การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท 23101 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 จัดทาโดย นางสาวมนสั วี ฟองตา ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ตาบลช่างเคงิ่ อาเภอแม่แจม่ จังหวดั เชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
คาอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท 23101 ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 60 ช่วั โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวิชา ฝึกทักษะการอา่ น การเขียน การฟัง การดูและการพดู การวิเคราะห์และประเมนิ ค่าวรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับการออกเสียง การอ่านจับใจความ การอ่านตามความสนใจ ฝึกทักษะการคัดลายมือ การเขียน ข้อความตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆ เขียนอัตชีวประวัติหรือชีวประวัติ เขียนย่อความ การเขียนจดหมายกิจ ธุระ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง เขียนวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรู้ความคิดเห็น หรือ โตแ้ ยง้ จากส่อื ตา่ งๆ กรอกแบบสมคั รงาน เขียนรายงาน ฝกึ ทักษะการพูดแสดงความคิดเห็นและการประเมินเรื่องจาก การฟัง การดู พูดวิเคราะห์ วิจารณ์จากเรื่องท่ีฟังและดู พูดรายงานการศึกษาค้นคว้า พูดในโอกาสต่างๆ พูดโน้ม นา้ ว และศกึ ษาเกีย่ วกับคาภาษาตา่ งประเทศที่ใช้ในภาษาไทย โครงสร้างประโยคซับซอ้ น ระดับภาษาคาทับศัพท์และ ศพั ท์บญั ญตั ิ คาศัพทท์ างวิชาการและวชิ าชีพ การแต่งบทรอ้ ยกรองประเภทโคลงสีส่ ภุ าพ วเิ คราะหว์ ิถไี ทย ประเมนิ ค่า ความรู้และข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม บทละครพูดเร่ืองเห็นแก่ลูก นิทาน คากลอนเรื่อง พระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเส้ือสมุทร พระบรมราโชวาท อิศรญาณภาษิต บทพากย์เอราวัณ ท่องจา บทอาขยานทีก่ าหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอ่านเพ่ือสร้างความรู้ความคดิ นาไปใชต้ ดั สินใจ แก้ปญั หาในการดาเนินชีวิต กระบวนการ เขียนเพือ่ การส่อื สารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพดู สามารถเลอื กฟัง ดูและพูดแสดงความรู้ ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อใหเ้ ข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงภาษา พลงั ภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา วเิ คราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็นคุณค่านามาประยุกต์ใช้ในชีวิต จริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพดู ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ ท 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ท 2.1 ม.3/1 ม.3/1 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ท 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ท 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ท 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
รวมท้ังหมด 36 ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ มาตรฐานและตัวชวี้ ดั มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพ่ือนาไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ญั หาในการดาเนิน ชวี ติ และมนี ิสัยรักการอ่าน ม. 3/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสมกบั เร่อื งที่อ่าน ม. 3/2 ระบคุ วามแตกตา่ งของคาทีม่ คี วามหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ม. 3/3 ระบุใจความสาคญั และรายละเอียดของข้อมลู ท่ีสนบั สนนุ จากเรื่องท่ีอ่าน ม. 3/4 อา่ นเรือ่ งตา่ ง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคิด บนั ทึก ยอ่ ความ และรายงาน ม. 3/5 วเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ เรื่องท่อี ่าน โดยใชก้ ลวิธีการเปรียบเทยี บ เพอื่ ใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจไดด้ ี ข้ึน ม. 3/6 ประเมนิ ความถกู ต้องของข้อมูลท่ใี ช้สนบั สนุนในเรือ่ งท่ีอ่าน ม. 3/7 วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความ และความเป็นไปไดข้ องเรอื่ ง ม. 3/8 วเิ คราะหเ์ พ่อื แสดงความคดิ เห็นโตแ้ ยง้ เก่ียวกับเร่ืองที่อา่ น ม. 3/9 ตคี วามและประเมนิ คุณค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขยี นอย่างหลากหลาย เพ่ือนาไปใช้แกป้ ัญหาในชวี ิต ม. 3/10 มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสือ่ สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรอื่ งราวในรูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ ม. 3/1 คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ม. 3/2 เขียนข้อความโดยใช้ถอ้ ยคาไดถ้ ูกตอ้ งตามระดบั ภาษา ม. 3/3 เขียนชีวประวตั ิหรืออตั ชวี ประวตั ิโดยเลา่ เหตุการณ์ ข้อคิดเหน็ และทัศนคตใิ นเรื่องตา่ ง ๆ ม. 3/4 เขียนย่อความ ม. 3/5 เขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ ม. 3/6 เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แยง้ อยา่ งมเี หตุผล ม. 3/7 เขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือโต้แยง้ ในเร่อื งต่าง ๆ ม. 3/8 กรอกแบบสมคั รงานพร้อมเขียนบรรยายเก่ียวกับความรูแ้ ละทักษะของตนเองทเี่ หมาะสมกับงาน ม. 3/9 เขยี นรายงานการศกึ ษาค้นคว้าและโครงงาน ม. 3/10 มีมารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรสู้ ึกในโอกาส ต่างๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ม. 3/1 แสดงความคิดเหน็ และประเมนิ เรอื่ งจากการฟงั และการดู ม. 3/2 วิเคราะหแ์ ละวิจารณเ์ ร่อื งท่ฟี ังและดู เพื่อนาข้อคิดมาประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิต ม. 3/3 พูดรายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ที่ศกึ ษาค้นควา้ จากการฟงั การดู และการสนทนา
ม. 3/4 พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ ม. 3/5 พดู โนม้ น้าวโดยนาเสนอหลกั ฐานตามลาดบั เนื้อหาอยา่ งมีเหตผุ ลและนา่ เช่ือถือ ม. 3/5 มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ ม. 3/1 จาแนกและใชค้ าภาษาตา่ งประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย ม. 3/2 วเิ คราะห์โครงสรา้ งประโยคซับซ้อน ม. 3/3 วิเคราะห์ระดบั ภาษา ม. 3/4 ใชค้ าทบั ศพั ทแ์ ละศัพท์บญั ญตั ิ ม. 3/5 อธบิ ายความหมายคาศพั ทท์ างวิชาการและวิชาชีพ ม. 3/6 แต่งบทร้อยกรอง มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณคา่ และนามา ประยุกต์ใช้ในชีวติ จรงิ ม. 3/1 สรปุ เน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิน่ ที่อ่านในระดับทีย่ ากยงิ่ ข้ึน ม. 3/2 วิเคราะหว์ ิถไี ทยและคณุ คา่ จากวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่าน ม. 3/3 สรุปความรแู้ ละขอ้ คิดจากการอ่าน เพ่ือนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง ม. 3/4 ทอ่ งจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด และบทรอ้ ยกรองท่ีมคี ณุ ค่าตาม ความสนใจ และ นาไปใช้อา้ งอิง
ผงั มโนทัศน์ รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 23101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยที่ 1 การอา่ นออกเสียง หน่วยท่ี 2 การอา่ นจบั ใจความ จานวน 10 ชว่ั โมง : 5 คะแนน จานวน 8 ช่ัวโมง : 5 คะแนน หนว่ ยท่ี 3 การคัดลายมอื จานวน 4 ชวั่ โมง : 5 คะแนน รายวิชาภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 จานวน 60 ชั่วโมง หนว่ ยท่ี 7 พระอภยั มณี ตอน หนว่ ยที่ 4 การเขยี นเพอ่ื การสื่อสาร 1 พระอภยั มณหี นนี างผีเสอื้ จานวน 10 ช่วั โมง : 10 คะแนน จานวน 10 ชัว่ โมง : 10 คะแนน หน่วยที่ 6 บทละครพดู เรื่องเห็นแกล่ กู หน่วยที่ 5 การเขยี นเพื่อการส่อื สาร 2 จานวน 10 ช่ัวโมง : 10 คะแนน จานวน 8 ชั่วโมง : 5 คะแนน
ผงั มโนทศั น์ รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท 23101 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรือ่ ง การอา่ นออกเสยี ง จานวน 10 ช่ัวโมง : 5 คะแนน ช่อื เรอ่ื ง การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว จานวน 5 ช่วั โมง : 2 คะแนน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรื่อง การอา่ นออกเสียง จานวน 10 ชัว่ โมง ชอ่ื เร่ือง การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง จานวน 5 ชัว่ โมง : 3 คะแนน
แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรื่อง การอา่ นออกเสียง แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง การอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้ว รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 60 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 2 ชว่ั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจทคี่ งทน) การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ ไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกับเร่ืองท่ีอ่าน ผเู้ รียนต้องรู้หลกั การอ่าน 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั ชน้ั ป/ี ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพือ่ นาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนนิ ชวี ิตและมีนสิ ัยรักการอ่าน ตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ ม. 3/1 อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกบั เรื่องท่ีอ่าน - บอกหลกั และวิธีการอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เน้อื หาสาระหลัก : Knowledge นักเรียนสามารถบอกหลักการอ่านออกเสียงได้ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process นักเรยี นบอกหลักและวธิ กี ารอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ ได้ 3.3 คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude นักเรียนบอกวิธีการอา่ นออกเสยี งได้ 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. คุณลกั ษณะของวชิ า - การฝกึ ฝนในการอา่ น 6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 6.1. ใฝ่เรยี นรู้ 6.2. มงุ่ มั่นในการทางาน 6.3. รักความเปน็ ไทย 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้องกับตัวชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู้ ในแผนการเรยี นรู้น)ี้ - ใบกิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง การอา่ นบทรอ้ ยแก้ว ภาระงาน ใหน้ กั เรยี นอ่านบทร้อยแก้ว
8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ค่คู ดิ ...ค 2. ครูสนทนากับนักเรยี นเกยี่ วกับการอา่ นบทรอ้ ยแกว้ ทนี่ ักเรยี นพบเห็นในชวี ติ ประจาวนั เชน่ การอา่ นขา่ ว ทาง สถานีวิทยุกระจายเสียงแหง่ ประเทศไทย 3. นกั เรยี นฟังซีดกี ารอ่านขา่ วทางสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับ วิธีการอ่าน โดยให้บอกลกั ษณะเด่นในการอ่านออกเสยี งของผอู้ ่านข่าว 4. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ การอ่านข่าวของผู้อา่ นทางสถานวี ทิ ยุกระจายเสียงแหง่ ประเทศไทย มลี ักษณะเดน่ อย่างไร (ออกเสียงไดถ้ ูกตอ้ งชดั เจน ไมม่ ีข้อผดิ พลาดหรอื มีน้อย ซึ่งเป็นตัวอย่างการอ่านทดี่ )ี 5. นกั เรยี นศึกษาความรู้เร่ือง การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว จากหนงั สือเรยี น 6. ครเู ปิดซดี ีการอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วใหน้ ักเรียนฟัง พร้อมกบั ให้นกั เรยี นสงั เกตรูปแบบและวิธีการอ่านออกเสียง บทร้อยแก้วท่ีถูกต้องและไพเราะ 7. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ขอ้ 1-2 1. ถ้านักเรยี นตอ้ งการประสบความสาเรจ็ ในการอา่ นบทร้อยแกว้ นักเรียนจะต้องทาอยา่ งไร (ฝึกอา่ นโดยศึกษาจากตน้ แบบทถ่ี ูกต้อง และฝกึ อยา่ งสม่าเสมอ) 2. นักเรียนคิดวา่ การอา่ นที่ถกู ตอ้ งและไพเราะ ควรอา่ นอย่างไร (พจิ ารณาตามค่าตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน) 8. ครูสุ่มเลขทนี่ กั เรียน 2-3 คน นาเสนอข้อสังเกตในการอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ให้ไพเราะ 9. นักเรียนรว่ มกนั สรปุ รูปแบบและวธิ ีการอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ท่ถี ูกต้องและไพเราะ จากน้นั ครูสั่งใหน้ กั เรียนทกุ คนเตรียมบทความท่ัวไปหรอื บทความปกิณกะ มาคนละ 1 เรือ่ ง เพื่อให้นกั เรยี นฝกึ อ่าน ในช่วั โมงเรยี นต่อไป 9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ จานวน สภาพการใช้สอ่ื รายการสอื่ 1 ชดุ ขนั้ ตรวจสอบความรูเ้ ดิม 1 ชดุ ขน้ั สร้างความสนใจ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 2 2. การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้
10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ วธิ วี ัด เครือ่ งมอื วัดฯ ประเดน็ / เกณฑ์การให้คะแนน การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน ตรวจ แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมนิ ตามสภาพ แบบทดสอบกอ่ น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 - อา่ นออกเสียงบท ข้อสอบก่อนเรยี น เรียน หน่วยการ จรงิ ) เรียนร้ทู ี่ 1 ร้อยแกว้ ได้ถกู ต้อง
แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรื่อง การอ่านออกเสียง แผนจัดการเรียนรูท้ ี่ 2 เรอ่ื ง การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 น้าหนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 60 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทีใ่ ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 3 ชว่ั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจทีค่ งทน) การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรองประเภทต่างๆ ต้องมคี วามรู้เกย่ี วกับหลักการอ่าน จึงจะอา่ นไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม กับเร่อื งที่อ่าน 2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วดั ชน้ั ป/ี ผลการเรยี นร้/ู เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรูแ้ ละความคดิ เพ่อื นาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนินชีวติ และมนี ิสยั รกั การอ่าน ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ ม. 3/1 อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั เรื่องท่ีอ่าน - อ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั เรอ่ื งที่อ่าน 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge นักเรยี นสามารถบอกหลักการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นกั เรยี นบอกหลกั และวธิ กี ารอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรองได้ 3.3 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude นกั เรียนบอกวิธีการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้ 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. คุณลกั ษณะของวชิ า - การฝึกฝนในการอา่ น 6. คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ 6.1. ใฝ่เรียนรู้ 6.2. ม่งุ มัน่ ในการทางาน 6.3. รักความเป็นไทย 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : (ใหส้ อดคล้องกับตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ ในแผนการเรยี นรนู้ ี้) - ใบกจิ กรรมที่ 1 เรอื่ ง การอา่ นบทร้อยกรอง ภาระงาน ให้นักเรียนการอ่านทานองเสนาะ
8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครูเปดิ ซีดีการอา่ นทานองเสนาะให้นกั เรียนฟัง จากนั้นร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับวธิ กี ารอ่าน. 2. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • นักเรียนคดิ วา่ การอา่ นบทร้อยกรองไดถ้ กู ตอ้ งและมีความไพเราะเป็นพรสวรรคเ์ ฉพาะตัวของผู้อา่ นหรือไม่ (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครูผ้สู อน) 3. นักเรยี นศึกษาความรูเ้ ร่อื ง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง จากหนังสือเรียน และซีดีการอ่านทานองเสนาะ 4. ครูกาหนดหัวเรอ่ื งทีจ่ ะศกึ ษาเป็นหวั ข้อย่อย 5 หัวข้อ คือ 1) กลอนบทละคร 2) กลอนเสภา 3) กาพยย์ านี 11 4) กาพย์ฉบงั 16 5) โคลงสีส่ ุภาพ 5. ครแู บง่ นักเรียนเป็นกลุม่ กลุ่มละ 5 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน และอ่อน เรยี กว่า กลมุ่ บา้ น แลว้ ใหส้ มาชิกแตล่ ะคนเลือกหมายเลขประจาตวั ตามความสมคั รใจ ตงั้ แต่ หมายเลข 1-5 จากนั้นตัง้ ชอื่ กลุ่มของตน พร้อมเขียนช่ือบนปา้ ยนิเทศหนา้ ช้นั เรยี น 6. นกั เรยี นท่มี ีหมายเลขเดยี วกันจากกล่มุ บ้านมานั่งรวมกัน เรยี กวา่ กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ จากนั้นให้แต่ละกลมุ่ ฝกึ อ่านบทร้อยกรองตามหมายเลขที่ครกู าหนดให้ (ในหมายเลขเดยี วกนั อาจมีหลายกลุ่มก็ไดข้ น้ึ อยกู่ บั จานวน นักเรียน) โดยให้สมาชกิ ในแตล่ ะกลุ่มชว่ ยเหลือกันจนทุกคนสามารถอ่านไดถ้ ูกตอ้ งเป็นอย่างดี 7. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • นักเรียนคิดวา่ บทร้อยกรองประเภทใดอา่ นยากท่ีสดุ เพราะเหตใุ ด แลว้ ในการฝกึ อา่ น นกั เรยี นควรทาอยา่ งไร (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยูใ่ นดุลยพนิ ิจของครผู ้สู อน) 9. ส่อื การเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการสือ่ จานวน สภาพการใช้ส่อื 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 1 ชดุ ขัน้ ตรวจสอบความรู้เดิม 2 2. การอ่านทานองเสนาะ 1 ชดุ ขัน้ สร้างความสนใจ
10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรียนรู้ วธิ วี ัด เครือ่ งมอื วัดฯ ประเดน็ / เกณฑ์การให้คะแนน การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน ตรวจ แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมนิ ตามสภาพ แบบทดสอบกอ่ น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 - อา่ นออกเสียงบท ข้อสอบก่อนเรยี น เรียน หน่วยการ จรงิ ) เรียนร้ทู ี่ 1 ร้อยกรองไดถ้ กู ต้อง
ผงั มโนทศั น์ รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท 23101 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การอ่านจับใจความ จานวน 8 ช่ัวโมง : 5 คะแนน ชื่อเรอ่ื ง การอา่ นจับใจความสารคดี จานวน 4 ช่วั โมง : 2 คะแนน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง การอ่านจบั ใจความ จานวน 8 ชวั่ โมง ช่อื เรื่อง การอา่ นจบั ใจความจากสารคดีชีวประวัติ จานวน 4 ช่วั โมง : 3 คะแนน
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เรื่อง การอา่ นจับใจความ แผนจดั การเรยี นรูท้ ี่ 1 เร่ือง การอา่ นจบั ใจความสารคดี รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 นา้ หนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 60 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 2 ชวั่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเขา้ ใจท่ีคงทน) การศกึ ษาสารคดซี ึ่งเปน็ งานเขียนท่ีเป็นเรือ่ งเก่ียวกับข้อเท็จจริง ให้สาระ ความรู้ ความคิด และความ เพลิดเพลนิ ผอู้ า่ นตอ้ งระบใุ จความสาคัญและรายละเอยี ดของขอ้ มูลท่ีสนบั สนุนจากเรอื่ งที่อ่าน 2. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชี้วัดชนั้ ป/ี ผลการเรียนรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคิด เพ่อื นาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปัญหาในการ ดาเนินชีวติ และมนี ิสัยรกั การอ่าน ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ ม. 3/3 ระบุใจความสาคญั และรายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุนจากเร่ืองทอ่ี า่ น - อ่านจับใจความสาคญั จากสารคดเี รื่องทอี่ า่ นได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลัก : Knowledge นักเรียนสามารถบอกหลักการอา่ นจับใจความได้ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process นักเรยี นบอกหลกั และวธิ กี ารอ่านจับใจความได้ 3.3 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude นักเรียนบอกวิธกี ารอ่านจับใจความได้ 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. คณุ ลักษณะของวิชา - การฝึกฝนในการอ่าน 6. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 6.1. ใฝ่เรียนรู้ 6.2. มุง่ มน่ั ในการทางาน 6.3. รักความเปน็ ไทย 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : (ใหส้ อดคลอ้ งกับตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ในแผนการเรยี นรู้น)้ี - ใบความรู้ เรือ่ ง สารคดี - ใบงาน เรอื่ ง หลักการอา่ นจบั ใจความ
8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 2. ครูอ่านสารคดีส้นั ๆ เรือ่ งท่พี จิ ารณาแล้วเห็นว่าน่าสนใจใหน้ ักเรียนฟัง แล้วกระตุ้นใหน้ ักเรียนสรา้ งคาถามจาก เรือ่ งท่ฟี ังเปน็ การนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครสู นทนากับนกั เรยี นเรอื่ งงานเขียนประเภทสารคดี พรอ้ มยกตัวอย่างช่ือนักเขียนสารคดที ี่มชี ื่อเสียงของไทย เช่น อรสม สุทธสิ าคร ธีรภาพ โลหติ กลุ ฯลฯ และยกตวั อย่างหนงั สอื สารคดีทด่ี ี 4. นกั เรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ • นักเรียนเคยอ่านหนังสอื ประเภทสารคดีเรื่องอะไรบ้าง และสารคดีเรือ่ งดงั กล่าวใหค้ วามรู้ กับนกั เรียนอยา่ งไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครผู ้สู อน) 5. นักเรียนศกึ ษาความรูเ้ รื่อง การอา่ นจบั ใจความ จากหนงั สือเรยี น และใบความรู้ เรือ่ ง สารคดี 6. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • การอา่ นจบั ใจความ มีประโยชนอ์ ย่างไร (ช่วยใหผ้ ู้อ่านจาแนกขอ้ เท็จจริงของเรือ่ งที่อ่านออกจากสว่ นประกอบอืน่ ๆ ของเรอ่ื งได้) 7. นักเรยี นร่วมกนั อภิปรายสรุปหลักการอ่านจับใจความ 8. นกั เรียนแต่ละคนทาใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง หลักการอา่ นจับใจความ เสรจ็ แล้วนาส่งครูตรวจ 9. ส่อื การเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการสอ่ื จานวน สภาพการใชส้ อ่ื 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 1 ชดุ ขั้นตรวจสอบความรู้เดมิ 2. ใบความรู้ เร่ือง สารคดี 1 ชุด ขัน้ สร้างความสนใจ 10. การวัดผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วิธวี ดั เครื่องมอื วดั ฯ ประเดน็ / เกณฑก์ ารให้คะแนน การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน ตรวจ แบบทดสอบก่อนเรยี น (ประเมินตามสภาพ แบบทดสอบก่อน หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 - อา่ นออกจบั ข้อสอบก่อนเรยี น เรยี น หน่วยการ จริง) เรียนรทู้ ี่ 2 ใจความสารคดี
ใบความรู้ เรือ่ ง สารคดี ความหมายและจุดมงุ่ หมายของการเขียนสารคดี สารคดี หมายถึง งานเขียนท่เี ปน็ เรือ่ งเก่ยี วกับข้อเท็จจริง เสนอเรือ่ งราวเก่ียวกับบุคคลทมี่ ีตัวตนจรงิ เหตกุ ารณท์ ่ี เกิดขนึ้ จริง มเี จตนาเบอื้ งตน้ ในการใหส้ าระ ความรู้ ความคดิ ท้ังนี้ ต้องมกี ลวธิ กี ารเขยี นใหเ้ กิดความเพลิดเพลินด้วย สารคดี โดยทั่วไปมีจดุ ม่งุ หมาย ดังนี้ 1. เพอื่ ให้ความรู้ อาจจะเปน็ ความรเู้ ฉพาะสาขาวชิ า เชน่ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือภาษาศาสตร์ ตวั อย่างเชน่ ความรู้เกย่ี วกับการเจียระไนพลอย ความร้เู ก่ียวกับปรากฏการณธ์ รรมชาติ เป็นตน้ 2. เพื่อให้ข้อเท็จจรงิ ซง่ึ อาจได้มาจากประสบการณ์ทผ่ี ู้เขยี นค้นควา้ รวบรวมมา ประสบดว้ ยตนเอง หรือไดร้ ับการบอกเลา่ โดยมีหลกั ฐานทีน่ า่ เชอื่ ถือ ซึง่ ผเู้ ขียนจะนามาเรียบเรยี ง หรอื เล่าในรูปสารคดี เช่น สารคดีท่องเที่ยว สารคดีเกีย่ วกบั สัตวป์ ่า สารคดีเกีย่ วกบั เหตุการณท์ ี่เกิดขึน้ เปน็ ตน้ 3. เพือ่ แสดงความเห็น หรอื แนวคดิ เป็นการให้แนวคดิ ท่ีเปน็ ประโยชน์ เพ่อื ส่งเสริมให้ผู้อา่ นมคี วามคดิ ทีก่ ว้างขวาง ยง่ิ ข้นึ เชน่ สารคดเี กยี่ วกบั การพัฒนาชุมชน สารคดเี กี่ยวกบั การแกป้ ญั หาของสังคม สารคดีเกย่ี วกบั การจดั การศกึ ษาของชาติ เปน็ ต้น 4. เพ่ือใหค้ วามเพลิดเพลิน เพ่ือให้เขา้ ถงึ กลุ่มเป้าหมายไดม้ ากทส่ี ุด สารคดีบางเรอื่ งจงึ เขียนให้เป็นสารคดีท่ไี มม่ ี สาระวชิ าการมากเกนิ ไป ท้ังนเ้ี พอ่ื มงุ่ สนองความต้องการของผู้อ่าน ใหผ้ ้อู า่ นเกดิ ความ เพลดิ เพลนิ สนุกสนานไปกบั เรอื่ ง ขณะเดยี วกนั กไ็ ด้สาระความรู้ ข้อเท็จจรงิ และความคิดเหน็ ดว้ ย เชน่ สารคดเี กีย่ วกับการทอ่ งเท่ยี ว ผู้เขียนจะนาชมสถานท่ี แปลกๆ ใหมๆ่ สวยๆ งามๆ โดยมกี ารพรรณนา ความงามของธรรมชาติด้วยถ้อยคาทีส่ ละสลวย ลกั ษณะของสารคดี 1. เน้อื เรือ่ งมสี ารประโยชน์ เปน็ งานเขยี นที่มุ่งให้ผ้อู า่ นเกดิ ความรู้ ความคิด 2. เน้อื เร่ืองไมจ่ ากัดว่าจะเป็นเร่ืองใด ถ้าเหน็ ว่าเน้ือหานน้ั มสี าระบันเทงิ กส็ ามารถนามาเขียนได้ 3. การใชส้ านวนภาษาสรา้ งความเพลดิ เพลนิ แกผ่ อู้ า่ น และผอ่ นคลายความตึงเครียดในชวี ิตประจาวนั 4. สารคดเี ป็นเรื่องราวทไี่ มค่ อ่ ยล้าสมัย ไม่มกี ารจากัดกาลเวลาเหมอื นขา่ ว ประเภทของสารคดี สารคดแี บง่ ออกเปน็ 3 ประเภทใหญๆ่ ไดแ้ ก่ 1. สารคดีวิชาการ เปน็ เร่อื งที่ให้ความรวู้ ิชาการแขนงต่างๆ เชน่ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาศาสตร์ สังคมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ ศาสนศาสตร์ เป็นตน้ 2. สารคดีทั่วไป เปน็ เรือ่ งทีใ่ หค้ วามรู้และความรอบรูท้ ่ัวๆ ไป เช่น การท่องเท่ยี ว การเล่นกฬี า งานอดิเรก สงคราม อบุ ตั ิเหตุ ประเพณีวัฒนธรรมตา่ งๆ การทาขนม ตดั เยบ็ เส้ือผา้ การออกกาลงั กาย เป็นต้น 3. สารคดชี ีวประวัติ เปน็ การเขยี นเกี่ยวกบั บคุ คลทีม่ ชี ่อื เสียงหรอื บุคคลทีม่ ีความสามารถเปน็ พิเศษ ผเู้ ขยี นจะต้องมขี ้อมลู อย่างถูกต้อง ให้ความเป็นธรรม ปราศจากอคตลิ าเอียง เขยี นโดยการไปสัมภาษณ์ เจา้ ของประวัติหรอื ผู้ทเ่ี กี่ยวข้องกับผ้นู นั้ แล้วนาเอาสงิ่ ท่เี ปน็ สาระมาเขยี นไว้ เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความบันเทิงแกผ่ ู้อ่าน
ตอนท่ี 1 หลักการอา่ นจับใจความ คาช้แี จง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การอา่ นจับใจความโดยรวมหมายความว่าอย่างไร มวี ธิ กี ารอย่างไร 2. การอา่ นจับใจความสาคัญ มแี นวทางในการอ่านอยา่ งไร
ตอนที่ 2 คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นจบั ใจความสาคญั ข้อความท่ีกาหนดให้ ขอ้ ความที่ 1 “ในสังคมไทยปัจจุบันเต็มไปด้วยความเช่ือมากกว่าความคิด พฤติกรรมของผู้คนในสังคมแสดงให้ เห็นชัดเจนว่า ชีวิตอยู่ด้วยความเชื่อมากกว่าอยู่ด้วยความคิด ดังนั้นถ้อยคาท่ีกระจกหลังของรถท่ี ปรากฏตามท้องถนน จงึ มแี ต่คาวา่ รถคันนี้สี...ตรงข้ามกับรถท่ีเป็นสีจริง เช่น รถสีแดงก็เขียนว่ารถคันนี้ สีเขียว หรอื ในจอโทรทัศน์ก็มีแต่ความเชื่อมากกว่าความคิด แม้หลายรายการจะข้ึนตัวอักษรว่าโปรดใช้ วิจารณญาณในการชมด้วยก็ตาม จะมีสักกี่คนจะอ่านหรือฟังถ้อยคาเหล่าน้ัน หรือแม้แต่ในชีวิตทั่วไป ในทันทีที่เกิดเรื่องประหลาดข้ึน ไม่ว่าจะเป็นธรรมชาติท่ีผิดเพี้ยนหรืออย่างใดก็ตาม สิ่งแรกที่คนใน สังคมจะทาคือ บูชากราบไหวแ้ ละขอหวย สิ่งท่เี กดิ ข้ึนเหล่าน้ีเป็นเรื่องธรรมดาไปเสียแล้วและเป็นที่เฮฮา สาหรับบางกลุ่ม คนในสายการเมืองและสายบันเทิงที่เป็นสายคุมความคิดและความรู้สึกของคนทั้ง ประเทศก็ใช้ความเช่ือนาเช่นกันจนดิฉันคิดว่า เราอาจเปล่ียนแปลงสังคมแห่งความเชื่อนี้กลับมาเป็น สงั คมแหง่ การคดิ ได้ยากยง่ิ แลว้ จึงอยากให้เราช่วยกนั ทาสังคมแห่งความเชื่อนี้เป็นสังคมแห่งความเช่ือท่ี เป็นบวก แต่พอดแี ละพอควร ข้อความท่ี 2 “ผมผ่านการใช้ชีวิตมามากแล้ว ทั้งชีวิตเพ่ือการงาน ชีวิตเพ่ือสังคม ชีวิตเพ่ือครอบครัว ญาติมิตร และ ชวี ติ เพอื่ ตนเอง รู้สึกว่าได้ผ่านการใช้ชีวิตมามากพอแล้ว ที่ยังมีชีวิตและทากิจกรรมต่างๆ ได้อยู่บ้าง ถือเป็น โชคดแี ละเป็นของแถม จึงใชช้ วี ติ และทากจิ กรรมเท่าที่ทาไดไ้ ปเรอื่ ยๆ อย่างสบายใจ แม้จะมีภาวะเจ็บป่วยอยู่ แต่ก็ไม่รุนแรงมากยังคง ช่วยตัวเองได้ ไปไหนมาไหนได้ แม้ในอัตราที่ค่อนข้างช้าและเจ็บปวดเพราะมีแรง น้อย”
ตอนท่ี 1 ใบงาน หลักการอ่านจับใจความ คาชแี้ จง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1. การอา่ นจับใจความโดยรวมหมายความวา่ อยา่ งไร มวี ิธกี ารอยา่ งไร การจบั ใจความโดยรวม หมายถึง การสังเกตส่วนประกอบตา่ งๆ ของหนังสือหรือบทความอยา่ งรวดเร็ว เพ่อื สามารถกาหนด และทาความเขา้ ใจโครงเร่อื งหรือเน้ือหาทั้งหมดของหนังสอื ได้ มีวธิ ีการ ดังน้ี 1) สงั เกตส่วนประกอบของเรอ่ื ง เช่น ช่ือเรื่อง คานา สารบัญ วัตถปุ ระสงคข์ องผูเ้ ขียน เพื่อใหเ้ ห็น แนวทางและจุดประสงคข์ องผู้เขียน 2) สังเกตหัวข้อใหญ่และหัวข้อรองท่ีเป็นใจความสาคัญท่ีผเู้ ขียนต้องการสื่อมายังผูอ้ า่ น สังเกตข้อความ ทีเ่ ปน็ ตวั หนา ตวั เอน ขอ้ ความทีข่ ดี เส้นใตห้ รือทอี่ ย่ใู นเครื่องหมายอญั ประกาศ รวมท้ังตารางและแผนภูมิ จากนน้ั จึง เรยี งลาดับความคดิ รวมถึงพิจารณาเร่ืองราวทผ่ี เู้ ขยี นต้องการนาเสนอ 2. การอ่านจบั ใจความสาคัญ มแี นวทางในการอา่ นอยา่ งไร แนวทางในการอ่านจับใจความสาคญั มดี ังน้ี 1) พจิ ารณาจากชือ่ เรอ่ื งแลว้ อ่านตัง้ แตย่ ่อหนา้ แรกถงึ ย่อหน้าสุดทา้ ย จะช่วยให้ทราบวา่ เรอื่ งท่ีอ่านนน้ั นาเสนอเร่ือง อะไรอยา่ งกว้างๆ 2) พิจารณาหาใจความสาคัญไปทลี ะย่อหนา้ ส่วนใหญใ่ จความสาคัญจะปรากฏอยใู่ นตาแหนง่ ตน้ ตาแหนง่ กลางหรือตาแหน่งทา้ ยของย่อหนา้ 3) พิจารณาตัดรายละเอียดปลกี ย่อย เช่น คาอธบิ าย ตัวอย่าง การใหเ้ หตผุ ล เพราะส่ิงเหลา่ นเี้ ปน็ เคร่ืองสนับสนนุ แนวคิดหลกั ของเรือ่ ง 4) เมือ่ อ่านจบควรตอบคาถามให้ไดว้ ่าเปน็ เรอื่ งของใคร ทาอะไร ที่ไหน เมอ่ื ไร อยา่ งไร ด้วยวธิ ีใด จากนนั้ จึงบนั ทึก ความสาคัญเอาไว้
ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้นกั เรยี นจบั ใจความสาคญั ข้อความทก่ี าหนดให้ ข้อความที่ 1 “ในสังคมไทยปจั จุบนั เตม็ ไปดว้ ยความเชื่อมากกว่าความคดิ พฤติกรรมของผู้คนในสังคมแสดงให้ เหน็ ชดั เจนวา่ ชีวิตอยู่ด้วยความเชื่อมากกว่าอยู่ดว้ ยความคิด ดังนัน้ ถ้อยคาท่ีกระจกหลงั ของรถที่ ปรากฏตามทอ้ งถนน จงึ มแี ต่คาวา่ รถคันนี้สี...ตรงข้ามกับรถทเ่ี ป็นสจี รงิ เช่น รถสแี ดงกเ็ ขยี นว่ารถคันน้ี สเี ขียว หรือในจอโทรทศั นก์ ม็ แี ต่ความเชื่อมากกวา่ ความคดิ แม้หลายรายการจะขน้ึ ตวั อกั ษรว่าโปรดใช้ วิจารณญาณในการชมดว้ ยก็ตาม จะมีสักกี่คนจะอา่ นหรือฟงั ถ้อยคาเหล่าน้นั หรือแมแ้ ต่ในชีวติ ท่ัวไป ในทนั ทที ่ีเกิดเร่อื งประหลาดข้ึน ไมว่ า่ จะเปน็ ธรรมชาติที่ผิดเพี้ยนหรืออย่างใดกต็ าม สิ่งแรกท่คี นใน สังคมจะทาคือ บูชากราบไหว้และขอหวย สิ่งทีเ่ กิดขนึ้ เหล่าน้เี ปน็ เรื่องธรรมดาไปเสียแล้วและเป็นที่เฮฮา สาหรบั บางกลุ่ม คนในสายการเมอื งและสายบนั เทิงทเี่ ป็นสายคมุ ความคดิ และความรู้สกึ ของคนท้ัง ประเทศกใ็ ช้ความเชือ่ นาเชน่ กนั จนดิฉันคดิ วา่ เราอาจเปลีย่ นแปลงสังคมแหง่ ความเช่ือน้กี ลบั มาเปน็ สงั คมแหง่ การคิดได้ยากยิ่งแลว้ จงึ อยากให้เราช่วยกนั ทาสังคมแห่งความเช่ือนี้เปน็ สังคมแหง่ ความเชือ่ ท่ี เปน็ บวก แต่พอดแี ละพอควร ใจความสาคัญของข้อความ มีดงั นี้ ในสงั คมไทยปจั จุบนั เต็มไปด้วยความเช่ือมากกว่าความคิด ข้อความที่ 2 “ผมผา่ นการใชช้ ีวติ มามากแล้ว ทงั้ ชีวติ เพื่อการงาน ชวี ิตเพือ่ สังคม ชีวติ เพ่ือครอบครัว ญาตมิ ิตร และ ชีวิตเพ่ือ ตนเอง รู้สกึ วา่ ได้ผา่ นการใชช้ ีวิตมามากพอแล้ว ทีย่ งั มีชีวิตและทากจิ กรรมต่างๆ ได้อยู่บ้าง ถือเปน็ โชคดีและเป็นของแถม จงึ ใช้ชวี ติ และทากิจกรรมเท่าที่ทาได้ไปเร่ือยๆ อยา่ งสบายใจ แมจ้ ะมภี าวะเจบ็ ป่วยอยู่ แต่กไ็ ม่รุนแรงมากยังคง ช่วยตวั เองได้ ไปไหนมาไหนได้ แมใ้ นอตั ราที่คอ่ นขา้ งชา้ และเจบ็ ปวดเพราะมีแรง น้อย” ใจความสาคัญของข้อความ มดี งั น้ี รสู้ ึกว่าไดผ้ า่ นการใช้ชวี ติ มามากพอแล้ว ทย่ี งั มชี ีวติ และทากิจกรรมต่างๆ ได้อยบู่ ้าง ถือเป็นโชคดแี ละเป็น ของแถม
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่ือง การอา่ นจับใจความ แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เรอื่ ง การอ่านจบั ใจความจากสารคดี ชวี ประวัติ รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 น้าหนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 3 ชว่ั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั (ความเข้าใจทค่ี งทน) การศกึ ษาสารคดีชวี ประวัตซิ ่ึงเป็นงานเขยี นเก่ียวกับบุคคลที่มีตัวตนจรงิ เหตกุ ารณท์ ีเ่ กดิ ข้นึ จรงิ ผู้เรยี นต้องระบุ ใจความสาคญั และรายละเอียดของข้อมลู ทสี่ นบั สนุนจากเร่ืองทีอ่ า่ น 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัดชัน้ ป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพือ่ นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ ดาเนนิ ชีวิตและมนี สิ ยั รักการอ่าน ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ ม. 3/3 ระบุใจความสาคญั และรายละเอียดของข้อมูลท่ีสนบั สนุนจากเร่ืองท่ีอา่ น - อ่านจับใจความสาคัญจากสารคดีชวี ประวตั ิเรือ่ งที่อา่ นได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge นักเรียนสามารถบอกหลกั การอ่านจบั ใจความได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรยี นบอกหลกั และวิธีการอ่านจับใจความได้ 3.3 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude นกั เรยี นบอกวิธีการอา่ นจบั ใจความได้ 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา - การฝึกฝนในการอา่ น 6. คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 6.1. ใฝ่เรียนรู้ 6.2. มุง่ มนั่ ในการทางาน 6.3. รักความเป็นไทย 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : (ใหส้ อดคลอ้ งกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรนู้ )้ี - ตวั อยา่ งสารคดชี ีวประวตั ิเรอื่ งผูบ้ กุ เบิก - ใบงาน เรือ่ ง สารคดชี ีวประวัติบุคคลทีน่ ักเรยี นสนใจ
8. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูนาสารคดชี วี ประวัตเิ รื่องผบู้ ุกเบกิ ของธรี ภาพ โลหิตกุล มาอ่านให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนสงั เกต ลักษณะสารคดี ชีวประวตั ิคูค่ ดิ ...ค 2. นกั เรยี นเลอื กสารคดชี วี ประวัตบิ ุคคลที่นกั เรยี นสนใจจากห้องสมุด มาคนละ 1 เร่อื ง 3. ครสู มุ่ นกั เรยี นออกมานาเสนอสารคดีชวี ประวตั ทิ เ่ี ตรียมมา พร้อมกบั บอกเหตุผลที่เลือกเรอ่ื งน้นั 4. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • ประวตั ผิ ้แู ตง่ หนังสอื ในหนังสือเรยี นภาษาไทย : วรรณคดีและวรรณกรรม เป็นสารคดชี ีวประวัตหิ รอื ไม่ มคี วาม เหมือนหรือความแตกตา่ งกับเร่อื งผ้บู กุ เบกิ อยา่ งไร (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ นดลุ ยพนิ ิจของครผู ูส้ อน) 5. Survey (S) อา่ นสารคดที ี่เตรยี มมาอย่างครา่ วๆ เพ่ือหาจดุ สาคัญของเรอื่ ง 6. Question (Q) ตัง้ คาถามเกี่ยวกับเร่ืองท่อี ่านในเวลาเดยี วกันก็ควรจะต้องถามตัวเองดูว่าใจความสาคัญ ที่ ผู้เขียนกาลังพูดถึงนั้นคอื อะไร ทาไมจึงสาคญั สาคัญอย่างไร และเกี่ยวข้องกบั อะไรหรือใครบ้างตอนไหนและเมื่อไร 7. Read (R) อา่ นข้อความในสารคดเี รอ่ื งนนั้ ซา้ อยา่ งละเอียด และในขณะเดียวกันกค็ ้นหาคาตอบสาหรับคาถามที่ได้ ตั้งไว้8. Record (R) จดบนั ทึกข้อมลู ต่างๆ ท่ไี ด้อา่ นจากสารคดใี นขั้นตอนที่ 3 โดยมุง่ จดบันทึกในสว่ นทีส่ าคัญและ สิง่ ทจี่ าเป็น โดยใช้ข้อความอย่างรัดกุมหรอื ย่อๆ ตามความเข้าใจของนักเรยี น 9. Recite (R) เขียนสรุปใจความสาคัญ โดยพยายามใช้ภาษาของตนเอง ถา้ ยงั ไม่แน่ใจในบทใดหรือ ตอนใดให้ กลับไปอ่านซ้าใหม่ 10. Reflect (R) วิเคราะห์ วจิ ารณ์ บทอ่านทนี่ กั เรียนได้อ่าน แล้วแสดงความคดิ เหน็ ในประเดน็ ทส่ี อดคล้องหรือไม่ สอดคลอ้ ง 11. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • เพราะเหตุใด นกั เรียนจงึ เลือกสารคดชี วี ประวัตเิ ร่ืองนน้ั มาพจิ ารณา ประวัตขิ องบุคคลนนั้ มจี ดุ เด่นอย่างไร นามาเป็นแบบอย่างไดใ้ นเรอื่ งใด (พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินิจของครูผู้สอน) 12. นักเรยี นเขียนสรปุ ใจความสาคญั ของสารคดที นี่ ักเรยี นอ่าน แล้วนาเสนอผลงานหนา้ ช้ันเรียน 13. ครูประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรยี น และให้ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นาปรับปรงุ งานในกรณีท่ยี งั มีปัญหา 9. สอ่ื การเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการสอ่ื จานวน สภาพการใช้ส่อื 1. ตวั อย่างสารคดชี ีวประวัติเร่อื งผบู้ กุ เบกิ 1 ชดุ ขน้ั สร้างความสนใจ
10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วธิ วี ัด เครื่องมอื วัดฯ ประเด็น/ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน ตรวจใบงาน เรอ่ื ง ใบงาน เร่ือง สารคดี (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สารคดชี ีวประวตั ิ ชีวประวตั ิบุคคลท่ี - อ่านออกจบั ใบงาน เรอื่ ง สารคดี บคุ คลท่ีนักเรยี น นกั เรยี นสนใจ สนใจ ใจความจาดสารคดี ชวี ประวตั บิ ุคคลที่ ชวี ประวัติ นักเรยี นสนใจ
ผังมโนทัศน์ รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 23101 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง การคัดลายมือ จานวน 4 ชัว่ โมง : 5 คะแนน ชอื่ เรอ่ื ง ความร้เู บ้อื งต้นเกยี่ วกบั การคดั ลายมือ จานวน 2 ชั่วโมง : 2 คะแนน หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 เรอื่ ง การคัดลายมือ จานวน 4 ชั่วโมง ชอื่ เรื่อง รูปแบบตวั อกั ษร จานวน 2 ชั่วโมง : 3 คะแนน
แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรือ่ ง การคดั ลายมือ แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง ความรูเ้ บ้ืองต้นเกีย่ วกบั การคดั ลายมือ รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท23101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 น้าหนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 4 ช่ัวโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน) การคดั ลายมอื ทถ่ี ูกตอ้ ง จะตอ้ งคดั ลายมอื ตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขยี นตวั อกั ษรไทย 2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวช้ีวัดชัน้ ป/ี ผลการเรียนร/ู้ เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรปู แบบ ต่างๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ ม. 3/1 คดั ลายมือตัวบรรจงครงึ่ บรรทดั - คัดลายมือตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขียนตวั อกั ษรไทยได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge นกั เรยี นสามารถรู้จักรปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทย 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรยี นคัดลายมือตัวบรรจงคร่งึ บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย 3.3 คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ : Attitude นักเรียนฝกึ ฝนทักษะการคดั ลายมอื อยา่ งสม่าเสมอ 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 5. คุณลักษณะของวชิ า - ความรับผิดชอบ 6. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 6.1. ใฝเ่ รยี นรู้ 6.2. มงุ่ ม่ันในการทางาน 6.3. รกั ความเป็นไทย 7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน : (ให้สอดคลอ้ งกบั ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรยี นร้นู ้ี) - ใบกิจกรรมท่ี 1 เร่ือง การศึกษาความรูเ้ รอ่ื ง การคัดลายมือ - ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง ความรเู้ กย่ี วกับการคดั ลายมอื
