Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

Published by pim, 2019-10-24 05:51:32

Description: ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

พระพุทธศาสนามลี กั ษณะทเี่ ป็ นประชาธปิ ไตย

ประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนา

1. พระพุทธศาสนามพี ระธรรมวนิ ัยเป็ นธรรมนูญหรอื กฎหมายสงู สุด พระ ธรรม คอื คาสอนทพี่ ระพุทธเจา้ ทรงแสดง พระวนิ ัยคอื คาสง่ั อนั เป็ นขอ้ ปฏบิ ตั ทิ พี่ ระพุทธเจา้ ทรง บญั ญตั ขิ นึ้ เมอื่ รวมกนั เรยี กวา่ พระธรรมวนิ ัย กอ่ นทพี่ ระองคจ์ ะเสด็จปรรนิ ิพพานเพยี ง เล็กนอ้ ยไดท้ รงมอบใหพ้ ระธรรมเป็ นพระศาสดาแทนพระองค ์

2. พระพุทธศาสนามคี วามเสมอภาคภายใตพ้ ระธรรมวนิ ัย คอื บคุ คลทเี่ ป็ นวรรณะกษตั รยิ ์ พราหมณ์ แพศย ์ ศทู รมาแตเ่ ดมิ รวมทง้ั คนวรรณะต่ากวา่ น้ัน เชน่ พวกจณั ฑาล พวกทาส เมอื่ เขา้ มาอปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนาอยา่ งถกู ตอ้ งแลว้ มี ความเทา่ เทยี มกนั คอื ปฏบิ ตั ติ ามสกิ ขาบทเทา่ กนั และเคารพกนั ตามลาดบั อาวโุ ส คอื ผู ้ อปุ สมบทภายหลงั เคารพผูอ้ ปุ สมบทกอ่ น

3. พระภกิ ษใุ นพระพุทธศาสนา มสี ทิ ธิ เสรภี าพภายใตพ้ ระธรรมวนิ ัย คอื ภกิ ษุทจี่ าพรรษาอยูด่ ว้ ยกนั มสี ทิ ธไิ ดร้ บั ของแจกตามลาดบั พรรษา มสี ทิ ธริ บั กฐนิ และ ไดร้ บั อานิสงสก์ ฐนิ ในการแสวงหาจวี รตลอด 4 เดอื นฤดหู นาวเท่าเทยี มกนั นอกจากน้ันยงั มี เสรภี าพทจี่ ะเดนิ ทางไปไหนมาไหนได ้ จะอยู่จาพรรษาวดั ใดก็ไดเ้ ลอื กปฏบิ ตั กิ รรมฐานขอ้ ใด ถอื ธดุ งควตั รขอ้ ใดก็ไดท้ ง้ั สนิ้

4. มกี ารแบ่งอานาจ การกระจายอานาจ คอื มอบภาระหนา้ ทใี่ หส้ งฆร์ บั ผดิ ชอบในพนื้ ฐานทตี่ า่ ง ๆ พระเถระผูใ้ หญ่ทาหนา้ ทบี่ รหิ าร ปกครองหมู่คณะ สว่ นการบญั ญตั พิ ระวนิ ัย พระพุทธเจา้ จะทรงบญั ญตั เิ อง เชน่ มภี กิ ษุผูท้ า ผดิ มาสอบสวนแลว้ จงึ ทรงบญั ญตั พิ ระวนิ ัย สว่ นการตดั สนิ คดตี ามพระวนิ ัยทรงบญั ญตั แิ ลว้ เป็ นหนา้ ทขี่ องพระวนิ ัยธรรมซงึ่ เท่ากบั ศาล

5. มกี ารรบั ฟังความเห็น หรอื ฟังเสยี งของเหลา่ พทุ ธบรษิ ทั 4 คอื ภกิ ษุทุกรปู มสี ทิ ธใิ นการเขา้ ประชมุ มสี ทิ ธใิ นการแสดงความคดิ เห็นทงั้ ในทางคดั คา้ น และในทางเห็นดว้ ย และนามาพจิ ารณาไตรต่ รอง

