200
“...ในศูนยเ์ ด็กเล็กครูมกั ใชภ้ าษาสั่งการ (directive language) เชน่ ดีมาก, วางตุก๊ ตาลง, ไปลา้ งมือไดแ้ ล้ว ซึ่งเป็นภาษาทางเดียว เด็กไดเ้ รยี นรูไ้ มซ่ ับซอ้ น ตา่ งจากภาษาพูดคยุ (conversational / instructional language) ซึ่งเป็นภาษาสองทาง และมีความซบั ซ้อนมากกว่า...” 201
202
º·ºÒ·º··Õèññ หรือทุกคนที่แวดล้อ¢มÍเด§็ก? ส่งเสริมพัฒนาก ารเด็ก จริงหรือไม่? 203
204
บทบาทของผู้ใหญ่ ตีความจากบทท่ี ๑๐ ท่ีชื่อว่า Well Connected : The Roles Grownups Play 205
ผู้เขียน (Erika Christakis) เล่าเรื่องแม่ของเด็กเล็กกับครูเด็กเล็กผู้มากประสบการณ์ ท่ีเมือ่ ลูกสาวไปเข้าโรงเรยี นไดร้ ะยะหน่ึง แม่ (ชอ่ื ลอเรน) ก็สังเกตว่าครูสอน (ช่ือดาร์ลิง่ ) ซงึ่ เป็น ผู้ใหญ่ประสบการณ์ยาวนานเกือบสี่สิบปีสอนเด็กแบบโบราณ ได้มาปรึกษาผู้เขียนว่าจะไป รอ้ งเรยี นตอ่ ครูใหญ่ แต่ผูเ้ ขยี นแนะว่า นา่ จะรอใหถ้ งึ วันนัดพบผปู้ กครองซ่ึงรอไมก่ ว่ี ัน จะไดพ้ ูด คยุ กบั ครูกอ่ น และลอเรนก็เหน็ ด้วย ถึงวันไปพบครู ลอเรนก็ใจอ่อนเป็นข้ีผึ้งลนไฟ เพราะครูดาร์ลิ่งพูดถึงลูกสาวของตัวเอง (ช่ือสเตลลา) ฉอดๆ ว่าชอบไม่ชอบอะไรบ้าง ได้ช่วยแนะน�ำเพ่ือนว่าวิธีใช้ห้องน�้ำที่ถูกต้อง ท�ำอยา่ งไร รวมทัง้ สเตลลายงั บอกครูและเพอ่ื นๆ วา่ ทวปี เคลือ่ นตัวเล็กนอ้ ยทุกวัน เปน็ อยา่ งน้ี ท้ังโลก รวมท้ังเม่ือเช้า ครูได้อนุญาตให้สเตลลาไม่ต้องเข้าห้องสมุด เพ่ือให้อ่านหนังสือภาพท่ี สเตลลาชอบใหจ้ บ การพบกนั ครัง้ นท้ี ำ� ใหค้ ุณแมล่ อเรนเปลยี่ นความคดิ เกี่ยวกบั ครูดาร์ล่ิง คุณสมบัติหมายเลขหน่ึงของครูเด็ก กังวล เล็กคือ รู้จักเด็กและรักเด็ก เพราะ การเรียนที่มีคุณค่าส�ำหรับเด็กเล็ก ไม่ใช่การเรียนวิชา แต่เป็นการ พัฒนาความสัมพันธ์ เพราะเด็ก เรียนผ่านปฏิสัมพันธ์ ในชั้นเรียน ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยวสั ดปุ ระกอบการเรยี น เด็กเรียนได้น้อยกว่าชั้นเรียนที่มี ปฏิสมั พันธส์ ูง ความวติ กกงั วลของพอ่ แม่ เป็นส่งิ คุกคามต่อครู 206
การสื่อสารร่วมมือกัน ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งเด็กกับครมู คี วามส�ำคญั และเชน่ เดียวกัน ปฏิสมั พนั ธ์ (อยา่ งซบั ซอ้ น) ระหวา่ งพอ่ แมก่ บั ครู กม็ คี วามสำ� คญั ดว้ ย ความจรงิ ทท่ี างโรงเรยี นและครตู อ้ งตระหนกั คอื ในการสง่ ลูกเล็กเข้าโรงเรียนน้ัน พ่อแม่มีความวิตกกังวลอยู่ด้วย และความวิตกกังวลของพ่อแม่เป็น สิ่งคุกคามต่อครู ย่ิงพ่อแม่เป็นคนมีฐานะและการศึกษาดีกว่าครู ความรู้สึกว่าถูกคุกคามของครู จะยิ่งรนุ แรง แตม่ กั จะคดิ กนั วา่ ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งพอ่ แมก่ บั ครนู นั้ ครเู ปน็ ผถู้ อื ไพ่ใบเหนอื กวา่ โดยครู เป็นผู้ตัดสินระบุประวัติพฤติกรรมของเด็ก ที่อาจมีผลต่ออนาคตของเด็ก เช่น การให้ออกจาก โรงเรียน กรอกประวตั ิทีจ่ ะตดิ ตวั เด็กไปยงั โรงเรียนอื่นๆ เพอื่ ประโยชนข์ องเดก็ ครกู บั พอ่ แมต่ อ้ งรว่ มมอื กนั โดยทางโรงเรยี นตอ้ งแสดงทา่ ทเี ปดิ รบั พ่อแม่ ให้เข้าไปรับรู้ชีวิตของลูกท่ีโรงเรียน และเข้าไปให้ข้อคิดเห็นต่อการปรับปรุงการจัด การเรยี นรขู้ องเดก็ รวมทง้ั การเขา้ ไปเปน็ อาสาสมคั รจดั กจิ กรรมบางอยา่ งเพอื่ การเรยี นรขู้ องเดก็ ท่ีส�ำคัญย่ิงคือ ต้องร่วมกันท�ำความเข้าใจจุดมุ่งหมายของช้ันเด็กเล็กให้ตรงกันว่าช้ันเด็กเล็ก ไม่ใช่โรงเรียนที่แทจ้ ริง ความใกล้ชิดระหว่างครูกับนักเรียน ความรักความเมตตาเป็นปัจจัยวิเศษสุดส�ำหรับพัฒนาการเด็กเล็ก เด็กที่ขาดความรัก ความเอาใจใส่สมองจะเจริญเติบโตไม่ดี หน้าท่ีส�ำคัญที่สุดของครูเด็กเล็กคือให้ความเอาใจใส่ ให้ความรกั การกอด การสบตา การพดู คยุ กบั เด็ก 207
สภาพความใกล้ชิดระหว่างครูกับเด็กเล็กในสหรัฐอเมริกาเสื่อมคลายลงไปจากเหตุหลาย ประการอย่างหนึ่งคือครูเด็กเล็กจ�ำนวนมากเป็นโรคอ้วน การลงไปน่ังกับพื้นร่วมกับเด็กและ สบตาเด็กทำ� ได้ยาก อีกอยา่ งหน่ึงคือการกลา่ วหาว่าครลู ว่ งเกินเด็ก โดยเฉพาะอย่างย่ิงครูผูช้ าย ทม่ี ักถกู พอ่ แม่ตงั้ ข้อสงสัยว่ามูลเหตุจงู ใจให้มาเป็นครูเด็กเล็กคือต้องการโอกาสลว่ งเกนิ เด็ก ประเมินอะไร เป็นที่ชัดเจนแล้วว่า ส่ิงส�ำคัญท่ีสุดส�ำหรับศูนย์เด็กเล็กคือปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ วงการศกึ ษาสำ� หรบั เดก็ เลก็ กเ็ นน้ ความสำ� คญั ของปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งครกู บั เดก็ แตร่ ะบบประเมนิ คุณภาพของศูนย์เด็กเล็กของสหรัฐอเมริกา กลับประเมินที่ความสะอาดของสถานท่ี สัดส่วน ระหว่างจ�ำนวนครูกับจ�ำนวนเด็ก การปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย และข้อมูลเชิงกายภาพ ของสถานที่ เป็นสำ� คัญ ระบบมาตรฐานท่ีเรียกว่า QRIS (Quality Rating Improvement System) ของ สหรัฐอเมรกิ า เอาใจใสส่ ิ่งที่เกิดข้นึ ในชั้นเรยี นนอ้ ยมาก มวั แตส่ นใจการปอ้ งกนั ไม่ให้อาชญากร ไดร้ บั การวา่ จ้างเปน็ ครู เคร่ืองมือวัดคุณภาพศูนย์เด็กเล็กพยายามวัดคุณภาพผ่านกระบวนการ เช่นลักษณะ ของปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน และความร่วมมือระหว่างครู เช่นเครื่องมือชื่อ CLASS (Classroom Assessment Scoring System) วัดวา่ ครนู ง่ั ลงบนพืน้ หอ้ งเสมอกบั เด็กเพ่อื สบตา เด็กหรอื ไม่ หรอื ครูตงั้ ค�ำถามปลายเปิดเพอ่ื สง่ เสรมิ การใช้ภาษาหรอื ไม่ เครื่องมือช่ือ The Preschool Mental Health Climate Scale เน้นวัดบรรยากาศ ในชนั้ เรยี น โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสขุ ภาพทางใจ วดั วธิ ปี ฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างผู้อ�ำนวยการศนู ย์เดก็ เลก็ 208
ช่วงน้ีชว่ ยกนั สังเกต กับเจ้าหน้าท่ี วัดวิธีท่ีครูและผู้ช่วยครูมีปฏิสัมพันธ์กัน น้องจอยหนอ่ ยนะคะ จะเห็นว่า การวัดเฉพาะปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับเด็กไม่ ดเู หมือนงว่ งนอนบ่อยๆ เพียงพอ ต่อการวัดบรรยากาศการเรยี นรูท้ ดี่ ขี องเดก็ เล็ก ผมวา่ ถ้าจะสรา้ งลำ�ธาร เล็กๆ ตรงน้ีดีกวา่ ตรงนัน้ นะครับ ผอ. หมูน่ น้ี อ้ งจอยดูง่วงๆ ซมึ ๆ หนูลองขอเพ่อื น นะคะ อยทู่ ี่บ้านเปน็ ยังไง ดสู จิ ๊ะ บ้างคะ นอนดกึ ไหมคะ สงิ่ สำ�คัญท่สี ุด สำ�หรับศูนยเ์ ด็กเลก็ คอื ปฏิสัมพันธ์ ระหวา่ งมนุษย์ นอนไมด่ ึกครบั แตต่ ่ืนเช้าขึน้ หนอู ยากเลน่ ช่วงน้รี ถตดิ ครบั เลยปลุก แบบนนั้ บา้ ง นอ้ งแต่เช้า 209
ผลประโยชน์ของเด็กมาทีหลัง ที่จริงระบบการศึกษาของเด็กเล็กมีไว้เพ่ือพัฒนาการเด็ก ซึ่งตัวเสริมคือปฏิสัมพันธ์ ระหว่างเด็ก ครู และพ่อแม่ และค�ำประกาศของสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็กส่วนหนึ่งระบุว่า “ผลประโยชนส์ งู สดุ ของเดก็ จะตอ้ งเปน็ ตวั กำ� หนดการทำ� งานของบคุ ลากรดา้ นการศกึ ษาและการ แนะแนว” แต่การปฏิบัติจริงในสหรัฐอเมริกาไม่ได้เป็นตามน้ี กลายเป็นผลประโยชน์ของผู้ใหญ่ เปน็ ตัวหลกั นอกจากน้นั การปฏิรูปหลายอย่างในสหรฐั อเมรกิ ามีผลแยกผู้ใหญอ่ อกจากเด็ก โดยมผี ล การวิจัยบอกว่า นโยบายเกี่ยวกับเด็กในสหรัฐอเมริกา มีแรงจูงใจจากความต้องการของผู้ใหญ่ ท่ีต้องการมีระยะห่างระหว่างตนกับเด็ก หรือเพื่อเอาเด็กไปไว้ในบางที่ เพ่ือให้พ่อแม่ไปท�ำงาน หรือทำ� ธุระอืน่ ๆ ได้ หน้าท่ีส�ำคัญของศูนย์เด็กเล็กคือ การกล่อมเกลาทางวัฒนธรรมของเด็กจ�ำนวนมาก เช่น เด็กได้ฝึกเข้าคิว รู้จักรอ ฝึกยับย้ังผลประโยชน์ของตัวเอง เพื่อการอยู่ร่วมกัน เป็นต้น ในทางทฤษฎี โรงเรยี นจงึ เป็นพลังอารยธรรม แต่ศูนย์เด็กเล็กก็เป็นสนามรบระหว่างแนวคิดให้เด็กเล็กได้ผ่านการสอนโดยตรง (direct instruction) และเรยี นภาษาแบบผสมคำ� และฝกึ ออกเสยี ง (phonics) กบั แนวคดิ ใหเ้ ดก็ เรยี นรเู้ อง ในชวี ิตจริง จากสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ไม่เน้นการสอนโดยตรง ผู้ใหญ่เข้าไปบงการระบบการพัฒนาเด็กเล็ก เพ่ือผลประโยชน์ของตนเอง เพราะ ความสามารถในการเขา้ ถงึ และสามารถจา่ ยใหแ้ กศ่ นู ยเ์ ดก็ เลก็ เปน็ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยู่ และตอ่ พฤติกรรมลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของผใู้ หญโ่ ดยตรง จะเห็นวา่ เดก็ เล็กเอง ไร้พลงั ตอ่ รอง 210
คุณภาพของศูนย์เด็กเล็ก ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ ทม่ี คี ณุ ภาพสงู หายากและแพง ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ ทว่ั ๆ ไปในสหรฐั อเมรกิ าคณุ ภาพตำ่� มีผลงานวิจัยตรวจสอบผลของศูนย์เด็กเล็กต่อการลดความแตกต่างของผลลัพธ์การเรียนรู้ (achievement gap) ระหว่างเด็กยากจนกับเด็กฐานะดี พบว่าศูนย์เด็กเล็กคุณภาพดีช่วยลดได้ รอ้ ยละ ๓๐ - ๕๐ ในขณะท่ศี ูนย์เด็กเล็กทัว่ ๆ ไปลดได้ร้อยละ ๕ อะไรคือปจั จัยสำ� คญั ทส่ี ดุ ต่อคณุ ภาพของศนู ย์เดก็ เล็ก คำ� ตอบคือ คุณภาพครู และปจั จยั สำ� คัญทสี่ ุดทจ่ี ะให้ได้ครดู มี าท�ำหน้าที่ให้การศกึ ษาแก่เด็กเล็ก คอื ระดบั เงินเดอื น ผเู้ ขยี น (Erika Christakis) บอกวา่ ในสภาพปจั ุบันของสหรัฐอเมรกิ า คนทเ่ี ลือกไปเปน็ ครเู ดก็ เลก็ จำ� นวนมาก เปน็ เพราะไมถ่ นดั ในการตดิ ตอ่ กบั ผใู้ หญ่ หรอื ตคี วามไดว้ า่ เปน็ คนไมม่ น่ั ใจ ตนเอง หากวงการครศู นู ยเ์ ดก็ เลก็ เปน็ เชน่ นจี้ รงิ กแ็ สดงวา่ ระดบั คา่ ตอบแทนครขู องศนู ยเ์ ดก็ เลก็ ไมม่ แี รงดงึ ดดู เพียงพอท่ีจะไดค้ นทม่ี คี วามสามารถความถนดั และความรักงานนี้ ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ มหี น้าท่ี เรามาจาก ฟรีแอพพลเิ คชั่น กล่อมเกลาจิตใจเด็ก พรรค....... สอนภาษา และ... นะคะ ผอ. เรายินดสี นบั สนนุ งบ แทปเลต็ คงทำ�ได้ ในการซือ้ แทปเลต ไมด่ ีเท่าครู 211
แก้ปัญหาคุณภาพของครูเด็กเล็ก การแกป้ ญั หาคุณภาพครมู ี ๒ แนว คอื (๑) ดึงดูดคนมีความสามารถสูง มาฝึกเป็นครูเด็กเล็กคุณภาพสูง และเลี้ยงดูให้พอใจ ในอาชีพ ไม่เปลยี่ นอาชีพ เปน็ แนวเนน้ พฒั นาครูกลุม่ ใหม่ (๒) เน้นพฒั นาครูที่มีอย่เู ดิม เขาบอกว่า น่าเสียดายท่ีสหรัฐอเมริกาเน้นแนวทางที่ (๒) ซ่ึงเป็นวิธีแก้ปัญหาแบบปะผุ จึงแกป้ ญั หาไมไ่ ดจ้ รงิ จัง ไรผ้ ล แต่ต้องย้�ำให้ชัดนะครับ ว่าแนวทางท่ี (๑) ต้องผสมกับ การมีโครงสร้างพ้ืนฐานใน การท�ำงานและรายได้ดี และความกา้ วหนา้ ของครเู ด็กเล็ก ผมจนิ ตนาการตอ่ วา่ การยกระดบั คณุ ภาพของศนู ยเ์ ดก็ เลก็ ตอ้ งจบั ทก่ี ารสรา้ งระบบครเู ดก็ เล็ก ท่ดี ึงดดู คนเก่งและรักวชิ าชพี น้ีเขา้ มาในระบบ โดยอาชพี การงานต้องให้รายไดด้ ี มีชวี ิตอยู่ ได้สบาย มีระบบพฒั นาครเู ด็กเลก็ ทมี่ คี ณุ ภาพ และเมอื่ ทำ� งาน ก็มีเส้นทางพัฒนาทางวชิ าชพี ได้ จนไปเป็นศาสตราจารย์ด้านการพัฒนาเด็กเล็กได้ หรืออาจเป็นนักวิจัยด้านการพัฒนาเด็กเล็ก หรือเป็นครูเด็กเล็กเช่ียวชาญพิเศษ ที่ท�ำหน้าที่เป็นครูฝึกให้แก่นักศึกษาครูสาขาครูเด็กเล็กได้ ซง่ึ หมายความวา่ ไซโลทางวชิ าชพี ครู/นักวชิ าการเดก็ เล็กจะตอ้ งถูกร้อื ท้ิงไป ประเดน็ นี้ น่าจะเป็นการปฏิรปู การศึกษาในระดับพน้ื ฐาน ท่ีสงั คมไทยตอ้ งการอย่างย่ิง 212
เขาเตือนว่า การให้รายไดส้ ูงแกค่ รูเด็กเลก็ นนั้ ต้อง (๑)ใหร้ ายไดส้ งู เฉพาะแกค่ รทู ่ีมหี ลักฐานพสิ ูจนว์ า่ มสี มรรถนะสงู ตามเกณฑ์จรงิ ๆ เท่าน้ัน ไม่ใช่ใหแ้ กค่ รเู ดก็ เลก็ แบบปพู รม ซงึ่ จะมผี ลใหส้ ญู เงนิ มากมาย แลว้ ไดค้ ณุ ภาพการศกึ ษาเดก็ เลก็ เท่าเดมิ ขอ้ เตือนนีม้ บี ทเรียนทป่ี ระเทศไทย (๒) หาทางขจัดครคู ณุ ภาพต่ำ� พัฒนาไมข่ น้ึ ออกไปจากวงการครเู ดก็ เลก็ การวางรากฐานการพัฒนาเด็กเล็ก รวมคุณภาพของทั้งระบบการศึกษาทั้งระบบ เป็นเรื่องระยะยาว ผลลัพธ์ท่ีเห็นไมเ่ ด่นชัดหากไมม่ วี ิธตี รวจสอบ (โดยการวจิ ยั ระบบการศึกษา) ไมเ่ ปน็ ปญั หาความเปน็ ความตายเรง่ ดว่ น จงึ เปน็ เรอ่ื งทผ่ี บู้ รหิ ารประเทศละเลยไดง้ า่ ยโดยไมร่ ตู้ วั สรุป ว่า ครูเด็กเล็ก คณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี ต้อง ได้รับการศึกษาและ มโี อกาสใน ฝึกทักษะมาอย่างดี มี รายไดด้ ี และมีเสน้ ทาง การพัฒนาศักยภาพ อาชี พท่ีชัดเจนและ โอกา สก้าวหน้าสูงใน หลาก หลายรูปแบบ ของนักวิชาการและ นกั ปฏบิ ตั พิ ฒั นาเดก็ เลก็ ครมู คี วามสขุ ใน การทำ�งาน 213
การดูแลสองแนว การดแู ลการศึกษาเดก็ เลก็ มี ๒ แนวท่ีคนมกั แยกไมอ่ อก คือแนวเลี้ยงเด็ก (เพราะพ่อแม่ ไมว่ ่าง) กับแนวพัฒนาเดก็ ในระดบั นโยบายประเทศต้องแยกสองสว่ นนี้ หากไม่แยก อาจตกอยู่ ในสภาพใช้เงนิ มากเพอ่ื หนุนการพฒั นาเด็กเลก็ แต่ผลที่ได้เปน็ กจิ กรรมที่ไรค้ ณุ ภาพ เขาบอกวา่ แนวแรกเปน็ แนวเพอื่ ผลประโยชนข์ องผใู้ หญ่ แนวหลงั เพอ่ื ผลประโยชนข์ องเดก็ แนวแรกมักมีพลังกว่า เพราะนอกจากเด็กไม่มีทางรู้เร่ืองแล้ว นักการเมืองยังมักใช้เงิน ของประเทศหนุนแนวน้ี เพื่อคะแนนเสียงประชานิยม ขอ้ ความในหนงั สอื ตอนนม้ี ปี ระโยชนย์ ง่ิ ตอ่ ประเทศไทย ซง่ึ กำ� ลงั ตนื่ ตวั ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การศึกษาระดบั เดก็ เลก็ ที่เรานา่ จะก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาตร์ และมาตรการใหถ้ ูกต้อง เพื่อการ ศึกษาเด็กเล็กที่มีคุณภาพได้มาตรฐานท่ัวท้ังประเทศ ไม่ใช่คุณภาพระดับต่�ำส�ำหรับลูกชาวบ้าน ท่วั ไป มีคณุ ภาพสูงเฉพาะโรงเรยี นของลูกคนรวย ท่ตี อ้ งจ่ายแพง เขาบอกวา่ มผี ลการวจิ ยั วา่ ชน้ั เดก็ เลก็ คณุ ภาพสงู ท่ีใชเ้ วลาเพยี งครงึ่ วนั กบั ท่ีใชเ้ วลาเตม็ วนั มผี ลตอ่ พฒั นาการเดก็ ไมต่ า่ งกนั สะทอ้ นวา่ ในเรอ่ื งการดำ� เนนิ การเพอื่ สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ เลก็ ปัจจัยด้านคุณภาพ (quality) ส�ำคัญกว่าปริมาณเวลา (quantity) และหากค�ำนึงถึงการใช้เงิน งบประมาณแผ่นดินอย่างมีประสิทธิภาพ ช้ันเรียนเด็กเล็กครึ่งวันก็เพียงพอส�ำหรับผลประโยชน์ ของตัวเด็ก แต่หากจะผสมเอาผลประโยชน์ของพ่อแม่ และของนักการเมืองเข้าไปด้วย ก็เป็น อีกเรือ่ งหน่ึง “คุณภาพ” สำ�คัญกว่า “ปริมาณเวลา” 214
การดแู ลพฒั นาการของเดก็ เล็กมีสองข้ัวในหลายมิติ • ขั้วเป็นสถานเลี้ยงเด็ก กับข้ัว • ขั้วก�ำหนดให้ด�ำเนินการตาม เป็นสถานกระตุ้นพัฒนาการเด็ก มาตรฐานเดียวกันท้ังประเทศ ดงั กล่าวแลว้ ก�ำหนดโดยส่วนกลาง กับข้ัว กำ� หนดเปา้ หมายกวา้ งๆ ใหอ้ สิ ระ • ข้ัวจัดกระบวนการท่ีมีคุณภาพ แก่พื้นที่ในการด�ำเนินการตาม กลางๆ กบั ขั้วคณุ ภาพเข้มข้น รปู แบบของตน คอื ยอมรบั ความ หลากหลายในการด�ำเนินการ • ข้ัวจัดการแบบโรงเรียน มีการ ประเมิน มีหลักสูตรส�ำเร็จรูป • ข้ัวเอาผลประโยชน์ของผู้ใหญ่ เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ กับข้ัว เป็นหลัก กับขั้วเอาผลประโยชน์ ให้อสิ ระแก่เดก็ ให้มีทางเลือกใน ของเดก็ เปน็ หลัก การด�ำเนินการหลากหลายแบบ และเนน้ การเลน่ ของเด็ก ผมขอเตมิ อีก ๑ ขวั้ ตรงกนั ขา้ ม คอื • ขั้วยกหน้าท่ีความรับผิดชอบ • ขั้วจัดโดยอ�ำนาจส่วนกลาง กับ ขั้วมอบหมายให้องค์การส่วน ดูแลพัฒนาการเด็กให้แก่ศูนย์ ทอ้ งถ่ินด�ำเนนิ การ เด็กเล็กทั้งหมด กับข้ัวถือเป็น ความรับผิดชอบร่วมกันและ • ขว้ั ครเู ดก็ เลก็ มสี ถานภาพตำ�่ เงนิ ร่วมมือกัน ระหว่างบ้านกับ เดือนน้อย กับข้ัวท่ีครูเด็กเล็กได้ โรงเรียน/ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ รับการศึกษาและฝึกฝนเข้มข้น หากพิสูจน์จากการปฏิบัติงานว่า 215 มสี มรรถนะสูง จะได้เงนิ เดอื นสูง
เน่ืองจากในสถานการณ์ของประเทศไทย ศูนย์เด็กเล็กท่ีรับดูแลเด็กเพียงคร่ึงวันคงจะไม่ เหมาะสม เพราะพอ่ แมไ่ มร่ จู้ ะเอาลกู ไปไวท้ ่ีไหน ผมจงึ เหน็ ดว้ ยทผี่ เู้ ขยี นเสนอโมเดลจดั การศกึ ษา เด็กเลก็ เต็มวัน ชว่ งเช้าเด็กอยู่ในพน้ื ทีเ่ รยี นรสู้ ูงสดุ (peak learning zone) ภายใต้ความทา้ ทาย ที่จัดโดยครูเด็กเล็กที่มีสมรรถนะสูง ช่วงบ่ายเน้นการเล่นอิสระ อาหารว่าง และการนอนหลับ โมเดลน้ีถอื ว่าเปน็ โมเดลการศึกษาและการดแู ลแบบครบดา้ น (holistic education and care) อย่างไรก็ตาม เรื่องการศึกษาหรือการพัฒนาเด็กเล็ก มีรายละเอียดของความซับซ้อน มากมาย ท่ีเป็นข้อถกเถียงได้มาก ในเรื่องการเอาทรัพยากรของชาติเข้าไปสนับสนุน หากใช้ ทรพั ยากรสว่ นรวมไมถ่ กู วธิ ี เดก็ อาจไมไ่ ดร้ บั ประโยชนอ์ ะไรเลยในดา้ นการวางรากฐานความเขม้ แขง็ สชู่ วี ติ ในอนาคต โดยผเู้ ขยี นใหค้ วามเหน็ วา่ ผลการวจิ ยั ชว้ี า่ นา่ จะเนน้ หาวธิ ีใชท้ รพั ยากรสว่ นรวม เข้าไปสนับสนนุ กจิ กรรมพฒั นาเด็กทบ่ี ้าน บทบาทของพ่อแม่ มีหลักฐานมากมายท่ีบอกว่าพ่อแม่มีผลต่อพัฒนาการของเด็กเล็กมากกว่าครู (อย่าง มากมาย) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความผูกพัน (attachment) กับพ่อแม่ และการลงทุนสนับสนุน ให้พอ่ แม่แสดงบทบาทอยา่ งถูกตอ้ ง ให้ผลตอบแทนแสนคมุ้ คา่ มีผลวิจัยยืนยันว่า โครงการสนับสนุนต่อครอบครัว ให้ผลลดช่องว่างระหว่างพัฒนาการ เด็กในครอบครวั ยากจนกับครอบครัวฐานะดี ไดถ้ ึงหนึง่ ในสาม ความเขา้ ใจทผ่ี ดิ ในเรอ่ื งพฒั นาการเดก็ คอื เขา้ ใจวา่ เดก็ เตบิ โตอย่ใู นสญุ ญากาศ ไมต่ ระหนกั ว่า สภาพแวดล้อมสารพัดด้านรอบตัวเด็กมีผลต่อพัฒนาการเด็กทั้งสิ้น รวมท้ังส่ิงท่ีดูห่างไกล แตจ่ รงิ ๆ แลว้ มีผลเปน็ ตวั สรา้ งความเครียด หรือปลกู ฝังความคิดผิดๆ ให้แกเ่ ด็ก เชน่ รายการทีวี รวมท้ังดึงดดู เดก็ ออกไปจากปฏิสัมพนั ธก์ ับมนุษย์ เช่นเกมคอมพิวเตอร์ 216
มหี ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ยนื ยนั วา่ การลงทนุ สนบั สนนุ ครอบครวั ทอี่ อ่ นแอ ใหม้ ปี ฏสิ มั พนั ธ์ ภายในครอบครัวระหว่างรุ่น (multi-generation family program) มีประโยชน์อย่างย่ิง ตอ่ พฒั นาการเดก็ เลก็ โดยทป่ี ฏสิ มั พนั ธน์ ี้ มที ง้ั ปฏสิ มั พนั ธแ์ บบตวั ตอ่ ตวั และการสรา้ งพนื้ ทด่ี ำ� รง ชีวติ (habitat) ใหแ้ ก่เดก็ เลก็ เพือ่ เปน็ “นงั่ รา้ น” (scaffolding) ตอ่ การเรยี นรูแ้ ละพัฒนาการ มีการวิจัยตรวจสอบบทบาทของพ่อแม่ต่อพัฒนาการเด็ก โดยใช้เวลาท่ีพ่อแม่อยู่กับเด็ก เป็นดัชนี และพบว่าพ่อแม่สมัยปัจจุบันมีเวลาเอาใจใส่ลูกมากกว่าสมัยก่อน ซึ่งถือว่าแปลก แตเ่ มอ่ื ตรวจสอบลงไปในรายละเอยี ดพบว่าผลการวิจยั นั้นปลอม เปน็ การวดั ผดิ ที่ ทำ� ให้สรปุ ผิด เราต้องไม่วัดที่เวลา แต่วัดท่ีกิจกรรมท่ีพ่อแม่ท�ำกับลูกเพ่ือกระตุ้นพัฒนาการเด็ก เช่น เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลอื กทำ� กจิ กรรมและจดั การความเสย่ี งเอง มโี อกาสไดส้ นองความอยากรอู้ ยาก เหน็ คยุ และฟงั ลกู มโี อกาสอยู่ในทสี่ งบเพอ่ื คดิ และเรยี นรชู้ วี ติ ตามความเรว็ ของเดก็ แตล่ ะคน จดั เวลานอน และเวลาเล่น (อิสระ) อย่างเพียงพอ 217
การพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ที่บ้าน เพ่ือให้เด็กเล็กได้ประโยชน์สูงสุด โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก กับบ้านต้องร่วมมือกัน ท�ำงาน รว่ มกนั ไมห่ า่ งเหนิ กนั สงิ่ ทผี่ ใู้ หญท่ บ่ี า้ นตอ้ งการการพฒั นาคอื ทกั ษะสรา้ งปฏสิ มั พนั ธ์ (bonding) กับเด็ก ความตอ้ งการนีส้ ูงมากในชมุ ชนหรอื ครอบครวั ด้อยโอกาส มตี วั อย่างโครงการเยย่ี มบ้าน ทีป่ ระสบความส�ำเร็จเชน่ • โครงการ Nurse-Family Partnership(๑) ชว่ ยลดการรงั แกเดก็ การตาย และปญั หาอนื่ ๆ ของเดก็ จากครอบครวั ยากจน และมีปัญหาความรุนแรง • โครงการ MOM (Mental Outreach for Mothers) Partnership (๒, ๓) ทำ� ในหลายรฐั ในสหรัฐอเมริกา เป็นโครงการร่วมมือหลายฝ่าย ท้ังฝ่ายการศึกษา ฝ่ายสุขภาพ และฝา่ ยชมุ ชน ดำ� เนนิ การเยยี่ มบา้ นเพอื่ ใหก้ ารสนบั สนนุ แมท่ อี่ อ่ นแอ จากสภาพความ เป็นอยู่ในบ้านหรือครอบครัว • โครงการ Minding the Baby (๔) ด�ำเนนิ การเยย่ี มบา้ น แกแ่ ม่มือใหมท่ มี่ ลี ูกคนแรก และอยู่ในสภาพท่เี สี่ยงตอ่ การเลีย้ งลกู ผิด ได้แก่ สภาพติดยา ซมึ เศร้า การศกึ ษาต�่ำ ดอ้ ยการยบั ย้ังชง่ั ใจ วางแผนอนาคตไมเ่ ปน็ (๑) https://www.nursefamilypartnership.org/ (๒) https://medicine.yale.edu/psychiatry/moms/ (๓) http://pediatrics.aappublications.org/content/132/Supplement_2/S153.long (๔) https://medicine.yale.edu/childstudy/communitypartnerships/mtb/ 218
กจิ กรรมเย่ยี มบ้านแกแ่ มก่ ลมุ่ เสย่ี งด้านเศรษฐฐานะ ทีม่ ีลูกเลก็ น้ี พสิ ูจนแ์ ล้วพิสจู นอ์ ีกว่า มคี ุณค่าตอ่ ชวี ิตของเดก็ มาก แต่ในสหรฐั อเมริกาทำ� ได้น้อย ด้วยขอ้ จำ� กดั ด้านงบประมาณ การเยี่ยมบ้านของเด็กเล็กโดยครูเด็กเล็กมีประโยชน์ช่วยให้ครูเข้าใจเด็ก “ท้ังคน” คือเข้าใจสภาพแวดลอ้ มทกี่ ลอ่ มเกลาตัวเด็กทบ่ี ้าน ทง้ั ที่เปน็ ปัจจยั บวก และปัจจยั ลบ แตผ่ ู้เขียน บอกว่าในสหรัฐอเมริกา มีข้อจ�ำกัดมากมาย ท้ังข้อจ�ำกัดต่อการเยี่ยมบ้านเด็กด้อยโอกาส และการเยย่ี มบา้ นเดก็ ทพ่ี อ่ แมฐ่ านะดี เพราะครเู ดก็ เลก็ มกั มเี งนิ เดอื นไมพ่ อเพยี งทจี่ ะมที อ่ี ยอู่ าศยั ในยา่ นคนรวย โอกาสใกลช้ ดิ กบั เดก็ และครอบครวั ของเดก็ ทบี่ า้ นจงึ นอ้ ย นอกจากนนั้ ดงั เลา่ กอ่ น หนา้ นแี้ ลว้ ยงั มปี จั จยั ดา้ นจติ วทิ ยาของครเู ดก็ เลก็ ที่ไมม่ น่ั ใจตวั เองทจ่ี ะเผชญิ หนา้ พอ่ แมเ่ ดก็ ทม่ี ี การศกึ ษาสงู และเศรษฐฐานะดกี วา่ ตน ส�ำหรับประเทศไทย ควรส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มเยี่ยมบ้าน ควบคู่ไปกับกิจกรรมชุมชน สำ� หรับพอ่ แมท่ ่ีมีลูกเลก็ โดยองค์การปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นเปน็ เจา้ ของเร่อื ง รว่ มกบั วงการศึกษา (ครเู ดก็ เลก็ ) และวงการสขุ ภาพ (เจา้ หนา้ ทอี่ นามยั เดก็ ) เพอื่ เสรมิ สรา้ งทกั ษะการเลย้ี งและกระตนุ้ พัฒนาการเดก็ รวมทงั้ ใหช้ าวบ้านท่เี ลีย้ งลูกเก่ง ลูกไดด้ ี มาตอบค�ำถามและให้คำ� แนะนำ� แก่แม่ มอื ใหม่ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ด้านความเขา้ ใจพฤตกิ รรมเดก็ เช่นแมม่ ือใหมค่ นหนงึ่ บอกวา่ ตนซอื้ ตุ๊กตาใหล้ ูกเล็กเล่น ลกู ไมเ่ ลน่ กลับขวา้ งท้งิ ตนเก็บมาให้ก็ขว้างทิง้ อกี ชาวบา้ นทเี่ ป็นแมม่ ือเก๋า อธบิ ายวา่ พฤตกิ รรมขวา้ งของนนั่ แหละคอื การเลน่ ของลกู เลก็ เพอื่ ใหผ้ ใู้ หญเ่ กบ็ มาให้ เปน็ การเลน่ เพอื่ สร้างปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผ้ใู หญ่ พอ่ แม่มือใหมต่ อ้ งการขอ้ เรียนรู้พฤติกรรมของทารกและเด็กเล็ก ตามตัวอยา่ งน้ี 219
วนั หลังเรา เอาหนงั สอื นิทาน ไปฝากบา้ นโนน้ กันไหม ลูกกำ�ลังเลน่ โยนใหผ้ ู้ ใหญเ่ ก็บให้คะ่ หัวใจของบทบาทของผู้ใหญ่ต่อเด็กเล็กคือ เข้าใจว่าส่ิงเล็กๆ น้อยๆ ท่ีตนท�ำให้แก่เด็ก มีผลยิ่งใหญ่ หากการกระท�ำน้ันแสดงว่าตนก�ำลังเอาใจใส่เด็ก พยายามท�ำความเข้าใจเด็ก สนองตอบตอ่ ความตอ้ งการของเด็ก รวมทงั้ สรา้ งสภาพแวดล้อมเชงิ บวก บทบาทที่ถูกต้องของพ่อแม่ไม่ใช่ประเคนเด็กด้วยวัตถุ หรือของเล่นจ�ำนวนมาก แต่คือ การท�ำตัวใหเ้ ปน็ ท่ีตอ้ งการของเดก็ 220
สิ่งที่เด็กต้องการ ส่ิงที่เด็กเล็กต้องการ หลายส่วนพ่อแม่มีอยู่แล้วตามสัญชาตญาณ อีกส่วนหน่ึงคนที่เคย เป็นพ่อแม่ ที่อยู่ในชมุ ชนโดยรอบสามารถแนะนำ� หรือตอบค�ำถามได้ สรปุ สงิ่ ทเ่ี ดก็ เลก็ ตอ้ งการอยา่ งยอ่ ทส่ี ดุ ตามหวั ขอ้ ยอ่ ยขา้ งบนไดว้ า่ ตอ้ งการความเอาใจใส่ การท�ำความเข้าใจเด็ก การสนองตอบ ต่อความต้องการของเด็ก รวมทั้ง การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มเชงิ บวก ส�ำหรับพ่อแม่ (แม่) ในสภาพทกี่ ำ� ลงั เผชญิ ความ ยากล�ำบากในการเลี้ยงดู ลูกน้อย กลไกการจัดกลุ่ม เย่ียมบา้ น ที่มี “แมม่ อื เก๋า” ร่วมทีมด้วย จะช่วยให้ ความมนั่ ใจแกแ่ มม่ อื ใหม่ วา่ ตนสามารถให้ส่ิงที่ลูกน้อย ตอ้ งการได้ วิจารณ์ พานชิ ๒๓ เม.ย. ๖๑ บนรถยนต์เดนิ ทางจาก สคส. ไปยงั มจธ. 221
222
“...พ่อแมม่ ีผลตอ่ พฒั นาการของเดก็ เล็กมากกวา่ ครู (อยา่ งมากมาย) โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความผกู พัน (attachment) กับพ่อแม.่ ..” 223
224
º Ñ §º·· Õèñò àÊŒ¹¼Á 225
226
เส้นผมบังภูเขา ตีความจากบทที่๑๑ ท่ีช่ือว่า Hiding in Plain Sight : Early Learning and the American Dream ซึง่ เป็นบทสุดทา้ ย หัวข้อของบทสุดท้ายของหนังสือเน้นที่เป้าหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ผม จะพยายามตีความเข้าสสู่ ภาพและยุทธศาสตรส์ ำ� หรับสงั คมไทย สภาพชวี ติ วยั เดก็ ของเดก็ สมยั ปจั จบุ นั แตกตา่ งจากเดก็ สมยั ๔๐ ปกี อ่ นมาก คอื สมยั กอ่ น เด็กมอี ิสระสูง มีทเี่ ล่น และโอกาสเล่นอย่างอสิ ระกว่าในปจั จุบนั มาก กลา่ วได้ว่า เด็กสมยั ก่อนมี “พ้ืนทีด่ ำ� รงชีวติ ” (living habitat) ทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรอู้ ยา่ งเปน็ ธรรมชาติ เหยยี บก่งิ ใหญ่ๆ ลกู สภาพในห้องเรียนสมัยก่อน ก่ิงเล็กมนั จะหัก กับสมัยน้ีก็แตกต่างกันมาก ผู้เขียน (Erika Christakis) เลา่ ประสบการณ์ ค่อยๆ ปนี นะลูก ในหอ้ งเรยี นชน้ั ประถมทอี่ งั กฤษสมยั ก่งิ โน้นมรี งั มดนะลูก สส่ี บิ ปกี อ่ นครสู อนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ อังกฤษโดยบอกให้จด เว้นจังหวะ ระวังดว้ ย รอใหเ้ ดก็ จดทนั เปน็ ชว่ งๆ เปน็ วธิ กี าร ที่ Mark Twain นักเขียนนวนิยาย และนักเสียดสีสังคม วิพากษ์ว่า “เปน็ วธิ ถี า่ ยทอดความรจู้ ากสมดุ โนต้ ของครูสู่สมุดโน้ตของนักเรียน โดยไม่ต้องผา่ นสมองทงั้ ของครแู ละ ของนกั เรยี น” 227
เต้ยี แค่นี้ ผมเองก็โตมาใน “พน้ื ทเี่ รยี นรู้” ทำ� นอง เองครับ เดียวกัน พื้นที่นอกโรงเรียน อยู่ท่ีบ้านและใน ละแวกบ้านทเ่ี ปน็ ชนบท เราได้เล่นอิสระ โดย แคุกณ้ปภัญาพหขาองครู จินตนาการเรอ่ื งราวเอาเอง เด็กเล็ก ผมจดจำ� เรือ่ งราวในหอ้ งเรียนช้ัน ม. ๒ ท่ีโรงเรียน ชุมพร “ศรยี าภัย” (ชือ่ ในขณะน้นั ) เด๋ยี วตกนะลูก ที่ในช่ัวโมงเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ครูผู้สอน มอบหมายให้ ดช. โสภณ พฒั นอมิ่ เป็นผ้อู า่ น ลงมา ลงมา จากสมุดของครู ให้นักเรียนทั้งชั้นจด ประวตั ิศาสตร์อาณาจักรนา่ นเจา้ เด็กสมัยก่อนอย่างผู้เขียน (และผม) เติบโตเป็นคนมีความริเริ่มสร้างสรรค์ได้ แม้ การเรยี นในห้องเรยี นไม่เอ้ือ แต่ “พื้นทเี่ รียนร”ู้ (learning habitat) นอกหอ้ งเรียน เอือ้ การเรยี นรู้ กับ การเข้าโรงเรียน ไมใ่ ช่ ส่ิงเดียวกัน การเรียนรู้เกิดขึ้นในทุกขณะของ ชวี ติ เดก็ และชวี ติ เดก็ สมยั กอ่ นอยใู่ น prepared mode ในขณะท่ีเด็กสมัยน้ีอยู่ใน protected mode ความท้าทายต่อการศึกษาของพลเมืองรุ่นใหม่ท้าทายกว่าท่ีคิด อยู่ลึกกว่าที่คิด อยู่ใน ลกั ษณะ “เส้นผมบังภเู ขา” คือผลประโยชน์ของผู้ใหญ่ บังผลประโยชน์ของเด็ก 228
ความสร้างสรรค์และนวัตกรรม ของอเมริกัน สหรัฐอเมริกาได้ช่ือว่าเป็นประเทศแห่งความสร้างสรรค์และนวัตกรรม เป็นประเทศที่ ส่งเสริมและเปดิ โอกาสแกค่ นนอกคอก ทเ่ี ป็นนกั วิทยาศาสตร์ วิศวกร ผปู้ ระกอบการ และศิลปิน แต่น่าเสียดายท่ีการศึกษาเด็กเล็กในปัจจุบันถูกออกแบบให้ลดทอนศักยภาพในการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม โดยที่โลกอนาคตตอ้ งการคนท่มี ีวญิ ญาณสรา้ งสรรค์ ผู้เขียนบอกว่า เคร่ืองมือส่งเสริมวิญญาณนี้แก่เด็กอเมริกันในอดีตและด�ำรงต่อเน่ืองมา จนปจั จุบนั คอื ค่ายฤดูร้อน เปน็ โอกาสให้เดก็ ไดอ้ ยู่ร่วมกนั และทำ� กิจกรรมร่วมกันอยา่ งอิสระ ท่เี ป็นสิง่ ประเสรฐิ ยง่ิ ทเ่ี ดก็ ไดฝ้ ึกคือ ทกั ษะสงั คมและอารมณ์ อุดมการณ์ส�ำคัญที่จะส่งเสริมความสร้างสรรค์ของสังคมคือ การเปิดโอกาสให้เด็กมี พัฒนาการตามอัตราความเร็วของตนเอง และได้มีโอกาสเรียนอย่างลึกซ้ึง (deep learning) ซ่ึงไม่จ�ำเป็นต้องเรียนในห้องเรียน เพราะหลักสูตรท่ีก�ำหนดให้เรียนในปัจจุบันคับแคบเกินไป และมนษุ ย์ในปจั จบุ นั ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นโลกแหง่ ความเปน็ จรงิ ทรี่ กู้ นั แลว้ แตอ่ ยใู่ นโลกทไ่ี มส่ ามารถคาดเดา ล่วงหน้าได้ เด็กเล็กควรได้เติบโตข้ึนมาในสภาพแวดล้อมที่ฝึกฝนให้เคยชินกับความไม่แน่นอน และความเปลย่ี นแปลง ชนั้ เรียนท่มี ีบทเรยี นและแบบฝกึ หัดตายตวั ไม่ใชส่ ภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื แต่ช้นั เรยี นทเ่ี ปดิ โอกาสให้เดก็ ไดเ้ ลน่ แบบท�ำกิจกรรมท่ีซบั ซอ้ น จะเออื้ ชั้นเด็กเล็กต้องการครูท่ีมีความรู้และผ่านการฝึกฝนมาอย่างดี และครูต้องท�ำงานใน บรรยากาศทค่ี รรู ว่ มมอื กนั เพอ่ื รว่ มกนั สรา้ งนวตั กรรมในการทำ� หนา้ ทค่ี รเู ดก็ เลก็ ซงึ่ หมายความวา่ ครรู ่วมกันเรียนรู้จากการท�ำงาน ซง่ึ กค็ ือ PLC (Professional Learning Community) นนั่ เอง 229
การเรียนรู้ของเด็กเล็กท่ีถูกต้อง คือเน้นเรียนจากประสบการณ์จริง ไม่ใช่เรียนตาม แบบแผนที่ก�ำหนด การเรียนจากสถานการณ์จริง ประสบการณ์จริง จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถ น�ำประสบการณ์ไปปรับใช้ในสถานการณ์อืน่ ๆ ท่มี คี วามซับซ้อน และไมช่ ดั เจนได้ ให้คุณค่าแก่วัยเด็ก การเรียนรู้ท่ีแท้ของเด็กเล็กคือให้ได้ซึมซับด่ืมด�่ำกับความเป็นเด็ก การเรียนรู้ของ เดก็ วัย ๔ ขวบ ควรมเี ป้าหมายเพียง ๒ อย่าง คอื (๑) ให้ได้ใชช้ ีวติ และพฒั นาวัย ๔ ขวบหนงึ่ ปี อย่างเต็มอ่มิ และ (๒) เตรียมตวั เปน็ เดก็ วยั ๕ ขวบ น่าเสียดายท่ีชีวิตของเด็กเล็กถูกนักการเมือง นกั เศรษฐศาสตร์ และนักการศกึ ษาแย่งชิงไปในนามของ “การลงทนุ ” ทำ� ใหเ้ ดก็ เลก็ กลายเปน็ หนว่ ยการผลติ แทนที่ จะเน้นทีค่ วามสุข และสุขภาพของเด็ก ส่ิงท่ีผิดคือ การศึกษาเด็กเล็กกลายเป็นหน่วย การลงทุนท่ีจะต้องประเมินด้วยความคุ้มค่า (cost- effectiveness) ที่เน้นผลระยะสั้น และการพัฒนาข้ึน ทลี ะน้อย แทนท่ีจะมองผลระยะยาว และใหค้ ุณคา่ ต่อผล ทว่ี ดั ได้ เหนอื ผลทไี่ ม่เป็นรูปธรรม การจัดการศึกษาเด็กเล็กแบบให้คุณค่าแก่วัยเด็ก จะวางพ้ืนฐานชีวิตให้เด็กโตข้ึนมาเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีทักษะ ปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือน เราจะสรา้ งแอพลิเคชั่น เกม มนษุ ย์ มที กั ษะเชอ่ื มโยง อะไรมาขายพอ่ แมแ่ ละครูดนี ะ อารมณก์ ับผอู้ น่ื 230
เข้าใจความเป็นเด็ก 231 ความเปน็ เดก็ คอื เปน็ วยั แหง่ การเรยี นรตู้ ามธรรมชาติ แบบทเี่ ปน็ การเรยี นรบู้ รู ณาการ หรอื เรียนรู้องค์รวม หากเราเขา้ ใจเช่นน้ี เราจะไมแ่ บง่ การเรียนร้ขู องเด็กเปน็ ทอ่ นๆ แต่ให้โอกาสเดก็ เรยี นภาพรวมโดยการจดั สภาพแวดลอ้ มให้เอ้ือ แลว้ เดก็ จะเรียนร้เู อง ดงั นนั้ หากจะประเมนิ การศกึ ษาเดก็ เลก็ ใหป้ ระเมนิ สภาพแวดลอ้ ม เพราะ “สภาพแวดลอ้ ม คอื หลักสตู ร” ท่แี ท้จรงิ ปราสาททราย ผู้เขียนเล่าความทรงจ�ำสมัยเป็นเด็กของตนเอง และของสามี ที่ชอบเล่นสร้างปราสาท ทรายทชี่ ายทะเล โดยจนิ ตนาการเอง คดิ วธิ กี ารเอง แตส่ มยั นร้ี า้ นจำ� หนา่ ยของเลน่ เดก็ มเี ครอ่ื งมอื สร้างปราสาททรายขาย ทำ� ใหเ้ ด็กสรา้ งปราสาททรายได้สะดวก เด็กสมัยนี้จึงด้อยโอกาส ที่จะสร้างสรรค์ด้วยตนเอง ด้อยโอกาสสร้างสรรค์จากการเล่น เพราะถูกประเคนด้วยของเล่นส�ำเร็จรูป จากความหวังดีของผู้ใหญ่ ที่จะให้สร้างปราสาททราย ได้สะดวก ทงั้ หมดนน้ั เกิดจากความเขา้ ใจผิด เรื่องการเรียนร้ขู องเด็ก คอื หลงเอาผลผลติ (product) จากการเล่นเป็นเป้าหมาย แต่ในความเป็นจริง กระบวนการ (process) ของการเล่นต่างหาก ที่กอ่ ให้เกิดการเรยี นรู้แก่เดก็ เราหลงเน้นผลผลติ ละเลยกระบวนการ ของการเล่นของเด็ก สะท้อนว่า หัวใจส�ำคัญท่ีสุด ต่อพัฒนาการเด็กเล็ก คือการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อ สภาพแวดลอ้ มทมี่ วี ตั ถพุ รกั พรอ้ มเกนิ ไป ไมเ่ ออ้ื สภาพแวดลอ้ มทเี่ ออ้ื ทส่ี ดุ คอื สภาพทมี่ ปี ฏสิ มั พนั ธ์ ระหว่างมนุษย์ วจิ ารณ์ พานิช ๒๙ เม.ย. ๖๑
แบบนีส้ นุกกวา่ ของเลน่ สำ�เรจ็ รูป สะดวก ง่าย แต่เดก็ ไม่ไดส้ รา้ งสรรค์ การเล่นเอง 232
“...เด็กสมยั น้ีด้อยโอกาสทีจ่ ะสร้างสรรค์ดว้ ยตนเอง ด้อยโอกาสสรา้ งสรรคจ์ ากการเล่น เพราะถูกประเคนด้วยของเล่นสำ� เรจ็ รปู จากความหวังดีของผใู้ หญ.่ ..” “...หวั ใจสำ� คัญทีส่ ดุ ตอ่ พัฒนาการเดก็ เลก็ คือการจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื สภาพแวดล้อมทีม่ วี ัตถพุ รกั พรอ้ มเกินไป ไมเ่ ออื้ สภาพแวดลอ้ มทีเ่ ออ้ื ทส่ี ดุ คือ สภาพทม่ี ปี ฏิสมั พนั ธ์ระหว่างมนษุ ย.์ ..” 233
234
บนั ทกึ ชดุ พลงั แหง่ วยั เยาว์ นี้ ตคี วามจากหนงั สอื The Importance of Being Little : What Young Children Really Need from Grownups ซึ่งเปน็ หนังสอื New York Times Bestseller เขียนโดย Erika Christakis บทส่งท้าย เป็นการ AAR หรือ reflection ของผม จากการตีความหนังสือเล่มนี้ และเขยี นบลอ็ ก ออกแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ กผ่ สู้ นใจในสงั คมไทย โดยพยายามทำ� ใหส้ าระจากบรบิ ท อเมริกัน เข้าใจได้และสอดคล้องกบั บรบิ ทไทย 235
รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ ระบดุ ังต่อไปนี้ “รัฐต้องดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บ คา่ ใชจ้ า่ ย รัฐต้องดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับ การศึกษาตามวรรคหน่ึง เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามสี ่วนร่วมในการดําเนนิ การดว้ ย รัฐต้องดําเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการ ในระบบต่าง ๆ รวมท้ังส่งเสริม ให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มี การร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดําเนินการ กํากับ ส่งเสริม และสนบั สนนุ ใหก้ ารจดั การศกึ ษา ดงั กลา่ วมคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐานสากล ทงั้ น้ี ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาตซิ งึ่ อยา่ งนอ้ ย ตอ้ งมบี ทบญั ญตั ิ เกยี่ วกบั การจดั ทาํ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ และการดาํ เนนิ การและตรวจสอบ การดําเนนิ การ ใหเ้ ป็นไปตามแผนการศึกษาแหง่ ชาตดิ ้วย 236
การศกึ ษาทง้ั ปวงตอ้ งมงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มวี นิ ยั ภมู ใิ จในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบ ตอ่ ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ในการดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้องดําเนินการ ใ ห ้ ผู ้ ข า ด แ ค ล น ทุ น ท รั พ ย ์ ไ ด ้ รั บ กา ร ส นั บ ส นุ น ค ่ า ใ ช ้ จ ่ า ย ใ น กา ร ศึ ก ษ า ตามความถนดั ของตน ให้จัดต้ังกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพอ่ื ลดความเหลอื่ มลำ�้ ในการศกึ ษา และเพอ่ื เสรมิ สรา้ งและพฒั นาคณุ ภาพ และประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้ มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมท้ังการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุน ได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย ท้ังน้ี ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกําหนดให้การบริหารจัดการกองทุน เป็นอิสระและกําหนดให้มีการใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ ดังกล่าว” การทีร่ ฐั ธรรมนญู ระบุความส�ำคญั ของเด็กเลก็ “ใหเ้ ดก็ เลก็ ได้รบั การดแู ลและพฒั นากอ่ น เข้ารับการศึกษา” จึงมีความเหมาะสมอย่างยิ่ง และจะเห็นว่า ถ้อยค�ำ “ก่อนเข้ารับการศึกษา” บ่งบอกการให้ความหมายว่า คณะผู้ร่างรัฐธรรมนูญมอง “การดูแลและพัฒนา” เด็กเล็ก แยก จากการศกึ ษาในโรงเรยี น ซึ่งผมเห็นด้วยอย่างยงิ่ 237
บันทึกชุด พลังแห่งวัยเยาว์ รวม ๑๒ ตอนก่อนหน้าน้ี ได้เตือนแล้วเตือนเล่า ว่า ในสหรัฐอเมริกา และอีกมากมายหลายประเทศทั่วโลก (รวมทั้งไทย) “การดูแลและพัฒนา” เดก็ เล็ก หรอื เด็กกอ่ นวยั เรียน กำ� ลงั ถูกวิธีการในโรงเรยี นเข้าครอบงำ� ความเป็น “preschool” กำ� ลังถกู ท�ำให้เปน็ school โดยตง้ั เปา้ หมายเนน้ การเรยี นวิชา หรืออา่ นออกเขยี นไดค้ ิดเลขเป็น แทนท่ีจะเน้นพัฒนา “ความเปน็ เดก็ ” ใหเ้ ต็มศักยภาพ บันทึกชุดนี้ มุ่งแสดงให้เห็นว่า วัยเยาว์ของเด็กเล็กมีพลังและคุณค่าในตัวของมันเอง ในทางปฏบิ ตั ิ หรอื ประยกุ ตเ์ จตนารมณข์ องรฐั ธรรมนญู ผดู้ ำ� เนนิ การระบบ “การดแู ลและพฒั นา” เดก็ เลก็ ตอ้ งระมดั ระวงั ไมต่ กหลมุ พรางของพลงั แฝงตา่ งๆ ทชี่ วนชกั ใบใหเ้ รอื เสยี ในนามของเจตนาดี ที่เม่อื ดำ� เนนิ การแลว้ เด็กเสยี ประโยชน์ ตามรายละเอยี ดต่างๆ ท่กี ล่าวมาแล้ว คนกลุ่มแรกท่ีเป็นต้นเหตุให้ระบบ “การดูแลและพัฒนา” เด็กเล็ก เดินผิดทางคือ พอ่ แม่ (สว่ นใหญ่ แตไ่ มใ่ ชท่ งั้ หมด) โดยตง้ั เปา้ หมาย ต่อศูนย์เด็กเล็กในทางท่ีผิด คือต้องการให้ เรียนวิชาการ ส่งผลให้เด็กขาดโอกาสเล่น อิสระเพื่อฝึกจินตนาการ เพ้อฝัน และการริเร่ิม สรา้ งสรรค์ รวมทงั้ ขาดโอกาสฝกึ ทกั ษะ ปฏสิ มั พนั ธ์ กบั เพือ่ นๆ และตอ่ ผู้ใหญ่คอื ครเู ด็กเลก็ มีผลให้ พฒั นาการทางสงั คมและอารมณ์ด้อยลงไป 238
แนน่ อนวา่ คนกลมุ่ ใหญท่ มี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ระบบ “การดแู ลและพฒั นา” เดก็ เลก็ คอื หนว่ ยงาน ท่ีก�ำกับดูแลศูนย์เด็กเล็ก ท่ีหากด�ำเนินการสนองความต้องการของพ่อแม่ส่วนใหญ่ ระบบ “การดูแลและพัฒนา” เด็กเลก็ ของไทยก็จะเดนิ ผดิ ทาง บุคคลส�ำคัญยิ่งใน “การดูแลและพัฒนา” เด็กเล็ก รองจากพ่อแม่ คือครูเด็กเล็ก ท่ีในอดุ มคตแิ ล้ว ตอ้ งผา่ นการศึกษามาอย่างดี และมีทกั ษะในการท�ำหน้าท่ีอยา่ งถกู ต้อง คือเรา ต้องได้คนเก่ง ดี มีความสามารถ และรักเด็ก มาเป็นครูหรือผู้ดูแลเด็กเล็ก และหากพิสูจน์ได้ ชดั เจนวา่ มีสมรรถนะสงู จรงิ ควรไดเ้ งนิ เดอื น ๔๐,๐๐๐ บาทขนึ้ ไป การศึกษาและการพฒั นาครูเดก็ เลก็ ควรค�ำนงึ ถึงสมรรถนะตามทร่ี ะบไุ ว้ในบนั ทกึ ชดุ นี้ สง่ิ ทพี่ งึ ระวงั อยา่ งยงิ่ คอื การตคี วามวธิ สี รา้ งพฒั นาการเดก็ เลก็ ผดิ ๆ ทำ� ใหก้ ารพฒั นาเดก็ เลก็ กลายเป็นแหล่งแสวงประโยชน์ของหลากหลายฝ่าย (ของผู้ใหญ่) มีผลให้เด็กเสียประโยชน์ คอื ขาดโอกาสไดพ้ ฒั นาเตม็ ศักยภาพของชว่ งวัย โปรดสังเกตว่า การปรนเปรอเด็กด้วยวัตถุหรือของเล่น ในหลายกรณี แทนที่จะก่อ คุณประโยชน์ต่อเดก็ อย่างทต่ี ั้งใจ อาจกลับก่อผลเสยี ตอ่ เดก็ ทำ� ให้เด็กขาดโอกาสทจี่ ะเลน่ อิสระ โดยใชค้ วามเพอ้ ฝนั จินตนาการ และการสร้างสรรคข์ องตน รว่ มกับเพือ่ นเล่น วิจารณ์ พานิช ๒๙ เม.ย. ๖๑ 239
ช่ือหนังสือ พลังแห่งวยั เยาว์ ISBN 978-616-370-050-6 บทความ ศาสตราจารยน์ ายแพทย์วจิ ารณ์ พานิช ที่ปรึกษา คณุ ปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร ผู้จัดการมูลนิธิสยามกมั มาจล พัฒนาเปน็ หนงั สอื โดย ส�ำนักพิมพส์ านอักษร ทีป่ รกึ ษาสำ� นกั พิมพ ์ รองศาสตราจารยป์ ระภาภทั ร นยิ ม บรรณาธิการ เก้ือกมล นิยม วาดภาพ อรพิมพ์ จิรศรปี ัญญา ออกแบบจัดรูปเลม่ อรุณโรจน์ รัตนพนั ธ์ กองบรรณาธิการ ศิริลักษ์ พทุ ธโคตร ภาวดิ า คำ� สตั ย์ จดั ทำ� โดย บริษทั สานอักษร จำ� กัด พิมพค์ รัง้ แรก พฤศจิกายน ๒๕๖๑ จำ� นวนพมิ พ์ ๕,๗๐๐ เล่ม พิมพท์ ่ี บรษิ ทั แปลน พริน้ ท์ตงิ้ จำ� กดั สงวนลิขสทิ ธ์ิตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธ์ิโดย ศาสตราจารยน์ ายแพทย์วิจารณ์ พานชิ สนบั สนุนการพิมพ์ ๓,๐๐๐ เลม่ โดย มลู นธิ สิ ยามกัมมาจล สนับสนุนการพมิ พ์ ๒,๗๐๐ เลม่ และการออกแบบจัดท�ำรูปเลม่ โดย มลู นธิ ิโรงเรยี นร่งุ อรณุ ตอ้ งการหนงั สอื ติดตอ่ มูลนิธสิ ยามกมั มาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ� กดั (มหาชน)สำ� นกั งานใหญ่ 240 อาคาร Plaza East เลขที่ ๑๙ ถนนรชั ดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐๒ ๙๓๗ ๙๙๐๑ ๗
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242