ชน้ิ งาน ใบงานเรอื่ ง ความร้เู กี่ยวกับการคัดลายมือ ภาระงาน ใหน้ กั เรียนทาใบงาน 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ (จัดกิจกรรมการเรยี นร้โู ดยใช้กระบวนการใด แสดงตามขน้ั ตอน : เวลาท่ใี ช้ 2 ช่วั โมง) - ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น/ขั้นตัง้ คาถาม - ครูสนทนากบั นักเรียนเกยี่ วกบั ประโยชน์ของการคัดลายมือ จากน้ันให้นักเรยี นรว่ มกันเสนอชื่อเพ่ือนในชนั้ เรียนท่มี ีลายมือสวยงาม เพื่อออกมาเล่าถงึ วิธีการฝกึ คัดลายมือให้เพื่อนฟัง - ข้ันสารวจและค้นพบ/ขัน้ การเตรยี มการคน้ หาคาตอบ - นกั เรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ • นักเรยี นคิดวา่ การเขียนลายมือท่ีอา่ นยาก จะเปน็ ผลเสียตอ่ นักเรียนอย่างไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อน) - ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป/ข้นั ดาเนนิ การคน้ หาคาตอบและตรวจสอบคาตอบ - นกั เรียนศึกษาความรเู้ ร่อื ง การคดั ลายมือ จากหนงั สือเรียน ตามประเดน็ ทก่ี าหนด ดังนี้ 1) ความร้เู บ้ืองต้นเกีย่ วกับการคัดลายมือ 2) รูปแบบตวั อกั ษร แล้วบันทึกความรู้ทไี่ ดล้ งในแบบบันทึกการอ่าน - ขั้นขยายความรู้และนาเสนอผลการค้นหาคาตอบ นักเรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด • นักเรยี นคดิ ว่า ตนเองสามารถพัฒนาการคดั ลายมอื ได้อย่างไร (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครผู สู้ อน) - ขั้นสรปุ และประเมินผล นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายแนวทางปฏบิ ัตใิ นการคัดลายมือ และรูปแบบตัวอกั ษรในการคัดลายมอื ที่เหมาะสม ชั่วโมงที่ 1-2 (ความสามารถในการวิเคราะห/์ ใฝเ่ รียนรู้/เทคนคิ การสืบค้น) เขยี นใหส้ อดคล้องกบั หัวข้อสมรรถนะและ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์) 1. ทาความเข้าใจและชี้แจงสาระการเรยี นรู้ให้นักเรยี นทราบในหน่วยการเรยี นรู้เรอ่ื ง ความรเู้ บ้ืองตน้ เกยี่ วกับการคดั ลายมือ นักเรียนจะตอ้ งเรียนรเู้ ก่ียวกับ ความสาคัญและแนวทางการคัดลายมือ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 10 ขอ้
9. สื่อการเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ จานวน สภาพการใชส้ ่ือ รายการส่ือ 1 ชดุ ข้ันตรวจสอบความรเู้ ดิม 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 1 ชุด ข้ันสรา้ งความสนใจ 2. ใบงานเรอ่ื ง ความรูเ้ กย่ี วกับการคัดลายมือ 10. การวดั ผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธีวดั เครื่องมือวดั ฯ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ช้นิ งาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน - คดั ลายมือตัว ขอ้ สอบก่อนเรียน ตรวจ แบบทดสอบก่อนเรยี น (ประเมินตามสภาพ บรรจงคร่ึงบรรทดั แบบทดสอบก่อน หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 ตามรูปแบบการ ใบงาน เรียน หนว่ ยการ จริง) เขียนตัวอกั ษรไทย เรียนรู้ท่ี 4 ได้ ตรวจใบงาน ใบงาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 11. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น (ตวั อย่าง) หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผ้เู รยี น 1. ความพอประมาณ นกั เรยี นไดร้ ับความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ียวกับ ได้รบั ความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ียวกับการคัด 2. ความมเี หตุผล 3. มีภูมิคมุ กนั ในตวั ทด่ี ี การคดั ลายมอื ลายมือ เงอ่ื นไขความรู้ นักเรยี นตอบคาถามความสาคัญใน ได้ตอบคาถามความสาคัญในการคดั การคัดลายมอื ลายมือ เงื่อนไขคุณธรรม นกั เรียนได้แนวทางในการปฏบิ ตั ใิ น ได้แนวทางในการปฏบิ ัตใิ นการคัด การคดั ลายมือ ลายมือ นักเรยี นไดร้ บั ความรู้เกย่ี วกบั การคดั ได้รบั ความร้เู กีย่ วกับการคดั ลายมือ ลายมือ -- ลงช่ือ..................................................ผู้สอน (นางสาวมนัสวี ฟองตา)
ใบงานเรือ่ ง ความรเู้ บื้องต้นเกยี่ วกับการคัดลายมอื คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนตอบคาถามให้ถกู ต้อง 1. ลายมือ มคี วามสาคญั อยา่ งไร 2. การคัดลายมอื ผู้คัดลายมือจะต้องปฏิบัตอิ ยา่ งไร 3. อักษรหัวบอด มลี กั ษณะอยา่ งไร 4. เพราะเหตใุ ด ลายมือของเด็กไทยในปจั จุบนั จึงอ่านยาก 5. การคดั ลายมือ โดยใช้รูปแบบตวั อักษรอาลักษณ์ เหมาะสาหรบั การใช้ในเอกสารใด
เฉลย ใบงานเร่อื ง ความรู้เบอื้ งต้นเกี่ยวกบั การคดั ลายมอื คาช้แี จง ให้นกั เรียนตอบคาถามใหถ้ กู ต้อง 1. ลายมือ มีความสาคัญอยา่ งไร ลายมอื เป็นเครื่องถา่ ยทอดความรู้ ความคิด 2. การคัดลายมือ ผู้คดั ลายมือจะต้องปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร จะต้องน่ังหันหนา้ เขา้ หาโต๊ะ วางกระดาษให้ตรง แล้วจับดนิ สอใหถ้ ูกวธิ ี เริ่มคดั จากหัวตัวอักษรและเว้นระยะ ชอ่ งไฟให้ถกู ตอ้ ง และสวยงาม 3. อกั ษรหัวบอด มีลักษณะอย่างไร เปน็ ลักษณะการเขยี นตวั อกั ษรทไี่ มม่ ีหวั 4. เพราะเหตุใด ลายมือของเด็กไทยในปจั จุบนั จงึ อ่านยาก เพราะเขียนผิดรปู แบบตัวอกั ษรไทย ไม่มหี ัว ไม่มหี าง และไมม่ ีความแตกต่างกนั 5. การคดั ลายมือ โดยใช้รปู แบบตวั อักษรอาลักษณ์ เหมาะสาหรับการใช้ในเอกสารใด เหมาะสา่ หรับการใช้ในเอกสารพิเศษ เชน่ ปรญิ ญาบัตร ประกาศนียบตั ร
แบบประเมนิ ผลงานการคดั ลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั บทอาขยาน รายการประเมนิ คาอธิบายระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน 1. รปู แบบตวั อกั ษร ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) เขียนถูกตอ้ งเปน็ มีข้อบกพร่องในการ มีขอ้ บกพร่องในการ มีขอ้ บกพร่องในการ รูปแบบตวั อกั ษร เขยี นไมเ่ ปน็ รูปแบบ เขยี นไมเ่ ป็นรปู แบบ เขยี นไม่เป็นรปู แบบ เดยี วกนั ทกุ ตัว เดยี วกนั 1-2 เดยี วกนั 3-4 เดยี วกนั 5 ตัวอักษร ตวั อกั ษร ตัวอักษร ขึน้ ไป 2. ขนาดตัวอกั ษร ขนาดตัวอักษรแตล่ ะตัว ขนาดตัวอกั ษรแตล่ ะ ขนาดตัวอักษรแตล่ ะ ขนาดตัวอักษรแตล่ ะ 3. ความถกู ต้องของ เป็นมาตรฐานเดยี วกัน ตัวเป็นมาตรฐาน ตัวเปน็ มาตรฐาน ตัวเปน็ มาตรฐาน ขอ้ ความทีค่ ัด มีระยะหา่ งเท่ากนั เดยี วกนั มีระยะห่าง เดียวกัน มี เดยี วกัน แต่มี 4. ความสะอาดและ ความเปน็ ระเบยี บ เท่ากันเปน็ สว่ นใหญ่ ระยะห่างเทา่ กนั เปน็ ระยะหา่ งไมเ่ ท่ากนั เรียบรอ้ ย บางสว่ น เขยี นสะกดคาไดถ้ กู ต้อง เขยี นสะกดคาไม่ เขยี นสะกดคาไม่ เขยี นสะกดคาไม่ ตามอกั ขรวธิ ี และ ถกู ตอ้ งตามอักขรวธิ ี ถูกตอ้ งตามอกั ขรวิธี ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี ครบถว้ นไม่ตกหลน่ 1-2 ที่ และเขียน 3-4 ท่ี และเขยี น มากกวา่ 5 ท่ี และ ครบถว้ น ไม่ตกหล่น ครบถ้วน ไม่ตกหล่น เขยี นครบถ้วน ไม่ตกหลน่ สะอาดและมคี วาม สะอาดและมคี วาม ไมค่ ่อยสะอาด มี ไมค่ ่อยสะอาด มคี วาม เปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย เป็นระเบียบ ความเปน็ ระเบียบ เป็นระเบยี บเรียบร้อย ไมม่ ีรอยขดี ฆ่า ขูดลบ เรยี บร้อย เรยี บร้อยเป็น เป็นบางสว่ น และมี แตม่ รี อยขีดฆา่ ขดู บางสว่ น และมรี อย รอยขีดฆ่า ขูดลบ ลบ ขดี ฆ่า ขูดลบ 3-4 ท่ี มากกว่า 5 ทีข่ นึ้ ไป 1-2 ท่ี เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ต่ากวา่ 8 ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรือ่ ง การคัดลายมือ แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 เร่ือง รปู แบบตวั อกั ษร รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท23101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 น้าหนักเวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 60 ชั่วโมง/สปั ดาห์ เวลาทใี่ ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4 ชว่ั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเขา้ ใจที่คงทน) การคดั ลายมอื ทถ่ี ูกตอ้ ง จะต้องคดั ลายมอื ตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขยี นตวั อกั ษรไทย 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้ีวัดชั้นปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรือ่ งราวในรูปแบบ ตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ ม. 3/1 คัดลายมือตวั บรรจงครึง่ บรรทัด - คัดลายมือตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทยได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge นักเรยี นรจู้ ักรูปแบบตัวอักษรไทย 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรียนคดั ลายมอื ตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขยี นตัว อักษรไทย 3.3 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ : Attitude นักเรียนหัดฝึกฝนทักษะการคัดลายมืออย่างสมา่ เสมอ 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. คณุ ลกั ษณะของวชิ า - ความรับผิดชอบ 6. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 6.1. ใฝเ่ รียนรู้ 6.2. มงุ่ ม่นั ในการทางาน 6.3. รกั ความเปน็ ไทย 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : (ใหส้ อดคล้องกับตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ ในแผนการเรียนรู้น)ี้ - ใบงานทเ่ี ร่อื ง แบบฝึกหดั การคัดลายมอื ช้นิ งาน ใบงานเรอ่ื ง แบบฝกึ หัดการคดั ลายมือ ภาระงาน ใหน้ ักเรยี นทาใบงาน
8. กิจกรรมการเรยี นรู้ (จัดกิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้กระบวนการใด แสดงตามข้นั ตอน : เวลาทใ่ี ช้ 2 ชัว่ โมง) - ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน/ขั้นตัง้ คาถาม - นกั เรียนทุกคนชว่ ยกันบอกแนวทางปฏบิ ตั ิในการคดั ลายมือ และรปู แบบตวั อกั ษรในการคดั ลายมอื ท่ีเหมาะสม - ข้นั สารวจและคน้ พบ/ขั้นการเตรียมการคน้ หาคาตอบ - ครูแจกตวั อย่างข้อความให้นกั เรยี นฝึกคดั ลายมอื ตามแนวทางปฏบิ ตั กิ ารคัดลายมือตามทีน่ ักเรยี น ได้ศกึ ษา - ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ /ขนั้ ดาเนนิ การคน้ หาคาตอบและตรวจสอบคาตอบ - ครูสุ่มเรยี กนกั เรยี นออกมาอธบิ ายแนวทางปฏิบตั ใิ นการคดั ลายมือตามข้อความที่ครแู จก - ขั้นขยายความรูแ้ ละนาเสนอผลการค้นหาคาตอบ - นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด • นักเรยี นคดิ วา่ ผทู้ มี่ ีลายมือทีส่ วยงาม อ่านง่าย จะมีผลดตี อ่ ตัวผูเ้ ขียนอย่างไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินิจของครผู สู้ อน) - ขัน้ สรุปและประเมนิ ผล - ครูประเมนิ ผลการคัดลายมือของนกั เรยี น จากน้ันครแู ละนกั เรียนรว่ มกันคัดเลอื กผลงานการคดั ลายมือ ที่สวยงาม สะอาด เรยี บร้อย เพอื่ นามาจัดป้ายนิเทศ 5 ผลงาน ช่วั โมงท่ี 1-2 (ความสามารถในการวิเคราะห์/ใฝเ่ รยี นรู/้ เทคนคิ การสบื คน้ ) เขียนใหส้ อดคล้องกับหัวข้อสมรรถนะและ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค)์ 1. ให้นักเรยี นรจู้ ักรปู แบบตัวอกั ษรไทยและ ฝกึ การคดั ลายมือดว้ ยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัดตามรปู แบบการ เขียนตัวอกั ษรไทย 9. สื่อการเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการส่อื จานวน สภาพการใชส้ อ่ื 2. ใบงานเรอ่ื ง แบบฝึกหดั การคดั ลายมอื 1 ชดุ คดั ลายมือตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ วิธวี ดั เครือ่ งมอื วดั ฯ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน - คัดลายมือตวั ใบงานเรอ่ื ง ตรวจผลงานการ แบบประเมนิ ผลงานการ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน แบบฝึกหัดการคดั คัดลายมอื ตัว คัดลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรจงครงึ่ บรรทัด ลายมือ บรรจงครงึ่ บรรทดั บทอาขยาน เกณฑ์ บรรทดั
11. การบูรณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรยี น (ตวั อยา่ ง) หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผเู้ รียน 4. ความพอประมาณ - - - 5. ความมเี หตุผล - - 6. มีภมู ิคมุ กันในตวั ท่ีดี - - เง่อื นไขความรู้ - เง่อื นไขคุณธรรม - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผู้เรยี น คัดลายมือชือ่ พรรณไมใ้ นโรงเรยี น คดั ลายมือชือ่ พรรณไม้ในโรงเรยี น ใหน้ ักเรยี นคัดลายมอื ชื่อพรรณไม้ใน ด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด โรงเรยี น ส่งิ แวดล้อม ครู ผู้เรยี น คดั บทความในหนังสอื พิมพ์ ให้นักเรียนคดั บทความใน คัดบทความในหนงั สือพิมพ์หอ้ งสมดุ ห้องสมดุ หนงั สือพมิ พ์ห้องสมุด ดว้ ยตัวบรรจงครึง่ บรรทดั ลงชอ่ื ..................................................ผสู้ อน (นางสาวมนสั วี ฟองตา)
ใบงานเร่ือง แบบฝึกหัดการคัดลายมือ อาเศียรสมภพเบ้ือง บทยุคล เจด็ รอบยง่ั ยนื ชนม์ ชเยศพอ้ ง ราษฎรห์ กสบิ ล้านกมล น้อมประณต ถวายพระพรแซซ่ ้อง เทดิ ไท้สดดุ ี คมุ้ องค์ พระเทอญ เชญิ ตรรี ตั นฉ์ ตั รหล้า ผ่องแผ้ว พระสุขภาพยิ่งยง สัมฤทธิ์ ล้วนแล สิง่ ศกั ดิ์สทิ ธดิ์ าลประสงค์ พระเกียรตกิ อ้ งนริ นั ดร์กาล เกษมสขุ พระฉตั รแกว้ ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……… ก า ร ป ร ะ เ มิ น ภ า ะ ง า
แบบประเมินผลงานการคดั ลายมอื ตัวบรรจงครึง่ บรรทดั บทอาขยาน ลาดบั ที่ รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 1 รปู แบบตัวอักษร 2 ขนาดตัวอักษร 3 ความถกู ตอ้ งของขอ้ ความ 4 ความสะอาดและความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย รวม ลงชือ่ ...................................................ผูป้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 - 16 ดมี าก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรบั ปรุง
ผังมโนทศั น์ รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท 23101 ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 เรือ่ ง การเขียนเพ่ือการสอ่ื สาร 1 จานวน 10 ช่วั โมง : 10 คะแนน ช่อื เรอ่ื ง การเขียนชวี ประวัตแิ ละอตั ชีวประวตั ิ ช่ือเรือ่ ง การเขียนย่อความ จานวน 2 ชั่วโมง : 2 คะแนน จานวน 2 ชัว่ โมง : 2 คะแนน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 เรื่อง การเขยี นเพ่ือการส่ือสาร 1 จานวน 10 ชว่ั โมง ชือ่ เรอ่ื ง การเขียนจดหมาย ชอื่ เรือ่ ง การกรอกแบบสมคั รงาน จานวน 3 ช่วั โมง : 3 คะแนน จานวน 3 ช่ัวโมง : 3 คะแนน
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรือ่ ง การเขียนเพ่ือการสือ่ สาร 1 แผนจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื ง การเขียนชีวประวตั แิ ละ อตั ชวี ประวัติ รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท23101 ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 นา้ หนักเวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 60 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 2 ชว่ั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเขา้ ใจที่คงทน) การเขยี นชีวประวตั ิ หรืออัตชีวประวตั โิ ดยเลา่ เหตกุ ารณ์ ขอ้ คิดเหน็ และทศั นคติในเรอ่ื งต่างๆ ตอ้ งมีความรู้ ในหลกั การเขยี นและมีมารยาทในการเขียน 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัดช้นั ปี/ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรอ่ื งราวในรปู แบบ ต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธภิ าพ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ม. 3/3 เขยี นชีวประวัตหิ รืออตั ชีวประวัตโิ ดยเล่าเหตกุ ารณ์ ข้อคดิ เห็น และทศั นคตใิ น เรอ่ื งตา่ งๆ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge นักเรียนสามารถเขยี นชีวประวตั ิหรืออัตชีวประวัตโิ ดยเลา่ เหตกุ ารณ์ ขอ้ คิดเหน็ และทัศนคติในเรื่องตา่ งๆ ได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรียนบอกหลกั และวธิ ีการเขยี นชีวประวตั ิหรืออัตชีวประวัตโิ ดยเล่า เหตุการณ์ ขอ้ คดิ เห็น และทัศนคตใิ นเรือ่ งตา่ งๆ ได้ 3.3 คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude นักเรยี นบอกวิธีการเขยี นชีวประวตั ิหรืออตั ชวี ประวตั ิโดยเล่า เหตกุ ารณ์ ข้อคดิ เหน็ และทัศนคตใิ นเร่ืองต่างๆ ได้ 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 5. คณุ ลกั ษณะของวชิ า - การฝึกฝนในการอา่ น 6. คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ 6.1. มีวนิ ยั 6.2. ใฝเ่ รียนรู้ 6.3. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 6.4. รักความเป็นไทย
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคลอ้ งกับตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรยี นรนู้ )ี้ - เขยี นชีวประวตั ิของเพือ่ นสนทิ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง การเขยี นอตั ชีวประวัติหรือชวี ประวัติ จากหนังสอื เรียน 2. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นว่าการเขียนอัตชวี ประวตั ิหรือชวี ประวัตนิ ้ันเขยี นอยา่ งไร 3. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • นกั เรียนคิดวา่ ผู้เขียนอัตชีวประวตั ิได้ดี ตอ้ งเปน็ บุคคลประเภทใด (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู ้สู อน) 4. นักเรยี นฝึกเขียนอัตชวี ประวัติตามตัวอย่าง จากหนงั สือเรียน โดยเขียนทีละขั้นตอน 5. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • การเขยี นตามตัวอย่างเป็นผลดีตอ่ นกั เรยี นอย่างไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพนิ ิจของครผู ู้สอน) 6. นักเรยี นสนทนากบั เพอื่ นสนทิ ในห้องเรยี นเพ่ือหาข้อมูลท่จี ะนามาใชใ้ นการเขียนชีวประวัติ 7. นักเรยี นฝกึ เขยี นชีวประวัตขิ องเพื่อนสนิท โดยไม่ต้องดตู ัวอยา่ ง 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการส่ือ จานวน สภาพการใช้ส่ือ 1. หนงั สือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ 1 ชดุ ขน้ั สรา้ งความรู้ ภาษา ม.3 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วธิ ีวัด เครอื่ งมอื วัดฯ ประเด็น/ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน การเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน ตรวจใบงาน เรอื่ ง ใบงาน เร่ือง สารคดีฝกึ (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ฝกึ เขียนชีวประวัติ เขยี นชีวประวตั ิของ - เขยี นชวี ประวัติ ใบงานฝกึ เขยี น ของเพ่ือนสนิท เพอื่ นสนทิ หรืออตั ชวี ประวัติ ชีวประวตั ขิ องเพ่ือน โดยเล่าเหตุการณ์ สนิท ข้อคดิ เห็น และ ทัศนคติในเรอื่ ง ต่างๆ ได้
แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เร่อื ง การเขียนเพอ่ื การส่อื สาร 1 แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง การเขยี นยอ่ ความ รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท23101 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 น้าหนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 60 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 2 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจท่คี งทน) การเขยี นยอ่ ความจากสอ่ื ต่างๆ ตอ้ งมคี วามรเู้ กย่ี วกบั หลกั การเขยี นและมมี ารยาทในการเขยี น 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วัดชน้ั ปี/ผลการเรยี นร้/ู เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรอื่ งราวในรูปแบบ ต่างๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ ม. 3/4 เขียนย่อความ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลัก : Knowledge นักเรียนสามารถเขียนย่อความและมีมารยาทในการเขียนได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรียนบอกหลักและวธิ กี ารเขียนย่อความได้ 3.3 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude นกั เรียนบอกวิธีการเขียนย่อความได้ 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา - การเขยี นยอ่ ความ 6. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 6.1. มีวินัย 6.2. ใฝเ่ รยี นรู้ 6.3. มุ่งมน่ั ในการทางาน 6.4. รักความเปน็ ไทย 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : (ใหส้ อดคลอ้ งกับตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ในแผนการเรียนรนู้ ี้) - ใบงาน เรอื่ ง หลักการเขยี นยอ่ ความ
8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครสู นทนากับนักเรียนเร่ือง การเขยี นย่อความ 2. นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับบทความในหน้าหนงั สือพิมพไ์ ทยโพสต์ เมื่อวันท่ี 30 กรกฎาคม 2554 วา่ ราชบัณฑิตยสถานห่วงใยเด็กไทย ยอ่ ความไมเ่ ปน็ 3. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ • นักเรียนคดิ วา่ การย่อความไม่เป็นนา่ จะมสี าเหตุมาจากอะไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยให้อยใู่ นดุลยพินิจของครูผู้สอน) 4. นกั เรยี นศกึ ษาความรูเ้ ร่อื ง การเขยี นยอ่ ความ จากหนังสอื เรยี น 5. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • การเขียนยอ่ ความมีความสาคญั อยา่ งไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของครูผสู้ อน) 6. นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายความร้เู รอ่ื ง การเขียนย่อความทีไ่ ด้จากการศึกษาคน้ คว้า 7. นกั เรียนทาใบงาน เรื่อง หลกั การเขียนย่อความ เม่ือทาใบงานเสรจ็ แลว้ ให้นาสง่ ครตู รวจ 9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการส่อื จานวน สภาพการใช้สอื่ 1. ตวั อยา่ งบทความ 1 ชุด ขน้ั สรา้ งความรู้ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล วิธวี ดั เครือ่ งมอื วดั ฯ ประเดน็ / เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน การเรยี นรู้ ชนิ้ งาน/ภาระงาน ตรวจใบงาน เรอ่ื ง ใบงาน เรือ่ ง หลักการ (ประเมินตามสภาพจรงิ ) - เขียนย่อความได้ ใบงาน เรอ่ื ง หลักการเขียนย่อ เขยี นยอ่ ความ ความ หลกั การเขยี นย่อ ความ
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 เรอื่ ง การเขียนเพื่อการสอ่ื สาร 1 แผนจดั การเรียนรูท้ ี่ 3 เรอื่ ง การเขยี นจดหมาย รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 น้าหนักเวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 60 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทีใ่ ช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 3 ช่วั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจทคี่ งทน) การเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะตอ้ งมคี วามรเู้ รอ่ื งหลกั การเขยี น และมมี ารยาทในการเขยี น 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั ชนั้ ปี/ผลการเรียนรู/้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรือ่ งราวในรปู แบบ ต่างๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ ม. 3/5 เขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลกั : Knowledge นักเรยี นสามารถเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นกั เรยี นบอกหลักและวิธีการเขียนจดหมายกจิ ธุระได้ 3.3 คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude นักเรียนบอกวิธกี ารเขยี นจดหมายกิจธุระได้ 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. คณุ ลักษณะของวชิ า - การเขียนจดหมายกิจธรุ ะ 6. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 6.1. มวี นิ ยั 6.2. ใฝ่เรียนรู้ 6.3. มุ่งมน่ั ในการทางาน 6.4. รักความเปน็ ไทย 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคลอ้ งกับตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรูน้ ้ี) - การเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ - จดหมายเชญิ วทิ ยากร - จดหมายขอความอนเุ คราะห์ - จดหมายแสดงความขอบคณุ
8. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูสนทนากับนักเรยี นเก่ยี วกบั ความสาคญั ของการเขียนจดหมาย 2. นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับการเขยี นจดหมายในสมยั ปจั จุบนั 3. นักเรยี นตอบคาถามกระต้นุ ความคิด • เหตใุ ดคนในสมยั ปัจจบุ นั จงึ ไมน่ ิยมการเขียนจดหมาย (เพราะนิยมส่ือสารโดยใช้สอื่ เทคโนโลยี) 4. นกั เรียนรวมกล่มุ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1) จากนั้นครกู าหนดหัวขอ้ เรื่องเพอ่ื ให้นกั เรียน แต่ละกลุ่มรว่ มกันศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง การเขยี นจดหมายและมารยาทในการเขียน จากหนังสอื เรยี น หอ้ งสมุด และแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ ตามท่จี บั สลากได้ ดงั นี้ - สลากหมายเลข 1 ศกึ ษาเรือ่ ง การเขียนจดหมายเชญิ วิทยากร - สลากหมายเลข 2 ศึกษาเรอ่ื ง การเขียนจดหมายขอความอนุเคราะห์ - สลากหมายเลข 3 ศึกษาเรื่อง การเขียนจดหมายขอบคณุ 5. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันกาหนดความมงุ่ หมายของการทางาน และวิธกี ารทางานในแต่ละกล่มุ 6. ครูเสนอแนะชอื่ หนังสือ และแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศทีจ่ ะใช้ค้นควา้ หาความรู้ 7. นกั เรยี นร่วมกันวางแผนและปฏบิ ตั ิงานตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกไปนาเสนอผลงานที่หน้าช้ันเรียน และบอกข้ันตอนในการปฏิบัติงาน ความ คิดเห็นทีม่ ตี อ่ ผลงาน 9. นกั เรยี นตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ ข้อ 1 - 2 1) การเขยี นจดหมายประเภทใดท่เี ป็นการแสดงออกถงึ มารยาททางสังคม (จดหมายขอบคณุ ) 2) ถา้ นกั เรียนไมเ่ ขยี นจดหมายเชิญวิทยากร แต่เชิญทางโทรศัพท์เป็นการกระทาที่เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตใุ ด (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยูใ่ นดุลยพนิ ิจของครผู ู้สอน) 10. ครปู ระเมินผลการทางานของนกั เรียนและใหค้ าแนะนาในการพฒั นาปรบั ปรงุ การทางาน 9. สื่อการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการสอื่ จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1. ตวั อยา่ งจดหมาย 1 ชุด ข้ันสรา้ งความรู้ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วิธีวดั เครือ่ งมอื วัดฯ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เขียนจดหมายกิจธุระ เกณฑก์ ารให้คะแนน (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) - เขยี นจดหมายกิจ เขยี นจดหมายกิจธุระ ตรวจเขียน ธุระได้ และทาซองจดหมาย จดหมายกิจธรุ ะ
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 4 เรือ่ ง การเขียนเพ่อื การส่ือสาร 1 แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรือ่ ง การกรอกแบบสมัครงาน รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท23101 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 นา้ หนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 60 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 3 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจทค่ี งทน) การกรอกแบบสมคั รงาน และเขยี นบรรยายเกย่ี วกบั ความรแู้ ละทกั ษะของตนเองท่เี หมาะสมกบั งาน ตอ้ งมี ความรเู้ ก่ยี วกบั หลกั การเขยี นและมมี ารยาทในการเขยี น 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชัน้ ปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรอ่ื งราวในรปู แบบ ต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมีประสิทธภิ าพ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ ม. 3/8 กรอกแบบสมคั รงาน พร้อมเขยี นบรรยายเกยี่ วกบั ความรแู้ ละทกั ษะของ ตนเองทเ่ี หมาะสมกบั งาน 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge นกั เรยี นสามารถเขยี นกรอกแบบสมัครงาน พร้อมเขียนบรรยาย เกี่ยวกับความรูแ้ ละทกั ษะของตนเองที่เหมาะสมกับงานได้ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process นกั เรียนบอกหลกั และวธิ ีการกรอกแบบสมคั รงาน พร้อมเขยี นบรรยาย เกยี่ วกบั ความรแู้ ละทักษะของตนเองทเ่ี หมาะสมกบั งานได้ 3.3 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude นักเรียนบอกวิธกี ารกรอกแบบสมคั รงาน พร้อมเขียนบรรยาย เกี่ยวกับความรู้และทกั ษะของตนเองท่ีเหมาะสมกับงานได้ 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 5. คุณลักษณะของวชิ า - การกรอกแบบสมคั รงาน 6. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 6.1. มีวนิ ยั 6.2. ใฝ่เรียนรู้ 6.3. มุง่ มั่นในการทางาน 6.4. รักความเป็นไทย
7. ช้ินงาน/ภาระงาน : (ใหส้ อดคลอ้ งกบั ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้) - แบบฝึกการกรอกใบสมัครงาน 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับความสาคัญของแบบสมัครงานและการเขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู้และ ทักษะของตนเองที่เหมาะสม 2. นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับการกรอกแบบสมคั รงานที่มขี ้อบกพร่อง จากนั้นนักเรียนต อ บ คาถามกระตนุ้ ความคิด • การกรอกแบบสมัครงาน มคี วามจาเปน็ ต้องใชใ้ นชีวิตของนกั เรียนหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยูใ่ นดุลยพนิ จิ ของครูผู้สอน) 3. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง การกรอกแบบสมัครงาน และการเขียนบรรยายความรู้และทักษะของตนเอง จากหนังสอื เรียน และแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ 4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปหลักการกรอกแบบสมัครงานและการเขียนบรรยายความรู้และทักษะของ ตนเองว่ามกี ่ีวิธี แตล่ ะวิธเี ขียนไดอ้ ยา่ งไร 5. นักเรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ • เหตุใดการกรอกแบบสมัครงานจึงต้องเขียนด้วยลายมือของตนเอง (พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อน) 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการสื่อ จานวน สภาพการใชส้ อื่ 1. ตวั อยา่ งแบบกรอกสมคั รงาน 1 ชดุ ข้ันสร้างความรู้ 10. การวดั ผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วธิ ีวดั เครื่องมือวดั ฯ ประเดน็ / เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน การเรยี นรู้ ช้นิ งาน/ภาระงาน ตรวจแบบฝกึ การ แบบฝกึ การกรอกใบ (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) กรอกใบสมัครงาน สมคั รงาน - วธิ กี ารกรอกแบบ แบบฝกึ การกรอกใบ สมัครงาน พร้อม สมัครงาน เขยี นบรรยาย เกย่ี วกบั ความรู้และ ทกั ษะของตนเองที่ เหมาะสมกบั งานได้
ผงั มโนทัศน์ รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท 23101 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรอื่ ง การเขยี นเพ่ือการส่อื สาร 2 จานวน 8 ชั่วโมง : 5 คะแนน ชือ่ เรือ่ ง การเขยี นอธบิ าย ช้ีแจง โต้แยง้ แสดงความ คิดเหน็ อยา่ งมเี หตุผล จานวน 4 ชั่วโมง : 2 คะแนน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 เรื่อง การเขยี นเพื่อการสื่อสาร 2 จานวน 8 ชวั่ โมง ชื่อเรือ่ ง การเขียนรายงานโครงงาน จานวน 4 ช่ัวโมง : 3 คะแนน
แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่ือง การเขยี นเพื่อการสือ่ สาร 2 แผนจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เร่อื ง การเขียนอธบิ าย ชแ้ี จง โตแ้ ยง้ แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมีเหตุผล รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 น้าหนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 60 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชวั่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั (ความเข้าใจทค่ี งทน) การเขียนอธบิ าย ช้ีแจง แสดงความคดิ เหน็ และโตแ้ ยง้ ในเรื่องตา่ งๆ จะต้องมีเหตผุ ลประกอบให้ชัดเจน 2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชี้วดั ช้นั ปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรอ่ื งราวในรปู แบบ ตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู้ ม. 3/6 เขยี นอธบิ าย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแ้ ยง้ อย่างมเี หตุผล 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge นักเรียนสามารถเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคดิ เหน็ และโต้แยง้ อย่างมีเหตผุ ลได้ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process นกั เรียนบอกหลกั และวิธกี ารเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเหน็ และโต้แย้งอยา่ งมเี หตุผลได้ 3.3 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ : Attitude นักเรียนบอกวิธีการเขียนอธบิ าย ชแ้ี จง แสดงความคิดเหน็ และ โตแ้ ยง้ อย่างมีเหตุผลได้ 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. คุณลกั ษณะของวิชา - การเขยี นอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแ้ ย้งในเร่ืองต่างๆ 6. คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 6.1. มีวนิ ยั 6.2. ใฝเ่ รียนรู้ 6.3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน 6.4. รักความเปน็ ไทย 7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน : (ให้สอดคลอ้ งกบั ตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ ในแผนการเรยี นรู้น)้ี
- ใบงานเรื่อง การเขียนช้แี จง และเขียนแสดงความคดิ เห็น 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6 คู่คิด...ค 2. ครอู ่านบทความเรื่อง อคต.ิ ..สาวเหนือ เราไม่ใชส่ าวเครอื ฟา้ ให้นักเรียนฟงั 3. นกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับวิธกี ารเขยี นบทความเรื่องนี้ 4. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • จากเร่ืองท่ีนามาอ่านให้ฟัง นักเรียนคิดว่าผู้เขียนเร่ืองน้ีมีความรู้สึกอย่างไรต่อคากล่าวหาสาวเหนือ และ เรอื่ งนี้มลี กั ษณะเปน็ งานเขียนประเภทใด (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของครูผู้สอน) 5. ครูนาเสนอเรื่อง การเขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้ง ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความ คดิ เหน็ ถงึ ความแตกตา่ งในการเขียนแตล่ ะวธิ ี 6. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และออ่ น แลว้ ให้แต่ละกล่มุ ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การเขยี นอธิบาย ช้ีแจง โต้แย้ง แสดง ความคิดเห็นอย่างมีเหตผุ ล จากหนงั สือเรียน 7. นักเรียนแต่ละคนทาใบงานเร่ือง การเขียนชี้แจง และเขียนแสดงความคิดเห็น เม่ือทาเสร็จเรียบร้อยแล้ว นาส่งครูตรวจ 8. ครูตรวจใบงาน แล้วนาคะแนนของสมาชิกทุกคนในกลุ่มมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม พร้อมประกาศ ชมเชยกลมุ่ ทมี่ ีคะแนนเฉลีย่ สงู สดุ และรองลงมาเรียงตามลาดับ 9. นกั เรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ •ถ้านักเรียนต้องการบอกขอ้ เท็จจรงิ ให้ผอู้ ่านทราบ นักเรียนควรจะเขียนในลักษณะใด เพราะเหตุใด (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครผู ้สู อน) 10. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนอธิบาย ชี้แจง โต้แย้ง และแสดงความคิดเห็นอย่างมี เหตุผล เพ่ือให้เกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ และนาไปปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 9. สอื่ การเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการส่อื จานวน สภาพการใช้สอ่ื 1. บทความ 1 ชุด ขน้ั สรา้ งความรู้
10. การวัดผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธีวัด เคร่อื งมอื วัดฯ ประเด็น/ เกณฑ์การให้คะแนน การเรียนรู้ ชนิ้ งาน/ภาระงาน ตรวจใบงานเรอื่ ง ใบงานเรื่อง การเขยี น (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) การเขียนช้ีแจง ชแี้ จง และเขยี นแสดง - เขียนอธบิ าย ใบงานเรือ่ ง การ และเขียนแสดง ความคดิ เห็น ความคิดเห็น ช้แี จง แสดงความ เขยี นชี้แจง และ คดิ เหน็ และโต้แยง้ เขยี นแสดงความ อยา่ งมเี หตุผลได้ คดิ เหน็
เอกสารประกอบการสอน อคต.ิ ..สาวเหนือ เราไมใ่ ชส่ าวเครือฟ้า ผา่ นมากว่าสามสัปดาห์แล้ว สังคมล้านนายังคงวิพากษ์วิจารณ์กันไม่จบไม่สิ้นถึงตะกอนน้าลาย กรณีที่เอกยุทธ อัญชัน บุตร พูดจาหมิ่นหยามศักดิ์ศรีของ “สาวเหนือ” โดยตีวัวกระทบคราดไปถึงนายกรัฐมนตรีหญิงท่ีเป็นสาวสันกาแพงว่ามีค่า เพียงแค่ “สาวขายบริการทางเพศ” (ปัจจุบันเราเรียกอาชีพน้ีว่า “พนักงานบริการ” ถือว่าเป็นงานเล้ียงชีพที่มีเกียรติ เหมอื นกันกับทกุ ๆ อาชีพ) อันที่จริงคอลัมน์นี้ไม่อยากเสียเนื้อท่ีให้กับตรรกะวิบัติของเหล่า “สลิ่ม แมงสาป” (ไม่ใช่ซ่าหร่ิม ไม่ใช่แมลงสาบ) เท่าใดนัก แต่ได้รับปากกับเพ่ือนๆ เครือสหายในเฟซบุ๊กไว้แล้วที่อยากฟังมุมมองของ “สะใภ้เมืองเหนือ” ที่แม้จะเกิด-โตที่ กรุงเทพฯ ซ้ายังมสี ายเลอื ดปกั ษ์ใต้ร้อยเปอร์เซ็นตก์ ต็ ามที สาวเหนอื ไม่ใช่สาวเครอื ฟ้า ภาพลักษณ์ของสาวเหนือที่ถูกเสกสรรปั้นแต่งมอบมาให้คนไทยทั้งประเทศรู้จักน้ัน คือ ภาพของ “สาวเครือฟ้า” หรือ ภาพสะท้อนสาวสวย โง่ ซื่อ อ่อนแอ ไม่ทันโลก ถูกหลอก ง่ายต่อการล่อลวงทางเพศ แม้ฉากจบจะดูโรแมนติกในลักษณะ ของหญิงสาวที่ “บชู าความรกั เป็นสรณะ” ก็ตาม กอ่ นจะตดั สนิ และใส่สมการวา่ สาวเหนอื คอื สาวเครือฟา้ นั้น สงั คมไทยควรมีความรู้เป็นภูมคิ ุม้ กันสักเล็กน้อยว่า แท้จริง แล้วสาวเครือฟ้าไม่มีอยู่จริง ไม่ใช่เร่ืองจริงในเมืองเหนือ มันเป็นเพียงนิยายประโลมโลกท่ีอามาตย์สยามได้จินตนาการขึ้น ตามแรงปรารถนาทางเพศของพวกเขา แล้วยดั เยยี ดมายาภาพนั้นใหแ้ กส่ าวเหนือ เร่ืองราวสาวเครือฟ้าถูกป้ันให้มีตัวมีตนโลดแล่นบนแผ่นฟิล์มยุคหนังไทย 16 มม. ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2499 โดยนา บทประพันธ์ละครร้องของกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ (พระองค์เจ้าวรวรรณากร) ผู้ใช้นามแฝงว่า ประดิษฐ์อักษร มาทาเป็นภาพยนตร์ กรมพระนราธิปฯ นั้นเล่า ก็ทรงมาดัดแปลงเค้าโครงหรือ Theme เร่ืองมาจากอุปรากรชื่อก้องโลก “มาดามบัตเตอร์ฟลาย” ของจาโกโมปุชชีนี ซ่ึงได้ตน้ เค้ามาจากนวนิยายของ จอห์น ลเู ธอรล์ อง อกี ตอ่ หนึ่ง เร่ืองมาดามบัตเตอร์ฟลายนั้น มีท้องเรื่องอยู่ในประเทศญี่ปุ่น ก็ปรับเปลี่ยนให้เป็นเชียงใหม่ บทนางเอกสาวโจโจ้ซัง สาวเครือฟ้า ชา่ งฟอ้ นผูห้ วานหยาดเยิม้ และไม่ประสปี ระสาตอ่ ความรักเสยี น่ีกระไร ในขณะท่ีพระเอกเดิมเป็นนายเรือเอกพิง เคอรต์ นั ชาวอเมริกัน กลายเป็นร้อยตรพี ร้อม หนมุ่ ปากหวานผูถ้ กู จบั คลมุ ถุงชนใหม้ ภี รรยาชาวกรุงใหม่อกี คนชอ่ื จาปา เห็น หรือยังวา่ “สาวเครือฟ้า” นั้น ไดร้ บั การอิมพอร์ตกนั มามริ กู้ ท่ี อดตอ่ กท่ี อด กวา่ จะถกู จบั มานั่งกางจ้องนุ่งซิ่นท่ีเมืองเชียงใหม่ ชะตาชีวิตของสาวเครือฟา้ ไมเ่ พยี งแต่ส่งตรงมาจากขุนนางสยามภาคกลางเท่าน้ัน ทว่าจุดเร่ิมต้นแห่งการปฏิสนธิยังนับเอา แนวคดิ ของตะวนั ตกผสมญ่ปี ุ่นมาเตม็ ๆ อีกดว้ ย หากมองในแง่วิชาการถอื ว่า “สาวเครือฟ้า” เปน็ วรรณกรรมทีน่ ่าจับตามอง ในยคุ เปล่ียนผา่ นที่นักประพันธแ์ ถวหน้าของสยามกล้าดัดแปลงเค้าโครงเร่ืองจากตะวันตกมาสู่บทละครไทย นักเขียนช้ันครู กล่มุ สภุ าพบุรษุ ในยคุ ต่อมาหลายคน เช่น ศรบี รู พา เขียนเรื่องข้างหลังภาพ หรือเรียมเอง แต่งเร่ืองช่ัวฟ้าดินสลาย ต่างก็รับ อทิ ธิพลมาจากกรมพระนราธปิ ฯ ท้ังสนิ้ กลา่ วคือ นักเขยี นไฟแรงยุคนั้นได้หันหลังให้กับพล็อตเร่ืองแนวอีเรียม ไอ้ขวัญ ตามอย่างไม้เมืองเดิม ด้วยการเปล่ียน คาแร็กเตอร์ในลักษณะหญงิ สองใจทจ่ี าทนแต่งงานกับชายแก่สูงศักด์ิ แต่แล้วก็ลงเอยด้วยการพบรักใหม่กับ Bad Boy ชาย พเนจร เถอื่ น ทราม แต่เร้าใจ ทัง้ ข้างหลงั ภาพและช่วั ฟา้ ดินสลายตา่ งกม็ ีกล่ินอายละม้ายพล็อตเรื่อง Out of Africa ไมย่ ่ิงหย่อนไปกว่ากัน
สาวเครือฟ้าได้กลายเป็นบรรทัดฐานของหนังไทยยุคต่อมา เหมือนตาบอดข้างเดียวจูงฝูงคนตาบอด หรือต้ังนะโมฯ ผิดแต่ตอนเริ่มสวดกลายเป็นย่งิ ตอกยา้ คา่ นิยมให้คนทั่วไปมองเหน็ ภาพลักษณข์ องสาวเหนอื ทบ่ี ดิ เบือน ตามติดด้วยเร่ืองวังบัว บาน แม่อายสะอน้ื ทเ่ี นน้ โศกนาฏกรรมของสาวเหนือในเชิงถูกทารุณกรรมทางเพศ ถูกเหยียบย่าศักดิ์ศรี พ่ายแพ้ ถูกทอดทิ้ง แล้วลงท้ายด้วยการสังเวยชีวิต หากไม่กระโดดหน้าผา ก็ต้องเอามีดจ้วงที่ท้อง คือพยายามเลียนแบบโจโจ้ซัง ซ่ึงวัฒนธรรม ของญ่ีปุน่ เขามกี ารใช้มีดควา้ นท้องแบบฮาราครี ี มุมหนึ่งดูคล้ายจะยกย่องว่าสาวเหนือช่างน่าสรรเสริญเสียล้นพ้น ช่างรักเดียวใจเดียว มีหัวใจเด็ดเดี่ยว แต่อีก มุมหน่ึงน้ัน ภาพของสาวเหนือได้ถกู ประทบั ตราบาปใหก้ ลายเปน็ เครอ่ื งเลน่ ทางเพศ ปรนเปรอบุรุษอยา่ งเปรมปรีดิ์ เม่ือพูดถึงคาว่า สาวเหนือ ไม่ว่าปิดตาก็จะมีคนเห็นแต่ภาพผู้หญิงโง่ ใจง่าย ไม่รักนวลสงวนตัว ถูกหลอกซ้าแล้ว ซ้าเล่า สวยแต่รูปจูบไม่หอม ไร้การศึกษา ดอกไม้ริมทาง ดับกระหายคลายหื่นให้ชายหนุ่ม ครั้นเบื่อแล้วจะขย้ีท้ิงเมื่อไร ก็ได้ (ปริศนาโบราณคดี : เพญ็ สุภา สขุ คตะ ใจอนิ ทร์)
Search