6. พระพุทธศาสนายดึ หลกั ความถกู ตอ้ งตามธรรมะและความเป็ นเอกฉันทใ์ น การลงมตใิ นทปี่ ระชมุ คอื โดยใชห้ ลกั เสยี งขา้ งมากเป็ นเกณฑต์ ดั สนิ ในทปี่ ระชมุ สงฆ ์ เรยี กวา่ วธิ เี ยภยุ ยสกิ า ประกอบกบั หลกั ความถกู ตอ้ งตามศลี วนิ ัยสงฆแ์ ละหลกั ธรรมะอนื่ ๆ ประกอบการพจิ ารณา รว่ มกนั

7. พระพุทธศาสนามหี ลกั ธรรมสนับสนุ นการประชมุ ในหม่สู งฆแ์ ละเคารพกฎ ของการประชมุ คอื หลกั ธรรม เรอื่ ง “อปรหิ านิยธรรม” มี 7 ประการ 1. หม่นั ประชมุ เป็ นเนืองนิตย ์ 2. พรอ้ มเพรยี งในการประชมุ มาประชมุ เลกิ ประชมุ และทาภารกจิ อนื่ ๆ ใหพ้ รอ้ มกนั 3. ไม่บญั ญตั สิ งิ่ ใหม่ ๆ ตามอาเภอใจ โดยผดิ หลกั การเดมิ ทหี่ มู่คณะวางไว ้ 4. เคารพนับถอื ผูม้ อี าวโุ ส และรบั ฟังคาแนะนาจากทา่ น 5. ไม่ขม่ เหงหรอื ลว่ งเกนิ สตรี 6. เคารพสกั การะปชู นียสถาน ปชู นียวตั ถุ และรปู เคารพตา่ ง ๆ 7. ใหค้ วามคมุ ้ ครองพระสงฆผ์ ูท้ รงศลี และนักบวชอนื่ ๆ ใหอ้ ยู่ในชมุ ชนอยา่ งปลอดภยั

8. จดุ ม่งุ หมายสงู สดุ ของพระพุทธศาสนา คอื มุ่งสอู่ สิ รภาพ (หมายถงึ บคุ คลเป็ นอสิ ระจากกเิ ลสกองทกุ ขเ์ ครอื่ งเศรา้ หมองทงั้ ปวง) หรอื เรยี กวา่ “วมิ ุต”ิ 9.พระพุทธศาสนาสอนใหช้ าวพุทธมเี สรภี าพทางความคดิ และปฏบิ ตั ิ คอื ใหเ้ กดิ ศรทั ธาดว้ ยปัญญา โดยไม่มกี ารบงั คบั 10. พระพุทธศาสนายดึ หลกั ธรรมาธปิ ไตย คอื โดยใชเ้ หตผุ ลเป็ นใหญ่ มใิ ชย่ ดึ ในตวั บคุ คล

อธกิ รณ์ แปลวา่ ภารกจิ ทพ่ี งึ ทาใหส้ งบใหเ้ รยี บรอ้ ยเหมาะสม อธกิ รณ์ ในคาวดั ใชห้ มายถงึ สาเหตุ คดเี รอ่ื งราว ปัญหา ความยุ่งยาก กจิ กรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ ในหมู่สงฆ ์ ทส่ี งฆต์ อ้ ง จดั การสะสางหรอื ดาเนินการทาใหส้ งบหรอื เป็ นไปดว้ ยดี อธกิ รณ์ ในพระวนิ ัยมี 4 เรอ่ื ง คอื เป็ นชอื่ แหง่ เรอื่ งทเี่ กดิ ขนึ้ แลว้ จะตอ้ งจดั ตอ้ งทาใหล้ ุลว่ งไป มี 4 ประการ คอื 1.ววิ าทาธกิ รณ์ คอื ววิ าท ไดแ้ กก่ ารเถยี งกนั ปรารภพระธรรมวนิ ัยนี้ จะตอ้ งไดร้ บั ชขี้ าดวา่ ถกู วา่ ผดิ หรอื เรยี กอกี อย่างวา่ เป็ นการถกเถยี งกนั ดว้ ยเรอื่ งพระธรรมวนิ ัย 2.อนุวาทาธกิ รณ์ คอื ความโจทกลา่ วหากนั ดว้ ยปรารภพระธรรมวนิ ัยนีจ้ ะตอ้ งไดร้ บั ชขี้ าดว่าถกู ว่าผดิ หรอื เรยี ก อกี อย่างวา่ เป็ นการถกเถยี งกนั ดว้ ยเรอ่ื งอาบตั ิ 3.อาปัตตาธกิ รณ์ คอื กิรยิ าทตี่ อ้ งอาบตั หิ รอื ถกู ปรบั อาบตั นิ ีจ้ ะตอ้ งทาคนื คอื ทาใหพ้ น้ โทษ หรอื เรยี กอกี อยา่ งว่า เป็ นการถกเถยี งกนั ดว้ ยเรอื่ งการปรบั อาบตั แิ ละวธิ กี ารออกหรอื พน้ จากอาบตั ิ 4.กจิ จาธกิ รณ์ คอื กจิ ธรุ ะทส่ี งฆจ์ ะพงึ สามคั ครี ว่ มกนั ทา เรยี กวา่ สงั ฆกรรม เชน่ ใหอ้ ปุ สมบทนีจ้ ะตอ้ งทาใหส้ าเรจ็

หลกั การใชอ้ ธปิ ไตย พระพุทธเจา้ ทรงนิยม ธรรมาธปิ ไตย คอื เอาหลกั การเป็ นใหญ่ มใิ ช่ อตั ตาธปิ ไตย เอาตนเป็ นใหญ่ หรอื โลกาธปิ ไตย เอาโลกหรอื พวกพอ้ งเป็ นใหญ่ ดงั พระองคแ์ สดงไวอ้ ย่าง ชดั เจน

พระธรรมวนิ ยั ของพระพทุ ธเจา้ เป็ นหลกั การปกครองของพระสงฆ ์ โดยพระสงฆ ์ และเพอื่ พระสงฆอ์ นั มปี ระโยชน์ ๑๐ อย่าง เป็ นเป้ าหมาย คอื 1.เพอื่ หมู่คณะยอมรบั วา่ ดี 2.เพอื่ ใหห้ ม่คู ณะมคี วามผาสกุ 3.เพอื่ ขม่ คนชว่ั 4.เพอื่ ปกป้ องคนดี 5.เพอื่ ขจดั ทกุ ขใ์ นปัจจบุ นั 6.เพอื่ ตดั ทกุ ขใ์ นอนาคต 7.เพอื่ ผทู้ ยี่ งั ไม่ศรทั ธาไดม้ คี วามศรทั ธา 8.เพอื่ รกั ษาจติ ของคนทศี่ รทั ธาอย่แู ลว้ ใหเ้ ลอื่ มใสยงิ่ ๆ ขนึ้ ไป 9.เพอื่ ความตงั้ มน่ั แห่งพระสทั ธรรม คอื พระพุทธศาสนา 10.เพอื่ อนุเคราะหพ์ ระวนิ ัย คอื หลกั การอนั ดงี าม ของการอยู่รว่ มกนั โดยสนั ติ อย่างทเี่ รยี กวา่ \"มสี นั ตสิ ขุ ในส่วนตน และสนั ตภิ าพในสว่ นรวม\"

หลกั ประชาธิปไตยในการทพี่ ระพทุ ธเจ้าทรงมอบความเป็ นใหญ่แก่สงง์ 1. จานวนสงฆอ์ ยา่ งตา่ ทเี่ ขา้ ประชมุ ภิกษุ 4 รูป ภิกษุ 5 รูป ภิกษุ 10 รูป ภิกษุ 20 รูป ภิกษุกวา่ 20 รูป เขา้ ประชุม เรียกวา่ เขา้ ประชุม เรียกวา่ เขา้ ประชุม เรียกวา่ เขา้ ประชุม เรียกวา่ เขา้ ประชุม เรียกวา่ สงฆป์ ัญจวรรค อติเรกวสี ติวรรค สงฆจ์ ตุรวรรค สงฆท์ สวรรค สงฆว์ สี ติวรรค สามารถทาสงั ฆกรรม สามารถทาสงั ฆกรรมท่ี สามารถทาสงั ฆกรรมท่ี สามารถทาสงั ฆกรรม สามารถทาสังฆกรรมได้ ไดเ้ กือบทุกชนิด เวน้ สงฆจ์ ตุรวรรค ทาได้ สงฆป์ ัญจวรรคทาได้ ไดท้ ุกชนิด รวมท้งั ทุกชนิด สาหรับ แตก่ ารอปุ สมบท ท้งั หมด และยงั เพ่มิ การ ท้งั หมด และยงั เพมิ่ การ สวดอพั ภาน เพกิ ถอน ประเพณีไทยนิยมนิมนต์ หรือการบวชพระ ปวารณา การอุปสมบท อุปสมบทในมชั ฌิชนบท อาบตั ิหนกั ดว้ ย ภิกษุเขา้ ประชุมใหเ้ กิน การปวารณา ในชนบทชายแดน จานวนอยา่ งต่าของการ ทาสังฆกรรมน้นั ๆ เสมอ

หลกั ประชาธิปไตยในการทพ่ี ระพทุ ธเจ้าทรงมอบความเป็ นใหญ่แก่สงง์ 2. สถานทปี่ ระชมุ ของสงฆเ์ พอื่ ทาสงั ฆกรรมร พทั ธสมี ารสมี าทผี่ ูกแลว้ รเชน่ วสิ งุ คามสมี าร อพทั ธสมี ารสมี าทไี่ ม่ตอ้ งผูกรเชน่ สมี าน้าร หรอื เรยี กวา่ รอทุ กกุ เขปสมี ารแปลวา่ รสมี าชว่ั วกั แปลวา่ สมี าในหมู่บา้ นแยกออกตา่ งหากจากอาณา นา้ สาดรสมี าชนิดนีไ้ ม่ตอ้ งผูกแตส่ รา้ งอาคารร หรอื อยูใ่ นเรอื แพภายในหนองบงึ รแม่นา้ รทะเลร เขตของประเทศรการขอวสิ งุ คามสมี าตอ้ งขอจาก ซงึ่ มนี ้าขงั ตลอดปี รและอยู่หา่ งจากฝ่ังประมาณร ประมุขของรฐั รและเมอื่ ขอแลว้ ตอ้ งทาพธิ ถี อนสมี า 2 ชว่ั วกั นา้ สาดของบรุ ษุ ผูม้ กี าลงั ปานกลางร ในบรเิ วณน้ันรซงึ่ อาจเคยเป็ นวดั ผูกพทั ธสมี ามาแลว้ สมี านา้ นีใ้ ชท้ าสงั ฆกรรมไดเ้ หมอื นวสิ งุ คามสมี า ในสมยั โบราณก็ไดร้ แลว้ ทาพธิ ผี ูกพทั ธสมี ารสมี าซงึ่ ทาสงั ฆกรรมผูกแลว้ นีจ้ ะคงอยูต่ ลอดไปจนกวา่ โลก เชน่ กนั รสว่ นมากนิยมทากนั ในวดั หรอื สานัก นีแ้ ตกสลายกลายเป็ นธลุ คี อสมคิ รยกเวน้ รจะทาพธิ ี สงฆท์ ยี่ งั ไม่ไดข้ อพระราชทานวสิ งุ คามสมี าร ถอนสมี าเสยี ร

พทั ธสมี า

อพทั ธสมี า

หลกั ประชาธิปไตยในการทพี่ ระพทุ ธเจ้าทรงมอบความเป็ นใหญ่แก่สงง์ 3. การประกาศเร่ืองที่ประชุม และการประกาศขอความเห็นชอบ สงฆจ์ ะประชุมกนั ทาสงั ฆกรรมเร่ืองอะไรกต็ าม จะตอ้ งมีการประกาศเร่ืองน้นั ให้ สงฆท์ ราบ ผปู้ ระกาศมีรูปเดียวหรือ 2 รูป กไ็ ด้ เรียกวา่ พระคู่สวดหรือพระกรรมวาจาจารย์ เมื่อประกาศใหท้ ราบแลว้ ยงั มีการประกาศขอความเห็นชอบจากสงฆอ์ ีก ถา้ เป็นเรื่องไม่ สาคญั นกั มีการประกาศใหท้ ราบ 1 คร้ัง และประกาศขอความเห็นชอบอีก 1 คร้ังเรียกวา่ ญตั ติทุติยกรรม ถา้ เป็นเรื่องสาคญั มาก มีการประกาศใหท้ ราบ 1 คร้ัง และประกาศขอ ความเห็นอีก 3 คร้ัง รวมเป็น 4 คร้ัง เรียกวา่ ญตั ติจตุตถกรรม เช่นการใหอ้ ุปสมบท การ ลงโทษภิกษุผปู้ ระพฤติมิชอบ 7 อยา่ ง มีตชั ชนียกรรม (การตาหนิโทษ) เป็นตน้

หลกั ประชาธิปไตยในการทพี่ ระพทุ ธเจ้าทรงมอบความเป็ นใหญ่แก่สงง์ 4. สิทธิของภิกษผุ เู้ ขา้ ประชุม ภิกษผุ เู้ ขา้ ร่วมประชุมทาสงั ฆกรรมทุกรูปมีสิทธิแสดงความคิดเห็นท้งั ในทาง เห็นดว้ ยและในทางคดั คา้ น ตามปกติเม่ือภิกษผุ ปู้ ระกาศ หรือพระคู่สวดถามความ คิดเห็นของที่ประชุม ถา้ เห็นดว้ ย ใหใ้ ชว้ ธิ ีนิ่ง ถา้ ไม่เห็นดว้ ยใหค้ ดั คา้ นข้ึน จะตอ้ งมี การทาความเขา้ ใจกนั จนกวา่ จะยอมเห็นดว้ ย ถา้ ภิกษผุ คู้ ดั คา้ น ยงั คงยนื กรานไม่เห็น ดว้ ย การทาสงั ฆกรรมน้นั ๆ เช่น การอุปสมบท หรือการมอบผา้ กฐินยอ่ มไม่ สมบูรณ์ จึงเห็นไดว้ า่ มติของที่ประชุมตอ้ งเป็นเอกฉนั ทค์ ือเห็นพร้อมกนั ทกุ รูป



หลกั ประชาธิปไตยในการทพ่ี ระพทุ ธเจ้าทรงมอบความเป็ นใหญ่แก่สงง์ 5. มติที่ประชุม การทาสงั ฆกรรมท้งั หมด มติของท่ีประชุมตอ้ งเป็นเอกฉนั ท์ คือเป็นที่ยอมรับของ ภิกษุทุกรูป ท้งั น้ีเพราะในสงั ฆมณฑลน้นั ภิกษทุ ้งั หลายตอ้ งอยรู่ ่วมกนั มีความไวเ้ น้ือเช่ือ ใจกนั กล่าวคือมีศีลและมีความเห็นเหมือน ๆ กนั จึงจะมีความสามคั คี สืบต่อ พระพทุ ธศาสนาไดอ้ ยา่ งถาวร แต่ในบางกรณี เม่ือภิกษุมีความเห็นแตกตา่ งกนั เป็นสอง ฝ่ ายและมีจานวนมากดว้ ยกนั ตอ้ งหาวธิ ีระงบั โดยวธิ ีจบั ฉลาก หรือการลงคะแนนเพอ่ื ดูวา่ ฝ่ ายไหนไดเ้ สียงขา้ งมาก กต็ ดั สินไปตามเสียงขา้ งมากน้นั วธิ ีน้ีเรียกวา่ เยภุยยสิกา การถือ เสียงขา้ งมากเป็นประมาณ ตามหลกั ประชาธิปไตยทว่ั ไป ซ่ึงแสดงวา่ มติท่ีประชุมไม่ได้ ใชม้ ติเอกฉนั ทเ์ สมอไป

ลกั ษณะอื่นๆ ทแี่ สงดงถงึ ความเป็ นประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสงนา 1. พระพุทธเจา้ ทรงอนุญาตใหภ้ ิกษุศึกษาพระพทุ ธศาสนาดว้ ยภาษาใด ๆ กไ็ ด้ คือ ศึกษาดว้ ยภาษาท่ีตนเองรู้ดีท่ีสุด ไม่ใหผ้ กู ขาดศึกษาดว้ ยภาษาเดียว เหมือนศาสนาพราหมณ์ที่ ตอ้ งศึกษาดว้ ยภาษาสันสกฤตเพียงภาษาเดียว แต่การที่คณะสงฆไ์ ทยใชภ้ าษาบาลีเป็นหลกั ก็ เพื่อสอบทานความถูกตอ้ งในกรณีท่ีมีความสงสยั เท่าน้นั ส่วนการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาจะ ใชภ้ าษาทอ้ งถ่ินใด ๆ กไ็ ด้ 2. พระพทุ ธเจา้ ทรงอนุญาตใหพ้ ระสงฆป์ ฏิบตั ิคลอ้ ยตามกฎหมายของประเทศที่ตน อาศยั อยู่ การปฏิบตั ิใด ๆ ที่ไม่มีหา้ มไวใ้ นศีลของภิกษุแต่ผดิ กฎหมายของประเทศน้นั ๆ ภิกษุ กก็ ระทาไม่ได้ ขอ้ น้ีทาใหภ้ ิกษุสามารถอยไู่ ดใ้ นทุกประเทศโดยไม่มีความขดั แยง้ กบั รัฐบาล และประชาชนของประเทศน้นั ๆ

ลกั ษณะอื่นๆ ทแ่ี สงดงถงึ ความเป็ นประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสงนา 3. ก่อนปรินิพพาน พระพทุ ธเจา้ ทรงอนุญาตไวว้ า่ ถา้ สงฆป์ รารถนาจะถอน สิกขาบทเลก็ นอ้ ย (คือ เลิกศีลขอ้ เลก็ นอ้ ย) เสียกไ็ ด้ พระสงฆฝ์ ่ ายเถรวาทตกลงกนั ไม่ไดว้ า่ ขอ้ ใดเป็นสิกขาบทเลก็ นอ้ ย จึงมีมติไม่ใหถ้ อนสิกขาบทใด ๆ ท้งั สิ้น ส่วนพระสงฆฝ์ ่ าย มหายานมีมติใหถ้ อนสิกขาบทที่เห็นวา่ เลก็ นอ้ ยได้ เม่ือกาลเวลาล่วงไปกย็ ง่ิ ถอนมากข้ึนทุก ที การปฏิบตั ิระหวา่ งพระสงฆฝ์ ่ ายเถรวาทกบั ฝ่ ายมหายานจึงแตกต่างกนั มากยงิ่ ข้ึน

นิกายเถรวาท

นิกายมหายาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook