ กรณท์ างเทคโนโลยี 6. ปญั หาอปุ กรณ์ทางเทคโนโลยรี าคาแพง 7. ปัญหาการโจรกรรมขอ้ มูล 8. ปัญหาการใชเ้ ทคโนโลยีที่ผดิ กฎหมาย 1. ปญั หาเยาวชนตดิ ยาเสพติด 2. ปัญหาทะเลาะวิวาท 3. ปญั หาการตง้ั ครรภก์ ่อนวัยอันควรของเดก็ หญงิ 4. ปญั หาอาชญากรรม 5. ปญั หาการขม่ ขนื เดก็ และคนชรา 1. ปญั หาคนว่างงาน 2. ปัญหาโสเภณี 3. ปัญหาการคา้ ของผดิ กฎหมาย 4. ปัญหาการหลอกลวง ตม้ ตุน๋ 5. ปญั หาการคา้ กาไรเกนิ ควร 6. ปญั หาสถานทป่ี ระกอบอาชีพ 7. ปญั หาสินค้าราคาแพง ฯลฯ การอธบิ ายเหตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ ทกุ ๆปญั หามีความสาคญั ต่อชวี ิตและสงั คม แต่การทจ่ี ะตัดสินใจเลอื กปญั หา เพ่อื ทาหน้าท่ีของสมาชกิ ท่ีดตี อ่ สังคม โดยมสี ่วนร่วมที่จะศึกษาแนวทางป้องกันหรอื แก้ปัญหาใดๆ ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ พงึ ระลึกเสมอว่า 1. เปน็ ปัญหาทีต่ นสนใจจริง อาจมีพืน้ ความร้เู กี่ยวกบั ปญั หานั้นๆอย่บู ้าง 2. เปน็ ปัญหาท่มี ีความสาคญั ต่อส่วนรวม 3. เปน็ ปญั หาทม่ี คี ุณคา่ ตอ่ สังคม 4. สามารถศึกษาค้นควา้ ขอ้ มลู ได้ไมย่ ากเกินฐานะและความสามารถของตน
6 ใบงานท่ี 1 การกาหนดประเดน็ ปญั หา วิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้ (IS 20201) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ชอื่ .....................................................................................ชั้น..................... เลขที.่ .................................... คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนวเิ คราะหจ์ ากปญั หาทีก่ าหนดให้ เรอ่ื ง ช่วยแก้ปญั หา นายเทียนและนางแก้วมีลูกสองคน พวกเขามีอาชีพเกษตรกรรม ช่วยกันทาไรข่ ้าวโพดเพ่ือนารายได้ มาเล้ียงครอบครวั ปีแรกที่นายเทยี น นาง แก้วและลูก ๆ ช่วยกันปลูกข้าวโพด ปรากฏว่าได้ผลผลิตสูงมาก ทาให้มีเงิน เก็บออมไว้ ต่อมา 2-3 ปรี ายไดจ้ ากการขายขา้ วโพดก็ยังสงู เหมือนเดิม ในปี ท่ี 4-5 ผลผลติ ลดลงเรือ่ ย ๆ ทาให้ขาดทุนจากการทาไรข่ า้ วโพด คาถามวเิ คราะห์ปญั หา 1. ปญั หาของนายเทยี นคอื อะไร.................................................................................................................. 2. สาเหตุทสี่ าคญั ทส่ี ุดของปัญหาคืออะไร................................................................................................... 3. นายเทียนควรหาวธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาอย่างไร จงึ จะเหมาะสมที่สดุ ........................................................... 4. นักเรียนคาดว่าผลจากการแกไ้ ขปัญหาจะเปน็ อย่างไร อธบิ ายเหตุผล................................................... ................................................................................................................................................................ 5. สรปุ ปัญหาทเ่ี กิดขนึ้ ของนายเทยี นเป็นปัญหาดา้ นใด............................................................................... เร่ือง ดาวตดั สนิ ใจ ดาวไม่สบายใจเลยที่เธอมีท้ังสิวและฝ้าขึ้นท่ีใบหน้า เธอ พยายามหาครีมรักษาสิวฝ้าจากการแนะนาของเพ่ือน ๆ อยเู่ สมอ แต่ก็ไม่ ได้ผล วันหนึ่งเธอเดินไปซ้ือของท่ีตลาด เห็นคนมุงดูสินค้าแผงลอยกัน หนาแน่นมาก เธอจึงเข้าไปดูเห็นหญิงสาวสวยคนหนึ่งโฆษณาครีมแก้สิว ฝ้า หญิงผู้นั้นอธิบายสรรพคุณพร้อมสาธิตให้ดูที่บริเวณหลัง ฝ่ามือให้ดู ลกั ษณะการทาครีม แลว้ จะดวู ่าผิวเธอดูเนียนสวยขึ้น ดาวตดั สินใจซ้ือครีม 1 ชุด ท้ัง ๆ ท่ีราคาค่อนข้างแพง ดาวทดลองทาครีมอยู่ 3-4 วัน ปรากฏ ว่าผิวของเธอยิง่ เปน็ สวิ ฝา้ มากกวา่ เดมิ คาถามวิเคราะหป์ ญั หา 1. ปัญหาของดาวคอื อะไร........................................................................................................................... 2. สาเหตุทีส่ าคญั ทสี่ ุดของปัญหาคอื อะไร................................................................................................... 3. ดาวควรหาวิธกี ารแกไ้ ขปัญหาอย่างไร จึงจะเหมาะสมทส่ี ุด.................................................................. 4. นักเรยี นคาดวา่ ผลจากการแกไ้ ขปญั หาจะเป็นอยา่ งไร อธบิ ายเหตผุ ล.................................................. .................................................................................................................................................................. 5. สรุปปญั หาทีเ่ กิดขน้ึ ของดาวเป็นปัญหาด้านใด.....................................................................................
7 บทที่ 2 การตง้ั คาถามและการต้งั ประเด็นปัญหา การใช้คาถามเปน็ เทคนคิ สาคญั ในการเสาะแสวงหาความรู้ท่มี ปี ระสิทธิภาพ เปน็ กลวิธีการสอนที่ กอ่ ใหเ้ กดิ การเรยี นร้ทู ่ีพฒั นาทกั ษะการคดิ การตคี วาม การไตร่ตรอง การถ่ายทอดความคิด สามารถนาไปสู่การ เปล่ยี นแปลงและปรับปรุงการจดั กระบวนการเรียนรไู้ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี การถามเปน็ ส่วนหน่งึ ของกระบวนการเรยี นรู้ ชว่ ยให้ผเู้ รียนสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นา ความคิดใหม่ ๆ กระบวนการถามจะช่วยขยายทักษะการคิด ทาความเข้าใจให้กระจ่าง ไดข้ ้อมลู ป้อนกลบั ท้ัง ด้านการเรียนการสอน ก่อใหเ้ กิดการทบทวน การเชอื่ มโยงระหวา่ งความคิดตา่ ง ๆ ส่งเสริมความอยากร้อู ยาก เหน็ และเกดิ ความท้าทาย การสงั เกต (Observation) วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์มักจะเร่มิ จากการ สังเกตปรากฏการณต์ า่ งๆ ทอ่ี ยู่รอบๆ ตัวเรา เมือ่ ไดข้ อ้ สงั เกตบางอย่างท่ีเราสนใจ จะทาใหไ้ ดส้ งิ่ ท่ีตามมาคอื ปัญหา (Problem) เช่น การสังเกต ต้นหญ้าใต้ต้นไม้ ใหญ่ หรอื ต้นหญา้ ที่อยูใ่ ตห้ ลงั คามักจะไมง่ อกงาม สว่ นตน้ หญ้าในบรเิ วณใกลเ้ คียง กนั ทไ่ี ด้รับแสงเจรญิ งอกงามดี การต้งั ปญั หา \"การต้งั ปญั หาน้ันสาคญั กว่าการแก้ปญั หา\" เพราะ การ ตง้ั ปญั หาที่ดแี ละชัดเจนจะทาใหผ้ ู้ตั้งปญั หาเกดิ ความเข้าใจและมองเห็นลูท่ าง ของการคน้ หาคาตอบเพื่อแกป้ ญั หาทต่ี ั้งข้ึน ดงั นัน้ จึงตอ้ งหมน่ั ฝึกการสังเกตส่ิงที่ สังเกตน้ันเปน็ อะไร? เกิดขน้ึ เม่อื ไร? เกดิ ขนึ้ ท่ีไหน? เกิดขึ้นไดอ้ ยา่ งไร? ทาไมจงึ เป็นเช่นนัน้ ? \"แสงแดดมสี ่วนเกย่ี วขอ้ งกับการเจริญงอกงามของตน้ ไมห้ รอื ไม\"่ \"ตน้ หญ้าทอ่ี ยู่ใตต้ ้นไม้มกั จะไม่งอกงาม ส่วนต้นหญ้าในบรเิ วณใกล้เคียงกนั ทไ่ี ด้รบั แสงเจรญิ งอกงามดี\" \"แบคทีเรียในจานเพาะเช้ือเจรญิ ช้าไม่งอกงามถา้ มีราสีเขียวอยูใ่ นจานเพาะเช้ือนั้น\" ระดบั ของการต้งั คาถาม การตั้งคาถามมี 2 ระดบั คือ คาถามระดับพื้นฐาน และคาถามระดบั สงู ซงึ่ มี รายละเอยี ดดังน้ี 1) คาถามระดบั พ้ืนฐาน เปน็ การถามความรู้ ความจา เป็นคาถามที่ใชค้ วามคิดทั่วไป หรอื ความคิด ระดับต่า ใชพ้ ืน้ ฐานความรเู้ ดมิ หรือสิ่งท่ปี ระจกั ษใ์ นการตอบ เนอื่ งจากเปน็ คาถามที่ฝึกใหเ้ กดิ ความคล่องตวั ในการตอบ คาถามในระดบั นี้เป็นการประเมนิ ความพรอ้ มของผูเ้ รียนกอ่ นเรยี น วินจิ ฉัยจุดอ่อน – จดุ แขง็ และสรุปเนื้อหาที่เรียนไปแล้ว คาถามระดับพื้นฐานได้แก่
8 1.1) คาถามให้สังเกต เปน็ คาถามที่ให้ผเู้ รยี นคิดตอบจากการสงั เกต เปน็ คาถามที่ตอ้ งการให้ ผ้เู รยี นใช้ประสาทสัมผัสทัง้ ห้าในการสบื คน้ หา คาตอบ คือ ใชต้ าดู มือสัมผัส จมกู ดมกล่นิ ลน้ิ ชิมรส และหูฟังเสียง ตัวอยา่ งคาถาม เช่น - เมอื่ นกั เรียนฟงั เพลงน้ีแลว้ รู้สึกอยา่ งไร - ภาพนม้ี ีลักษณะอยา่ งไร - สารเคมใี น 2 บกี เกอร์ ต่างกันอย่างไร - พน้ื ผวิ ของวตั ถเุ ป็นอยา่ งไร 1.2) คาถามทบทวนความจา เป็นคาถามท่ีใช้ทบทวนความร้เู ดมิ ของผเู้ รียน เพือ่ ใช้เช่ือมโยง ไปสู่ความรูใ้ หมก่ อ่ นเร่ิมบทเรยี น ตวั อยา่ งคาถาม เช่น - วนั วิสาขบูชาตรงกบั วนั ใด - ดาวเคราะหด์ วงใดทมี่ ีขนาดใหญ่ท่สี ุด - ใครเปน็ ผ้แู ตง่ เร่อื งอเิ หนา - เมื่อเกดิ อาการแพย้ าควรโทรศัพทไ์ ปที่เบอรใ์ ด 1.3) คาถามทใ่ี ห้บอกความหมายหรือคาจากัดความ เปน็ การถามความเข้าใจ โดยการให้ บอกความหมายของขอ้ มูลตา่ ง ๆ ตวั อย่างคาถาม เช่น - คาว่าสิทธมิ นุษยชนหมายความวา่ อยา่ งไร - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คืออะไร - สถิติ (Statistics) หมายความวา่ อย่างไร - บอกความหมายของ Passive Voice 1.4) คาถามบง่ ชห้ี รอื ระบุ เป็นคาถามท่ีใหผ้ เู้ รยี นบ่งช้ีหรอื ระบคุ าตอบจากคาถามให้ถกู ตอ้ ง ตวั อย่างคาถาม เชน่ - ประโยคที่ปรากฏบนกระดานประโยคใดบ้างที่เป็น Past Simple Tense - คาใดต่อไปนเ้ี ปน็ คาควบกลา้ ไม่แท้ - ระบุชื่อสัตวท์ ี่มีกระดูกสนั หลงั - ประเทศใดบ้างที่เป็นสมาชิก APEC 2) คาถามระดบั สงู เปน็ การถามใหค้ ิดค้น หมายถึง คาตอบท่ีผู้เรียนตอบตอ้ งใช้ความคิดซับซ้อนเปน็ การสง่ เสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์และกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนสามารถใช้สมองซกี ซ้ายและซีกขวาในการคิดหาคาตอบ โดยอาจใชค้ วามรหู้ รือประสบการณ์เดิมมาเปน็ พ้ืนฐานในการคดิ และตอบคาถาม ตัวอยา่ งคาถามระดับสูงไดแ้ ก่ 2.1) คาถามใหอ้ ธบิ าย เปน็ การถามโดยให้ผู้เรยี นตคี วามหมาย ขยายความ โดยการให้ อธิบายแนวคิดของขอ้ มูลต่าง ๆ ตวั อยา่ งคาถาม เชน่ - เพราะเหตใุ ดใบไมจ้ ึงมสี เี ขียว - นักเรยี นควรมีบทบาทหนา้ ทใ่ี นโรงเรียนอย่างไร - ชาวพุทธที่ดคี วรปฏบิ ตั ิตนอย่างไร - นกั เรียนจะปฏบิ ัตติ นอย่างไรจึงจะทาใหร้ า่ งกายแขง็ แรง
9 2.2) คาถามใหเ้ ปรยี บเทียบ เป็นการตง้ั คาถามให้ผ้เู รยี นสามารถจาแนกความ เหมือน – ความแตกต่างของข้อมูลได้ ตัวอย่างคาถาม เชน่ - พชื ใบเล้ยี งคู่ต่างจากพชื ใบเลีย้ งเดีย่ วอยา่ งไร - จงเปรยี บเทยี บวิถีชวี ติ ของคนไทยในภูมิภาคตา่ ง ๆ ของประเทศไทย - DNA กบั RNA แตกต่างกันหรอื ไม่ อยา่ งไร - สังคมเมอื งกับสงั คมชนบทเหมอื นและตา่ งกนั อยา่ งไร 2.3) คาถามใหว้ เิ คราะห์ เปน็ คาถามให้ผเู้ รยี นวเิ คราะห์ แยกแยะปญั หา จัดหมวดหมู่ วจิ ารณแ์ นวคิด หรอื บอกความสัมพันธ์และเหตุผล ตัวอยา่ งคาถาม เช่น - อะไรเป็นสาเหตทุ ่ีทาให้เกดิ ภาวะโลกร้อน - วัฒนธรรมแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง - สาเหตใุ ดทที่ าใหน้ างวนั ทองถกู ประหารชีวติ - การติดยาเสพติดของเยาวชนเกดิ จากสาเหตุใด 2.4) คาถามใหย้ กตวั อย่าง เปน็ การถามให้ผู้เรยี นใช้ความสามารถในการคิด นามา ยกตัวอย่าง ตัวอยา่ งคาถาม เชน่ - รา่ งกายขบั ของเสียออกจากส่วนใดบ้าง - ยกตวั อยา่ งการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์ - หินอคั นีสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งไรบา้ ง - อาหารคาวหวานในพระราชนพิ นธก์ าพย์เห่ชมเคร่อื งคาวหวานได้แก่อะไรบา้ ง 2.5) คาถามให้สรปุ เป็นการใช้คาถามเม่อื จบบทเรยี น เพื่อใหท้ ราบว่าผู้เรยี นได้รบั ความรู้ หรือมคี วามกา้ วหนา้ ในการเรียนมากนอ้ ยเพียงใด และเป็นการช่วยเน้นย้าความรูท้ ี่ไดเ้ รียนไปแล้ว ทา ให้สามารถจดจาเนอื้ หาได้ดีย่งิ ข้นึ ตัวอยา่ งคาถาม เช่น - จงสรปุ เหตผุ ลทที่ าให้พระเจา้ ตากสนิ ทรงยา้ ยเมืองหลวง - เมือ่ นักเรยี นอา่ นบทความเร่อื งน้ีแลว้ นักเรียนไดข้ ้อคิดอะไรบ้าง - จงสรปุ แนวทางในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรน้าเพือ่ ให้เกิดคณุ คา่ สงู สดุ - จงสรปุ ขน้ั ตอนการทาผ้าบาตคิ 2.6) คาถามเพ่ือใหป้ ระเมินและเลือกทางเลือก เป็นการใชค้ าถามที่ให้ผเู้ รยี นเปรยี บเทียบ หรอื ใช้วจิ ารณญาณในการตัดสินใจเลอื กทางเลือกทห่ี ลากหลาย ตัวอยา่ งคาถามเชน่ - การวา่ ยน้ากบั การวิ่งเหยาะ อยา่ งไหนเปน็ การออกกาลงั กายท่ีดีกวา่ กนั เพราะเหตุ ใด - ระหวา่ งนา้ อัดลมกบั นมอยา่ งไหนมีประโยชนต์ ่อร่างกายมากกว่ากนั เพราะเหตใุ ด - ดินร่วนดนิ ทรายและดนิ เหนยี วดนิ ชนดิ ใดเหมาะแกก่ ารปลูกมะม่วงมากกวา่ กนั เพราะเหตุใด
10 2.7) คาถามใหป้ ระยุกต์ เป็นการถามให้ผเู้ รยี นใช้พ้ืนฐานความรู้เดมิ ทีม่ อี ยู่มาประยุกต์ใชใ้ น สถานการณ์ใหม่หรือในชีวติ ประจาวนั ตวั อยา่ งคาถามเชน่ - นกั เรียนมวี ิธีการประหยดั พลังงานอยา่ งไรบา้ ง - เม่ือนักเรยี นเหน็ เพอ่ื นในห้องขาแพลง นกั เรียนจะทาการปฐมพยาบาลอยา่ งไร - นักเรยี นนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวิต ประจาวันอย่างไรบ้าง - นักเรยี นจะทาการส่งขอ้ ความผ่านทางอีเมลลไ์ ด้อย่างไร 2.8) คาถามใหส้ รา้ งหรอื คิดคน้ สิ่งใหม่ ๆ หรือผลิตผลใหม่ ๆ เปน็ ลักษณะการถามให้ผู้เรยี น คดิ สร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ทไ่ี ม่ซ้ากบั ผู้อ่ืนหรอื ที่มีอย่แู ลว้ ตัวอย่างคาถามเชน่ - กระดาษหนงั สอื พิมพ์ทีไ่ มใ่ ช้แล้ว สามารถนาไปประดิษฐข์ องเลน่ อะไรไดบ้ ้าง - กล่องหรือลงั ไมเ้ ก่า ๆ สามารถดัดแปลงกลบั ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไร - เส้ือผา้ ทไ่ี มใ่ ช้แล้ว นกั เรียนจะนาไปดดั แปลงเป็นสง่ิ ใดเพื่อให้เกิดประโยชน์ - นักเรียนจะนากระดาษท่ใี ชเ้ พียงหน้าเดียวมาประดษิ ฐ์เป็นส่ิงใดบ้าง สรุป การตง้ั คาถามระดับสงู จะทาให้ผู้เรยี นเกดิ ทักษะการคิดระดับสงู และเปน็ คนมี เหตุผล ผ้เู รยี นไมเ่ พียงแตจ่ ดจาความรู้ ขอ้ เท็จจริงได้อยา่ งเดียวแต่สามารถนาความรู้ไปใช้ใน การแก้ปัญหา วิเคราะห์ และประเมินส่งิ ท่ีถามได้ นอกจากนี้ยังช่วยให้ผูเ้ รียนเข้าใจ สาระสาคัญของเรอื่ งราวทเ่ี รยี นได้อย่างถกู ตอ้ งและกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรยี นค้นหาขอ้ มูลมาตอบ คาถามด้วยตนเอง การตอบคาถามระดับสูง ผู้สอนต้องใหเ้ วลาผเู้ รยี นในการคดิ หาคาตอบ เปน็ เวลามากกว่าการตอบคาถามระดับพ้ืนฐาน เพราะผูเ้ รยี นต้องใชเ้ วลาในการคิดวเิ คราะห์ อยา่ งลกึ ซง้ึ และมวี ิจารณญาณในการตอบคาถาม ความผิดพลาดอย่างหนึ่งของการต้ังคาถาม คือ การถามแล้วต้องการคาตอบในทันทีโดยไมใ่ ห้เวลาผเู้ รยี นในการคิดหาคาตอบ
11 ใบงานที่ 2 การฝกึ ตั้งคาถาม คาชแ้ี จง ให้นักเรียนฝกึ ตัง้ คำถำมตำมลกั ษณะคำถำมที่กำหนดใหพ้ รอ้ มเขียนคำตอบลงในชอ่ งวำ่ ง ระดับการต้ัง ลกั ษณะคาถาม คาถาม คาถาม ข้ันพืน้ ฐาน 1. ใหส้ ังเกต 2. ทบทวนควำมจำ 3. บอกให้ควำมหมำย หรือคำจำกัดควำม 4. แบบบง่ ชหี้ รือระบุ ขัน้ สูง 1. ใหอ้ ธิบำย 2. ให้เปรียบเทยี บ 3. ให้วิเครำะห์ 4. ใหย้ กตัวอยำ่ ง 5. ใหส้ รปุ 6. ให้ประเมนิ และเลอื ก ทำงเลอื ก 7. ให้ประยกุ ต์ 8. ใหส้ ร้ำงหรอื คดิ ค้นสง่ิ คะแนน ใหมๆ่ หรือผลิตผลใหม่ ชือ่ ................................................................................ชน้ั ......................เลขท.ี่ ..............
12 บทที่ 3 เร่ือง การตงั้ สมมตฐิ าน 1. สมมติฐาน หมายถึง ความเชื่อของบุคคลใดบุคคลหน่งึ หรอื ของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรืออาจกล่าว วา่ สมมติฐานเป็นส่ิงทบี่ ุคคลหรอื กลุ่มบคุ คลคาดว่าจะเกดิ ขนึ้ โดยที่ความเชอ่ื หรือสง่ิ ทีค่ าดนั้นกไ็ ด้ เช่น - เจ้าของรา้ นคา้ ปลกี คาดวา่ จะมีกาไรสทุ ธิจากการขายสินค้าต่อปไี มต่ ่ากวา่ 500,000 บาท - หวั หน้าพรรคการเมอื งA …..คาดว่าการเลือกตั้งสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร ในคราวหน้า พรรคอนื่ ๆ จะไดท้ นี่ ง่ั ในสภาต่ากวา่ 50% ของทั้งหมด - คาดว่ารายได้เฉล่ยี ตอ่ เดอื นของประชากรในจงั หวดั พิษณโุ ลกเท่ากบั 15,000 บาท 2. ความแตกต่างของสมมตฐิ านกับการพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน คอื การทานายผลล่วงหนา้ โดยไม่มหี รอื ไม่ทราบ ความสัมพันธเ์ กี่ยวข้องระหว่าง ขอ้ มูล การพยากรณ์ คอื การทานายผลลว่ งหนา้ โดยการมหี รือทราบความสมั พันธร์ ะหวา่ งขอ้ มลู ทเี่ ก่ียว ใน การทานายลว่ งหน้า 3. หลักการต้ังสมมุติฐาน 1) สมมติฐานตอ้ งเป็นข้อความที่บอกความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ตวั แปรต้น กบั ตวั แปรตาม 2) ในสถานการณ์หนึ่งๆ อาจตง้ั หนง่ึ สมมติฐานหรอื หลายสมมติฐานก็ได้ สมมติฐานท่ีตั้งขน้ึ อาจจะถูกหรือผิดก็ได้ ด้งั นน้ั จาเปน็ ตอ้ งมกี ารทดลองเพือ่ ตรวจอสอบว่า สมมติฐานทต่ี งั้ ขนึ้ นัน้ เป็นท่ี ยอมรบั หรือไม่ซงึ่ จะทราบภายหลงั จากการทดลองหาคาตอบแลว้ ตัวอยา่ งการตั้งสมมตฐิ าน คาถาม : อะไรมผี ลตอ่ ความเร็วรถ (ความเร็วรถขน้ึ อย่กู บั ปัจจยั อะไรบ้าง) สมมติวา่ นกั เรยี นเลอื กขนาดของยางรถยนต์ เปน็ ตัวแปรทต่ี อ้ งการทดสอบ กอ็ าจต้ังสมมติฐาน ไดว้ ่า ตัง้ สมมติฐาน : เมอ่ื ขนาดของยางรถยนต์ใหญ่ขน้ึ ความเร็วของรถยนตจ์ ะลดลง (ตวั แปรตน้ : ขนาดของยางรถยนต์) (ตัวแปรตาม : ความเรว็ ของรถยนต์)
13 4. การตั้งสมมติฐานทด่ี ีควรมลี กั ษณะดงั นี้ 1) เปน็ สมมติฐานทเ่ี ข้าใจงา่ ยมักนิยมใชว้ ลี “ถ้า…ดงั น้นั ” 2) เปน็ สมมตฐิ านทแ่ี นะลู่ทางท่ีจะตรวจสอบได้ 3) เป็นสมมตฐิ านทต่ี รวจไดโ้ ดยการทดลอง 4) เปน็ สมมตฐิ านที่สอดคล้องและอยูใ่ นขอบเขตขอ้ เท็จจริงท่ไี ดจ้ ากการสังเกตและสมั พันธก์ บั ปญั หา ท่ีตัง้ ไว้ สมมติฐานท่ีเคยยอมรับอาจลม้ เลกิ ไดถ้ า้ มขี ้อมูลจากการทดลองใหม่ๆ มาลบลา้ ง แตก่ ็มีบางสมมติทม่ี ี ขอ้ มูลจากการทดลองมาคัดคา้ นทาให้สมมติฐานเหล่านี้นัน้ เปน็ ที่ ยอมรับวา่ ถูกต้อง เช่น สมมตฐิ านของเมนเดล เกี่ยวกับหนว่ ยกรรมพนั ธุ์ ซ่ึงเปลย่ี นกฎการแยกตัวของยนี หรือ สมมตฐิ านของอเวโดรซ่ึงเปลยี่ นเป็นกฎของอเว โวกาโด ตัวอยา่ งการต้ังสมมติฐาน ข้อสงสยั /ข้อสงั เกต/ปญั หา “ทาไมหญา้ บริเวณใต้ต้นไม้จึงไมง่ อกงามเทา่ หญา้ ท่อี ยู่กลางแจ้ง” ประเด็นปญั หา “แสงแดดมีสว่ นเก่ียวข้องกับการเจรญิ งอกงามของต้นหญา้ หรอื ไม่” สมมติฐาน “ถ้าแสงแดดมีสว่ นเก่ยี วขอ้ งกับการเจรญิ งอกงามของต้นหญ้า ดังน้ัน “ต้นหญ้าบริเวณท่ไี มไ่ ดร้ บั แสงแดดจะไมง่ อกงามหรอื ตายไป” หรือ “ถ้าแสงแดดมีส่วนเกีย่ วข้องกับการเจริญงอกงามของ ต้นหญ้า” ดงั น้ัน “ตน้ หญ้าบริเวณทไี่ ดร้ ับแสงแดดจะเจริญงอกงาม” ข้อสงสัย/ข้อสังเกต/ปัญหา “ความเร็วรถขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั อะไรบ้าง” ประเดน็ ปัญหา “ขนาดของยางรถยนต์มีผลต่อความเร็วของรถยนต์ หรอื ไม่” สมมติฐาน “เมอื่ ขนาดของยางรถยนตใ์ หญ่ขน้ึ ความเรว็ ของรถยนตจ์ ะลดลง” ข้อสงสยั /ขอ้ สังเกต/ปญั หา “นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่2/…..ชอบอ่านหนังสือประเภทใด” ประเดน็ ปญั หา “ศกึ ษาพฤตกิ รรมการเลอื กอ่านหนงั สอื ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปี ที่...” สมมตฐิ าน “ถา้ นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่…….มนี ิสยั ชอบเพ้อฝัน ดังนั้นนักเรยี น ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี…..ชอบอ่านหนงั สอื นวนยิ าย” (การวจิ ยั เชิงสารวจไมต่ ้องตั้งสมมติฐานกไ็ ด้)
14 5. ประเภทของสมมตฐิ าน สมมติฐานมี 2 ประเภท คือ สมมตฐิ านทางการวิจยั ( Research hypothesis) และ สมมตฐิ านทางสถิติ (Statistical hypothesis) 5.1 สมมุตฐิ านทางการวจิ ัย.... (Research Hypothesis) เป็นสมมติฐานทเ่ี ขยี นอย่ใู นรปู ของ ข้อความ ที่ ใชภ้ าษา เป็นส่อื ในการอธิบายความสมั พันธ์ ของตวั แปรท่ศี ึกษาเทคนิคการเขียนอยู่ 2 แบบ - สมมติฐานแบบมีทิศทาง (Directional hypothesis) - สมมติฐานแบบไม่มที ิศทาง (Nondirectionnal hypothesis) 5.1.1 สมมตฐิ านแบบมที ิศทาง (Directional hypothesis) เปน็ สมมติฐานท่ีเขียนโดยสามารถระบุได้แนน่ อน ถึงทศิ ทางของความสมั พันธข์ องตวั แปรว่า สมั พนั ธใ์ นทางใด (บวกหรือลบ) กส็ ามารถระบไุ ดถ้ งึ ทศิ ทางของความแตกต่าง เช่น “ดีกวา่ ” หรอื “สูงกวา่ ” หรอื “ตา่ กวา่ ” หรอื “นอ้ ยกวา่ ” ในสมมติฐานนน้ั ๆ หรือระบทุ ศิ ทางของความสัมพันธ์ โดยมีคาวา่ “ทางบวก” หรอื “ทางลบ” ในสมมติฐานนั้นๆ เชน่ - ครูประจาการมีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์มากกวา่ ครฝู ึกสอน - นกั เรยี นในกรงุ เทพฯจะมที ศั นะคติทางวทิ ยาศาสตร์ดกี ว่านักเรียนในชนบท - ครอู าจารย์เพศชายมีความวิตกกังวลในการทางานนอ้ ยกว่าครอู าจารย์เพศหญิง - ผู้สูบบุหร่เี ปน็ โรคมากกวา่ ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ - ค่าแรงในการทางานมีผลทาใหป้ ระสิทธภิ าพการทางานดขี ้ึน - นกั เรยี นในกรุงเทพฯจะมีทัศนะคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ดกี ว่านกั เรียนในชนบท - ผู้บรหิ ารเพศชายมีประสิทธภิ าพในการบรหิ ารงานมากกวา่ ผูบ้ รหิ ารเพศหญงิ 5.1.2 สมมติฐานแบบไม่มที ศิ ทาง (Nondirectional hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนโดยไม่ไดร้ ะบทุ ศิ ทางของความสมั พนั ธข์ องตัวแปร หรือทิศทางของ ความแตกตา่ งเพียงระบุว่าตัวแปร 2 ตัวน้นั มคี วามสัมพนั ธห์ รอื ถา้ เป็นการเปรยี บเทยี บก็ ระบเุ พียงว่าสองกลมุ่ นัน้ มีคณุ ลกั ษณะแตกต่างกันเทา่ น้นั เชน่ “มีอทิ ธิพลตอ่ ” “สง่ ผลตอ่ ” “มคี วามสมั พนั ธ์กับ” “แปรผันกบั ” - สภาพแวดล้อมทางกายภาพ มีความสัมพันธ์ กบั ประสทิ ธิผลในการทางาน - ความต้องการใช้เครือ่ งไฟฟา้ ของบคุ คลในชุมชนชนบทและชุมชนเมอื งแตกตา่ งกัน - ในอดตี และปัจจุบันผู้ชายมีความสนใจในเพศเดยี วกันแตกต่างกัน - ผ้สู ูบบุหร่ีมีความสมั พนั ธ์กบั การเป็นมะเร็งปอด - คา่ แรงในการทางานมีผลต่อประสิทธภิ าพในการทางาน - คา่ แรงในการทางานมอี ทิ ธพิ ลกับประสทิ ธิภาพในการทางาน - นักเรียนทไ่ี ด้รบั การอบรมเล้ยี งดดู ว้ ยวิธีการท่ีแตกต่างกนั จะมีวนิ ัยในตนเองตา่ งกนั 6. ประโยชน์ของสมมติฐาน 1. ทาหน้าท่ีเหมอื นทศิ ทาง และแนวทางในการวจิ ัย 2. สมมติฐานตอ้ งตอบวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั ไดอ้ ย่างครบถว้ น 3. สามารถทดสอบและวัดไดด้ ว้ ยขอ้ มลู และวิธีการทางสถติ ิ ข้อมูลอ้างอิง : กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง. (2557). ชดุ ฝึกการศกึ ษาค้นควา้ และสรา้ ง องค์ความรู้ IS 20201. ยโสธร: โรงเรยี นมหาชยั ชนะวทิ ยาคม.
15 ใบงานที่ 3 เรือ่ ง การตงั้ สมมตฐิ าน วชิ า การศกึ ษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ (IS 20201) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ช่ือ......................................................................................ชนั้ ..................... เลขท.ี่ .................................... คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นตอบคาถามลงในช่องว่างให้ไดใ้ จความถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ 1. สมมติฐาน หมายถงึ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. การต้งั สมมตฐิ าน คอื ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. การพยากรณ์ คือ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 4. บอกหลักในการตงั้ สมมตฐิ าน ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 5. บอกลกั ษณะการต้ังสมมติฐานที่ดี ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 6. ประเภทของสมมตฐิ าน คือ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 7. ประโยชนข์ องสมมตฐิ าน คือ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................
16 ใบงานท่ี 4 การฝกึ ต้ังสมมติฐาน วชิ า การศึกษาคน้ คว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS 20201) ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ช่อื ......................................................................................ช้นั ..................... เลขท.ี่ .................................... คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นตง้ั สมมติ ฐานตามประเด็นปัญหาท่กี าหนดให้ดังนี้ ท่ี ประเดน็ ปัญหา สมมตฐิ าน ตวั อย่าง วธิ ีการเลยี้ งดขู องผปู้ กครองมีพฤตกิ รรม วธิ กี ารเลี้ยงดขู องผปู้ กครองมีผลต่อพฤตกิ รรม 1 ก้าวร้าวของเดก็ กา้ วรา้ วของเดก็ การสารวจพฤติกรรมการใชผ้ งชูรสในการ ประกอบอาหารของแม่ค้าโรงเรยี น..... 2 การสารวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ของ นกั เรียนชน้ั ม.1/...... 3 ผลกระทบทเ่ี กดิ จากการท่ไี ม่ไดอ้ ยู่อาศัยกบั บิดา-มารดาของนกั เรียน 4 การสกัดสจี ากวสั ดธุ รรมชาตเิ พ่อื นามาใช้ แทนสีนา้ 5 การศกึ ษาสมุนไพรที่มีผลตอ่ การดับกล่ินเทา้ 6 สารวจพฤตกิ รรมเก่ียวกบั การบรโิ ภค เคร่ืองด่ืมของนักเรียน ช้ัน ม.1/......... 7 ผลกระทบทีเ่ กิดจากการสภาวะน้ามนั แพง 8 การสารวจการเลน่ เกมออนไลนข์ องนกั เรียน ช้นั ม./1..... 9 การสารวจการประหยดั พลงั งานไฟฟา้ ของ นกั เรยี นชั้น ม.1/....... 10 การศกึ ษาผลการจัดทาบญั ชีครวั เรอื นของ ครอบครวั
17 บทท่ี 4 ความร้ทู ว่ั ไปเก่ียวกบั โครงงาน จะทาโครงงานไดอ้ ย่างไร ?? โครงงาน จดั เปน็ งานวจิ ยั ในระดับนักเรยี น ซ่งึ หมายถึง การศกึ ษาเรือ่ งราวตา่ งๆท่สี นใจ โดยนา วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ในการศกึ ษาและแก้ปญั หาในเรื่องใดเรื่องหน่งึ โดยมกี ารวางแผนการดาเนนิ การ การศกึ ษาเป็นการทาโครงงาน ลงมือศึกษา สารวจ ดาเนินการเพ่ือรวบรวมขอ้ มลู แลว้ นามาประมวลผลจนได้ ข้อสรุปออกมาเป็นผลงานท่สี มบูรณ์ โดยมคี รู อาจารย์ หรือผูท้ รงคณุ วฒุ เิ ปน็ ทป่ี รกึ ษา และกากบั ดูแลตั้งแต่การ เลอื กหัวขอ้ ท่จี ะศึกษาคน้ คว้า ดาเนนิ การวางแผนแบบประดิษฐ์ สารวจทดลอง เก็บรวบรวมข้อมลู รวมท้ังการ แปลผล สรุปผล และการนาเสนองาน องค์ประกอบของโครงงาน ถา้ เราพจิ ารณาโครงสรา้ งของร่างกายมนุษยเ์ ราก็จะพบวา่ ประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ท่สี าคัญคือ ศรีษะ ไหล่ลาตวั แขน ขา มือและเท้า นอกจากน้รี ่างกายของมนษุ ย์ยังมีอวัยวะอืน่ ๆ อีกมากมายท่ปี ระกอบกนั ทาให้ เปน็ ร่างกายของมนษุ ย์สมบูรณ์ เช่น หู ตา ปาก น้ิวมือ อวัยวะสบื พนั ธุ์ ฯลฯ ซงึ่ ทาให้มนุษยส์ ามารถดารงชีวติ อยู่ ไดใ้ นสงั คม โครงงาน กม็ ีลักษณะเช่นเดียวกัน คือ หมายถงึ ระบบโครงสร้างและองคป์ ระกอบต่าง ๆ ท้ังหมดของ กจิ การ หรือชน้ิ งานตา่ ง ๆ ท่ีเราจะตอ้ งดาเนินการ หรือผลติ ให้สาเรจ็ ลุล่วงไปตามจุดประสงค์ทกี่ าหนดไว้ สว่ นประกอบทสี่ าคัญของโครงงาน 10 ขัน้ ตอนการทาโครงงานอยา่ งง่าย 1. กาหนดแนวทางการทาโครงงานจากการสังเกตจากสงิ่ แวดล้อมใกล้ตัว 2. ระบุจดุ มุ่งหมายของโครงงานในรปู ของปัญหา การระบปุ ัญหาคอื การศึกษาสถานการณ์ ข้อเท็จจรงิ อาจอย่ใู นรปู ของข้อความ เพลง ตาราง กราฟ รูปภาพ ตามท่กี าหนดให้ หรอื ตามความสนใจ 3. คน้ คว้าหาข้อมูลเก่ียวกบั หัวข้อโครงงาน จากหนังสอื ตารา เอกสาร บทความ อนิ เทอรเ์ นต็ วารสารต่างๆ หรือคน้ หาจากงานวิจยั ทีผ่ ู้วจิ ัยไว้แล้ว 4. ตง้ั สมมติฐาน คอื การคาดคะเนคาตอบล่วงหน้า ก่อนทาการทดลอง โดยการสังเกต ความรู้ หรือ ประสบการณเ์ ดิมเปน็ พื้นฐาน 5. ออกแบบวธิ ีดาเนนิ การทาโครงงานอย่างละเอยี ด ได้แก่ แนวทางการศึกษาค้นควา้ วัสดอุ ปุ กรณ์ที่ จาเปน็ ตอ้ งใช้ วิธีการสารวจ รวบรวมขอ้ มลู วิธีการประดิษฐ์ วิธกี ารวเิ คราะห์ข้อมลู และการวางแผน ปฏิบตั งิ าน เชน่ กาหนดระยะเวลาในการทาการทางานแตล่ ะขนั้ ตอน เปน็ ต้น 6. ดาเนินการทาโครงงานเพ่อื รวบรวมข้อมูล ขั้นน้ีเปน็ การลงมอื สรา้ ง ทดลองหรือศึกษาเรือ่ งท่ีสนใจ 7. บนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั ิโครงงาน 8. สรปุ ผลจากขอ้ มูล เพ่อื ตอบว่าสมมตฐิ านท่ีต้ังไวถ้ ูกต้องหรือไม่ ตรงตามวตั ถุประสงค์หรอื ไม่ การสรุปผล เปน็ การสรปุ ทีใ่ ห้ได้ใจความส้นั ๆหรืออาจกล่าวไดว้ า่ เป็นการยอ่ ความผลการทดลองนนั่ เอง 9. เมือ่ นักเรยี นดาเนินการทาโครงงานจนครบทกุ ขน้ั ตอนที่ตอ้ งทา คือ การเขยี นรายงาน ขน้ั ตอนท้ังหมด ของโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นการนาเสนอผลงานการดาเนนิ การเป็นเอกสาร ซ่ึงการเขียน รายงานโครงงานการศกึ ษาค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง เป็นวธิ ีสื่อความหมายท่มี ีประสิทธภิ าพวธิ ี หนึง่ เพ่อื ให้คนอนื่ ๆ ได้เข้าใจแนวความคดิ วธิ ดี าเนนิ งานการศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู ผลทไ่ี ด้ ตลอดจนข้อสรปุ และ ข้อเสนอแนะตา่ งๆเก่ยี วกบั โครงงานนนั้
18 10. เผยแพรแ่ ละนาเสนอผลงานทไ่ี ด้ศกึ ษาคน้ ควา้ สาเรจ็ แล้ว ให้ผู้อืน่ ไดร้ ับรแู้ ละเขา้ ใจ อาจทาได้ในแบบ ต่างๆกนั เช่นการนาแสดงในรูปแบบนิทรรศการ ซง่ึ มีท้ังการจัดการแดงและการอธบิ ายดว้ ยคาพูด หรอื ใน รูปแบบของการรายงานปากเปล่า ไม่วา่ การนาเสนอผลงงานจะอยใู่ นรปู แบบใด ควรครอบคลมุ ประเดน็ สาคัญ คือ มคี วามชัดเจน เขา้ ใจง่ายและมีความถูกต้องในเนือ้ หา ส่วนประกอบและวิธีการเขยี นโครงงานการศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรูด้ ้วยตนเอง สว่ นประกอบและวิธีเขยี นโครงงานการศึกษาคน้ คว้าและสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง มีรายะเอียด ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ช่ือโครงงาน 8. สมมติฐาน (ถ้าม)ี 2. ชอ่ื ผทู้ าโครงงาน 9. ขอบเขตของการทาโครงงาน 3. ช่ือทป่ี รกึ ษาโครงงาน 10. ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับหรอื ผลที่คาดว่าจะได้รบั 4. บทคดั ยอ่ 11. วิธดี าเนินงาน 5. กติ ตกิ รรมประกาศ 12. ผลการศกึ ษาค้นคว้า 6. ทีม่ าและความสาคญั ของโครงงาน 13. สรุปผลและขอ้ เสนอแนะปญั หาอปุ สรรค 7. วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน 14. เอกสารอ้างองิ ชอ่ื เอกสาร ขอ้ มูล ทไี่ ด้จากแหล่ง ตา่ ง ๆ ขน้ั ตอนการทาโครงงานอย่างงา่ ย – โครงงานการศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรูด้ ้วยตนเอง ขนั้ ตอนที่ 1 การคิดเลือกหวั เร่อื งและต้ังช่อื โครงงาน ชื่อโครงงานเป็นส่ิงสาคัญประการแรก เป็นข้ันตอนสาคัญและยากท่ีสุด เพราะช่ือโครงงานจะช่วย เชื่อมโยงความคิดไปถึงวัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน และควรกาหนดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลัก ควรมคี วามเฉพาะเจาะจงและชัดเจนและควรเป็นเรอ่ื งแปลกใหม่ ซึ่งแสดงถงึ ความคิดสร้างสรรค์และประโยชน์ ของเร่ืองท่ีจะศึกษาด้วย หัวเรื่องควรได้มาจากความสนใจ คาถาม ปัญหา ความสงสัยหรืออยากรู้อยากเห็น เกี่ยวกับเรือ่ งตา่ งๆ ทง้ั ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
19 ข้ออควรคานงึ เกีย่ วกบั การคดั เลอื กเรือ่ งทจ่ี ะทาโครงงาน 1. เหมาะสมกับระดับความรู้ 2. เหมาะสมกับระดบั ความสามารถ 3. วัสดอุ ปุ กรณ์ที่จาเปน็ ตอ้ งใช้ 4. งบประมาณเพียงพอ 5. ระยะเวลาท่ีใชท้ าโครงงาน 6. มีครหู รอื ผูท้ รงคณุ วฒุ เิ ปน็ ทป่ี รกึ ษา 7. มคี วามปลอดภัย 8. มีแหล่งเรยี นรหู้ รอื มเี อกสารเพยี งพอทจ่ี ะค้นควา้ ขัน้ ตอนที่ 2 การศกึ ษาเอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ค้นคว้าหาข้อมูลเก่ียวกับหัวข้อโครงงาน จากหนังสือ ตารา เอกสาร บทความ อินเทอร์เน็ต วารสาร ต่างๆ หรือค้นหาจากงานวิจัยที่ผู้วิจัยไว้แล้ว รวมไปถึงการขอคาปรึกษา ขอแนะนาหรือข้อมูลต่าง ๆ จากผู้ คุณวฒุ ิทเ่ี ก่ียวข้อง ขน้ั ตอนที่ 3 ออกแบบวิธีดาเนนิ โครงงานและการเขียนรายงาน โดยทัว่ ไปเค้าโครงของโครงงานจะมหี ัวข้อดังตอ่ ไปนี้ 1. ชอื่ โครงงาน ควรตั้งช่ือโครงงานการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ให้สื่อความหมายได้ชัดเจน ครอบคลุมความหมายของกิจกรรมที่ทาให้ชัดเจนวา่ ทาอะไร ต้องเปน็ ชื่อทเ่ี หมาะสม ชดั เจน ดึงดดู ความสนใจ และเฉพาะเจาะจงวา่ จะทาอะไร ไม่ควรตั้งช่ือโครงงานท่มี ีความหมายกว้างเกินไปตวั อย่างเช่น โครงงานจิตใจใส สะอาด กวาดลานวัด , โครงงานรักใสๆหว่ งใยใสถ่ ุง , โครงงานร้ทู นั น้า รู้ทันสึนามิ 2. ชื่อผทู้ าโครงงาน เป็นชื่อผู้รับผิดชอบโครงงาน ในกรณีงานกลุ่มต้องระบุหนา้ ท่ีความรับผิดชอบของแต่ละคนให้ชัดเจน พิจารณาความเหมาะสมในด้านความสามารถ โอกาสในการทางาน กาลังทุนทรัพย์สินของแต่ละบุคคล ท้ังน้ี เพ่ือจะได้ทราบว่า โครงงานอยู่ในความรับผิดชอบของใครและสามารถติดตามได้ที่ใด หรือโครงการนี้อยู่ใน ความรบั ผิดชอบของใคร เม่ือมปี ัญหาจะไดต้ ดิ ตอ่ ประสานงานได้อยา่ งง่าย 3. ชือ่ ที่ปรึกษาโครงงาน การเขียนช่อื ครทู ีปรกึ ษา ผู้ทรงคณุ วฒุ ิต่าง ๆ ควรใหเกยี รติยกย่องเผยแพร่ รวมท้งั ขอบคุณที่ไดแ้ นะนา การทาโครงงานจนบรรลเุ ป้าหมาย 4. บทคดั ย่อ เปน็ การอธิบายสรุปถงึ ท่มี าและความสาคญั ของโครงงานอยา่ งครอบคลุมประเด็นสาคัญ 3 ประเดน็ คอื โครงงานนม้ี งุ่ ทาอะไร (วัตถปุ ระสงค์) ดาเนนิ การทาอยา่ งไร (วธิ ดี าเนนิ การ) และผลทไ่ี ด้เป็นอย่างไร (ผลการศึกษาทดลอง) 5. กิตติกรรมประกาศ ส่วนใหญ่การทาโครงงานเป็นกิจกรรมที่มักจะได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่าย ดังน้ันเพื่อเป็นการ เสรมิ สรา้ งบรรยากาศของความรว่ มมอื จงึ ควรกล่าวขอบคณุ บุคลากร หนว่ ยงานต่างๆที่มีส่วนช่วยให้โครงงานน้ี สาเร็จ
20 6. ท่ีมาและความสาคญั ของโครงงาน ในการเขียนที่มาและความสาคัญของโครงงาน ผู้จัดทาโครงงานต้องศึกษาหลักการ ทฤษฎีเกี่ยวกับ เรื่องที่สนใจจะศึกษา หรือพูดให้เข้าใจง่ายๆว่า เร่ืองที่สนใจจะศึกษาน้ันต้องมีทฤษฎี แนวคิดมาสนับสนุน เพราะ ความรเู้ หล่าน้ีจะเป็นแนวทางสาคญั ในเรอื่ งตอ่ ไปนี้ - แนวทางการต้ังสมมติฐานของเร่ืองทีจ่ ะศกึ ษา - แนวทางในการออกแบบการทดลองหรอื การรวบรวมขอ้ มลู - ใช้ประกอบการอภิปรายผลการศกึ ษา ตลอดจนเสนอแนะเพื่อนาความรแู้ ละส่งิ ประดิษฐท์ ค่ี ้นพบไป ใช้ประโยชนต์ ่อไป การเขียนท่ีมาและความสาคัญของโครงงาน คือ การอธิบายให้กระจ่างชัดว่า ทาไมต้องทา ทาแล้วได้ อะไร หากไม่ทาจะเกิดลเสียอย่างไร ซ่ึงมีหลักการเขียนคล้ายเรียงความท่ัวไป คือมี ส่วนนา ส่วนเนื้อหา และ สว่ นสรปุ 7. วัตถุประสงคข์ องการทาโครงงาน คือ การกาหนดวัตุประสงค์ปลายทางท่ีต้องการจากการทาโครงงาน ในการเขียนวัตถุประสงค์ ต้อง เขยี นใหช้ ดั เจน อา่ นเข้าใจงา่ ย สอดคล้องกับชื่อโครงงาน หากมวี ตั ปุ ระสงค์หลายประเดน็ ใหร้ ะบุเป็นข้อๆ การ เขยี นวัตถุประสงคม์ ีความสาคัญตอ่ แนวทางการศึกษา ตลอดจนความรู้ที่ค้นพบหรือส่งิ ประดิษฐท์ ่ีคน้ พบนั้นจะ มคี วามสมบูรณค์ รบถว้ น คือ ต้องสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคท์ ุกๆขอ้ 8. สมมติฐาน (ถ้าม)ี ** ส่วนใหญ่ใช้กับโครงงานประเภทการทดลอง สมมติฐานของการศึกษา เปน็ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีผจู้ ัดทาโครงงาน ตอ้ งให้ความสาคัญ เพราะ จะทาให้เป็นการกาหนดแนวทางในการออกแบบการศึกษาให้ชัดเจนและรอบคอบ ซึ่งสมมติฐาน คือการ คาดคะเนคาตอบของปัญหาอยา่ งมหี ลักการและเหตุผล ตามหลกั การ ทฤษฎี รวมถึงผลการศกึ ษาของโรงงานท่ี ไดท้ ามาแลว้ 9. ขอบเขตของการทาโครงงาน ผู้จัดทาโครงงาน ต้องให้ความสาคัญต่อการกาหนดขอบเขตของการทาโครงงาน เพ่ือให้ได้ผล การศึกษาทนี่ ่าเช่อื ถอื ซึ่งได้แก่ การกาหนดประชากร กล่มุ ตัวอยา่ ง ตลอดจนตัวแปรที่ศึกษา 9.1) การกาหนดประชากร คอื สมาชกิ ท้ังหมดที่เกี่ยวขอ้ งกับปัญหาวิจยั 9.2) การกาหนดกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา คือ สมาชิกส่วนหนึ่งของประชากร และกลุ่มตัวอย่างท่ีดีน้นั จะตอ้ งเป็นตัวแทนของประชากร โดยความจาเปน็ ของการใช้กลุ่มตัวอยา่ งคือมีความเป็นไปไดใ้ นการเก็บข้อมูล มีความประหยดั และมปี ระสิทธิภาพ 9.3) ระยะเวลาดาเนนิ การ เปน็ การกาหนดระยะเวลาการปฏบิ ตั ิงานทั้งโครงงาน 9.4) เนอ้ื หา เปน็ การเขยี นเน้ือหาทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับเร่ืองท่ตี ้องการศกึ ษา ค้นคว้า ถ้ามหี ลายเรื่องให้เขียน เป็นข้อย่อย ๆ 9.5) งบประมาณ กการจัดทาโครงงานทกุ ครงั้ ต้องมกี าร ประมาณคา่ ใช้จ่ายไวล้ ่วงหน้า จดั ทา รายละเอียดรายจา่ ยทเี่ กดิ ขน้ึ ในการดาเนินโครงงาน เป็นการระบุถึงจานวนเงนิ จานวนบคุ คล จานวนวสั ดุ- อุปกรณ์ และปัจจัยอืน่ ๆ ท่ีจาเป็นตอ่ การดาเนินงาน เพราะงบประมาณเปน็ ตวั ชว่ ยให้งานสาเรจ็ ลงได้ถา้ ขาด งบประมาณแลว้ ทกุ อย่างก็อาจลม้ เหลวได้
21 การจดั ทางบประมาณและทรัพยากรในการดาเนินงานโครงงาน ผวู้ างแผนโครงงานควรต้องคานึงถึง หลกั สาคัญ 4 ประการในการจัดทาโครงงาน โดยจะต้องจดั เตรยี มไว้อย่างเพียงพอและจะตอ้ งใชอ้ ย่างประหยดั ดงั นี้ 1. ความประหยดั (Economy) 2. ความมปี ระสทิ ธภิ าพ (Efficiency) 3. ความมีประสทิ ธผิ ล (Effectiveness) 4. ความยุติธรรม (Equity) 9.6) นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ เป็นการอธิบายควาหมายของตัวแปรท่ีศึกษา และบอกวิธกี ารทดลองของตัว แปรเหล่านั้น เพือ่ เป็นแนวทางการออกแบบการทดลอง ตลอดจนมผี ลต่อการเขียนรายงานการทาโครงงานท่ี ถกู ต้อง สอ่ื ความหมายให้ผ้ฟู ังและผอู้ ่านเข้าใจตรงกัน 10. ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั หรอื ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั ให้ระบุผลท่ีจะเกดิ ข้นึ เม่ือเสร็จสน้ิ โครงงาน เป็นผลท่ไี ดร้ บั โดยตรงและผลพลอยไดห้ รอื ผลกระทบจากโครงงาน เป็นผลในด้านดีท่ี คาดว่าจะได้รบั จะต้องสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์และเปา้ หมาย 11. วธิ ีดาเนินการ คือ วิธีการชว่ ยให้งานบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการทาโครงงานต้งั แตเ่ ริ่มเสนอโครงงานกระทั่งสน้ิ สดุ โครงงาน ประกอบด้วย 11.1) การกาหนดประชากร กลุ่มตวั อย่างท่จี ะศึกษา คอื การบอกสมาชิกทง้ั หมดที่เก่ยี วข้องกับปญั หา วิจัย 11.2) วธิ กี ารดาเนินการ คือ การบอกวิธีการสรา้ งโครงงานท่ีศึกษา ค้นควา้ มา เปน็ ลาดับขั้นตอน โดย เริม่ จากการบอก วัสดุ-อปุ กรณ์ท่ีใช้ แลว้ บอกวธิ กี ารสรา้ งโครงงานน้ันๆ เช่น นกั เรยี นทาโครงงานเรื่องการศึกษา ลายผ้าบาติกแบบโมเดิรน์ กใ็ หบ้ อกวธิ ีการสร้างลายผ้าบาติกแบบโมเดิร์นเป็นลาดบั ข้ันตอน เพื่อใหผ้ ู้ฟงั และ ผู้อ่านเขา้ ใจวธิ ีการตรงกันและสามารถทาตามได้ 11.3) การสรา้ งเครื่องมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เช่น แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบวดั ความพึงพอใจ แบบทดสอบ เป็นต้น 11.4) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู คือ การนาโครงงานทศี่ ึกษา ค้นคว้า นามาใหก้ ลมุ่ ตัวอยา่ งได้ศกึ ษา ทดลองใช้ หลังจากน้นั ก็ใหก้ ลมุ่ ตัวอยา่ งทาแบบเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ผี ้จู ัดทาสรา้ ง เช่น แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ แบบวัดความพึงพอใจ แบบทดสอบ เป็นตน้ 11.5) การวิเคราะหข์ อ้ มูล คอื การนาผลท่ไี ด้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล มาวิเคราะห์ดว้ ยวิธีทาง คณิตศาสตร์ สถิติ เพ่อื ที่จะนาไปสรปุ ผลออกมาเป็นข้อความ กราฟ แผนผัง ฯลฯ ต่อไป ในการเขยี นวิธดี าเนนิ การให้ระบุกจิ กรรมที่จะทาใหช้ ัดเจน วา่ จะทาอะไรบ้าง เรยี งลาดับกจิ กรรมก่อน- หลัง ใหช้ ัดเจน เพือ่ สามารถนาโครงงานไปปฏิบัติไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื งและถูกต้อง 12. ผลการศกึ ษาค้นควา้ คือ การนาเสนอข้อมูล หรอื ผลการศกึ ษาต่าง ๆ ที่สงั เกตรวบรวมได้ รวมทงั้ เสนอผลการวิเคราะห์ ขอ้ มลู ทไี่ ดว้ เิ คราะหไ์ ดด้ ้วย 13. สรปุ ผลและข้อเสนอแนะปญั หาอปุ สรรค สรุปผลที่ได้จากข้อมูลการศึกษา ถ้ามีการตั้งสมมติฐาน ควรระบุด้วยว่า ข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือ คัดค้านกับสมมติฐานที่ต้ังไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนี้ควรกล่าวถึงการนาผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์ การ ดาเนินงานตามโครงการนี้ มปี ญั หาและอุปสรรคใดบ้าง ทัง้ ในด้านตัวบุคคลท่ีร่วมงาน ข้นั ตอนการปฏิบัติ ภยั
22 ธรรมชาติ พร้อมชีแ้ จงสาเหตุท่ีอาจเกิดข้นึ ดว้ ย รวมท้ังแนวทางแกไ้ ข ปญั หาและอปุ สรรคที่ไม่เปน็ ไปตามแผน ข้ันตอนการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน ระยะเวลา วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดด้วย รวมท้ังข้อเสนอแนะ ปรับปรุงแก้ไข หากมผี ูศ้ ึกษาค้นคว้าเรอื่ งทานองน้ตี ่อไปในอนาคต 14. เอกสารอ้างอิง ช่ือเอกสาร ข้อมลู ทีไ่ ด้จากแหล่งต่าง ๆ ใหบ้ อกช่อื ผู้แตง่ หนงั สอื คร้งั ทพ่ี มิ พ์ สถานที่พมิ พ์ สานักพมิ พ์และปีที่พิมพ์ หรือแหลง่ ข้อมูลท่ีนกั เรยี น ใชค้ น้ ควา้ เพอ่ื นามาเปน็ ขอ้ มลู ในการเขียนโครงงาน (ถา้ มีแหล่งค้นควา้ มากกว่า 5 แหล่ง ใช้คาว่า บรรณานุกรม) ควรเขียนตามหลักการนิยม ข้ันตอนที่ 4 การปฏบิ ัตโิ ครงงาน เป็นการดาเนินงานตามแผนท่ีไดก้ าหนดไว้ในเคา้ โครงของโครงงาน และต้องมกี ารจดบนั ทกึ ข้อมูลตา่ ง ๆ อย่างละเอยี ด จดั ทาอยา่ งเป็นระบบ เปน็ ระเบียบ เพอื่ ทจี่ ะไดใ้ ช้เป็นขอ้ มลู ต่อไป การตดิ ตามและการประเมินผล เป็นวิธกี ารหรือเทคนคิ ในการดูแลและควบคมุ การปฏิบตั ิงานให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ทัง้ นีต้ อ้ งบอกให้ ชัดเจนวา่ ก่อนเริม่ ทาโครงงาน ระหวา่ งทาโครงงานและหลงั การทาโครงงาน จะมกี ารติดตามและประเมินผล อย่างไร เป็นการระบุวา่ มีการตดิ ตาม การควบคุม การกากับ และการประเมินผลโครงงานอย่างไร จะประเมนิ ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานโครงงานไดอ้ ย่างไรใครเป็นผูร้ ับผดิ ชอบ โดยระบุวธิ ีหรือเครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการ ประเมนิ ดว้ ย ท้งั นหี้ ัวข้อของการประเมินจะตอ้ งสอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ตามโครงงานด้วย ดังน้ัน เพอ่ื ให้การติดตามและประเมินผลโครงการสอดคล้องระหว่างการวางแผนกับการปฏิบตั ิงาน ควรพิจารณาดาเนนิ การเปน็ 3 ระยะ คอื 1. ประเมนิ ผลกอ่ นการทาโครงการ หรือก่อนการปฏิบตั ิงาน 2. ประเมนิ ผลระหวา่ งทม่ี ีการทาโครงงาน 3. ประเมนิ ผลภายหลงั การทาโครงงาน (เมอื่ เสรจ็ ส้ินโครงงาน) ข้นั ตอนที่ 5 การเขียนรายงาน ควรใชภ้ าษาทเี่ ข้าใจงา่ ย กระชับ ชัดเจน และครอบคลมุ ประเดน็ สาคญั ของโครงงาน โดยสามารถเขยี น ให้อยใู่ นรูปแบบต่าง ๆ เชน่ การสรปุ รายงานผล ซึ่งประกอบไปด้วยหัวขอ้ ต่าง ๆ เช่น บทคัดบ่อ บทนา เอกสาร ทเ่ี กีย่ วข้อง เป็นต้น ขั้นตอนที่ 6 การแสดงผลโครงงาน การแสดงผลโครงงาน เปน็ การนาเสนอผลงานทีไ่ ดศ้ กึ ษาคน้ คว้าใหผ้ ูอ้ นื่ ได้รบั ร้แู ละเข้าใจอาจจะทาใน รูปแบบตา่ ง ๆ เช่น การจดั นทิ รรศการ การรายงานปากเปลา่ การรายงานประกอบสไลดค์ อมพวิ เตอร์ เป็นต้น การแสดงผลงานโครงงานทาได้หลายระดบั เชน่ 1. การจัดแสดงผลงานภายในชั้นเรียน 2. การจัดนิทรรศการภายในโรงเรยี นเป็นการภายใน 3. การจัดนทิ รรศการในงานประจาปขี องโรงเรียน 4. การสง่ ผลงานเข้ารว่ มในการแสดงหรือประกวดภายนอกโรงเรียน 5. การจัดนทิ รรศการ
23 การแสดงผลงานเปน็ งานข้ันสุดท้ายและการนาเสนอโครงงานเป็นขั้นตอนท่สี าคัญ อีกประการหน่งึ ของการทาโครงงาน เพราะสะท้อนการทางานของนักเรยี น ความรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั เรอื่ งที่ทา การตอบข้อ ซักถาม บคุ ลกิ ท่าทาง ท่วงทา่ วาจา ไหวพรบิ ปฏภิ าณ นกั เรียนควรไดร้ บั การฝกึ บคุ ลกิ ภาพในการนาเสนอให้ สงา่ ผ่าเผย พร้อมทั้งฝกึ ใหม้ ีมารยาทในการฟังด้วย การเสนอผลงานโครงงานมีหลายลกั ษณะคือ 6.1 บรรยายประกอบแผน่ ใส / สไลด์คอมพวิ เตอร์ 6.2 บรรยายประกอบแผงโครงงาน 6.3 การจัดนทิ รรศการ 6.3.1 นทิ รรศการ คือ การนาวสั ดุหรือส่อื แสดงหลายๆอย่าง เช่น ของจริง หนุ่ จาลอง ภาพวาด ภาพถา่ ย ปา้ ยนิเทศ ภาพโฆษณา ฯลฯ มาจดั แสดงเพื่อใหผ้ ดู้ ไู ดเ้ ห็นและเกิดการเรียนรอู้ ยา่ งกว้างขวางหลาย แงม่ ุม ซึ่งโดยทัว่ ไปมักแบ่งนิทรรศการออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1. นทิ รรศการถาวร เป็นการรวบรวมวสั ดุหรือสื่อแสดงอืน่ ๆมาจดั แสดงไว้ในสถานท่ี หนง่ึ เปน็ การถาวร สว่ นใหญส่ อื่ ที่จดั ในนทิ รรศการถาวรนีจ้ ะมกี ารเปลีย่ นแปลงไมม่ ากนกั การจัดนิทรรศการ ถาวร ได้แก่ การจัดนิทรรศการในพพิ ิธภัณฑ์ต่างๆ 2. นทิ รรศการช่วั คราว เป็นการแสดงหรือรวบรวมวสั ดตุ ่างๆ มา จดั เปน็ เร่ืองราว เฉพาะเร่อื งบางโอกาส เชน่ การจดั นิทรรศการเนอื่ งในวันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา หรอื วาระโอกาสพิเศษ การจดั นทิ รรศการเกย่ี วกับวฒั นธรรมไทย เปน็ ต้น 3. นิทรรศการเคลอื่ นท่ี เป็นการเกบ็ รวบรวมวสั ดุหรือสอ่ื แสดงต่าง ๆมาจดั แสดงเป็น เรอื่ งราวเฉพาะเรอ่ื งเชน่ เดยี วกบั การจัดนทิ รรสการชวั่ คราวแตว่ ัสดุส่งิ ของต่าง ๆ ท่จี ัดไว้ จะจัดในลกั ษณะท่ี เตรียมไวใ้ หส้ ะดวกตอ่ การเคลือ่ นท่ีและเปล่ียนแปลงไปยงั สถานที่ต่าง ๆไดด้ ้วย 6.3.2 หลกั ในการจัดนทิ รรศการ การจัดนิทรรศการในโรงเรียนหรอื ในช้นั เรยี นสว่ นใหญ่หรอื เกอื บทง้ั หมดจะเปน็ การจดั นทิ รรศการแบบช่วั คราว โดยมีนกั เรยี นเป็นผมู้ สี ่วนในการจัดหาอปุ กรณห์ รอื จดั วางอปุ กรณ์ แตเ่ พ่ือเปน็ การ สง่ เสริมความคิดสรา้ งสรรค์และสง่ เสริมความสามารถสงั เคราะห์ความรู้ไว้กบั นักเรียน 1. กาหนดจดุ มงุ่ หมายในการจดั นิทรรศการวา่ ต้องการจดั เพอ่ื อะไร และต้องการให้ ใครดบู ้าง การจัดนทิ รรศการเพือ่ การเรียนรู้อาจจัดในห้องเรยี นเป็นครั้งคราวเพื่อใหน้ ักเรียนในหอ้ งดู 2. เลอื กเร่อื งทีต่ ้องการจัด และกาหนดเนอื้ สาระของเรอื่ งว่าต้องการในเนอ้ื สาระ อะไรบา้ ง และมขี อบเขตมากนอ้ ยเพียงใด 3. จัดเตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ์ และสถานที่ที่จะจดั วางวัสดอุ ปุ กรณ์ ต่างๆรวมท้ังทิศทางการ เข้าชมนทิ รรศการของผู้ดดู ว้ ย
24 4. ถ้าเป็นการจดั นทิ รรศการเพือ่ ใหน้ กั เรียนเขา้ ชมพรอ้ มกนั หลายๆห้องควรมกี าร วางแผนในการประชาสมั พันธด์ ้วย ขนาดของป้ายนิเทศ ข้อมลู อา้ งองิ : สเุ มศ ชาแท่น. (2561). รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ IS 20201. สืบค้นเมื่อวันท่ี 15 มนี าคม 2564, จากhttps://sites.google.com/site/teacherreybanis1/home
25 ใบงานที่ 5 ความร้ทู ว่ั ไปเกยี่ วกบั โครงงาน วิชา การศึกษาค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ (IS 20201) ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ช่ือ......................................................................................ชน้ั ..................... เลขท.ี่ .................................... คาสัง่ ให้นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ เรอ่ื งความรทู้ ว่ั ไปเก่ยี วกบั โครงงาน แลว้ สรุปควารอู้ อกมาในรูปแบบของแผน ทคี่ วามคิด (Mind Mapping) พร้อมระบายสีตกแตง่ ใหส้ วยงาน
26 บทที่ 5 ตัวแปรและประเภทของตัวแปร ตวั แปร (Variable) ตัวแปร หมายถึง คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของเฉพาะของส่ิงท่ีได้จากการสังเกต วัด สอบถามจาก หนว่ ยท่ศี ึกษาที่มีค่าไดห้ ลายค่าและเปล่ียนแปลงได้ ซึ่งอาจเป็นสิง่ ที่มชี ีวติ หรือส่งิ ที่ไม่มีชีวิตก็ได้ เช่น อายุ เพศ ระดบั การศกึ ษา อาชีพ ตาแหนง่ งาน เปน็ ตน้ เม่ือหน่วยศึกษาแตกต่างกัน ข้อมูลท่ีได้ก็แตกต่างกันออกไป เช่น ตัวแปร คือ อายุ ข้อมูลท่ีได้จาก หน่วยที่ศึกษาอาจมีอายุเป็น 18, 20, 30 เป็นต้น หรือ ตัวแปรคือระดับการศึกษา ข้อมูลท่ีได้จากหน่วยศึกษา อาจเป็นระดับมัธยมศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท เป็นต้น หากหน่วยท่ีได้ศึกษาใดกต็ ามให้ข้อมูลเหมอื นกนั หมดหรืออย่างเดียวจะไม่เรียกหน่วยศึกษาน้ันว่าตัวแปร เช่น ความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงาน เท่ากันหมด ความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ไม่จัดว่าเป็นตัวแปร เป็นต้น สาหรับตัวแปรทางด้านรัฐ ประศาสนศาสตร์ ส่วนใหญ่จะเปน็ เรือ่ งความคิดเห็น ความพึงพอใจ การมสี ่วนร่วม เปน็ ต้น ประเภทของตวั แปร โดยทว่ั ไปตัวแปรจะแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1. ตวั แปรเชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Variable) 2. ตัวแปรเชิงปรมิ าณ (Quantitative Variable) ตวั แปรเชงิ ปรมิ าณ คอื ตัวแปรทป่ี ระกอบด้วยขอ้ มูลท่ีเปน็ ตัวเลข เกี่ยวขอ้ งกบั สิ่งทเ่ี ปน็ รูปธรรม สามารถวดั ข้อมูลสามารถแสดงออกมาในรปู สถติ ิได้ ใชแ้ ทนขนาดหรือปรมิ าณ เช่น อายุ ประกอบด้วยอายตุ ่าง ๆ หน่วยเปน็ ปี เป็นตน้ ตัวแปรเชิงคุณภาพ หรอื อาจเรียกวา่ ตวั แปรเชิงกลุ่ม คือ ตัวแปรทป่ี ระกอบด้วยข้อมูลท่ีไม่สามารถวัด ออกมาเป็นตัวเลขได้ เช่น เพศ อายุ รายได้ เช้ือชาติ ความคิดเห็น เจตคติ ความคิดเห็น การมีส่วนรว่ ม ความ เปน็ ผูน้ า ทศั นคติ ตัวอย่าง เพศ จะประกอบดว้ ยเพศต่าง ๆ ไมม่ ีหน่วยวัด แตส่ ามารถแทนคา่ เป็นตวั เลขได้โดย ไม่สามารถนามาคานวณแทนได้ เช่น เพศชายให้แทนค่าเป็นหมายเลข 1 เพศหญิงให้แทนค่าเป็น หมายเลข 2 เป็นตน้ เกย่ี วข้องกบั สิ่งท่ีเปน็ นามธรรม ลกั ษณะและชนดิ ของตวั แปร ในการวจิ ัยผ้วู จิ ยั จาเปน็ ต้องจาแนกตัวแปรตามการวเิ คราะหว์ า่ ตวั แปรทง้ั หมดก่ตี ัว มอี ะไรบา้ ง และ เปน็ ตัวแปรชนิดใดบ้าง ซ่ึงสามารถจาแนกตัวแปรได้ ดังนี้ 1. ตัวแปรต้นหรอื ตวั แปรอิสระ (Independent Variable) คอื ตวั แปรท่ีเกิดขนึ้ กอ่ นหรอื เปน็ ตัว แปรที่เปน็ เหตุ ทาให้เกดิ ผลตามมา 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือตัวแปรทีเ่ กิดขน้ึ เน่ืองจากตวั แปรตน้ หรือเป็นตัวแปร ผล อันเกิดจากเหตุ ตวั อย่างของตัวแปรอิสระกบั ตวั แปรตาม เชน่ การศึกษาเปรียบเทียบพฤตกิ รรมเชงิ จริยธรรมของ ผู้นาท้องถ่ิน ตวั แปรอิสระ ประกอบดว้ ย 1) เพศ มี 1 เพศ คือ เพศชาย เพศหญิง 2) ตาแหน่ง มี 3 ตาแหนง่ คอื นายก อบต. ประธานสภา อบต. ส.อบต.
27 ตวั แปรตาม ประกอบดว้ ย 1) พฤตกิ รรมดา้ นการเสียสละ 2) พฤติกรรมดา้ นการมีวินัย 3) พฤติกรรมด้านความขยนั หมั่นเพียร 4) พฤตกิ รรมด้านความซือ่ สตั ย์ 5) พฤตกิ รรมด้านความมีน้าใจนักกีฬา 6) พฤตกิ รรมดา้ นการให้ความร่วมมือ 7) พฤตกิ รรมด้านการร้จู ักชว่ ยตนเอง ตวั อย่างการวิจัยเร่อื ง การเปรยี บเทียบการมีวนิ ัยแห่งตนและผลสัมฤทธิท์ างการอบรมผู้นา ของ ส.อบต.ตาบลสะเดยี ง อาเภอเมอื ง จังหวัดเพชรบรู ณ์ ระหวา่ งวธิ กี ารอบรมแบบกระบวนการกลมุ่ สมั พนั ธก์ บั การ อบรมแบบบรรยาย ตวั แปรต้น คอื วธิ กี ารอบรม ซึง่ มี 1 วิธี คือ 1) วธิ ีอบรมแบบกระบวนการกล่มุ สมั พนั ธ์ 2) วิธีอบรมแบบบรรยาย ตวั แปรตาม คอื 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการอบรมผูน้ า 2) ความมวี นิ ัยแห่งตน 3. ตัวแปรควบคุม (Control Variable) เป็นตวั แปร คือ ตัวแปรที่เราต้องจดั ใหเ้ หมือนกันทัง้ หมด ในชดุ ทดลอง 4. ตัวแปรแทรกซ้อนหรือเรียกว่าตัวแปรเกิน (Extraneous Variable) เป็นตัวแปรที่ไม่ต้องการ ศึกษาของงานวิจัยเรื่อง หน่ึง ๆ ในขณะน้ัน มีลักษณะเหมือนตัวแปรอิสระ ตัวแปรแทรกซ้อนน้ีจะส่งผลมา รบกวนตัวแปรอิสระท่ีศึกษา ทาให้ผลการวัดค่าตัวแปรคลาดเคล่ือนไปได้ ตัวแปรชนิดน้ีจึงต้องทาการควบคุม ให้เกิดข้ึนน้อยท่ีสุด ตัวแปรชนิดนี้ผู้วิจัยคาดการณ์ได้ว่าจะมีอะไรบ้าง จึงสามารถทาการควบคุมได้ ล่วงหน้า ตัวอย่างเช่น ในการทดลองการอบรมที่กล่าวมาแล้ว เพ่ือจะศึกษาว่า ผู้นาจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการ อบรมแตกต่างกันหรือไม่ ส่ิงท่ีเป็นตัวแปรแทรกซ้อนจะได้แก่ วิทยากร ถ้าใช้วิทยากรคนละคนอาจจะมีผลทา ให้ผลสัมฤทธ์ิทางการอบรมของผู้นาต่างกันได้ ดังนั้นจึงต้องควบคุมโดยใช้วิทยากรคนเดียวกัน นอกจากนั้น พื้นฐานของผู้เข้าอบรม ทัศนคติและความสนใจของผู้เข้าอบรมที่มีต่อวิธีการอบรม กระบวนการวชิ าท่ีใช้อบรม เพศของผู้เข้าอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่าน้ีเป็นตัวแปรแทรกซ้อน ผู้วิจัยต้องทาการ ควบคุมตัวแปรเหล่าน้ีให้เกิดมีข้ึนน้อยท่ีสุด เพื่อให้ตัวแปรตามที่วัด เกิดจากการกระทาของตัวแปรอิสระแต่ เพียงอย่างเดียว ผลการวิจยั จึงจะถูกตอ้ งมากทส่ี ดุ
28 ตวั อยา่ งเรอื่ ง ตัวแปร ตวั อยา่ งที่ 1 เด็กชายบอยต้องการศึกษาว่าดนิ ต่างชนดิ กันมีผลต่อความสูงของต้นพชื หรือไม่ ทาการทดลอง โดยปลูกต้นถ่วั เขียว ลงในกระถางทม่ี ขี นาดเท่าๆกัน โดยกระถางแตล่ ะใบใส่ดิน 3 ชนิด คอื ดนิ เหนยี ว ดนิ ร่วน ดนิ ทราย รดนา้ ปกติ ทาการทดลองเป็นเวลาสามสปั ดาห์ ตัวแปรตน้ คือ ชนดิ ของดนิ ที่เราใช้ปลูกต้นถ่วั เขียวนน่ั เอง (เปล่ียนชนิดของดนิ เพือ่ ดคู วามสูงของตน้ ถวั่ เขียววา่ เหมอื นกันหรือไม)่ ตัวแปรตาม คือ ความสูงของตน้ ถ่ัวเขียว (เปน็ ผลของการทดลอง เป็นสง่ิ ทเี่ ราต้องเกบ็ ค่า) ตวั แปรควบคมุ คอื พันธุ์ของถั่วเขียวทีป่ ลกู , ปริมาณนา้ ทร่ี ด, ปริมาณแสง, ขนาดกระถาง เปน็ ตน้ (เป็นส่งิ ท่เี ราต้องทาให้เหมือนกัน เปน็ ส่ิงท่ีเราตอ้ งควบคุม เพราะส่งผลตอ่ การทดลอง สมมติว่าถ้ากระถางหน่งึ รดน้า อีกกระถางหนึ่งไมไ่ ดร้ ด กอ็ าจทาใหค้ วามสูงของต้นถว่ั เขยี วแตกต่างกนั กไ็ ด้ ) ตัวอยา่ งท่ี 2 การสร้างแบบฝึกทกั ษะการอ่านคาท่ีใชอ้ กั ษร ร ล ว ควบกลา้ สาหรับนักเรียนชัน้ ป.6 ตัวแปรตน้ คอื แบบฝึกทักษะการอ่านคาทใ่ี ช้อกั ษร ร ล ว ควบกลา้ ตัวแปรตาม คือ ความสามารถในการอา่ นคาที่ใช้อักษร ร ล ว ตัวแปรควบคุม คอื พ้นื ฐานของนักเรียนประถมศกึ ษาปีที่ 6 ตวั อยา่ งท่ี 3 การสร้างความรบั ผิดชอบต่อสังคมของนกั เรยี นชน้ั มัธยมตอนต้น โรงเรียนสุรศกั ดมิ์ นตรี ในการใช้ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่หนา้ ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์โดยใช้ส่อื ปา้ ยนเิ ทศแบบอนิ โฟกราฟฟกิ ตัวแปรตน้ คอื สื่อป้ายนิเทศแบบอินโฟกราฟฟกิ ตัวแปรตาม คือ ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมของนักเรยี นชน้ั มธั ยมปลาย โรงเรียนราชวินิต ตวั แปรควบคมุ คือ ทัศนคติความรูส้ ึกรบั ผิดชอบต่อสังคมของนักเรียน ตวั อย่างท่ี 4 ปัจจยั ทางเศรษฐกิจทไ่ี มด่ ีทีม่ อี ิทธิพลต่อลกั ษณะของการประกอบอาชพี ในสงั คมของคนชนบท ตัวแปรต้น คอื ปัจจยั ทางเศรษฐกิจทไี่ ม่ดี ตัวแปรตาม คอื ลกั ษณะของการประกอบอาชพี ในสังคมของคนชนบท ตัวแปรควบคมุ คือ เจตคติของคนท่ีอยใู่ นสังคมชนบท ตวั อย่างที่ 5 การสารวจความคดิ เหน็ เร่อื ง นักเรียนท่ผี ู้ปกครองรบั ราชการ และนักเรยี นที่ผูป้ กครองประกอบ อาชพี เกษตรกรรมมีพฤติกรรมความเป็นผู้นาแตกต่างกัน ตัวแปรต้น คือ นกั เรยี นท่ีผูป้ กครองรับราชการ และนกั เรียนทผ่ี ปู้ กครองประกอบอาชพี เกษตรกรรม ตัวแปรตาม คือ พฤตกิ รรมความเป็นผนู้ า ตัวแปรควบคมุ คือ ความคิดเห็นเก่ียวกบั เร่อื งความมผี ู้นาของนกั เรยี น, การปลูกฝงั ทศั นะคตขิ อง นักเรียนจากทางบ้าน
29 ใบงานท่ี 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เรือ่ ง การต้ังสมมตฐิ าน วิชา การศึกษาคน้ ควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ (IS 20201) ชือ่ ......................................................................................ชั้น..................... เลขที่..................................... คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามลงในช่องวา่ งใหไ้ ด้ใจความถูกตอ้ งสมบรู ณ์ 1. ตัวแปร (Variable) หมายถึง ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ประเภทของตวั แปร มกี ี่ ประเภท คือ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. ตัวแปรเชิงคุณภาพ คือ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 4. ตัวแปรเชงิ ปรมิ าณ คือ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 5. ตวั แปรต้น คอื ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 6. ตวั แปรตาม คือ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 7. ตัวแปรควบคมุ คือ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 8. ตวั แปรแทรกซอ้ นหรือเรยี กวา่ ตวั แปรเกิน ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................
30 ใบงานที่ 7 การฝกึ หาตัวแปร วิชา การศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ (IS 20201) ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ชอ่ื ......................................................................................ช้ัน..................... เลขท.ี่ .................................... คาชแี้ จง ให้นกั เรียนต้งั สมมิตฐานตามประเด็นปัญหาทก่ี าหนดใหด้ ังนี้ ท่ี ประเดน็ ปัญหา ตัวแปร ตัวอยา่ ง วิธีการเลยี้ งดูของผปู้ กครองมีพฤตกิ รรม ตวั แปรต้น = วิธกี ารเลยี้ งดขู องผปู้ กครอง ก้าวร้าวของเด็กกอ่ นวยั เรยี น ตวั แปรตาม = พฤติกรรมก้าวร้าว ตัวแปรควบคมุ = เดก็ ก่อนวยั เรียน 1 การสารวจพฤติกรรมการใชผ้ งชรู สในการ ตัวแปรต้น = ประกอบอาหารของแมค่ ้าโรงเรียน..... ตัวแปรตาม = ตวั แปรควบคมุ = 2 การสารวจพฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพท์ของ ตัวแปรต้น = นักเรียนชน้ั ม.1/...... ตัวแปรตาม = ตวั แปรควบคมุ = 3 ผลกระทบทเี่ กิดจากการทีไ่ มไ่ ด้อยอู่ าศยั ตัวแปรต้น = กับ บิดา-มารดาของนกั เรียน ตวั แปรตาม = ตัวแปรควบคุม = 4 การสกัดสจี ากวสั ดุธรรมชาติเพอ่ื นามาใช้ ตวั แปรต้น = แทนสนี ้าของช่างสบิ หมู่ ตวั แปรตาม = ตวั แปรควบคุม =
31 บทท่ี 6 เร่อื ง แหล่งสารสนเทศ แหลง่ สารสนเทศ (Information Resources) แหล่งสารสนเทศมที ้งั แหลง่ สารสนเทศที่ทาหน้าที่ใหบ้ รกิ าร คอื ห้องสมดุ ศนุ ยเ์ อกสาร แหลง่ สารสนเทศเพื่อการค้า คอื ร้านจาหน่ายหนงั สือ และแหลง่ สารสนเทศอนิ เทอร์เนต็ นอกจากนี้บุคคลยังสามารถ จัดได้วา่ เป็นแหลง่ สารสนเทศอีกประเภทหน่ึงทใี่ ห้ข้อมูล ซง่ึ สามารถนาไปใช้ประโยชนต์ ามวตั ถุประสงคท์ ี่ ตอ้ งการได้ เช่นเดยี วกนั สาหรับแหล่งสารสนเทศที่จะเป็นแหลง่ สาคญั ในการคน้ คว้าวจิ ยั คือหอ้ งสมุดและ อนิ เทอรเ์ น็ต ในปจั จบุ ันแหล่งสารสนเทศไมไ่ ดม้ ีชื่อเรียกวา่ หอ้ งสมุดเทา่ นั้น แตย่ งั มชี ่อื ท่ีเรยี กแทนหน่วยงานทีม่ ี หนา้ ที่เปรยี บเสมือนเปน็ หอ้ งสมดุ ในหลายๆ ชื่อโดยเฉพาะห้องสมุดของสถาบนั อดุ มศึกษา น้ันมักใช้ชอ่ื แตกต่าง กันออกไปตามโครงสร้างระเบียบขอ้ บังคบั ของมหาวทิ ยาลยั วา่ จะเลือกใช้ชื่อแบบใด แต่ไมว่ า่ จะเลือกใช้ชือ่ ใดก็ ตามในท่สี ุดแล้วกห็ มายถงึ ห้องสมุดนั้นเองยกตัวอยา่ งเชน่ 1. สานักวทิ ยบริการมหาวิทยาลัยรามคาแหง 2. สานักหอสมดุ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 3. สานักบรรณสารสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 4. ศูนย์บรรณสารและส่ือการสอนมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี ความหมายของแหลง่ สารสนเทศ (information Resources) แหล่งสารสนเทศ หมายถงึ แหล่งทเี่ กดิ แหล่งผลิตหรอื แหล่งทเ่ี ปน็ ศูนย์รวมทรพั ยากรสารสนเทศ ใน รูปแบบทห่ี ลากหลายไวใ้ ห้บริการค้นคว้าสาหรับผู้ตอ้ งการสารสนเทศอาจกล่าวสรุปไดว้ า่ แหลง่ สารสนเทศ หมายถึง แหลง่ ความรูต้ ่างๆ ทส่ี ามารถศกึ ษาคน้ คว้าเรอ่ื งใดเรอื่ งหนึ่ง ซงึ่ มีท้งั แบบสารสนเทศทจ่ี ะให้บรกิ าร สารสนเทศแก่ผู้ใช้โดยตรงและแหล่งสารสนเทศที่เปน็ สถานท่ี หรอื แหลง่ สารสนเทศท่เี ป็นบคุ คลสาหรับแหล่ง สารสนเทศที่จัดให้บริการสารสนเทศแกผ่ ู้ใชโ้ ดยตรงนน่ั จะมีการบรหิ ารและการดาเนนิ การจัดหาจดั เก็บและ ใหบ้ ริการสารสนเทศ ซ่ึงมบี ทบาทต่อสังคมในการให้บริการความรู้ ขา่ วสาร และสง่ เสริมการศึกษาค้นคว้าแก่ ผใู้ ช้ ประเภทของแหลง่ บริการสารสนเทศที่สาคัญมีดังตอ่ ไปน้ี 1. หอ้ งสมดุ library 2. ศูนยส์ ารสนเทศ information Center 3. พพิ ธิ ภณั ฑ์ Museum 4. หอจดหมายเหตุ Archive 5. แหล่งสารสนเทศที่เปน็ บคุ คล Resource Person 6. แหลง่ สารสนเทศที่เป็นสถานที่ Places 7. แหลง่ สารสนเทศอินเทอร์เนต็ Internet 8. แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน Resource Media
32 แต่หากแบง่ ประเภทใหญ่ๆแล้วอาจแบ่งไดเ้ ปน็ 4 ประเภทดังน้ี ประเภทของแหล่งสารสนเทศแบ่งได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆดังน้ี 1. แหลง่ สารสนเทศบุคคล 2. แหล่งสารสนเทศบุคคลในสารสนเทศสถาบนั / สถานท่ี 3. แหล่งสารสนเทศส่อื มวลชน 4. สารสนเทศอนิ เทอร์เนต็ 1. แหล่งสารสนเทศบุคคล เป็นแหลง่ สารสนเทศท่มี ีอยูใ่ นตวั บคุ คล ท่เี ปน็ ผรู้ ้สู ารสนเทศโดยเกิดจาก การประมวลความคิดความรูป้ ระสบการณข์ องแต่ละบคุ คล เชน่ ผู้เชยี่ วชาญ นักวิชาการ นกั วชิ าชีพในสาขาวิชา ตา่ งๆ และปราชญช์ าวบ้านเป็นตน้ วิธีการได้สารสนเทศจากแหล่งสารสนเทศบคุ คล 1. ผู้ใช้ตอ้ งทราบว่าบุคคลใดมีความร้คู วามเชย่ี ววชาญในเรอื่ งที่ตนสนใจ 2. ใชว้ ิธีการสอบถามสมั ภาษณห์ รอื พูดคยุ โดยตรงหรอื ผา่ นทางโทรศัพท์อเี มลห์ รอื ทาง ไปรษณยี ์ ตัวอย่างของแหล่งสารสนเทศบคุ คล 1. พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวรชั กาลที่ 9 ด้านการเกษตรทฤษฎีใหม่ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 2. นางขวญั จติ ศรีประจันตป์ ราชญช์ าวบ้านด้านเพลงพืน้ บา้ นจังหวดั สพุ รรณบุรี 3. นายวิบลู ย์ เข็มเจรญิ อาชีพเกษตรกรในจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ปราช์ชาวบ้านในดา้ น การเกษตรผสมผสาน ศาสตราจารย์นิติวงศ์ เอีย่ วศรวี งศ์ และศาสตราจารย์นายแพทยป์ ระเวศ วะสี นักวิชาการ ดา้ นภมู ิภูมิปญั ญาชาวบา้ น และวิถีชาวบ้าน 4. แพทยห์ ญงิ คุณหญงิ พรทพิ ย์โรจนสุนันทน์ ักวชิ าการดา้ นนิตเิ วชวิทยา 2. แหล่งสารสนเทศสถาบัน / สถานท่ี แหล่งสารสนเทศสถาบนั หรือสถาบันบรกิ ารสารสนเทศเปน็ แหล่งสารสนเทศที่จดั ต้ังอยใู่ นองค์การตา่ งๆ อาจเป็นหน่วยงานรัฐบาลรฐั วิสาหกิจ เอกชน สมาคม หรือ องค์การระหว่างประเทศ โดยทาหน้าท่ีใหบ้ ริการสารสนเทศแก่ผูใ้ ช้สารสนเทศในองค์กร ประเภทของสถาบนั บริการสารสนเทศ - ห้องสมุด ห้องสมุดเป็นสถาบนั บริการสารสนเทศทที่ าหน้าท่เี ป็นแหล่งศกึ ษาค้นหาความรู้ โดยมี บรรณารกั ษ์ทาหนา้ ที่ในการจัดการและให้บรกิ ารสารสนเทศ หอ้ งสมุดมีหลายประเภท เช่นหอ้ งสมุดแห่งชาติ ห้องสมดุ ประชาชน หอ้ งสมดุ โรงเรยี น หอ้ งสมดุ เฉพาะ ห้องสมุดสถาบนั อุดมศึกษา
33 ภาพประกอบ หอสมดุ แห่งชาติ ภาพประกอบ หอ้ งสมดุ ประชาชน ภาพประกอบ หอ้ งสมดุ โรงเรยี น ภาพประกอบ หอ้ งสมดุ สถาบนั อดุ มศกึ ษา ภาพประกอบ หอ้ งสมดุ เฉพาะ - หอจดหมายเหตุ เปน็ หนว่ ยงานท่ีจดั เกบ็ เอกสารเชงิ ประวตั ิศาสตร์ทเ่ี กีย่ วข้องกับการดาเนนิ งานที่ ผา่ นมาของหนว่ ยงานตา่ งๆ ภาพประกอบ ตวั อย่างของหอจดหมายเหตุ
34 - หอจดหมายเหตุแห่งชาติจดั เก็บเอกสารเชิงประวัตศิ าสตร์ของประเทศเชน่ เอกสารรัชกาลท่ี 5 - หอจดหมายเหตธุ นาคารแหง่ ประเทศไทยจัดเกบ็ เอกสารกับเศรษฐกิจการเงินการคลังของประเทศ ไทยท่ีหมดอายุการใช้งานแตย่ ังมีคณุ ค่าเชงิ ประวตั ศิ าสตร์ - บริการจดหมายเหตุสานักวทิ ยบริการ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ จัดเกบ็ เอกสารทีเ่ กี่ยวกบั ประวัติ ภาพถา่ ยเอกสารทเ่ี กีย่ วข้องกบั การดาเนินงานทีผ่ ่านมาของมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ - ศูนยส์ ารสนเทศ เป็นสถานบริการสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ทาหนา้ ท่ีคล้ายกับหอ้ งสมดุ แตเ่ นน้ ให้บริการสารสนเทศเจาะลกึ เฉพาะเรอื่ งทผ่ี ู้ใชต้ ้องการ ผทู้ าหนา้ ท่ใี ห้บริการมากเป็นนักสารสนเทศ หรอื นกั สารสนเทศทม่ี ีความรเู้ ฉพาะสาขาวิชาเชน่ เศรษฐศาสตรแ์ ละกฎหมาย ตวั อย่างของศนู ย์สารสนเทศ - ศูนย์สารสนเทศ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (EMISC : Education Management Information System Center ) - ศูนยบ์ ริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (TIAC : Technical Information Access Center) ภาพประกอบ ศนู ย์สารสนเทศ 3. แหลง่ สารสนเทศสอื่ มวลชน เป็นแหลง่ สารสนเทศทมี่ ุ่งเผยแพร่สารสนเทศข่าวสารเหตกุ ารณ์ต่อ ประชาชนโดยเนน้ ขา่ วสารเหตกุ ารณท์ เี่ กิดขึ้นใหม่ๆรวมทั้งสาระความรูใ้ นเร่ืองต่าง ๆ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์โดย วธิ กี ารแพรก่ ระจายเสียงภาพตวั อกั ษรผ่านส่ือประเภทโทรทัศน์วทิ ยุและหนังสอื พมิ พ์ แหลง่ สารสนเทศสือ่ มวลชนมี 3 ประเภท ภาพประกอบ สื่อโทรทัศน์ ภาพประกอบ ส่อื วทิ ยุ ภาพประกอบ สอื่ หนงั สือพมิ พ์ 1. ส่อื โทรทศั น์ เปน็ แหล่งเผยแพร่สารสนเทศประเภทข่าวเหตกุ ารณส์ าคัญสาระความร้ใู นเร่อื งท่ี ประชาชนสนใจผา่ นทางเสยี งภาพและขอ้ ความโดยอปุ กรณเ์ ครอื่ งรบั โทรทศั น์
35 ตวั อยา่ งรายการโทรทัศน์ 2. ส่อื วิทยุ เป็นแหล่งเผยแพร่สารสนเทศข่าวสารสาระความรู้ผ่านทางเสียงโดยผา่ นอปุ กรณ์เครื่องรับ วทิ ยุ ส่ือวทิ ยุเปน็ แหล่งเผยแพรส่ ารสนเทศขา่ วสารสาระความรูผ้ า่ นทางเสียงโดยผ่านอปุ กรณ์เครื่องรบั วทิ ยุ ตัวอย่างรายการวิทยุ ของสถานีวิทยุมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ รายการสารคดนี ้า นาเสนอความรเู้ ก่ียวกับการใชน้ ้าอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รายการแมร่ กั ลูก ความรเู้ กีย่ วกบั ด้านการเลี้ยงดเู ด็ก รายการ World Wide Web ความรู้เก่ยี วกับดา้ นการศกึ ษาต่าง ๆ 3. สอื่ หนงั สือพมิ พ์ เป็นแหล่งเผยแพร่สารสนเทศขา่ วสารเหตุการณส์ าระความรู้ผ่านทางส่งิ พมิ พท์ ี่ ออกอย่างตอ่ เนอ่ื งส่วนใหญเ่ ป็นหนงั สือพิมพ์รายวนั โดยเน้นการนาเสนอข่าวเหตกุ ารณ์บา้ นเมอื งปจั จุบันและอยู่ ในความสนใจของประชาชน ตัวอย่างสารสนเทศในหนังสือพิมพ์ -ข่าวเหตกุ ารณป์ ระจาวนั -บทความที่นา่ สนใจ -สารคดี 4 แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เนต็ (Internet) อนิ เทอร์เน็ตเป็นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ีเช่อื มโยงเคร่อื ง คอมพิวเตอร์ท่วั โลกให้สามารถตดิ ตอ่ สอื่ สารกันได้ แหล่งความรบู้ นอนิ เทอร์เนต็ ปรากฏอยู่ในรปู แบบของ เว็บไซต์เวบ็ ไซตเ์ ปรียบเสมอื นห้องสมุดความรู้ขนาดใหญ่ ทร่ี วบรวมความรทู้ ุกเรอ่ื งทุกสาขาวชิ าทาง คอมพิวเตอร์ สง่ิ แวดลอ้ มประเพณี วัฒนธรรมของชนเผา่ ต่างๆ สถานที่ท่องเทยี่ วความร้ใู นศาสตรต์ ่างๆ เช่น โรคมาลาเรีย โคลนนง่ิ เป็นต้นโดยถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบของมลั ตมิ ีเดีย มีทัง้ ขอ้ ความภาพเสยี ง และ รปู แบบเคลื่อนไหว ซึง่ ชว่ ยในการตดิ ตามความรู้นัน้ นา่ สนใจมากข้นึ ท้ังปจั จุบันเว็บไซต์ทม่ี ีจานวนหลายล้านเว็บ ทเ่ี ผยแพร่โดยบุคคล หรือองค์กรตา่ งๆ ท่ัวโลกโดยส่วนใหญ่มักเปน็ ขอ้ มูลภาษาอังกฤษ ดงั นน้ั ความร้แู ละ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษจึงเป็นสงิ่ จาเป็นสาหรับผใู้ ช้อินเทอรเ์ นต็
36 ภาพประกอบ แหลง่ สารสนเทศอินเทอรเ์ น็ต - เว็บไซตส์ ถาบนั การศึกษา ปัจจุบันมีท้ังในระดับโรงเรียน วิทยาลยั และมหาวทิ ยาลัยให้ขอ้ มลู ท่ี สาคญั ของสถาบนั เชน่ สถาบันระดับอดุ มศึกษา จะใหข้ ้อมูลเกีย่ วกับการบรกิ ารทางการศกึ ษา การลงทะเบยี น เรยี น การดูผลสอบ การดูผลเรยี น การสอบถามข้อมลู ที่เกีย่ วขอ้ งกับนักศกึ ษา การเรียนการสอนทางไกล ฐานข้อมูลห้องสมดุ และกิจกรรมต่างๆของสถาบันเปน็ ตน้ ตวั อย่างชื่อเว็บไซตส์ ถาบันการศกึ ษา ช่อื สถาบันการศึกษา URL : โรงเรียนสรุ ศักด์มิ นตรี http://www.surasak.ac.th/ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง https://www.ru.ac.th/th/ มหาวิทยาลยั หอการคา้ https://www.utcc.ac.th/ สถาบนั เทคโนโลยีไทย-ญ่ีป่นุ https://www.tni.ac.th/home/ - เว็บขายของบริษทั ธุรกจิ เช่น ธนาคารสานักพมิ พ์ หนงั สอื พิมพ์ สถานีโทรทศั น์ บรษิ ัทนาเทย่ี วเป็น ต้น ใหข้ อ้ มูลเพือ่ การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์สาหรับลกู คา้ เปน็ สว่ นใหญ่ ตวั อยา่ งชือ่ เว็บไซต์ของบรษิ ัทธุรกิจ ชอื่ บรษิ ัทธรุ กจิ URL : ธนาคารกรุงเทพ https://www.bangkokbank.com/ หนงั สือพมิ พไ์ ทยรฐั https://www.thairath.co.th/home สถานโี ทรทัศน์ช่อง 7 https://www.ch7.com/ การบินไทย https://www.thaiairways.com/ บรษิ ัท แกรมมี่ จากัด https://www.gmmgrammy.com/ - เว็บไซต์ของหน่วยงานราชการ เปน็ หนว่ ยงานระดบั กระทรวง ทบวงกรมของทางราชการและ รัฐวสิ าหกิจต่างๆให้ข้อมลู เกย่ี วกบั หน่วยงานผลงาน ขา่ วคราวความเคลอ่ื นไหวกิจกรรมตา่ งๆ เป็นต้น ตวั อย่างชอ่ื เวบ็ ไซต์สของหน่วยงานราชการ ชื่อหนว่ ยงานราชการ URL : กระทรวงการคลงั https://www.mof.go.th/th กรมปา่ ไม้ https://www.forest.go.th/ สถานวี ิทยุโทรทัศน์ชอ่ ง 11 https://nbt2hd.prd.go.th/ หอสมุดแหง่ ชาติ https://www.nlt.go.th/
37 - เวบ็ ไซตข์ องสมาคมวิชาชพี เป็นหนว่ ยงานสมาคมทางวชิ าชีพในสาขาวชิ าต่าง ๆให้ขอ้ มูลเผยแพร่ แลกเปลยี่ นความรูร้ ายงานความเคล่อื นไหวทางวชิ าการใหค้ วามชว่ ยเหลือแก่สมาชกิ ของสงั คมสง่ เสริมกิจกรรม ต่าง ๆท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั สาขาวิชา ตัวอยา่ งชอื่ เว็บไซต์สของสมาคมวชิ าชีพ ชอื่ สมาคมวิชาชีพ URL : สมาคมธนาคารไทย https://www.tba.or.th/ สมาคมแหง่ สมดุ แหง่ ประเทศไทย https://www.tla.or.th/ สมาคมโรงแรมแห่งประเทศไทย http://www.thaihotels.org/ - เว็บไซตข์ ององคก์ ารระหว่างประเทศ เป็นหนว่ ยงานองค์กรในระดบั ชาติ และระดับนานาชาติสว่ น ใหญจ่ ะเป็นองคก์ รท่ไี มห่ วังผลกาไร ใหข้ อ้ มลู เกีย่ วกับบทบาทหน้าทก่ี ารดาเนนิ การผลงาน และกจิ กรรมขา่ ว คราวความเคลอื่ นไหวเปน็ ต้น ชอ่ื สมาคมวิชาชีพ URL : United Nations Educational, https://en.unesco.org/ Scientific and Cultural Organization (UNESEO) https://www.edfthai.org/ มูลนธิ กิ องทุนการศกึ ษาเพ่อื การพัฒนา (EDF THAILAND)
38 ใบงานที่ 8 แหล่งสารสนเทศ วชิ า การศึกษาค้นควา้ และสร้างองค์ความรู้ (IS 20201) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ชื่อ......................................................................................ชน้ั ..................... เลขที.่ .................................... คาช้ึแจง ให้นักเรยี นศกึ ษาใบความรู้ เร่อื งแหลง่ สารสนเทศ แล้วสรปุ ความรู้ออกมาในรูปแบบของแผนที่ ความคิด (Mind Mapping) พร้อมทงั้ ระบายสีตกแตง่ ใหส้ วยงาม แหลง่ สารสนเทศ
39 บทที่ 7 เรอื่ ง ห้องสมุดดจิ ทิ ัล โรงเรยี นสุรศักดิ์มนตรี ประวัติและความเป็นมาของศูนยว์ ิทยบริการ ศูนยว์ ทิ ยบรกิ าร โรงเรียนสุรศักด์ิมนตรีไดร้ ับโอนมาจากห้องสมุด “โรงเรียนบุตรข้าราชการกองทัพบก สว่ นกลาง” เดมิ ตงั้ อยู่อาคาร 4 ช้ัน 1 ขนาด 2 หอ้ งเรยี น ในปี - 2524 นายดุสิต พนู พอน ผอู้ านวยการในขณะนนั้ ไดอ้ นญุ าตให้ย้ายหอ้ งสมุดมาอยู่ที่ อาคาร 1 ช้นั 4 มขี นาด 8 ห้องเรยี น - 2536 นายมาโนช ปานโต ผู้อานวยการได้ขออนุมตั ิจากกรมสามัญศึกษาสรา้ งอาคารใหมแ่ ละให้ หอ้ งสมดุ ย้ายมาอยอู่ าคาร 10 ชั้น 2 มีขนาด 10 หอ้ งเรียน 2561 – 2562 นายสุทธิพงษ์ โมราวรรณ ได้จดั กิจกรรมทอดผา้ ป่าเพอ่ื การศึกษา เพอื่ หารายได้ จัดสร้างห้องสมดุ ดิจิทัล เน้นการใชเ้ ทคโนโลยีในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลทรพั ยากรสารสนเทศและบรกิ ารสารสนเทศ ในรปู แบบต่างๆ 2563 – ปัจจบุ นั นางอาลัย พรหมชนะ ไดพ้ ัฒนาหอ้ งสมุดอย่างต่อเน่ือง ไดแ้ ก่ ตดิ ตง้ั เครอื่ งปรบั อากาศ จดั ซ้อื คอมพิวเตอรส์ าหรบั นักเรยี นเพ่ือการสบื ค้น และตดิ ตง้ั อนิ เทอรเ์ น็ตความเร็วสงู พร้อม ให้บรกิ ารแกน่ ักเรียน บุคลากรห้องสมดุ 1. นายพงษ์ศกั ดิ์ ผิวรักษา (ครโู อ)๋ หัวหนา้ ศนู ย์วิทยบริการ 2. นางสาวนภสร สิทธิไกรพงษ์ (ครหู ุย) ครูบรรณารกั ษ์ 3. นางพัทธนันท์ หมเี งนิ (ครูตา่ ย) ครูธรุ การ หอ้ งสมดุ โรงเรียนสรุ ศกั ด์ิมนตรี มกี ารจัดแบ่งประเภททรพั ยากรสารสนเทศออกเป็นหมวดหมู่ โดยการนา ระบบทศนิยมดิ้วอ้ี (DC.หรือ DDC.) และสัญลักษณ์แทนเนือ้ หาหนังสือให้บรกิ าร เพอ่ื อานวยความสะดวกแก่ นกั เรยี น 000 เบต็ เตลด็ หรือความร้ทู วั่ ไป (Generalities) 100 ปรัชญา (Philosophy) 200 ศาสนา (Religion) 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) 400 ภาษาศาสตร์ (Language) 500 วทิ ยาศาสตร์ (Science) 600 วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ หรอื เทคโนโลยี (Technology) 700 ศิลปกรรมและการบนั เทงิ (Arts and recreation) 800 วรรณคดี (Literature)
40 900 ประวัติศาสตร์และภูมศิ าสตร์ (History and geography) ย หนงั สือประเภท เยาวชน น หนงั สอื ประเภท นวนิยาย อ หนงั สือประเภท อา้ งองิ ภาษาไทย รส หนังสือประเภท เร่ืองส้ัน ค หนงั สือประเภท คูม่ ือเตรียมสอบ R / Ref หนงั สือประเภท อา้ งองิ ต่างประเทศ (Reference Book) FIC หนงั สือประเภท นวนยิ ายต่างประเทศ (fiction) JF หนงั สอื ประเภท วรรณกรรมเยาวชนตา่ งประเทศ (junior fiction) การบริการ ระบบงานหอ้ งสมดุ อตั โนมตั ิ - บริการยืม-คืน จอง หนงั สอื หรือทรพั ยากรสารสนเทศ - บรกิ ารสบื คน้ ทรพั ยากรสารสนเทศ - บรกิ ารหนังสอื หนังสอื พิมพ์ วารสาร นิตยสาร - จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน - จัดป้ายนเิ ทศและจัดแสดงนหนังสอื ใหม่ - นักเรยี นสามารถเข้าใช้บริการห้องสมุดดว้ ยบัตรนกั เรยี นแบบ RFID โดยมรี ะบบตรวจนบั สถิติ อัตโนมัติ สถานกี ารเรียนรู้บนผนังแบบอนิ เตอรเ์ นต็ แอ๊ดทีฟ บริการเนอื้ หาด้านดาราศาสตร์ สามารถดดุ าว มีคาอธบิ ายถงึ กล่มุ ดาว สอนวิธกี ารดดู าว มีการนาปร แกรมการจาลองภาพ 3 มติ ิ มาใช้เพ่ือจดั การเรยี นการสอน นอกจากนี้ยังมีบริการชมภาพยนตรส์ าหรับนกั เรยี น ท่ีสนใจ
41 ห้องเรยี นพเิ ศษ บรกิ ารห้องเรยี นพิเศษสาหรบั ครูผู้สอนโดยใชก้ ระดาน LED interactive Touchscreen ใชเ้ ทคโนโลยี ระบบอนิ ฟราเรด แบบมัลติทชั ศนู ย์เฉลมิ พระเกยี รตดิ ิจิทัลสมเด็จพระเทพฯ บริการข้อมูลสารสนเทศด้านพระราชประวัติและพระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ พกนษิ ฐาธริ าชเจ้ากรม สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในด้านการศึกษาและอนื่ ๆ ในรปู แบบดจิ ิทัลจดุ โดดเด่นคือ สามารถเข้าถึงขอ้ มูลดว้ ยจอระบบสัมผัส คอมพวิ เตอร์และอินเตอร์เนต็ เพอ่ื การสบื ค้น บรกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู สาหรับนักเรยี นเพอ่ื สืบค้นข้อมูล
42 ระเบยี บการใชศ้ ูนยว์ ิทยบริการ กลางวัน เย็น 1. เวลาใหบ้ ริการ ยมื – คนื เชา้ • 06.30 - • 10.40 - • 14.50 - • 07.20 น. • 12.20 น. • 16.30 น. 2. นักเรียนต้องใช้บตั รประจานักเรยี นในการยืม – คืน หนังสอื และยืมด้วยตนเองทุกครง้ั 3. นกั เรียนยมื หนังสือได้คร้งั ละ 3 เลม่ / สัปดาห์ หนังสอื ทีย่ มื ตอ้ งไม่ซ้ากัน (ค่าปรบั กรณีส่งคืนเกนิ กาหนดปรับวนั ละ 1 บาท/เลม่ ) 4. หนงั สอื อ้างองิ ห้ามยมื ออกจากศูนยว์ ทิ ยบริการ กรณจี ะนาไปถ่ายเอกสารตอ้ งติดตอ่ บรรณารักษ์ หรือเจา้ ท่หี ้องสมุดกอ่ น ยืมไดค้ ร้ังละ 1 เลม่ และส่งคนื ภายในวันทยี่ ืม ก่อนหอ้ งสมุดปดิ ทาการ 5. หากทาหนงั สอื ชารดุ หรอื สูญหาย ต้องชาระเงนิ ตามราคาจรงิ มารยาทในการเขา้ ใช้ห้องสมดุ ดิจิทัล 1. ผ้เู ขา้ ใช้บริการต้องแตง่ กายสภุ าพเรยี บรอ้ ย 2. กรณุ าเกบ็ ถอดรองเท้าก่อนเข้าศนู ย์วทิ ยบรกิ าร 3. ไม่สง่ เสียงดังรบกวนผ้อู ่นื 4. ไม่นาอาหาร เครอื่ งดื่ม และขนมคบเคี้ยวทุกชนดิ มารบั ประทานในบริเวณศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร 5. ชว่ ยกันรักษาหนังสอื และวัสดุตา่ ง ๆ ห้ามขีดเขียนทาลายทรัพยากรของห้องสมุดทุกชนดิ 6. เม่อื อ่านหนังสอื เสรจ็ แลว้ ใหว้ างไว้ที่ “จดุ พกั หนงั สอื ” 7. ไมท่ ง้ิ เศษกระดาษหรอื สิง่ ที่ทาให้ศูนย์วิทยบริการสกปรก
43 ชอ่ื ....................................................... ใบงานท่ี 9 เลขท.่ี ................ห้อง............./............ เรอ่ื ง ห้องสมุดโรงเรียนสุรศกั ด์ิมนตรี คาช้ึแจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามและเตมิ คา หรอื ขอ้ ความลงในชอ่ งว่างให้ถูกต้อง หอ้ งสมุดโรงเรียนสรุ ศกั ดิ์ บคุ ลากรในหอ้ งสมดุ ชอ่ื เวลาทาการเปดิ -ปิด หอ้ งสมดุ ใชร้ ะบบอะไร หอ้ งสมดุ เวลา มนตรตี ง้ั อยทู่ ส่ี ถานท่ใี ด อะไรบา้ ง ในการจดั หมวดหมู่ หนงั สอื การบรกิ ารของหอ้ งสมุด นกั เรียนสามารถยมื เมื่ออา่ นหนังสือเสรจ็ มารยาทในการเข้าใช้ มีอะไรบ้างอธิบาย หนังสอื ไดค้ ร้ังละกเ่ี ล่ม / แล้วให้วางไว้ท่ี หอ้ งสมดุ ดิจทิ ัล สปั ดาห์
44 บทท่ี 8 เรอื่ ง ทรัพยากรสารสนเทศ ความหมายของทรพั ยากรสารสนเทศ ทรพั ยากรสารสนเทศ (Information Resources) หมายถึง สอ่ื รูปแบบตา่ งๆที่ใชใ้ นการบันทกึ สารสนเทศไว้ โดยใช้ตวั อักษร สัญลกั ษณภ์ าพ เสยี ง ท้งั ท่อี ยใู่ นรปู กระดาษ ฟลิ ์ม เทปแม่เหลก็ ฐานขอ้ มลู และ เครือขา่ ย แหล่งสารสนเทศ (Information sources) หมายถึง แหลง่ ทจ่ี ัดหา ผลิต รวบรวม ทรพั ยากรสารสนเทศรปู แบบต่างๆ เพื่อใหบ้ รกิ ารซ่ึงอาจอย่ใู นรปู บคุ คล สถานที่ สถาบนั และเครอื ขา่ ย สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสาร ความรู้ ขอ้ เท็จจรงิ ความคิดที่ไดม้ ีการบันทึกไวใ้ นส่อื หรือทรัพยากรสารสนเทศแบบต่างๆ วัสดุสารสนเทศห้องสมดุ (Library Materials) หมายถงึ ส่ือความรู้ทกุ ชนิดที่มีอยใู่ นหอ้ งสมุด โดยปกตกิ ารจดั หาวัสดเุ ขา้ ห้องสมดุ แตล่ ะแห่ง บรรณารกั ษจ์ ะคานึงถงึ วตั ถปุ ระสงคข์ องห้องสมดุ แต่ละประเภท ทห่ี ้องสมดุ แหง่ นัน้ ๆจัดใหบ้ ริการอยู่ ตลอดจนคานงึ ถงึ กลุ่มผใู้ ช้ เป้าหมายของการจัดบริการ ประเภทของทรพั ยากรสารสนเทศ ทรพั ยากรสารสนเทศในสถาบันบรกิ ารสารสนเทศ แบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คอื วสั ดตุ ีพมิ พ์ วัสดุไม่ตพี มิ พ์ และสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ วสั ดตุ ีพิมพ์ (Printed Materials) ความหมายของวัสดตุ พี ิมพ์ หมายถงึ สิ่งตีพิมพเ์ ปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เพอ่ื รวบรวมสารสนเทศไวบ้ นแผ่นกระดาษเพอ่ื เผยแพร่ มีการเรยี กช่ือต่างกันตามรปู แบบทีน่ าเสนอ ได้แก่ หนงั สือ วารสาร หนังสือพมิ พ์ จุลสาร กฤตภาค วัสดตุ พี มิ พ์แบ่งออกได้ดงั น้ี 1. หนงั สือ (Books) คอื สงิ่ พมิ พ์ท่ีเยบ็ รวมเป็นรูปเล่มคงทนถาวร มีความหนาพอประมาณ อาจเปน็ ปกออ่ นหรือปกแข็งก็ได้ มีการเรียบเรยี งไวต้ ามหลกั สากล หนังสือเปน็ สิ่งพมิ พ์ทเ่ี กิดจากความคิด สตปิ ญั ญา ความรู้ และประสบการณข์ องมนษุ ย์ แบ่งออกตามลกั ษณะ เน้ือหาและการใชง้ านประเภทตา่ งๆดังน้ี
45 หนังสอื แบง่ ตามลกั ษณะเน้อื หาไดด้ ังนี้ หนงั สอื สารคดี (Non Fiction) เปน็ หนงั สอื ทมี่ ุง่ ให้ความรู้ และสาระแก่ผอู้ า่ น ไดแ้ ก่ หนังสือประเภทวิชาการตา่ งๆ เชน่ หนงั สอื ทางด้านแพทย์ศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ทกุ สาขา วทิ ยาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ สังคมศาสตร์ ฯลฯ หนังสอื อา้ งอิง (Reference Book) เป็นหนงั สอื ท่ีใช้เป็น เคร่อื งมอื ในการศึกษาคน้ ควา้ หาคาตอบ หาข้อเท็จจริงของเรอ่ื งใดเรื่อง หนึง่ หรือคาใดคาหนงึ่ สามารถตอบคาถามได้อย่างรวดเรว็ เพราะไดจ้ ดั เนื้อหาไว้อย่างมีระเบยี บ จึงหาคาตอบไดโ้ ดยไมต่ ้อง อา่ นทั้งเลม่ หนงั สือบันเทงิ คดี (Fiction Book) เปน็ หนงั สือทม่ี ีเนอ้ื หา มุ่งใหค้ วามบันเทิงแก่ผอู้ ่าน เขียนขน้ึ จากประสบการณ์หรือจนิ ตนาการของ ผเู้ ขยี น โดยอาศัยเค้าโครงเร่ืองจากความเป็นจริงของบคุ คลในสังคม ซงึ่ ผู้อ่านจะได้รบั ความเพลดิ เพลนิ ไดร้ บั ขอ้ คิดคติชวี ิตท่ีผู้เขียนสอดแทรกไวใ้ น เร่ือง หนังสอื บนั เทงิ คดีไดแ้ ก่ นวนยิ าย บทละคร เรอ่ื งส้ันที่จบตอนและมคี วาม สมบูรณ์ในตัวเอง บทร้อยกรอง ฯลฯ หนงั สอื ตาราและแบบเรียน (Text Book) คอื หนงั สือท่ใี ชใ้ นรายวชิ าตา่ งๆ ทเี่ ปิดสอนตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา เชน่ หนงั สือภาษาอังกฤษ และยงั มหี นังสือ อ่านเสรมิ การเรียนตา่ งๆ เชน่ หนงั สืออา่ นนอกเวลา หนงั สอื อ่านเพิม่ เติม หนงั สอื สง่ เสรมิ การอา่ น เปน็ ตน้ หนังสือความรทู้ ัว่ ไป (General Book) คือ หนังสอื ทม่ี ุ่งให้ความรเู้ สนอ เร่อื งราวท่วั ไป ไม่เฉพาะเจาะจงความร้สู าขาวิชาใดวชิ าหน่งึ มวี ธิ ีเขยี นขึ้น ง่ายๆ ไมส่ ลบั ซบั ซ้อนลึกซงึ้ มากนัก สาหรบั ผู้อา่ นและผู้สนใจท่ัวไป
46 2. จุลสาร (Pamphlets) คอื ส่ิงพมิ พข์ นาดเล็กมคี วามหนาไมม่ ากนกั เสนอเนือ้ หาสาระให้ความรู้ เกี่ยวกบั เร่ืองใดเรื่องหนึ่งเพยี งเร่ืองเดียว จบสมบูรณใ์ นตัว เนื้อเรือ่ งใหม่ ทนั สมยั อยู่ในความสนใจของคน ท่วั ไป ให้สาระความรทู้ ่ีใช้เป็นแหล่งค้นควา้ อา้ งอิงได้ ส่วนใหญ่เป็นสงิ่ พิมพ์ของหน่วยงานราชการ องคก์ าร สถาบัน และสมาคมต่างๆ จดั พิมพข์ ้ึนเพื่อเผยแพร่เรือ่ งราวของหนว่ ยงาน ห้องสมุดจะจัดจลุ สารใส่แฟ้มเก็บไว้ ในตจู้ ุลสาร เรียงตามลาดับอกั ษรของหัวเร่อื ง ทอี่ ยมู่ ุมบนขวาของจุลสาร 3. กฤตภาค (Clipping) คอื สิ่งพิมพ์ท่ีห้องสมุดจัดทาและรวบรวมขน้ึ จากการตัดข้อความที่สาคัญ เรอื่ งราว รปู ภาพที่มีคุณค่าและมีประโยชน์ น่าสนใจน่าศกึ ษาจากวารสาร นิตยสาร หนงั สอื พมิ พ์ จลุ สาร แล้วนามาผนึกด้วยกาวลงบนกระดาษเปล่า บอกแหล่งท่ีมาตามแบบฟอรม์ ทห่ี ้องสมดุ จัดทาไว้ แล้วรวมเอาเรอื่ งเดียวกันเก็บไว้ในแฟม้ เดียวกนั จัดเรยี งแฟ้มไว้ในตู้จลุ สารตามลาดับ อกั ษรหวั เรือ่ ง อกั ษร A-Z และ ก-ฮ 4. วารสารและนิตยสาร (Periodical and Magazines) คอื สิ่งพิมพ์ชอ่ื เดยี วกันท่ีมีกาหนดออก เเนน่ อนติดตอ่ กนั เป็นระยะๆโดยสม่าเสมอ เช่น รายสัปดาห์ รายปกั ษ์ รายเดอื น เปน็ ต้น เปน็ ส่ิงพิมพท์ ่ใี หค้ วามรูเ้ รอื่ งราวต่างๆท่ีทันสมัย ประกอบด้วยบทความทางวชิ าการ สารคดี บันเทิงคดี เร่ืองเบด็ เตลด็ ตา่ งๆ 5. หนงั สือพิมพ์ (Newspaper) คือ สงิ่ พิมพ์ที่มีกาหนดออกสมา่ เสมอ ตามระยะเวลาทกี่ าหนด ตดิ ตอ่ กันเป็นลาดับโดยมากมีกาหนดออกเป็นรายวัน ราย 2 วนั ราย 6 วนั ฯลฯ เสนอข่าว เหตกุ ารณ์ที่เกดิ ข้นึ ในแตล่ ะวัน เสนอความเคลื่อนไหวใหม่ๆทางด้านการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม การศกึ ษา กีฬา ธุรกิจ บันเทิง ทงั้ ภายในและนอกประเทศ ทาให้ผ้อู า่ นเปน็ คนทันตอ่ เหตกุ ารณ์ตลอดเวลา วสั ดไุ ม่ตีพมิ พ์ (Non-printed Materials) ความหมายของวสั ดไุ มต่ ีพมิ พ์ คอื ส่อื ความร้ทู ่อี ยู่ในรปู ของเสยี งและภาพ ทาใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ไดเ้ ร็ว เขา้ ใจง่ายและชัดเจน ซึง่ ห้องสมดุ แตล่ ะแห่งอาจมีไวใ้ หบ้ รกิ ารไมเ่ หมือนกนั ขึน้ อยู่กบั ขนาดของหอ้ งสมดุ ความ จาเป็น ความพร้อม และความต้องการของผใู้ ช้ ตลอดจนงบประมาณในการจดั หา ประเภทของวสั ดุไม่ตีพมิ พ์ แบง่ ได้ 3 ประเภทคือ โสตวสั ดุ ทัศนวัสดุ และโสตทัศนวัสดุ 1. โสตวสั ดุ (Audio Materials) คือ วัสดุสารนเิ ทศท่ถี า่ ยทอดความรู้ ความคิด โดยใชเ้ สยี งเป็นสอื่ และรบั ด้วยการฟัง หรือ การไดย้ ิน โดยผ่านประสาททางหู ไดแ้ ก่ 1.1 วทิ ยุ (Radios) 1.2 แผ่นเสยี ง ทาดว้ ยคร่งั พลาสติก หรอื ครัง่ ผสมพลาสตกิ การบนั ทึกสารนเิ ทศจะถูก บนั ทกึ ไว้บนแผ่นกลม ทม่ี รี อ่ งเลก็ ๆ สูงบา้ ง ต่าบา้ งคล้ายคลน่ื เพ่ือใหเ้ ขม็ ของเคร่ืองเลน่ แผน่ เสยี งเดินไปตาม ลักษณะคลนื่ ทาให้เกิดเสียง 1.3 แถบบนั ทึกเสยี ง เปน็ การบนั ทกึ สารนเิ ทศลงในแถบ เมอ่ื ตอ้ งการฟังเสียง ที่บนั ทึก สามารถฟงั ไดจ้ ากเคร่อื งบันทึกเสียง 1.4 คอมแพ็คดสิ ก์ เปน็ แผ่นกลมมีขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลางประมาณ 3.5 น้ิว หรอื 5 นวิ้ บันทกึ สญั ญาณเสียงดว้ ยระบบดิจิตอล และอา่ นสัญญาณดว้ ยแสงเลเซอร์ คุณภาพดีกว่าแผ่นเสยี ง 1.5 มนิ ิดสิ ก์ เปน็ เทคโนโลยใี หม่ลา่ สุด การบันทึกเสยี งใชห้ ลักการเดยี วกบั คอมแพ็คดิสก์ คอื ใช้แสงเลเซอรใ์ นการอา่ นพติ (Pit) แผ่นมินิดิสกช์ นดิ บนั ทกึ ได้ จะใช้เทคโนโลยีแม่เหล็กแสง สามารถเล่น- ลบได้ และบันทกึ ได้เหมือนคาสเซทเทปทวั่ ไป และสามารถเปล่ยี นลาดับเพลงท่บี ันทกึ มาแลว้ ได้งา่ ย
47 2. ทศั นวัสดุ (Visual Materials) คอื วัสดุสารนิเทศทส่ี ื่อสารโดยการเหน็ บางชนิดตอ้ งใช้อปุ กรณแ์ ละเคร่ืองช่วยจึงจะ มองเหน็ เชน่ 2.1 แผนท่ี 2.2 รูปภาพ 2.2 ลูกโลก 2.3 แผนสถติ ิ 2.4 ภาพเล่อื น 2.5 แผน่ โปร่งใส 2.6 ห่นุ จาลอง 2.7 ของตัวอยา่ ง ใหป้ ระโยชนใ์ นการเรยี นรู้ เช่น หิน ดนิ แร่ เงนิ ตราประเทศต่างๆ 3. โสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Materials) หมายถึง วสั ดุท่ีส่อื สารทงั้ โดยการฟงั และการเหน็ บนั ทกึ และถา่ ยทอดสารนิเทศด้วย สญั ลกั ษณ์ ภาพ แสง สี เสียง โดยถา่ ยทอดความรู้ ความคิด เน้ือหาสาระด้วยเสยี งและภาพทเ่ี คลอ่ื นไหวได้ ไปพร้อมๆกัน เช่น 3.1 ภาพยนตร์ (Motion Pictures) เป็นภาพนิ่งทถ่ี ่ายทอดต่อเน่อื งกนั ไปตามแนวตัง้ ของ ฟลิ ์ม นามาฉายดว้ ยอัตราความเร็วทกี่ าหนด จะเห็นภาพทีเ่ คล่ือนไหวได้ตามธรรมชาติ มที งั้ ชนิดภาพสแี ละ ขา 3.2 โทรทัศน์ (Televisions) มที ้งั โทรทศั นเ์ พื่อการศกึ ษา เป็นการเพ่มิ พูนความรู้ เชน่ รายการข่าว รายการแนะแนวอาชีพ เหตุการณพ์ ิเศษ รายการเกี่ยวกบั วัฒนธรรม และรายการเพอื่ ความ บนั เทงิ ในหลายรูปแบบ 3.3 วีดิทศั น์ หรือ แถบภาพ(Vedio Tape) บันทึกภาพและเสียงไว้ในเส้นเทป เป็นรปู คลื่น แม่เหล็กไฟฟา้ มีท้ังชนดิ มว้ น ตลับ และกลอ่ งสามารถนามาใชไ้ ด้ทนั ที 3.4 เลเซอร์ดิสก์ (Laser Disc) เป็นแผ่นโลหะเลเซอร์มขี นาดเสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง12 นวิ้ อาบด้วย อะลมู ิเนยี ม บันทกึ สัญญาณภาพและเสยี งดว้ ยระบบดิจติ อล ใชเ้ ล่นกบั เครอื่ งเลเซอรด์ ิสก์ โดยการอา่ น สัญญาณด้วยแสงเลเซอร์ สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Media) หมายถึง ส่อื ท่ีบนั ทึก เผยแพร่ความร้เู น้อื หาสาระของสารสนเทศ ดว้ ยวธิ ีการทาง อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ มเ่ หล็ก โดยใชร้ หัสแทนตวั เลขและตวั อกั ษร ใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการบันทกึ และอา่ นข้อมลู ส่อื อเิ ล็กทรอนกิ สม์ ีหลายประเภท เช่น 1. สอ่ื แบบออฟไลน์ คอื ส่อื ที่ผลิตสาเรจ็ รปู หอ้ งสมุดจดั ซื้อหามาใช้ดว้ ยเครื่องคอมพิวเตอร์ ภายในห้องสมดุ เช่น -แผ่นซีดี ซ่งึ ใหข้ อ้ มลู เป็นเสยี ง เปน็ ภาพ หรอื เปน็ ข้อความ บันทึกไว้ในหนว่ ยความจา หลายรูปแบบ ปัจจบุ ันมีสารสนเทศมากมายท่ีจัดทาในรูปแบบน้ี เชน่ หนังสอื สารานกุ รม พจนานุกรม และส่อื การสอนตา่ งๆ -แผ่นวีดทิ ศั น์ แผ่นดีวีดี ใหข้ อ้ มูลเปน็ ภาพและเสยี ง
Search