Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

Published by Plaifa Amornrattakun, 2019-06-23 00:01:46

Description: คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

Search

Read the Text Version

97 1.6 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ฯลฯ 2. ขอ มลู ในขอ 1 ถูกตองตามสภาพของโรงเรียนและเปน ปจจบุ นั 3. มีการจดั เกบ็ ขอ มูลสะดวกตอ การนาํ ไปใชประโยชนไ ดท นั ที 4. มีการนําขอมูลที่จัดเก็บไปใชประโยชนในการวางแผนการนิเทศภายใน โรงเรยี น 5. มขี อ มูลยอ นกลับทจ่ี ัดเกบ็ อยา งเปนระบบอยา งนอ ย 3 ปก ารศกึ ษา ขอ มลู ประกอบการพิจารณา 1. บนั ทกึ การประชุม 2. แฟม โรงเรียน 3. เอกสารที่เกย่ี วกบั การวิเคราะหส ภาพปจจบุ ัน ปญ หา และความตองการของ ครู 4. แบบสรปุ ผลสํารวจความตอ งการของบุคลากรในโรงเรยี น มาตรฐานที่ 3 โรงเรยี นวางแผนการนิเทศภายในโรงเรยี นท่ีสอดคลอ งกบั สภาพปญหา และความ ตองการของโรงเรียน เกณฑก ารพจิ ารณา 1. มีแผนการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 2. แผนการนิเทศภายในโรงเรียน สนองตอบปญหาและความตองการของ โรงเรียน 3. คณะบคุ คลในโรงเรยี น มสี วนรว มในการวางแผนการนิเทศภายในโรงเรยี น 4. กิจกรรมท่ีกําหนดไวในแผนฯ เปนกิจกรรมในการเสริมสรางความรู ความสามารถของครู 5. กจิ กรรมมคี วามเหมาะสมกบั สภาพและบุคลากรในโรงเรียน 6. มกี จิ กรรมพน้ื ฐาน เชน 6.1 การประชมุ 6.2 การสนทนาทางวิชาการ 6.3 การศึกษาเอกสาร 6.4 การสาธติ การสอน 6.5 การสังเกตการสอน ฯลฯ เกณฑก ารใหคะแนน คะแนน 5 หมายถงึ ปฏิบตั ไิ ดครบถวนทั้ง 6 รายการ คะแนน 4 หมายถงึ ปฏิบัตไิ ดท้งั 5 รายการ คะแนน 3 หมายถงึ ปฏิบตั ิไดทั้ง 4 รายการ คะแนน 2 หมายถึง ปฏิบตั ิไดทง้ั 3 รายการ คะแนน 1 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิไดท ั้ง 2 รายการ

98 ขอมลู ประกอบการพจิ ารณา 1. บนั ทึกการประชมุ 2. รายละเอียดกจิ กรรมทีด่ าํ เนินการการแกป ญ หาและพฒั นาความตอ งการของ ครู 3. ลําดบั ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงานตามกิจกรรมท่ีกาํ หนดในการนิเทศภายใน 4. โครงการนเิ ทศภายในโรงเรียน หรืองานนเิ ทศภายในโรงเรียน 5. คําส่ังแตงตัง้ บคุ ลากรผูรบั ผดิ ชอบกจิ กรรมนเิ ทศภายในโรงเรียน 6. คําสงั่ มอบหมายงานในการดําเนินกิจกรรมนิเทศภายในโรงเรยี น มาตรฐานท่ี 4 โรงเรียนดาํ เนินการตามแผนการนิเทศภายในโรงเรียน เกณฑก ารพจิ ารณา 1. มีการมอบหมายผรู ับผิดชอบดาํ เนินการตามแผน 2. มกี ารประชมุ ชแี้ จงแผนการนิเทศภายในโรงเรยี น 3. ผนู เิ ทศและผรู ับการนิเทศ ทราบแผนการนิเทศภายในโรงเรียน 4. ผนู เิ ทศดาํ เนินการตามแผนการนเิ ทศภายในโรงเรยี น ทีก่ าํ หนดไวได 5. ผอู าํ นวยการสถานศกึ ษา ใหการสนบั สนุนการดําเนินงานตามแผนฯ เชน 5.1 สนับสนนุ ดา นขวัญและกําลังใจ 5.2 สนบั สนนุ ดานงบประมาณ 5.3 สนบั สนุนดานวสั ดุอุปกรณ ขอ มลู ประกอบการพจิ ารณา 1. บันทกึ การประชุม 2. บนั ทกึ การปฏิบัติงาน ตามกจิ กรรมท่กี าํ หนดไวใ นแผนฯ 3. สมดุ บนั ทกึ การนิเทศประจําหองเรียน 4. รายงานผลการประเมินการปฏิบัติงาน ตามโครงการนิเทศภายในโรงเรียน ทั้งในดานปรมิ าณและคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 5 โรงเรยี นประเมินผลการนเิ ทศอยา งเปนระบบ และนําการประเมินมาปรบั ปรุงการ นิเทศของโรงเรียน เกณฑการพิจารณา 1. มกี ารกําหนดกิจกรรมการประเมนิ ผล ไวใ นแผนนเิ ทศภายในโรงเรียน 2. แผนการประเมนิ ทก่ี าํ หนดไว มีลกั ษณะครอบคลุมเร่ืองตอ ไปนี้ 2.1 ระยะเวลาที่จะประเมนิ 2.2 ส่ิงท่จี ะประเมิน 2.3 วิธกี ารประเมนิ 2.4 เคร่ืองมือประเมิน 2.5 ผูประเมนิ 3. ผูการเตรียมการประเมิน เชน จัดทําเคร่ืองมือในการประเมินการประชุม ชี้แจงใหบคุ ลากรในโรงเรียน ทราบแผนการประเมินและวัตถปุ ระสงคของการประเมิน เปน ตน 4. จดั ทํารายงานการประเมนท่คี รอบคลมุ เร่อื งตอไปน้ี

99 4.1 ผลการปฏิบตั ิงานตามแผนนิเทศภายในโรงเรยี น 4.2 การปรับปรุงการจัดการเรียนรูของครู และความกาวหนาในการ ปฏบิ ัตงิ าน 4.3 ความพงึ พอใจตอการนเิ ทศภายในโรงเรียน ขอ มูลประกอบการพิจารณา 1. บันทกึ การประชมุ 2. บันทึกการประเมินผลการนิเทศฯ ตามข้นั ตอนท่ีกาํ หนด 3. รายงานผลการประเมนิ โครงการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 4. นําขอมูลการวิเคราะหและผลการประเมินมาใชในการปรับปรุงแกไข และพัฒนา การดําเนนิ การนิเทศท่ีจะดาํ เนินการตอไป เกณฑการใหค ะแนน คะแนน 5 หมายถึง ปฏบิ ตั ิไดค รบถว นทั้ง 5 รายการ คะแนน 4 หมายถึง ปฏบิ ัติไดท ง้ั 4 รายการ คะแนน 3 หมายถึง ปฏบิ ัติไดท ั้ง 3 รายการ คะแนน 2 หมายถึง ปฏิบตั ิไดทั้ง 2 รายการ คะแนน 1 หมายถึง ปฏิบตั ิไดท ง้ั 1 รายการ หมายเหตุ เกณฑก ารใหค ะแนนชดุ น้ี ใชไดทกุ มาตรฐาน ยกเวนมาตรฐานที่ 3 (ตวั อยาง) แบบประเมินมาตรฐานการดําเนินงานนเิ ทศภายในโรงเรยี น โรงเรยี น .......................................... อาํ เภอ................................. จงั หวดั .............................................. คาํ ช้ีแจง โปรดเขยี นเครอื่ งหมาย  ในชองระดบั คะแนนในแตล ะขอ ของแบบประเมนิ ท่ี รายการ ระดับคะแนน 54321 1 โรงเรยี นกาํ หนดผรู บั ผดิ ชอบงานนิเทศภายในโรงเรยี นอยางชดั เจน ผูรับผดิ ชอบมคี วามเขาใจขอบขา ยของงานและความรบั ผดิ ชอบของตนเอง 2 โรงเรียนจดั ระบบขอมูลสารสนเทศ เพือ่ การวางแผนการนเิ ทศภายใน 3 โรงเรยี นวางแผนการนเิ ทศทส่ี อดคลองกบั สภาพปญ หาและความตองการ ของโรงเรยี น 4 โรงเรียนประเมนิ ผลการนิเทศอยางเปน ระบบและนําผลการประเมินมา ปรบั ปรงุ การนิเทศภายในโรงเรยี น (ลงช่ือ) ............................................................... ผปู ระเมิน (.................................................................) ตําแหนง ..................................................................... วันที.่ ......................... เดือน ......................... พ.ศ. .....................

บทท่ี 5 การรายงานผลการนเิ ทศ การรายงานผลเปนข้ันตอนเม่ือส้ินสุดการดําเนินงานตามแผนการนิเทศจะตองมีการสรุป และรายงานผลการดําเนนิ งานใหผูเกย่ี วขอ งทราบ โดยใชร ูปแบบการรายงาน การประเมินผลโครงการหรอื การวิจัย ในบทน้ีไดน าํ เสนอตัวอยา งการเขยี นรายงาน 2 รปู แบบ คอื 1. การรายงานการนิเทศ 2. การรายงานการประเมินผลโครงการ การรายงานการนเิ ทศ สว นประกอบของรายงานทส่ี าํ คญั มี 3 สว น คือ หมวดนําเรอื่ ง หมวดเน้ือเรอื่ ง และหมวดอางองิ 1. หมวดนําเร่ือง หรือสวนหนา ประกอบดว ย 1.1 ปกหนา หรอื ปกนอก คอื สวนทีอ่ ยหู นาสดุ หรือนอกสดุ ของเลม 1.2 ปกใน เปนใบรองปกอยตู อจากปกนอก 1.3 คาํ นาํ เปนการเขียนสรุปกรอบของการทํางาน/โครงการ ผลงานทางวิชาอยางยอๆ และกลาวขอบคุณผเู กย่ี วของทช่ี ว ยใหงานสาํ เร็จ 1.4 สารบัญ เปน ดัชนบี อกการเรียนลําดบั เน้ือเร่ือง สารบญั ภาพประกอบ 2. หมวดอางอิง หรือสว นหลงั ประกอบดวย 2.1 บรรณานุกรม เปนการเขียนลําดับรายช่ือ เอกสารตํารา สื่อ วัสดอุ างอิง หรือศึกษา คนควาในการจัดทํางาน/โครงการ และผลงานวชิ าการน้ี 2.2 ภาคผนวก เปน ขอมลู เฉพาะเจาะจง เพ่ือขยายหรือเปนสวนประกอบที่ชวยใหเขาใจ สว นเน้ือหามากยิ่งขนึ้ อนั เปนสวนทไี่ มส มควรจะนาํ ไปใชใ นหมวดเนอ้ื เร่อื ง เพราะอาจจะดูรุงรงั เกนิ ไป 3. หมวดเน้ือเรอ่ื ง หรือสวนเน้อื หา ประกอบดวย 3.1 บทท่ี 1 บทนาํ 3.2 บทที่ 2 เอกสารและหลกั วิชาทเ่ี ก่ยี วขอ ง 3.3 บทท่ี 3 วธิ ีการดําเนนิ งาน 3.4 บทที่ 4 ผลการดาํ เนนิ งาน 3.5 บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ บทท่ี 1 บทนาํ กลาวถงึ ความนาํ การกําหนดปญหา จุดประสงคในการนิเทศ นยิ ามศพั ทเ ฉพาะ ขอบเขตของการนิเทศ บทที่ 2 เอกสารและหลักวิชาการที่เกี่ยวของ กลาวถึง แนวคิด หลักการ หรือทฤษฎี ทนี่ ํามาสูรปู แบบ หรือวธิ ีการนเิ ทศนัน้ ๆ โดยอางองิ เอกสารทางวชิ าการทีเ่ ก่ยี วขอ ง บทท่ี 3 วธิ ีการดําเนินงาน เปนการบรรยายใหเห็นภาพต้ังแตการเริ่มตนดําเนินงานนิเทศ จนเสร็จการนิเทศ อาจเขียนเปนข้ันตอน เชน การหาความตองการจําเปนในการนิเทศ การวางแผน การนเิ ทศ การเตรียมการนิเทศ การดําเนนิ การนิเทศ และการประเมินผลและปรับปรุง บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน เปนการรายงานผลการนิเทศตามจุดประสงคของการนิเทศ ผลการวเิ คราะหขอ มูลจากการใชส ่ือ นเิ ทศ หรือผลการประเมินการนิเทศวิชา/งาน นั้นๆ วามีผลเกิดขึ้น ตรงตามจุดประสงคท ก่ี าํ หนดไวมากนอยเพียงใด

101 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ เปนการสรุปผลการดําเนินงานนิเทศ ทกุ ขน้ั ตอน มีการอภิปรายผลการสรปุ น้ัน พรอมใหข อเสนอแนะในการพัฒนาการนิเทศตอไป (ตัวอยาง) การเขียนรายงานการนิเทศ บทท่ี 1 บทนาํ ความนาํ ควรกลาวถงึ 1. จุดมงุ หมายของการนิเทศวิชา/งานวาสอดคลองกับนโยบายตนสังกัดท่ีสงเสริมในเรื่อง ทีน่ เิ ทศ หรอื รับผิดชอบอยู 2. เสนอขอมูลพื้นฐานในการปฏบิ ัติงานนิเทศ หรือสภาพการปฏบิ ัติงาน/การจัดการเรียน การสอนของครูในโรงเรยี นปจ จบุ ัน การกําหนดปญ หา ควรกลาวถงึ 1. สภาพปญ หาการนเิ ทศวิชา/งานทปี่ ระสบอยู หรือการจัดการเรียนการสอนของครูในวิชา ดงั กลาว แสดงการวิเคราะหส าเหตขุ องปญ หาทผ่ี านมา อาจจะมีตัวเลข สถิติประกอบเปนคารอยละ คะแนนเฉลยี่ หรือกราฟ/แผนภมู ิในชว งเวลายอนหลงั ที่ผานมา 2. สรุปแนวทางการดําเนินการแกปญหา/พัฒนางานนิเทศการจัดการเรียนการสอน หรืองานสนับสนุนการสอนตามที่คิดวาจะจัดทําเปนเทคนิคการนิเทศ หรือผลงาน/สื่อ/เอกสาร ประกอบการนเิ ทศ ฯลฯ จดุ ประสงคข องการดําเนินการ ควรเขียนเปน ขอๆ กลา วถึง ผลทีต่ อ งการใหเกิดขึ้น หลังจากดาํ เนนิ การนิเทศน้แี ลว โดยเขียน ใหส อดคลอ งกบั ปญหาทกี่ ลาวในบทนํา ขอบเขตของการดาํ เนินการ ควรเขียนถึงขอบเขตของเน้ือหาสาระการดําเนินงานนิเทศ กลุมเปาหมาย ระยะเวลา ในขอ กําหนด และขอ จํากัดเฉพาะเรอื่ งน้ี นิยามศัพทเฉพาะ เขยี นเฉพาะนยิ ามศัพทคาํ สาํ คัญ หรอื คําที่ไมแ นใจวาผูอานจะเขาใจตรงกันทุกคน ถามีศัพท บญั ญัติแลว ตอ งใชศพั ทบ ัญญัติ ประโยชนท ่คี าดวาจะไดร บั กลาวถึงประโยชนของการดําเนินการนิเทศวา เมื่อดําเนนิ การสําเร็จแลวจะเกดิ ประโยชน อะไรบาง หรือเกิดผลกระทบอะไรบา ง ควรเขียนใหสอดคลองกบั ความเปน มาของปญหา หรอื ความนํา

102 บทท่ี 2 เอกสารและหลักวชิ าทเ่ี กย่ี วของ ควรกลาวถงึ หลักวิชาการ หรือแนวคิดทฤษฎีทางการนิเทศที่ผูปฏิบัติงานไดศึกษาคนควา แลวนํามาวิเคราะห สังเคราะหเพ่ือสรุปเปนแนวคิด หลักการของตนในการดําเนินการวชิ า/งานน้ี อาจเขยี นเรยี งลําดับ ดงั นี้ 1. ความนํา สรุปภาพรวมของการศึกษาคนควา และจัดหมวดหมูเน้ือเร่ืองท่ีนําเสนอ เปน ตอนๆ เพ่ือใหผอู านเกดิ ความเขา ใจในภาพรวมของเอกสาร และหลกั วชิ าทีอ่ างอิงทง้ั หมด 2. ความหมายของหลักการ ที่นํามาอางอิง และคําอธิบายแนวคิด วิธีการที่กลาวอาง แลวสรุปลงทายเร่ืองแตละเรื่อง หรือแตละหลักการ แนวคิด ที่อางนั้น วาเก่ียวของหรือนําไปใช ในการนเิ ทศครง้ั นอ้ี ยา งไร บทท่ี 3 การดําเนินงาน บทนีต้ อ งเขียนใหละเอยี ดวา ไดท าํ อะไรบาง ตั้งแตเริ่มตนลงมอื ดําเนินโดยเขียนตามขั้นตอน การดําเนนิ งาน/กิจกรรม หรอื การดาํ เนนิ งานเชงิ ระบบของการนเิ ทศ 1. ศึกษาหาความตองการจําเปนในการนิเทศ (เขียนรายละเอียดใหชัดเจนมากขึ้นกวา บทที่ 1) 2. การวางแผนการนิเทศ โดยศึกษาคนควาเอกสารวิชาการตางๆ ดานการนิเทศ เพอื่ ตัดสินใจเลือกรูปแบบหรือวิธกี ารนิเทศวิชา/งานท่ีรับผดิ ชอบ (สรปุ จากเนื้อหาทีเ่ ขยี นไวใ นบทท่ี 2) ระบกุ ําหนดการนเิ ทศ กลมุ เปา หมายทร่ี ับการนเิ ทศ 3. การเตรียมการนิเทศ โดยการผลิตรูปแบบหรือวิธีการ/กิจกรรมการดําเนินการนิเทศ ทไี่ ดใชดําเนนิ การแกป ญหา/พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในวชิ า/งานท่ีรบั ผิดชอบ อยางไร/โดยวิธีการใด ยกตัวอยางประกอบ (หรอื อธบิ ายวิธีการสรางส่ือนิเทศ/วิธกี ารนเิ ทศใหชัดเจนตามสภาพท่ีปฏิบัติจริง) รวมท้ังสรางเคร่ืองมือประเมินผล/ตรวจวัดความสําเร็จของการนิเทศ วิธีสรางทําอยางไร เครื่องมือ มีลกั ษณะอยางไร นาํ ไปใชใ นขั้นตอนใดของการนิเทศ หาคุณภาพเครอ่ื งมือดวยวธิ ีใด 4. การดําเนินการนิเทศใหระบุข้ันตอนการดําเนินการนิเทศ สภาพการนิเทศท่ีปฏิบัติจริง บรรยากาศการนิเทศ เทคนคิ การนเิ ทศที่ใช รปู แบบ/วธิ ีการนเิ ทศ รายละเอยี ดการนเิ ทศแตล ะประเภท เชน การนเิ ทศทางไกล การนเิ ทศเปนกลมุ /รายบคุ คล การนิเทศแบบประชุมสมั มนา การนิเทศแบบให คําปรึกษาหารือ การนเิ ทศแบบคลนิ กิ เปน ตน (อาจจะนาํ เสนอรายละเอียด โดยมีแผนภาพประกอบ แลว ขยายความวาแตล ะกรอบทาํ อยางไร) 5. การประเมินและปรับปรุงการนิเทศ เขียนรายละเอียดของการประเมินผลการนิเทศ วาใชร ูปแบบการประเมนิ แบบใด และมรี ายละเอียดเก่ยี วกับเครอ่ื งมอื การประเมิน ตลอดจนแนวทาง การพฒั นาและปรบั ปรงุ การนิเทศ

103 บทที่ 4 ผลการดาํ เนนิ งาน บทน้ีเปนการรายงานผลทไี่ ดจากการประเมินผลการนิเทศวา เมอ่ื ดําเนนิ การตามรปู แบบ หรอื วิธีการในบทที่ 3 แลว มีผลเกิดข้ึนตามจุดประสงคหรือไม มากนอยเพียงใด การรายงานอาจ ดําเนนิ การ ดงั น้ี 1. เสนอผลทีเ่ กิดขน้ึ ตามจุดประสงคท ่ตี ั้งไว ตอบทีละจดุ ประสงค เปน ขอ ความบรรยาย หรอื เปน ตารางคะแนน ตัวเลข ประกอบ กราฟ แผนภูมิ ก็ได แลวแตลักษณะขอมูล ตามท่ีไดผลจากการ ประเมินตามเคร่ืองมอื ท่กี ําหนดในบทท่ี 3 2. ผลกระทบอ่นื ๆ นอกเหนือจากจุดประสงคท ก่ี ําหนดไว (ถา มี) บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ บทนค้ี วรขน้ึ ตน ดวยความนาํ โดยยอ ถึงการดาํ เนนิ งานนิเทศวชิ า/งานที่รับผิดชอบ อาจเขียน แยกเปน แตละตอน ดังนี้ สรุป เขียนดงั นี้ 1. สรุปจุดประสงคของการนิเทศ และวิธีการนิเทศโดยยอ (มาจากรายละเอียดท่ีเขียนไว ในบทท่ี 1 และบทท่ี 3) 2. สรุปผล เขียนเฉพาะผลตามจุดประสงคข องการนเิ ทศตามรูปแบบการประเมินที่กําหนด ไมต อ งแสดงตาราง แผนภูมิใดๆ อภปิ รายผล เขียนเพอ่ื แสดงใหเห็นวา ผลที่ไดจากการนิเทศ สอดคลอง หรอื ขัดแยงกบั หลักการแนวคิด ทฤษฎี หรอื ผลงานท่ผี อู ่นื ทําไวอยา งไร ถาสอดคลองก็จะทําใหผลการดําเนินงานมีความนาเชื่อถือได มากและยืนยันแนวคิด ทฤษฎีท่ีอางอิง ถาหากขัดแยงก็ใหเสนอความคิดเห็น หรือเหตุผล หรอื ขอ บกพรอง หรอื ขอ จํากัดท่ีทําใหผลเปน เชนนั้น (อาจแยกเขียนเปนขอๆ ตามผลการดําเนินงาน หรอื จุดประสงคก ไ็ ด) ขอเสนอแนะ ควรเขยี นไว 2 แบบ คอื 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการนิเทศไปใช ตลอดจนการพัฒนาหรือปรับปรุงการนิเทศ ในโอกาสตอ ไป โดยเขียนใหสอดคลอ งกบั ประโยชนทค่ี าดวาจะไดรับทีร่ ะบไุ วใ นบทที่ 1 2. ขอเสนอแนะในการดําเนินงานนิเทศในรูปแบบอื่นๆ หรือวิธีการนิเทศอ่ืนท่ีคาดวา จะดําเนนิ การไดผล ซ่ึงยังไมไดนํามาดําเนนิ การในครั้งนี้

104 การรายงานการประเมินผลโครงการ สวนประกอบของรายงาน ประกอบดว ย 3 สวน คอื สวนหนา สว นเน้อื หา และสว นทา ย 1. สว นหนา ประกอบดว ย 1.1 ปกนอก มชี ือ่ เรื่อง ผเู ขยี น และทีท่ าํ งาน 1.2 ปกใน มีชอื่ เรอ่ื ง ผเู ขยี น และทีท่ าํ งาน 1.3 บทคดั ยอ อาจมีทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 1.4 กิตติกรรมประกาศ (ถามี) เปนการกลาวคําขอบคุณบุคคลหรือหนวยงานตางๆ ท่ีใหความชวยเหลอื ในการประเมนิ ผลโครงการจนประสบความสาํ เร็จ 1.5 สารบัญ มีชื่อบทและหัวขอ ในบท 1.6 สารบญั ตาราง (ถา มี) 1.7 สารบัญภาพ (ถา ม)ี 2. สว นเนือ้ หา ประกอบดวย 2.1 บทท่ี 1 บทนํา 2.2 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กย่ี วขอ งกบั การประเมินผลโครงการ 2.3 บทที่ 3 วธิ กี ารประเมินผลโครงการ 2.4 บทที่ 4 ผลการประเมิน 2.5 บทท่ี 5 สรปุ ผลการประเมิน อภปิ รายผลและขอ เสนอแนะ 3. สว นทา ย ประกอบดวย 3.1 ภาคผนวก 3.2 บรรณานุกรม 3.3 ประวตั ิผปู ระเมนิ (ตัวอยาง) การเขียนรายงานการประเมนิ ผลโครงการ บทที่ 1 บทนํา ประกอบดว ยหัวขอตา งๆ ดงั นี้ 1. ความเปนมาของการประเมินผลโครงการ หรือใชคําวา หลักการและเหตุผล หัวขอน้ี การเขียนเหมือนกับที่เขียนไวในเคาโครงการประเมิน ดังน้ัน จึงเอามาใชไดเลยไมตองเขียนใหม แตถาเขียนไวไมคอยละเอียดเราสามารถเขียนบรรยายเพิ่มเติมอีกไดโดยเฉพาะตัวโครงการที่จะ ประเมนิ ถาโครงการมหี ลายหนา เราอาจจะสรปุ สวนรายละเอยี ดของโครงการนําไปไวในภาคผนวก 2. วตั ถปุ ระสงคข องการประเมนิ ผลโครงการ หัวขอนี้เหมือนกับในเคาโครงการประเมินผล โครงการ ในรายงานจะเขียนท้ังวัตถุประสงคทั่วไปกับวัตถุประสงคเฉพาะก็ได ผูประเมินบางคน จะเขยี นเฉพาะวัตถุประสงคเฉพาะอยางเดียว สวนวัตถุประสงคทั่วไปจะใสไวในตอนทายของหัวขอ ความเปนมาของการประเมินผลโครงการ

105 3. ขอบเขตของการประเมิน เขียนบอกวาประเมินโครงการอะไร ประเมินอะไรบาง และผูถกู ประเมนิ เปน ใครบาง 4. ขอจํากัดในการประเมิน (ถามี) เปนการบอกวาผูประเมินมีขอจํากัดอะไรบาง ในการประเมินคร้ังน้ี เชน ใชขอมูลท่ีมีอยูแลวจึงไมสามารถควบคุมการจัดเก็บใหมีคุณภาพได ถา ในเคาโครงการไดเ ขียนหวั ขอ น้ีไวในรายงานกต็ อ งมเี หมือนกัน 5. คํานิยามศัพทเฉพาะท่ีใชในการประเมิน คําศัพทท่ีจะนํามานิยามหรือใหความหมาย เอามาจากวัตถุประสงคของการประเมินผลโครงการ หรือวัตถุประสงคเฉพาะของการประเมินผล โครงการ การนิยามตองนิยามเชิงปฏิบัติการ เชน ความพรอม หมายถึง การมีพอหรือไมพอ ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการโครงการ ความสอดคลองหมายถึงวัตถุประสงคของโครงการ เขียนไดตรงกบั สภาพปญหา นโยบายในหัวขอหลักการและเหตุผลของโครงการ 6. ประโยชนท ีจ่ ะไดรับจากการประเมนิ ผลโครงการ การเขียนหัวขอน้ีเพ่ือตอบคําถามที่วา “ผลจากการประเมินผลโครงการน้ีจะนําไปใชอะไรไดบาง” เชน ตัดสินใจในการปรับปรุงกิจกรรม ของโครงการ หรือตัดสินใจวา จะมตี อหรือยกเลกิ โครงการ เปนตน บทท่ี 2 เอกสารทเี่ ก่ยี วขอ งกบั การประเมินผลโครงการ แนวการเขียนบทนี้ตอนแรกควรจะเปนการเสนอความคิด ทฤษฎีหรือรูปแบบ ในการประเมินผลโครงการของคนอ่ืนๆ และทายๆ ของตอนควรมีการสรุปโดยผูประเมิน และ ในการประเมินผลโครงการนี้จะใชรูปแบบการประเมินอยางไร ตอนตอมาจะเปนเอกสารเกี่ยวกับ รายงานการประเมินผลโครงการหรืองานวิจัยเชิงประเมินของคนอ่ืนๆ และตอนทายก็ควรสรุปผล รายงานการประเมินดวยวา สวนใหญป ระเมนิ โดยใชร ูปแบบการประเมินอะไร ผลการประเมินสว นใหญ เปน อยางไร สรุปแลวในบทน้ีอาจจะประกอบดวยหวั ขอ ดงั น้ี 1. แนวคิดทฤษฎีในการประเมนิ ผลโครงการ 2. รูปแบบในการประเมินผลโครงการ 3. รายงานการประเมินผลโครงการทเ่ี ก่ียวขอ ง

106 บทที่ 3 วิธกี ารประเมินผลโครงการ ประกอบดวยหัวขอตางๆ ดังนี้ (กอนที่จะเขียนหัวขอแรกควรกลาวนําวา การประเมิน โครงการนี้ มวี ัตถปุ ระสงคเพือ่ อะไรบาง) 1. ประชากรในการประเมิน เขียนบรรยายบอกวามีใครบางที่จะประเมินหรือเก็บขอมูล มจี าํ นวนเทา ไร จะประเมนิ ทั้งหมดหรอื ประเมนิ จากกลุม ตัวอยาง ถาใชกลุมตัวอยางก็ตองบรรยายวา ใชว ธิ กี ารสมุ ตวั อยางแบบใด 2. กลมุ ตวั อยางในการประเมิน (ถามี) บรรยายขั้นตอนในการสุม โดยขั้นตอนแรกบอกวา กําหนดขนาดตัวอยางแบบใดหรือใชก่ีเปอรเซ็นตของประชากร ขั้นตอนตอมาบอกวิธีการสุมวาสุม แบบใด เชน จบั ฉลาก สุม แบบแบงช้ัน หรือสมุ แบบหลายข้ันตอน (รายละเอียดหาอานไดในหนังสือ การวิจัยทางการศึกษาหรอื การวจิ ัยทางสังคมศาสตร) 3. รูปแบบการประเมิน ใชรปู แบบการประเมินของใคร หรือไมไดใชรูปแบบการประเมิน ของใคร ผปู ระเมนิ กําหนดรูปแบบการประเมนิ เองโดยการขอคาํ ปรึกษาจากผูบงั คบั บญั ชา หรอื ยดึ ตาม วัตถปุ ระสงคของโครงการเปน หลัก ถาใชรูปแบบ CIPP การเขียนบรรยายหัวขอนี้เขียนแบบที่เขียน เปน ตวั อยา งในเคาโครงการประเมินผลโครงการไดเลย 4. เคร่ืองมือที่ใชในการประเมินผลโครงการ มีเคร่ืองมืออะไรบางที่ใชในการเก็บขอมูล ซึ่งสอดคลองกับรูปแบบการประเมินถาไมไดสรางเองใชเครื่องมือของใครตองเขียนอางอิงมาดวย กรณีสรางเองตอ งบรรยายขน้ั ตอนการสรางอยางละเอียดของเคร่ืองมอื แตละชนิด 5. การเกบ็ รวบรวมขอ มูล ขอมูลแตล ะอยางท่กี ําหนดไวในรูปแบบการประเมนิ เก็บอยางไร หรือเครอ่ื งมอื ท่ใี ชในการประเมินผลโครงการใชเกบ็ ขอมลู อยางไร เก็บในชวงเวลาใด ซึง่ ตองสอดคลอ ง กับท่ีเขยี นไวใ นเคาโครงการประเมินผลโครงการ 6. วิธีวิเคราะหขอมูล ขอมูลแตละอยางใชสถิติอะไร บรรยายใหสอดคลองกับท่ีเขียนไว ในเคาโครงการประเมินผลโครงการ 7. การตัดสินคุณภาพของการประเมิน เปนการบอกเกณฑที่ใชในการตัดสินขอมูลตางๆ ซึง่ จะตองสอดคลองกับรปู แบบการประเมนิ ทีก่ าํ หนดไว และเกณฑท ีก่ ําหนดก็ตองตรงกับท่ีกําหนดไว ในเคา โครงการประเมินผลโครงการหัวขอนีบ้ รรยายเหมือนกับทเี่ ขยี นไวใ นเคา โครงไดเลย บทท่ี 4 ผลการประเมิน การเสนอผลการประเมินควรเสนอเรียงตามวัตถุประสงคของการประเมิน หรือเปนตอนๆ ตามวตั ถุประสงคของการประเมิน ถา ขอ มูลของตอนใดเปนปริมาณจะเสนอเปนตาราง

107 บทที่ 5 สรุปผลการประเมิน อภิปรายผลและขอ เสนอแนะ การเขียนบทท่ี 5 กอนท่ีจะถึงหัวขอสรุปผลการประเมิน ควรจะกลาวถึงวัตถุประสงคของ การประเมินผลโครงการและสรุปวธิ กี ารประเมินกอ น แลว จึงเร่มิ หวั ขอสรปุ ผลการประเมิน 1. สรุปผลการประเมิน จะสรุปเปนขอๆ ตามวัตถุประสงคของการประเมินผลโครงการ หรือสรปุ ผลตามคําถามกวางๆ ทกี่ าํ หนดข้นึ ในการประเมินท่กี ําหนดไวในเคาโครงการประเมิน 2. อภิปรายผล เปนการใหเหตุผลเพื่อสนับสนุนวาทําไมผลการประเมินจึงเปนอยางน้ี ทําไมโครงการจึงประสบความสําเร็จ หรอื ไมประสบความสําเร็จ ซ่ึงเหตุผลที่จะนํามาอธิบายตรงนี้ เอามาจากบทท่ี 2 เกย่ี วกับแนวคิด ทฤษฎี รายงานการประเมินผลโครงการของคนอื่นๆ ที่ประเมิน โครงการลักษณะเดยี วกัน และเหตุผลของผูประเมนิ เอง 3. ขอเสนอแนะ อาจจะแบง ออกเปน 2 หวั ขอ ยอย คอื ขอ เสนอแนะในการนาํ ผลการประเมินไปใช และขอเสนอแนะในการประเมินผลโครงการ การเขียนขอเสนอแนะในการนําผลการประเมินไปใช ใหผูประเมินตั้งคําถามวา ถาใครจะนําผลการประเมินคร้ังนี้ไปใชควรจะตองทําอยางไรบาง หรือสามารถนําผลการประเมนิ ไปใชประโยชนในดานใดบาง เชน จากการประเมินผลโครงการนี้ พบปญหาในการจัดกิจกรรม ดังนั้น ควรจะปรับหรือแกไขกิจกรรมของโครงการใหมโดย เพ่ิมระยะเวลาในการฝกปฏิบัติใหมากขึ้นกวาเดิม มีวิทยากรกลุมท่ีจะชวยใหคําปรึกษา เปนตน สว นขอ เสนอแนะในการประเมินผลโครงการเปนการเสนอแนะวา ถาจะประเมินผลโครงการแบบนี้ ควรจะทําอยางไร หรือควรจะเพม่ิ เติมสวนใด เชน ควรจะประเมนิ ผลโครงการโดยใชรูปแบบ CIPP หรือควรประเมินผลกระทบของโครงการดวย เปนตน การเขียนขอเสนอแนะ ท้ังขอเสนอแนะ ในการนาํ ไปใชแ ละขอเสนอแนะในการประเมนิ ผลควรเขียนเปน ขอ ๆ ใหชดั เจน

บทที่ 6 บทสรุป การนิเทศภายในเปน กระบวนการสําคญั ในการขับเคล่ือนและพัฒนางานในทุกดานของโรงเรียน เปนการกํากับใหการพัฒนาเปนตามวัตถุประสงคตามระยะเวลาท่ีกําหนดไวในแผนกลยุทธของ แตล ะโรงเรยี น โดยมีเปาหมายรว มกันทีส่ าํ คัญคอื การยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นและพัฒนาคณุ ภาพ ของนักเรียนเทียบเคียงกับมาตรฐานสากลพัฒนาคุณภาพการแขงขันกับนักเรียนในประเทศตางๆ เพ่ือรองรับเขา รว มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นอยา งภาคภมู ใิ นป พ.ศ. 2558 การนํากระบวนการนเิ ทศไปใชใ หเกิดประโยชนด ังทก่ี ลา วมาจาํ เปนตองศึกษาองคประกอบตา งๆ ดวยการศึกษาวิจัยและพัฒนาใหเหมาะกับบริบทขององคกร ศักยภาพเฉพาะของครู และนักเรียน ซึ่งเปน ผลผลติ ที่สําคัญท่สี ุด ดังน้ัน ผูบรหิ ารโรงเรียน ซ่ึงประกอบไปดว ย ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ และคณะกรรมการนิเทศภายในของโรงเรียน ซ่ึงประกอบไปดวย หัวหนากลุมสาระฯ หัวหนาระดับ หัวหนา อาคาร และผูทมี่ สี ว นไดส ว นเสยี ของโรงเรยี น จาํ เปนตองมีการใหความรูค วามเขา ใจในกระบวนการนิเทศ บทบาทหนาท่ีของตนเอง และประโยชนท่ีจะไดรับอยางชัดเจน ซ่ึงจะนําไปสูการมีสวนรวมในการดําเนินการ นเิ ทศภายในอยา งตอเนอื่ ง ทําใหไดรับความสาํ เรจ็ ตามวตั ถุประสงคท ่วี างไว นอกจากนี้ ส่ิงสําคัญหรือขอควรคํานึงในการนําระบบการนิเทศภายในไปใชในการขับเคล่ือน และพัฒนางานในโรงเรียน คอื องคประกอบเลก็ ๆ นอยๆ ท่อี ยูน อกระบบนเิ ทศภายใน ไดแ ก 1. ภาวะผูนําทางผบู รหิ าร ซงึ่ เปน บคุ คลกลุมสาํ คัญของการนเิ ทศ กํากบั ติดตามงานโดยจะตอ ง เปนผรู อบรใู นเร่ือง หรือประเด็นทีก่ ําหนดเปน หวั ขอนิเทศ มคี วามสามารถในการพัฒนาตนเอง ใหเปนท่ี เชอ่ื มนั่ และศรัทธาของทีมงานนเิ ทศ และผูรับการนเิ ทศในโรงเรียนได 2. สื่อนวัตกรรมเครื่องมือท่ีใชในการนิเทศ ตองผานการสังเคราะหใหเหมาะกับบริบท ของโรงเรยี น ศกั ยภาพของครู บุคลากร และนักเรยี นของโรงเรียนเหมาะสมกบั วัตถุประสงค และกลยุทธ ในการขับเคลอื่ นและพัฒนางานของโรงเรยี น 3. บรรยากาศในการดาํ เนินงานในระบบนิเทศภายใน ผูบ ริหารและผทู ี่มีสวนเกยี่ วของพยายาม ใหเ ปน บรรยากาศและส่ิงแวดลอ มในเชงิ บวก เปนบรรยากาศทผี่ อ นคลาย การใชส ุนทรยี ภาษา เชิญชวนให ผทู เี่ กย่ี วของ มีสวนรวมในกระบวนการนิเทศ การสรางบรรยากาศท่ีดใี นการประชุมช้ีแจง การปรับปรงุ งาน การใชเ ครอื่ งมือในการนิเทศ ฯลฯ ตามแนวทางของการนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร 4. การใหขอมูลยอนกลับกับผูทําไดรับการนิเทศตองเปนไปโดยเร็วท่ีสุด เนื่องจากครูและ บุคลากรของโรงเรียนท่ีเขารวมในกระบวนการนิเทศจะดวยความยินดีหรือไมก็ตาม ยอมมีความอยากรู ขอมูลจากเครื่องมือท่ีคณะกรรมการนิเทศนํามาใช ดังน้ัน ขอมูลยอนกลับเปนส่ิงจําเปนท่ีจะทําให กระบวนการนิเทศดาํ เนนิ ตอไปได การนาํ เสนอขอ มูลยอ มกลับ ถาเปนขอมูลเชงิ บวก สามารถเปด เผยเปน สาธารณะได ถาเปนขอมูลเชิงลบ ควรปรับปรุง ใหเปนขอมูลยอนกลับสวนตัว หรือสรุปเปนภาพรวม ของกลุม และนาํ มาเปน ประเด็นในการนเิ ทศรอบตอไป 5. การสรปุ รายงานกระบวนการนิเทศ จะตองมกี ารสรุปภาพรวมของกระบวนการนิเทศภายใน อยา งนอ ยภาคเรียนละ 1 คร้ัง นาํ เสนอขอมูลของการนิเทศในภาพรวมของโรงเรยี น ผลของการขับเคล่อื น และพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในที่ประชุมบุคลากรของโรงเรียน และกําหนดกลยทุ ธในการ พัฒนางานตอ ไป

109 6. การสํารวจความพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของ เปนความจําเปนในการพัฒนากระบวนการ การนเิ ทศภายในใหย งั่ ยนื ผบู ริหารและผทู ่ีมสี ว นเกยี่ วขอ งในการนิเทศ ตอ งคาํ นงึ ถึงความพึงพอใจของครู และบุคลากร ที่ไดรับการนิเทศและพรอมท่ีจะปรับปรุงการดําเนินงานตามคําแนะนําหรือรองขอ เพื่อใหเกดิ บรรยากาศเชงิ บวกในองคก ร นอกจากนั้น ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนกับคุณครูผูไดรับ การนเิ ทศจะเปน ตวั ยืนยันความพึงพอใจของครูตอการดาํ เนนิ งานในระบบนเิ ทศภายในไดเปนอยางดี สภาพความสําเร็จและความลม เหลวของการนเิ ทศภายในโรงเรียน สภาพความสําเร็จและความลม เหลวของการนิเทศภายในโรงเรยี นมขี อคดิ เหน็ ดงั น้ี 1. สภาพความสําเร็จ การนิเทศภายในโรงเรียนเปนกระบวนการท่ีสําคัญและจําเปนอยางยิ่งท่ีทุกสถานศึกษา ตองกําหนดเปน นโยบายและดาํ เนนิ การตามบทบาทภารกจิ ของการจัดการศกึ ษายคุ ใหม ซึ่งสภาพตัวบงช้ี ท่แี สดงถึงความสําเร็จ มีดังน้ี 1.1 ผูบริหารตระหนักอยูเสมอวา การนิเทศภายในโรงเรียนเปนภารกิจหลักอยางหน่ึง ของการบริหารโรงเรียนทีต่ องใหค วามสาํ คัญ โดยกําหนดเปนนโยบายสูก ารปฏบิ ัตทิ ีช่ ัดเจน 1.2 ผูบริหารสามารถแสดงใหเห็นถึงสภาพความเปนผูนํา มีวิสัยทัศนกวางไกล มีความ กระตอื รือรน ตลอดจนเปนผนู าํ ทางความคดิ และการเปลี่ยนแปลง 1.3 ครูมีขวัญกําลังใจในการทํางาน อุทิศเวลาและเสียสละเพ่ืองานการจัดการเรียนรู ตามความสามารถและศกั ยภาพของแตล ะบคุ คล 1.4 หองเรียน ส่ิงอํานวยความสะดวก และสภาพแวดลอม มีความพรอมเพ่ือรองรับ การปรับเปลย่ี นทางการจัดการศกึ ษายคุ ใหม 1.5 ชุมชน ทองถิ่น และผูมีสวนรวม ใหความรวมมือในการพัฒนาโรงเรียนทุกๆ ดาน และทกุ ๆ โอกาส 1.6 เกดิ การคดิ คนและพฒั นานวตั กรรมใหมๆ ในการเรยี นรอู ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.7 โรงเรยี นมีเสนแนวโนมของการพัฒนาท่ีสูงขึ้น เปนองคกรตนแบบ มีความเปนมาตรฐาน ดา นการเรยี นรู มุงสอู งคก รแหงความเปน เลิศในอนาคต 2. สภาพความลม เหลว 2.1 ผูบริหารไมใ หความสําคัญของการนิเทศภายในโรงเรียน โลกทัศนแคบ ไมสามารถ สรางภาวะผูนําใหเกิดข้ึนได อาจมาจากหลายสาเหตุ เชน ขาดความรู ความสามารถและขาดทักษะ มเี จตคติ เชิงลบตอ การนเิ ทศภายในโรงเรียน 2.2 ครูในโรงเรียนขาดความกระตือรือรน ขาดความรับผิดชอบตอการพัฒนางาน ขาดความรวมมอื ในองคก ร เกิดความแตกแยกไมม คี วามสามคั คใี นหมคู ณะ 2.3 เกิดภาวการณขาดแคลนปจจัยเสริมสรางการเรียนรูในทุกๆ ดาน เชน ส่ือไมพรอม เครอ่ื งมือไมม หี รอื ไมเ พียงพอ สภาพแวดลอ มไมเ อ้อื อํานวยท่จี ะรองรบั การเปลยี่ นแปลง 2.4 ขาดความรวมมือจากชุมชนและทองถิ่นท่ีจะใหการสนับสนุนการจัดการเรียนรู ของสถานศกึ ษา 2.5 แนวโนมของการพัฒนาตาํ่ ลง ไมเ กดิ ผลผลิตตามท่คี าดหวัง

110 การนิเทศภายในโรงเรียน จะประสบผลสําเร็จหรือไมอยางไร ขึ้นอยูกับองคประกอบตางๆ คือ ระบบขอมูลและสารสนเทศ เพื่อใชในการวางแผนการนิเทศภายในโรงเรียน ระบบการวางแผนนิเทศ อยางมยี ุทธศาสตร ระบบการจัดการที่เนนการพัฒนาครแู ละนกั เรยี น ระบบการติดตาม ประเมินผลท่ีเนน ผลงานครู และระบบการเผยแพรแ ละขยายผล

บรรณานุกรม กมล สดุ ประเสริฐ. การวจิ ัยเชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ว นรว มของผปู ฏบิ ตั ิงาน. กรุงเทพฯ : สาํ นักงาน โครงการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย, 2537. กรองทอง จิรเดชากลุ . นวตั กรรมการศกึ ษาชุดคูมือการนิเทศภายในโรงเรยี น. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พ ธารอักษร จํากัด, 2550. กติ มิ า ปรดี ดี ิลก. การบรหิ ารและการนเิ ทศการศกึ ษาเบ้ืองตน. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรบณั ฑติ , 2541. การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั , ศนู ย. คมู อื การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร, 2555. เขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธานี เขต 1, สํานกั งาน. คมู อื การนเิ ทศภายในโรงเรียน. สรุ าษฎรธ านี : กลุมงานนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบริหารและการจดั การศกึ ษา กลมุ นเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สาํ นกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สุราษฎรธ านี เขต 1, 2546. เขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาชมุ พร เขต 1, สํานักงาน. ชดุ การศกึ ษาดวยตนเอง “แนวทางการนิเทศภายใน”. ชมุ พร : กลมุ นิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชมุ พร เขต 1, 2550. เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสมทุ รสาคร, สํานกั งาน. แนวทางการนเิ ทศภายในโรงเรยี นดา นวชิ าการ เพอ่ื การเปลย่ี นแปลง. สมทุ รสาคร : กลุม งานนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการ จัดการศกึ ษา กลุมนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ประถมศึกษาสมุทรสาคร, 2554. เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 11, สํานกั งาน. ผลการนิเทศการศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2. สุราษฎรธานี : กลมุ งานนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบริหารและการจดั การศกึ ษา กลุมนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สํานักงานมัธยมศกึ ษา เขต 11, 2555. คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหงชาต,ิ สํานักงาน. คมู อื ผบู รหิ ารโรงเรียน : การดาํ เนินงานการนิเทศ ภายในโรงเรียนประถมศกึ ษา. เอกสาร ศน.ที่ 66/2534. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพค ุรสุ ภา ลาดพราว, 2534. _______. ชดุ อบรมดว ยตนเองการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศกึ ษาอยา งเปน กระบวนการ : กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพค รุ สุ ภา ลาดพราว, 2541. จํารัส นองมาก. บทบาทของผบู รหิ ารในการนิเทศภายในหนว ยงาน. วารสารการศึกษาเอกชน (3 กันยายน 2532) หนา 8 ฉวีวรรณ พนั วนั . การนิเทศภายในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาลาํ พูน เขต 2. การคนควาอิสระ (การบรหิ ารการศึกษา). เชยี งใหม : บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม, 2552. สบื คนเม่ือ 4 ธันวาคม 2552, จากฐานขอ มลู วทิ ยานิพนธ http://www.book.cmru.ac.th เฉลิมชยั พันธเ ลศิ . การชแี้ นะ (Coaching) สอ่ื PowerPoint คณะครศุ าสตรจุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั , 2550. ชารี มณศี ร.ี การนเิ ทศการศกึ ษา. พมิ พค ร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร : ศลิ ปาบรรณาการ, 2538. _______. การนิเทศการศกึ ษา. พมิ พค ร้ังที่ 4. กรงุ เทพมหานคร : อมรการพมิ พ, 2542.

112 ดสุ ติ ทวิ ถนอม. การนิเทศการศกึ ษา : หลกั การและการปฏบิ ัต.ิ นครปฐม : โครงการสงเสริม การผลติ ตาํ ราและเอกสารการสอน. คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, 2540. ทวีทอง หงษว ิวฒั น. การมสี ว นรว มของประชาชน. กรุงเทพฯ : ศูนยศ ึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, 2527. ธรี ศกั ด์ิ เล่อื ยไธสง. การนิเทศภายในโรงเรียน. สาสนน เิ ทศการศกึ ษา, ปท่ี 4 (1) : 2, 2550. นติ ยา เงินประเสริฐศร.ี การวิจัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมีสวนรวม. วารสารสงั คมศาสตรแ ละมนษุ ยศาสตร 2:7 (กรกฎาคม – ธันวาคม): หนา 61-71, 2544. บญุ มี พันธไุ ทย. การประเมนิ ผลโครงการในโรงเรยี น. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั พิมพศูนยส ง เสริม วิชาการ, 2545. ปรยี าพร วงศอนตุ รโรจน. การนิเทศการสอน. กรงุ เทพมหานคร : ศูนยส่ือเสริมกรุงเทพฯ, 2535. _______. การนเิ ทศการสอน. กรุงเทพมหานคร : ศูนยส อื่ เสรมิ กรุงเทพฯ, 2548. มงคล สภุ กรรม. การนิเทศภายในโรงเรียนอยา งเปน ระบบเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โรงเรยี นบา นตอ ง อาํ เภอสุวรรณคหู า จังหวัดหนองบัวลาํ ภ.ู หนองบวั ลําภู : วิทยานพิ นธ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2546. มนตรี ภูม.ี โลกใหม : ตนื่ รูสจู ุดหมายแหง ชวี ิต กรงุ เทพมหานคร : ดเี อ็มจ,ี 2549. เยาวภา เดชะคุปต. การบรหิ ารและการนเิ ทศการศกึ ษาปฐมวยั . กรงุ เทพมหานคร : สํานักพมิ พแ มค็ , 2542. วไลรตั น บญุ สวสั ด.์ิ หลกั การนเิ ทศการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : อารต กราฟฟค , 2538. วัชรา เลาเรยี นด.ี การนิเทศการสอน. พิมพค รงั้ ท่ี 3 : นครปฐม : ภาควิชาหลกั สตู รและวธิ สี อน คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร นครปฐม, 2550. ศึกษานิเทศก กรมสามญั ศกึ ษา จงั หวัดสุราษฎรธานี, หนว ย. เอกสารประกอบการอบรม การบรหิ ารระบบการนเิ ทศภายในโรงเรยี น, 2545. การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั , ศนู ย. คมู อื การนิเทศภายในสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร, 2555. สมพงศ เกษมสนิ . ขอ แนะนําในการเขียนรายงาน กรงุ เทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ , 2519. สุรศกั ดิ์ ปาเฮ. การนเิ ทศภายในโรงเรยี น. วารสารวชิ าการ, 5(8) : 25-27, 2545. สุเทพ เมฆ. การนิเทศภายในโรงเรียน. วารสารการศกึ ษาเอกชน 7,70 (พฤศจกิ ายน 2540). สุภางค จนั ทวานชิ . การวิเคราะหขอ มูลในการวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ. กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พ จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั , 2531. สงดั อทุ รานนั ท. การนเิ ทศการศกึ ษา หลกั การ ทฤษฎี และปฏิบตั ิ. พมิ พค รัง้ ท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พมติ รสยาม, 2530. _______. การนเิ ทศการศกึ ษา หลกั การ ทฤษฎี และปฏบิ ตั ิ. พมิ พค รงั้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพม ติ รสยาม, 2538. Costa, A. & Garmston, R. (2002). Cognitive coaching: a foundation for renaissance schools. Norwood, MA : Christopher-Gordon. Jennifer A.Moon, A Handbook of Reflective and Experiential Learning : Theory and Practice Book Newyork : Routledge Falmer.

113 Knight Janet. Internationalization Remodeled: Definition, Approaches, and Rationales, 2004. From http://jsi.sagepub.com/content/8/1/5.short สืบคนเม่ือ june1, 2555 Osborn, Alex.F. (1963) Applied imagination: Principles and procedures of creative problem solving (Third Revised Edition). New York, NY: Charles Scribner’s Sons.

ภาคผนวก เครื่องมอื การนิเทศภายในโรงเรยี น

โรงเรยี น 115 แบบตรวจสอบองคป ระกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา อาํ เภอ คําชีแ้ จง ใหค ณะกรรมการนเิ ทศ ตรวจสอบองคประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา ตามลาํ ดบั ดังนี้ 1. ตรวจสอบองคป ระกอบหลักสตู รสถานศึกษาตามรายการท่ีกาํ หนด แลวเขียนเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ งผลการตรวจสอบตามความเปน จรงิ 2. บนั ทึกแนวทางในการปรบั ปรุง/แกไ ขแตล ะรายการเพ่อื สามารถนาํ ไปใชป ระโยชนใ นการ ปรบั ปรุงและพัฒนาสถานศกึ ษาตอ ไป 3. หากมขี อคดิ เห็นหรอื เสนอแนะอนื่ ใหบ นั ทึกในขอ เสนอแนะอนื่ ๆ 4. สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองคป ระกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา โดยใสเ ครอ่ื งหมาย  ลง ในตารางแสดงผล การตรวจสอบภาพรวมองคประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษาการใหระดบั คะแนน คณะกรรมการนิเทศ ใหระดับคณุ ภาพตามที่ไดพ จิ ารณาตรวจสอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โดยเขยี น เคร่ืองหมาย  ลงในชอ งระดับคณุ ภาพ ดังนี้ ระดับคุณภาพ 3 หมายถงึ ครบถว น ถกู ตอ ง สอดคลอ ง เหมาะสมทกุ รายการ ระดบั คุณภาพ 2 หมายถงึ มีครบทุกรายการ แตม ีบางรายการควรปรับปรุงแกไข ระดับคณุ ภาพ 1 หมายถงึ ไมมี มีไมค รบทกุ รายการ ไมส อดคลอ ง ตอ งปรบั ปรุงแกไ ข ตอนท่ี 1 รายการ ระดบั คุณภาพ ขอเสนอแนะ 123 ปรบั ปรุงแกไ ข 1. สว นนาํ 1.1 ความนาํ แสดงวสิ ยั ความเชอ่ื มโยงระหวางหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กรอบหลักสตู รระดับ ทอ งถน่ิ จดุ เนน และความตอ งการของโรงเรยี น 1.2 วิสัยทศั น 1.2.1 แสดงภาพอนาคตทพี่ งึ ประสงคข องผเู รยี นที่ สอดคลองกบั วสิ ยั ทศั นข องหลกั สตู รแกนกลางฯ 1.2.2 แสดงภาพอนาคตทีพ่ งึ ประสงคข องผูเรยี น สอดคลอ งกบั กรอบหลกั สตู รทอ งถิน่ 1.2.3 แสดงภาพอนาคตท่พี งึ ประสงคข องผูเ รยี น ครอบคลมุ สภาพความตอ งการของโรงเรยี น ชมุ ชน ทองถน่ิ 1.2.4 มคี วามชดั เจน สามารถปฏบิ ตั ิได 1.3 สมรรถนะสาํ คญั ของผูเ รยี น มคี วามสอดคลอ งกบั หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

116 รายการ ระดบั คณุ ภาพ ขอเสนอแนะ 123 ปรบั ปรงุ แกไข 1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค 1.4.1 มีความสอดคลอ งกบั หลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 1.4.2 มีความสอดคลองกบั เปาหมาย จดุ เนน กรอบ หลกั สตู รระดับทองถิน่ 1.4.3 สอดคลอ งกบั วิสยั ทศั นข องโรงเรยี น 2. โครงสรางหลกั สูตรสถานศกึ ษา 2.1 โครงสรางเวลาเรียน 2.1.1 มกี ารระบุเวลาเรียนของ 8 กลมุ สาระการเรยี นรู ที่เปน เวลาเรยี นพ้นื ฐานและเพม่ิ เตมิ จาํ แนกแตล ะชนั้ ปช ดั เจน 2.1.2 มีการระบเุ วลาจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู รียนจําแนก แตละช้ันปช ดั เจน 2.1.3 เวลาเรยี นรวมของหลกั สตู รสถานศกึ ษา สอดคลองกบั โครงสรา งเวลาเรยี นตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อยางชดั เจน 2.2 โครงสรางหลกั สูตรชั้นป 2.2.1 มกี ารระบรุ ายวิชาพื้นฐานทั้ง 8 กลุมสาระการ เรยี นรู พรอมทงั้ ระบเุ วลาเรยี นและหรอื หนว ยกติ 2.2.2 มีการระบุวชิ าเพมิ่ เตมิ ทีส่ ถานศึกษากาํ หนด พรอมทัง้ ระบุเวลาเรยี น และหรือหนวยกติ 2.2.3 มกี ารระบกุ ิจกรรมพฒั นาผเู รียน พรอ มทง้ั ระบุ เวลาเรยี น 2.2.4 มรี ายวิชาพ้ืนฐานที่ระบุรหัสวิชา ช่อื รายวชิ า จาํ นวนเวลาเรียนและหรอื หนวยกติ ไวอยางถูกตองชดั เจน 2.2.5 มรี ายวชิ าเพิม่ เติม/กิจกรรมเพ่ิมเติมสอดคลอง กบั วสิ ยั จุดเนน ของโรงเรยี น 3. คาํ อธบิ ายรายวิชา 3.1 มีการระบรุ หสั วิชา ชื่อรายวชิ า และช่อื กลมุ สาระการ เรยี นรูไ วอ ยางชดั เจน 3.2 มกี ารระบชุ นั้ ปที่สอนและจํานวนเวลาเรยี นและหรือ หนว ยกติ ไวอ ยางถูกตอ งชดั เจน 3.3 การเขยี นคาํ อธบิ ายรายวิชาเขยี นเปน ความเรยี งโดย ระบอุ งคค วามรู ทักษะกระบวนการและคณุ ลักษณะหรอื เจตคติ ที่ตองการ 3.4 มีการจัดทาํ คําอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐานครอบคลมุ ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง

117 รายการ ระดบั คณุ ภาพ ขอ เสนอแนะ 123 ปรับปรุงแกไข 3.5 มีการระบตุ วั ชว้ี ดั ในรายวิชาพืน้ ฐานและจาํ นวนรวม ของตัวช้ีวัด 3.6 มกี ารระบผุ ลการเรียนรู ในรายวิชาเพ่มิ เตมิ และจาํ นวน รวมของผลการเรยี นรู 3.7 มกี ารกําหนดสาระการเรยี นรูท อ งถ่นิ สอดแทรกอยูใ น คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐานหรอื รายวิชาเพมิ่ เตมิ 4. กจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น 4.1 จดั กิจกรรมทงั้ 3 กจิ กรรมตามทกี่ ําหนดไวในหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 4.2 จดั เวลาทง้ั 3 กิจกรรมสอดคลองกับโครงสรางเวลา เรียนทหี่ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 4.3 มีแนวทางการจัดกจิ กรรมชดั เจน 4.4 มแี นวทางการประเมนิ กิจกรรมชัดเจน 5. เกณฑก ารจบการศกึ ษา 5.1 มีการระบุเวลาเรียน/หนวยกติ รายวชิ าพื้นฐานและ รายวิชาเพม่ิ เตมิ ตามเกณฑการจบหลกั สตู รของโรงเรยี นไว อยางชดั เจน และสอดคลองกบั โครงสรางของหลกั สตู ร 5.2 มีการระบุเกณฑก ารประเมินการอา นคดิ วิเคราะหแ ละ เขยี นไวอยา งชดั เจน 5.3 มีการระบเุ กณฑก ารประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึง ประสงคไวอ ยางชดั เจน 5.4 มีการระบเุ กณฑการผา นกิจกรรมพฒั นาผเู รยี นไวอยา ง ชดั เจน ตอนที่ 2 สรปุ ผลการตรวจสอบองคป ระกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา จดุ เดน จุดทีต่ องเพ่ิมเติม และพฒั นา จดุ เดนของหลกั สูตรสถานศกึ ษา จดุ ทต่ี อ งเพ่มิ เตมิ /พฒั นา 1. สว นนํา ความนํา

118 วิสยั ทศั นโ รงเรียน สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค 2. โครงสรางหลกั สตู รสถานศกึ ษา 3. คาํ อธบิ ายรายวิชา 4. กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น 5. เกณฑก ารจบการศกึ ษา ขอ เสนอแนะอน่ื ๆ ลงช่อื ผตู รวจสอบ ( ) ตําแหนง ผูรบั รองขอ มูล ) ลงชื่อ ( ตาํ แหนง

กลมุ สาระการเรยี นรู 119 ชนั้ แบบประเมนิ การจดั ทําหนวยการเรยี นรู ชอ่ื หนว ยการจัดการเรียนรู เวลา ครผู สู อน คําชีแ้ จง โปรดทาํ เครอ่ื งหมาย  ลงในชื่อทต่ี รงกบั ความคดิ เหน็ ของทาน 4 หมายถงึ เหมาะสมมากท่สี ดุ 3 หมายถงึ เหมาะสมมาก 2 หมายถงึ เหมาะสมนอ ย 1 หมายถงึ ควร ปรับปรงุ รายการ ความเหมาะสม 4321 1. ชื่อหนว ยการเรยี นรู กะทดั รดั ชดั เจน ครอบคลมุ เนื้อหา นา สนใจ 2. มาตรฐานการเรยี นรู และตัวชว้ี ดั มีความเชอื่ มโยงกันอยางเหมาะสม 3. ความสอดคลอ งของสาระสําคญั กบั มาตรฐานการเรียนรู และตวั ชี้วดั 4. ความครอบคลมุ ของสาระสาํ คัญกบั ตัวชว้ี ัดทัง้ หมดของหนวยการเรยี นรู 5. ความเหมาะสมของสาระการเรยี นรูก บั จํานวนชวั่ โมง 6. ความครบถวนของสาระการเรียนรูกบั ตัวช้ีวดั ในหนว ยการเรยี นรู 7. ความครบถว นของทักษะ/กระบวนการท่จี ัดข้ึน สนองตัวช้ีวดั ไดเหมาะสม 8. แสดงคุณลักษณะของงานไดส อดคลองกับตวั ช้วี ดั 9. ความเหมาะสมของผลงาน/ช้ินงาน/ภาระงานเพ่ือการประเมินผลการเรียนรขู องหนว ยฯ 10. กจิ กรรมการเรยี นรสู ามารถทําใหผ เู รยี นมคี วามรู ทกั ษะ/กระบวนการ และคณุ ลกั ษณะ ครบตามตวั ช้ีวดั ของหนว ยฯ และเนน สมรรถนะสาํ คัญทหี่ ลักสตู รแกนกลางฯ กําหนด 11. ความเหมาะสมของสอ่ื อปุ กรณ และแหลงการเรยี นรู 12. ความเหมาะสมของวธิ กี ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู 13. ความเหมาะสมของเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผลการเรยี นรู 14. ความเหมาะสมของเกณฑก ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 15. หนวยการเรยี นรสู ามารถนาํ ไปจดั การเรยี นรใู หก บั ผเู รยี นไดจ รงิ รวมคะแนน/สรปุ ผลการประเมนิ หรอื คะแนนเฉล่ยี เกณฑก ารตัดสนิ คณุ ภาพของหนว ยการเรียนรกู รณีใชคะแนนรวม คะแนน 15 – 30 หมายถงึ ปรบั ปรุง คะแนน 31 – 40 หมายถงึ เหมาะสมนอ ย คะแนน 41 – 50 หมายถงึ เหมาะสมดี คะแนน 51 – 60 หมายถงึ เหมาะสมดีมาก กรณีใชค ะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลยี่ 1.00 – 1.75 หมายถึง ปรับปรงุ คะแนนเฉลยี่ 1.76 – 2.50 หมายถงึ เหมาะสมนอ ย คะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.25 หมายถงึ เหมาะสมดี คะแนนเฉลยี่ 3.26 – 4.00 หมายถึง เหมาะสมดมี าก

120 แบบบันทกึ การตรวจแผนการจัดการเรียนรู กลมุ สาระ ช้นั โรงเรียน สพป./สพม. ชื่อผเู ขียนแผนการจดั การเรยี นรู คําช้ีแจง เขยี นเคร่อื งหมาย  ในชอ งวาง ตามประเด็นทสี่ อดคลองกบั ความคิดเห็นของทา น 1. ความครบถวนขององคประกอบทสี่ าํ คัญของแผนการจัดการเรียนรู  ครบถวน  ไมค รบถวน กรณีไมครบถวน ยังขาดองคป ระกอบใดบาง  1. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด  2. จดุ ประสงคการเรียนร/ู ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั  3. เนอ้ื หา  4. กิจกรรมการเรยี นรู  5. สือ่ การเรยี นรู  6. การวดั ประเมนิ ผล ที่ ขอ พจิ ารณา ผลการปฏบิ ตั ิ ถกู ตอ งเหมาะสม ควรปรบั ปรุง 1 ความสอดคลองของตัวชีว้ ดั กบั แผนการจดั การเรยี นรู 2 ความสอดคลอ งของมาตรฐานฯ กับแผนการจดั การเรยี นรู 3 ความถกู ตอ งเหมาะสมของการเขยี นองคประกอบทส่ี ําคัญของ แผนการจดั การเรยี นรู 1. สาระสาํ คัญ/ความคดิ รวบยอด 2. ระบตุ ัวช้ีวดั /ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง 3. เน้อื หา 4. กิจกรรมการเรียนรู 5. ส่อื การเรยี นรู 6. การวัดประเมินผล 4 ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรูในแผน 1. ทําใหผเู รียนบรรลุตามตัวชีว้ ดั /ผลการเรยี นรทู ี่ คาดหวัง 2. จัดไดเ หมาะสมกับคาบเวลาเรียน 3. เนน ผเู รยี นเปนสําคญั 4. ผูเรยี นปฏบิ ตั ไิ ดจรงิ ครูเปน ผแู นะนํา สงเสริม หรือ กระตนุ ใหกิจกรรมดาํ เนินไปตามจุดประสงค 5. เปด โอกาสใหผเู รียนสราง/สรปุ องคความรดู วยตนเอง 6. เนน การพัฒนาทกั ษะในกระบวนการเรยี นรู สอดคลอ งกบั ธรรมชาตขิ องเนอ้ื หาวชิ า

121 ผลการปฏบิ ตั ิ ถกู ตอ งเหมาะสม ควรปรบั ปรงุ ท่ี ขอพจิ ารณา 5 ความเหมาะสมของส่อื การเรยี นรู 1. สอดคลอ งกบั กิจกรรมการเรยี นรู 2. เหมาะสมกบั วยั ของผเู รยี น 3. สามารถใชไ ดผ ลตามจุดประสงค 6 ความเหมาะสมของการวดั และประเมนิ ผล 1. ประเดน็ ทวี่ ดั 2. วธิ กี ารวดั 3. วัดไดต รงตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั ความคิดเหน็ /ขอ เสนอแนะ ลงช่อื ผตู รวจแผนการจดั การเรยี นรู ( ) ตําแหนง / /

122 แบบนเิ ทศการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ชอื่ ผรู ับการนิเทศ ชนั้ โรงเรยี น ภาคเรยี นท่ี วันที่ เดอื น พ.ศ. รายการ บันทกึ ผลการนิเทศ/ขอ เสนอแนะ 1. การประเมินผลการเรยี นรู ตามมาตรฐานการ เรียนรูและตวั ช้วี ัด 2. การประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี น 3. การประเมนิ สมรรถนะ และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข องนกั เรยี น 4. การบนั ทกึ กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น 4.1 แนะแนว 4.2 ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด 4.3 ชมรม/ชุมนุม 4.4 กิจกรรมเพื่อสงั คม/สาธารณประโยชน 5. การบนั ทกึ ผลการพฒั นาผเู รียน (ปพ.5) ลงช่ือ ผนู เิ ทศ ลงชื่อ ผรู บั การนเิ ทศ ( )( )

123 แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการดาํ เนนิ งานโครงการ โครงการ แผนงาน ประจําป วนั ที่ เดอื น พ.ศ. ประเด็นในการติดตาม ผลการตดิ ตาม หมายเหตุ หลักฐานประกอบ 1. การดําเนนิ งานตามปฏิทนิ ปฏบิ ตั ิงาน เปา หมายตามโครงการ เปนไปตามเปาหมายโครงการ  ดาํ เนนิ การแลว วันที่  ครบตามเปา หมาย  มากกวา เปา หมาย  ตาํ่ กวาเปา หมาย ระบุเหตผุ ลทต่ี ่ํากวาเปาหมาย 2. การตดิ ตาม/รายานผลการ  ดําเนนิ การแลววนั ท่ี หลกั ฐานประกอบ ดาํ เนินงานโครงการ  ไมไ ดด าํ เนนิ การ ระบเุ หตผุ ลทไี่ มไดด ําเนินการ 3. ปญหา/อุปสรรค  ดานงบประมาณ ระบุ  ดา นผูรบั ผดิ ชอบโครงการ ระบุ  ดา นระยะเวลา ระบุ  ดา นวสั ดุอปุ กรณ ระบุ  อ่นื ๆ ระบุ 4. แนวโนม ความสําเร็จของโครงการ  ไมส าํ เร็จ ระบุ  สําเรจ็ ระบุ  ไมแ นใ จ ระบุ

124 5. ขอเสนอแนะของผูดาํ เนนิ งานโครงการ 6. Best Practice ทไ่ี ดจ ากการดาํ เนนิ งาน ลงชอ่ื ผนู ิเทศ ลงชอื่ ผรู ับผดิ ชอบโครงการ ( )( )

โรงเรยี น 125 เครอื่ งมอื นิเทศตดิ ตามการดาํ เนนิ การตามนโยบายของรฐั บาล อาํ เภอ คําช้แี จง ใหกาเคร่ืองหมาย  ลงในชองปฏิบัติ/ไมปฏิบัติ ตามขอมูลท่ีไดพบจากการนิเทศติดตาม นโยบาย โดยการประเมนิ ใชร ะดบั คณุ ภาพ 4 ระดับ คือ 5 หมายถงึ ระดบั ดมี าก (ปฏบิ ัติได 5 ขอ ) 4 หมายถงึ ระดับ ดี (ปฏบิ ัติได 4 ขอ ) 3 หมายถงึ ระดับ พอใช (ปฏิบตั ไิ ด 3 ขอ) 2 หมายถงึ ระดบั ปรบั ปรงุ (ปฏิบตั ไิ ด 2 ขอ) 1 หมายถึง ระดับ ปรับปรงุ (ปฏิบตั ิได 1 ขอ ) ท่ี รายการ ปฏบิ ัติ ไม รองรอย/หลักฐาน ปฏิบัติ 1 เรียนฟรี เรียนดี 15 ปอ ยางมคี ณุ ภาพ 1.1 มกี ารประชุมใหคณะครูรบั ทราบนโยบาย 1.2 แตง ตงั้ ผรู บั ผดิ ชอบ/มคี ณะกรรมการสถานศกึ ษา และผปู กครองมีสว นรวม 1.3 มรี องรอยขอ มลู สารสนเทศในการดําเนนิ งาน 1.4 แผนงาน โครงการ มุงสูความสําเร็จและ ดําเนนิ การตามแผนตามนโยบาย 1.5 ตดิ ตามและรายงานผลการดาํ เนนิ งาน 2 การพัฒนาคณุ ภาพผูเ รยี น 2.1 มีการแตงตั้งผูรับผิดชอบชัดเจน ชุมชน/ ผปู กครองมสี ว นรวมในการพฒั นาผเู รยี น 2.2 มีขอมูลแสดงจดุ เนนในการพฒั นา 2.3 มีการกําหนดยุทธศาสตร มาตรการ แผนงาน โครงการ การดําเนินการมงุ สูค วามสําเร็จตามนโยบาย ที่ชัดเจน 2.4 มกี ารดําเนินการตามแผนงาน/โครงการ 2.5 มีการนิเทศติดตามประเมินผลโครงการ 3 คณุ ภาพสถานศึกษายคุ ใหมแ ละแหลงเรียนรู 3.1 มีการแตงตั้งผูรับผิดชอบการดําเนินการและมี ประชาชนทกุ ภาคสวนมสี วนรวมในการพัฒนา 3.2 มรี อ งรอยขอมลู ขา วสารสนเทศในการดาํ เนนิ การ ตามนโยบาย 3.3 มีการกําหนดยุทธศาสตร มาตรการ แผนงาน โครงการ การดาํ เนินการมุงสูค วามสาํ เร็จตามนโยบาย ท่ีชัดเจน 3.4 มีการดําเนนิ การตามแผนงาน/โครงการ 3.5 มีการนเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลโครงการ

126 ไม รอ งรอย/หลกั ฐาน ปฏิบตั ิ ที่ รายการ ปฏบิ ัติ 4 คณุ ภาพดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.1 มีการแตงต้ังผูรับผิดชอบการดําเนินการและมี ประชาชนทกุ ภาคสว นมสี วนรว มในการพฒั นา 4.2 มีรองรอยขอมูลสารสนเทศในการดําเนินการ ตามนโยบาย 4.3 มีการกําหนดยุทธศาสตร มาตรการ แผนงาน โครงการ การดาํ เนนิ การมุงสคู วามสําเร็จตามนโยบาย ทีช่ ัดเจน 4.4 มีการดําเนินการตามแผนงาน/โครงการ 4.5 มีการนิเทศตดิ ตามและประเมินผลโครงการ 5 คุณภาพครู 5.1 มีการแตงตั้งผูรับผิดชอบการดําเนินการและมี ประชาชนทกุ ภาคสว นมีสวนรว มในการพัฒนา 5.2 มีรองรอยขอมูลสารสนเทศในการดําเนินการ ตามนโยบาย 5.3 มีการกําหนดยุทธศาสตร มาตรการ แผนงาน โครงการ การดําเนนิ การมุงสคู วามสําเร็จตามนโยบาย ท่ชี ัดเจน 5.4 มกี ารดําเนนิ การตามแผนงาน/โครงการ 5.5 มีการนิเทศตดิ ตามและประเมินผลโครงการ

งาน 127 ชอื่ ผรู ับการนเิ ทศ แบบนเิ ทศการพฒั นางานในหนาทข่ี องบคุ ลากร วันท่ี เดอื น แผนงาน ช้นั โรงเรยี น พ.ศ. ที่ รายการ ระดับการปฏบิ ตั ิ ขอ คิดเหน็ / 43210 บันทกึ เพิม่ เตมิ 1 การจัดทํากรอบ/มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ี รบั ผิดชอบ 2 การดาํ เนินการตามกรอบ/มาตรฐานการปฏิบัติงาน ท่รี ับผิดชอบ 3 ความสอดคลอง/ตรงตามแผนงาน/โครงการของ สถานศึกษา 4 การปฏิบัตอิ ยา งตอเนือ่ ง สมาํ่ เสมอ 5 การทบทวน ตรวจสอบผลการดําเนินงานระหวาง ปฏิบัตงิ าน 6 ประเมินความพงึ พอใจของผใู ชบ ริการ/ผรู ว มงาน 7 การรายงานสรปุ ผลตอผบู ังคับบญั ชา 8 การนําผลการประเมินไปปรับปรุงและพฒั นา 4 หมายถงึ ปฏิบตั ิระดับดีมาก 3 หมายถึง ปฏิบัติระดับดี 2 หมายถึง ปฏิบตั ิระดบั พอใช 1 หมายถึง ปฏิบตั ริ ะดับปรบั ปรงุ 0 หมายถงึ ไมไ ดปฏิบตั ิ ลงชื่อ ผูนเิ ทศ ลงช่อื ผรู ับการนิเทศ ( )( )

ทป่ี รึกษา ผูอ ํานวยการสํานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 1. นายเสรมิ ศักด์ิ ดิษฐปาน รองผูอํานวยการสาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 2. นายสธุ ร ชอุมวรรณ รองผูอาํ นวยการสํานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 3. นายธีระวัฒน วรรณนชุ คณะผูจดั ทํา 1. นายสุชนิ บญุ เพญ็ ผูอ าํ นวยการโรงเรยี นสวนศรีวทิ ยา 2. นายจนั ทร พลสงิ ห ผูอ าํ นวยการโรงเรยี นมาบอํามฤตวิทยา 3. นางสาวจีรพันธ พทิ ักษ ผอู าํ นวยการกลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 4. นางบญุ สง ศภุ ศริ ริ ตั น สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 5. นางจนั ทรา ศรีสขุ รองผูอาํ นวยการโรงเรยี นสุราษฎรธ านี 6. นางวัลภา นาคประสม รองผูอาํ นวยการโรงเรยี นสุราษฎรพทิ ยา 7. นางจารพุ รรษ ชอมุ ผล ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 8. นางพรทิพย สังขชู ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 9. นางสาววิชชุลดา กาญจนประดิษฐ 10. นางสาวอรชพร มีพัฒน ศกึ ษานิเทศก สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 11 11. นางสาวสริ ีรตั น วิเศษรตั น ศกึ ษานิเทศก สาํ นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 11 ศึกษานเิ ทศก สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 อตั ราจาง บรรณาธิการกจิ  นายสุชนิ บญุ เพ็ญ  นางบุญสง ศภุ ศิรริ ตั น  นายจนั ทร พลสงิ ห  นางพรทิพย สงั ขชู  นางสาวจีรพนั ธ พทิ ักษ  นางสาววชิ ชลุ ดา กาญจนประดิษฐ  นางจนั ทรา ศรสี ุข  นางจารพุ รรษ ชอมุ ผล  นางสาวสริ ีรตั น วเิ ศษรตั น ออกแบบปก/พิมพ/ รูปเลม  นางสาวสิรีรัตน วเิ ศษรัตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook