Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 7 ประเภทการรังแกกัน

7 ประเภทการรังแกกัน

Published by pim, 2021-05-28 14:52:19

Description: 7 ประเภทการรังแกกัน

Search

Read the Text Version

ปจั จบุ ัน สอ่ื และ เทคโนโลยี มีบทบาทสาคัญและเกี่ยวข้องกับพฤตกิ รรม การกลน่ั แกล้งของคนในยคุ นี้ พบวา่ กลุ่มเยาวชนไทยมากกว่า 50% มีพฤติกรรมกลนั่ แกล้งผ่านโลกไซเบอร์ และคกุ คามผู้อื่นผา่ นสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ อ้างอิง : เตรียมทัพ รับมือ Cyberbullying | สานักงานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ 1 การกลน่ั แกลง้ (Bullying) ความรุนแรงในสงั คม | มลู นธิ ยิ ุวพฒั น์

การกลัน่ แกล้งบนโลกออนไลน์ เป็นการกลั่นแกล้งท่ีเกิดขึ้นใหม่และเป็นปัญหาสาคัญในสังคม โดยการใช้เครื่องมือส่ือสารเป็นหลัก เช่น Smartphone, Tablet, Computer เชื่อมต่อกับเครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter, Instagram, Chat เพ่ือการโจมตี ขู่ทาร้าย หรือใช้ ถ้อยคาหยาบคาย การคุกคามทางเพศ การแอบอ้างตัวตนของผู้อ่ืน การนาความลับของผู้อื่นมาเปิดเผย การหลอกลวง และการสร้าง กล่มุ ออนไลนเ์ พอื่ โจมตีโดยเฉพาะ สาเหตุของการกล่ันแกลง้ บนโลกออนไลน์ สาเหตุส่วนใหญ่ของการเกิด Cyberbullying มักเกิดจาก ความขัดแย้ง ความเห็นต่าง หรือมีกรณีพิพาทระหว่างบุคคล 2 คน นาไปส่กู ารกลน่ั แกลง้ กันในโลกออนไลน์ อีกทั้งผู้คนส่วนใหญ่เห็นว่า โซเชียลมีเดียคือพ้ืนที่ส่วนตัว สามารถใช้ระบายความรู้สึกได้ ถ้อยคา ที่ใช้โพสต์จึงออกแนวรุนแรง เสียดสี หรือสร้างความเสียหายให้แก่ อกี ฝา่ ย และแสดงอารมณแ์ ง่ลบออกมาได้อย่างเตม็ ท่ี อา้ งอิง : การกลั่นแกลง้ (Bullying) ความรนุ แรงในสงั คม | มลู นิธยิ วุ พฒั น์ 2

การกล่นั แกลง้ บนโลกออนไลน์ แบง่ เป็น 7 ประเภท 1 2 การให้ร้ายใสค่ วาม ก า ร กี ด กั น อ อ ก จ า ก การแกล้งแหย่ กลุ่มออนไลน์ 3 การแอบอ้างช่ือ การสร้างบัญชีปลอม เช่น แอบเข้าไป ใ ช้ Facebook ข อ งค น อื่ น แ ล ะ โ พ ส ต์ ข้ อ ค ว า ม ใ ห้ เจา้ ของบญั ชเี สียหาย 4 5 การว่ากล่าว ด่าทอ การก่อกวน ข่มขู่ คุกคาม ด้วยถ้อยคาหยาบคาย เช่น ส่งข้อความ รูป วิดีโอ ตอกย้าปมด้อย ท่ที าใหผ้ อู้ ืน่ อบั อาย 6 7 การเผยแพร่ความลบั เ ห็น การกล่ั น แกล้งบนโลก ออนไลน์แลว้ เข้าไปร่วมด้วย “รปู แบบท่ีถกู กลนั่ แกลง้ มากทีส่ ุด คือ การถกู ก่อกวน ขม่ ขคู่ ุกคาม คดิ เป็น50%” อ้างองิ : CYBERBULLY รปู แบบ - ผลกระทบ – วิธกี ารรบั มือ | สานกั งานกองทุนสนับสนนุ การ 3 สรา้ งเสริมสขุ ภาพ การกลนั่ แกล้ง (Bullying) ความรนุ แรงในสงั คม | มลู นิธยิ วุ พัฒน์

5กแารนกลว่ันทแากงลง้ในบนกโลากรอรอเู้นทไล่านท์ หนั รอื สอ่ื Cyberbullying ไมเ่ พียงส่งผลกระทบกับ สภาพจิตใจของผู้ท่ถี กู แกลง้ เท่านน้ั แต่ยงั สง่ ผลตอ่ ผู้ท่ีกล่ันแกลง้ ดว้ ย ผู้ที่ถูกกลั่นแกล้ง อาจเกิดบาดแผลทางใจ จน ส่งผลต่ออารมณ์ จิตใจ ซึ่งอาจนาไปสู่ภาวะซึมเศร้า ประสิทธิภาพการเรียนลดลง สูญเสียความมั่นใจ ชวี ิตไม่มคี วามสขุ และถึงข้นั ฆา่ ตวั ตายได้ ผู้ที่กลั่นแกล้ง เม่ือเติบโตเป็นผู้ใหญ่มีแนวโน้มท่ีจะ ใช้สารเสพติด มีพฤติกรรมการใช้ความรุนแรง และ อาจร้ายแรงถึงข้ันกอ่ เหตอุ าชญากรรมไดใ้ นอนาคต อา้ งองิ : Bully ปัญหาสงั คมทไ่ี มใ่ ช่เพยี งการแกลง้ | โรงพยาบาลเพชรเวช 4

1 สร้างความตระหนกั 5 เราต้องตระหนักถึงมารยาทในการสื่อสารกับ บุคคลอื่น โดยปฏิบัติต่อบุคคลอ่ืนให้เหมือนกับ ทเ่ี ราอยากให้ผู้อนื่ ปฏิบัตกิ ับเรา 2 คดิ กอ่ นโพสต์ ก่อนจะโพสต์อะไร ให้คานึงถึงผลกระทบ ท้ัง ผลดีและผลเสยี ทีอ่ าจจะเกิดขนึ้ ตามมาทุกครง้ั 3 ข้อมลู ส่วนตวั ควรเปน็ เรื่องสว่ นตัว การโพสต์ข้อมูลที่มีความเป็นส่วนตัว ผิดท่ี ผิดเวลา อาจนามาซึ่งปัญหาร้ายแรงต่อผู้ โพสตไ์ ด้ 4 จากัดเวลา ควรพยายามจากัดเวลา หรือลดเวลาในการใช้ สื่อสังคมออนไลน์ หันมาเพิ่มเวลาในการ ส่อื สารซงึ่ กนั และกนั ในโลกของความเป็นจรงิ อ้างองิ : การกล่นั แกลง้ (Bullying) ความรุนแรงในสงั คม | มลู นธิ ิยุวพัฒน์

1 STOP หยุดระรานกลับด้วยวิธีการเดียวกัน หยุดตอบโต้ เพื่อไม่ให้ เกิดการกระทาซา้ หรอื เพม่ิ ความรุนแรงมากขึน้ 2 BLOCK ปดิ ก้ันผ้ทู ่รี ะราน ไม่ให้สามารถติดต่อ โพสต์ หรอื ระรานไดอ้ ีก 3 TELL บอกพ่อแม่ ครู หรือบุคคลที่ไว้ใจ เพื่อขอความช่วยเหลือ หากเป็นเร่ืองผิดกฎหมายหรือถูกข่มขู่ คุกคาม ให้รวบรวม ขอ้ มูลของผกู้ ระทาและเหตกุ ารณร์ ะรานไปแจ้งเจา้ หน้าท่ี 4 REMOVE ลบภาพหรือข้อความระรานออกทันที โดยอาจจะขอ ค ว า ม ช่ ว ย เ หลื อ จ า ก ผู้ ดู แ ล ร ะ บ บ หา ก เ ป็ น พ้ื น ที่ สาธารณะบนโลกออนไลน์ 5 BE STRONG เข้มแข็ง อดทน ยิ้มสู้ อย่าให้คุณค่ากับคนหรือคาพูดที่ ทารา้ ยเรา ควรนามาใชเ้ ป็นแรงผลกั ดนั ใหเ้ ราดีขึ้น อา้ งองิ : ไซเบอรบ์ ลู ล่ี !! ใครๆ กไ็ มอ่ ยากโดน | สานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ 6

อา้ งอิง : นทิ รรศการ New Me New Media #พลังส่อื เปล่ยี นสงั คม 7

เลือกสถานการณ์การกล่ันแกล้งบนโลกออนไลน์มา 1 สถานการณ์ และใหค้ าแนะนาหรือวิธีรบั มือกับสถานการณ์น้นั 1 ปีเตอร์ถูกเพื่อน ๆ นารูปตอนเด็กมาล้อเลียนผ่านการคอมเมนต์ใน Facebook และส่งต่อในกลุ่มเพ่ือน เพื่อสร้างความอับอาย หากคุณ เป็นปีเตอรจ์ ะทาอย่างไร? 2 น้องป๊อกก้ีเป็นดาราสาววัยรุ่นท่ีเพิ่งเข้าวงการบันเทิงและได้รับบท นางเอก แต่แฟนคลับละครคอมเมนต์วิจารณ์รูปร่างใน Instagram และตัง้ เพจแอนตี้ หากคุณเปน็ นอ้ งปอ๊ กกี้จะทาอย่างไร? 3 น้องกั้งลงคลิปร้องเพลง Cover ใน Youtube แต่ถูกผู้ชมคอมเมนต์ ด้วยถอ้ ยคาหยาบคายว่าเสยี งร้องเพี้ยน และคลิปของน้องกั้งยังถูกเพจ ดังแชร์ไปใน Facebook พร้อมกับคาวิจารณ์ที่รุนแรง หากคุณเป็น นอ้ งกั้งจะทาอย่างไร? 4 พงษ์ศักด์ิเป็นนักร้องลูกทุ่งท่ีชนะเลิศการประกวดเวที “ไมค์ฝังเพชร” แต่หลังจากจบการประกวด มีผู้ใช้ Twitter กลุ่มหน่ึงพบว่า พงษ์ศักด์ิ เรียนไมจ่ บ ม.3 จึงสร้าง Hashtag #นักรอ้ งชือ่ พงษ์ศกั ดเ์ิ รียนไม่จบม.3 ซึ่งมีคนนาไป Retweet เป็นจานวนมาก หากคุณเป็นพงษ์ศักด์ิจะทา อยา่ งไร? 8


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook