Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

Published by Plaifa Amornrattakun, 2019-06-23 00:01:46

Description: คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

Search

Read the Text Version

47 รายการประเมิน อนั ดับคุณภาพ หมายเหตุ 54321 2.13 ครแู ละนักเรียนรวมกันสรปุ บทเรยี น 2.14 ครูใหงานและการบา นเหมาะสม 2.15 ครเู ขา ออกตรงเวลาและไมละท้งิ หองขณะ ช่วั โมงสอน ความคิดเห็นโดยรวมของครผู ูนิเทศ ขอคดิ และขอเสนอแนะของผูน เิ ทศ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงช่อื ..................................................................ผนู เิ ทศ (.................................................................) รับทราบ/ปรบั ปรงุ /ดาํ เนินการตามคําแนะนาํ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ..................................................................ผรู ับการนิเทศ (.................................................................) 3. การใหค าํ ปรกึ ษาแนะนํา การใหคาํ ปรึกษาแนะนาํ หมายถงึ การพบปะกนั ระหวา งผนู ิเทศกบั ผรู บั การนิเทศซ่งึ อาจ กระทําไดห ลายวธิ ี แตใ นทน่ี ขี้ อเสนอแบบโคชชงิ่ (Coaching techniques) ซง่ึ เปน วธิ ีการพัฒนาบคุ ลากร อยา งมแี บบแผน โดยกระทาํ ณ จดุ ปฏิบตั งิ าน โดยมีวัตถปุ ระสงค เพ่ือชวยใหผ ูป ฏิบตั งิ านกา วไปถงึ จุดหมายปลายทางได เชน ความกา วหนา ทางวชิ าชีพ ความสามารถท่ีจะรบั ผดิ ชอบงานในหนาทสี่ ูงขึ้น เชน กรณแี ตง ตง้ั เปน ผูนิเทศ หรอื เปนทยี่ อมรบั ของเพ่อื นรว มงานมากขน้ึ 3.1 วธิ กี ารใหค ําแนะนาํ ปรึกษา การใหค ําแนะนําปรกึ ษา มี 2 วธิ ี คือ วิธที ่ี 1 การใหค ําปรึกษาแนะนาํ แบบไมเ ปน ทางการ เปนการใหค าํ ปรกึ ษาแนะนาํ โดยใชเ วลาวา งพดู คุยกนั เชน ตอนรับประทาน อาหารกลางวัน เปนตน วธิ ีนี้ผูนเิ ทศสามารถใหค วามชว ยเหลอื ผรู ับการนเิ ทศได 3 ลกั ษณะ คอื 1.1 บอกวิธแี กป ญ หาโดยตรง

48 1.2 เสนอขอ มูลและใหโอกาสผูรับการนิเทศวิเคราะหปญ หาเอง 1.3 แบบผสมผสาน ทงั้ ลกั ษณะท่ี 1 และ 2 ขนั้ ตอนการนเิ ทศ 1) รับรปู ญ หา 2) วิเคราะหป ญหา 3) แกไ ขปญ หา โดยเลือกวธิ แี กป ญ หาลกั ษณะใดลกั ษณะหน่ึง ขา งตน นี้ วธิ ที ่ี 2 การใหคําปรกึ ษาแบบเปนทางการ การใหคาํ ปรกึ ษาแบบเปนทางการใชข้นั ตอนของการนิเทศแบบโคชชงิ่ เขยี น เปนสัญลกั ษณ คอื CQCD ซึ่งมาจากคําตอ ไปนี้ C – Compliment (ชมเชย) Q – Question (สอบถาม) C – Correct (แกไ ข) D – Demonstrate (สาธติ ) ขั้นตอนการนิเทศ ขน้ั ท่ี 1 ชมเชย เม่อื มใี ครคนหนง่ึ กาํ ลังรับการนเิ ทศ เขาอาจรูส กึ วาเขาถูกวิพากษว ิจารณ เขาจึงพยายามหาขอ แกตวั ตา งๆ และพยายามสราง “กําแพงใจ” มาขวางกน้ั การตดิ ตอส่อื สาร ระหวางเขา กับผูน เิ ทศ แตเ มอื่ เริ่มการสนทนาดวยการชมเชย ยกยองผลงานที่ดีของเขากอน (ดวยความบริสุทธิ์ใจ) เขาก็จะ “ปลดอาวุธตัวเอง” ขอแกตัวของเขาก็จะถูกเก็บเอาไว และ “กําแพงใจ” จะเปดออก แลวเขาก็พรอม ทีจ่ ะรับฟง ข้นั ที่ 2 สอบถาม ในข้ันท่ีแลวมา แมวาจะไดใหคําชมเชยแกเขาไปบางแลว บางที ความคิดตอตา นอาจเกิดขนึ้ ไดอ กี อยางงา ยดาย หรือกระทาํ ในเชงิ วจิ ารณ หรือเสนอแนะเรว็ ข้ึน การถามในขนั้ นี้ ทําใหผูรับการนิเทศมีความมัน่ ใจวา ผนู ิเทศยินดีรับ ฟงเหตุผลของเขา และเขารูสึกวา ผนู ิเทศตอ งการมาใหความชวยเหลือ มีจิตใจเปดกวาง และการสื่อสาร เปนแบบคูป รกึ ษามากกวาเจา นายกบั ลกู นอง ข้นั ที่ 3 แกไข เมอ่ื ผา นมา 2 ข้ันตอนแลว ผนู เิ ทศกม็ าถงึ ขน้ั ที่จะเสนอแนะแนวทาง ปรบั ปรุงแกไ ขขอบกพรองตา งๆ ได เพราะมีความเขา ใจทด่ี ีตอกนั ขั้นท่ี 4 สาธิต บางครัง้ การอธบิ ายตามข้นั ที่ 3 อาจไมช ัดเจนเพยี งพอ จึงอาจสาธิต หรอื ยกตัวอยา งยกเหตกุ ารณ มาแสดงใหเ หน็ จริง เมอื่ ผนู ิเทศใหค าํ ปรกึ ษาแนะนาํ ผรู ับการนเิ ทศเสรจ็ แลว จึงบนั ทึกลง ในแบบบันทกึ การใหคาํ ปรกึ ษาแนะนาํ ดงั นี้

49 (ตวั อยาง) แบบบันทกึ การใหค ําปรกึ ษาแนะนาํ วนั เดอื น ป เรือ่ งทใี่ หค าํ ปรกึ ษาแนะนาํ รายละเอยี ด ผูรบั การนิเทศ การใหค าํ ปรกึ ษาแนะนาํ ลงชือ่ .........................................................ผูนเิ ทศ (.........................................................) ตําแหนง .................................................... รับทราบ/ปรบั ปรงุ /ดาํ เนินการตามคําแนะนาํ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงช่อื ..................................................................ผรู ับการนิเทศ (.................................................................)

50 (ตวั อยาง) แบบบันทกึ การใหค าํ ปรกึ ษาแนะนาํ ชอ่ื ผรู ับการนิเทศ…………….............................……….............วนั ท…ี่ ……เดือน……..........………..พ.ศ…………… คําชแี้ จง ใหก าเคร่ืองหมาย  ในชองทางขวามอื ตามเกณฑก ารประเมิน ดังนี้ เกณฑ 5 = ดมี าก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = แกไ ข รายการประเมนิ ระดับการปฏบิ ัติ หมายเหตุ 54321 1. บรรยากาศของการหารือเปนกนั เอง ใหโ รงเรยี นศกึ ษาสภาพ 2. สนทนาดว ยการยกยอ ง ชมเชยผลงานทด่ี ขี อง และบริบทของโรงเรียน ผูรบั การนิเทศ จัดทาํ เกณฑร ะดับคณุ ภาพ 3. ผูน เิ ทศและผรู ับการนิเทศเปด ใจกวา งและเปน ท่เี หมาะสม การสนทนา 2 ทาง 4. ผูนิเทศเสนอแนะแนวทางปรับปรุงแกไข ขอบกพรอ งตา งๆ ได 5. การสรางความสัมพันธทีดีระหวางผูนิเทศ และผรู ับการนิเทศ 6. การสรา งขวัญกาํ ลงั ใจทด่ี แี กผ รู ับการนิเทศ 7. การบันทึกการใหค ําปรึกษาหารอื 8. การตดิ ตามใหค ําปรกึ ษาอยา งตอ เน่ือง 9. มกี ารจดั ตาราง ชวงเวลาในการใหค ําปรึกษาแนะนาํ 10. ผูร บั การนเิ ทศมกี ารนําผลการใหค าํ แนะนาํ ไป ปรบั ปรุงแกไ ข รวม เฉลีย่ ขอ คดิ และขอ เสนอแนะของผูนิเทศ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................................ผูนเิ ทศ (.................................................................) รับทราบ/ปรบั ปรุง/ดาํ เนินการตามคาํ แนะนํา ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ..................................................................ผูรับการนิเทศ (.................................................................) หมายเหตุ ใหโ รงเรยี นศกึ ษาสภาพและบริบทของโรงเรยี นจดั ทําเกณฑร ะดบั คุณภาพที่เหมาะสม

51 4. การสนทนาทางวิชาการ การสนทนาทางวชิ าการ หมายถงึ การประชุมครูหรือกลุมผูสนใจเร่ืองราวขาวสารเดียวกัน โดยกาํ หนดใหผูนําสนทนาคนหน่ึง นาํ สนทนาในเรอื่ งท่ีกลุมสนใจ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเพ่ิมพูนความรู ความเขาใจแนวทางการปฏิบตั ิงาน เทคนคิ วธิ กี ารแกคณะครใู นโรงเรยี น และพฒั นาบคุ ลากรในโรงเรียน 4.1 ขัน้ ตอนการนเิ ทศแบบสนทนาทางวชิ าการ มีขน้ั ตอนดังน้ี ข้ันท่ี 1 ศกึ ษาปญหา ขั้นศึกษาปญหามีวิธีการ คือ สํารวจปญหา ความตองการในเรื่องราวท่ีมี ความสนใจรวมกันหรอื เปน ปญ หารว มกัน เชน เร่ืองการสอนภาษาไทยแบบมุงประสบการณภาษา เร่ือง การจัดการเรียนรทู ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร เปนตน แลวลําดับเร่ืองท่ีจะใชสนทนาทางวิชการ ตามความสําคัญ ความจาํ เปน และความเหมาะสม ขั้นท่ี 2 เลือกผูน ําสนทนาทางวชิ าการ มีวธิ กี ารดงั น้ี 2.1 เลอื กบุคคลใดบคุ ลหน่ึงในโรงเรียน ท่ีเห็นวามีความสามารถเปนผูนํา สนทนาทางวิชาการได โดยจะตอ งเปนผทู มี่ ีความรคู วามเขาใจเรื่องท่ีจะสนทนาไดอ ยางลึกซ้ึงกวาผูอ ื่น 2.2 เลือกบุคคลภายนอก หากเห็นวา เรื่องท่ีจะสนทนาน้ันคอนขางยาก คณะครูในโรงเรยี นยังไมม คี วามรู ความเขา ใจ และความชาํ นาญเพียงพอ 2.3 ผนู าํ ทางวิชาการ ควรหมุนเวยี นกนั ไป ไมค วรเปน ผเู ดียวซํ้ากนั ตลอดป 2.4 ประสานงานกบั ผูนําสนทนาทางวชิ าการ ทง้ั ในหรือนอกโรงเรียน โดย แจง วตั ถุประสงคใ หเขา ใจตรงกนั ขั้นที่ 3 ปฏบิ ตั กิ าร มขี นั้ ตอนดงั นี้ 3.1 กําหนดการสนทนาทางวิชาการ ในชวงหลังรับประทานอาหาร กลางวัน หรอื ชว งวา งตอนใดตอนหน่ึงที่เห็นวาเหมาะสม โดยอาจกําหนดเปนรายสัปดาหหรือรายเดือน ตามความตองการ และทาํ ปฏิทนิ ไวใหชดั เจน 3.2 กําหนดเวลาสนทนาครั้งละ 30 – 45 นาที 4.2 วิธีการพดู นาํ เสนอในเชิงวิชาการ การพดู นําเสนอในเชิงวิชาการ ควรมีลาํ ดบั การพูด (Outline) การเตรียมส่ือ และการ เตรียมตัว ดังน้ี 4.2.1 หลกั สาํ คัญของการพดู นาํ เสนอเชงิ วชิ าการ 4.2.1.1 ตอ งมกี ารเกร่ินนํา เพื่อแจงใหผ ูฟงทราบวา เร่ืองที่ฟงเก่ียวกับอะไร มขี ัน้ ตอนการนําเสนออยา งไร และจะไดอะไรจากการฟง 4.2.1.2 ชวงบทนําควรจะตองกระชับ และพูดเฉพาะขอมูลที่จําเปนท่ีจะ ชวยใหผ ูฟง เขาใจเรอื่ ง และความสําคญั ของเรื่องท่จี ะพดู 4.2.1.3 ในสวนของผลการสรุป และขอแนะนาํ ควรพูดอยา งละเอียด 4.2.1.4 ในสว นท่ไี มไ ดม สี วนรวม หรือมีรายละเอียดมากเกินไป ไมควรจะ นํามากลาวถึงการพดู ตอ งกระชบั และชัดเจน การพูดที่ยาวเกินไป หรือมีรายละเอียดมากเกินไปจะทําให เกดิ การเบือ่ หนา ย 4.2.1.5 ตอ งทาํ ใหผฟู ง สนใจในเร่อื งทพ่ี ดู และไมร สู กึ เบื่อหนา ย 4.2.1.6 ตองพดู กบั ผฟู ง ไมใ ชทอ งจาํ เรือ่ ง ดงั น้ันควรจําแคส องสามบรรทัด แรกเพอื่ การเริม่ ตนทด่ี ี

52 4.2.1.7 ตาตองมองไปยังผูฟงไมใชผนัง การสบสายตากับผูฟงจะชวยให ผฟู งสนใจในเรื่องท่ีพูด และทําใหรวู า ผูฟงรสู ึกเบอื่ หนา ยหรอื ไม 4.2.2 การเตรียมส่อื ควรจะตอ งทราบขอบเขตของเรื่องทจ่ี ะพูด เวลาที่ตองใชและ กลุม ผูฟง เพอื่ ท่ีจะไดเตรยี มเรอื่ งใหเหมาะสมกับผูฟงและเวลา ควรมขี นั้ ตอนดงั นี้ 4.2.2.1 เตรียมสอ่ื ในการพูดไมเกนิ หนึง่ แผน ตอเวลาพูดหน่ึงนาที 4.2.2.2 ถา เตรียมแผนใส ควรจะนําเสนอไมเ กิน 10 บรรทดั ตอหนึง่ แผน 4.2.2.3 การเลือกใชส ีไมค วรใชคสู ีทท่ี ําใหม องลําบากเชน แดงบนพื้นเขยี ว 4.2.2.4 ใชต วั หนงั สือสีออนบนพื้นสีเขมจะทําใหอา นไดงาย และไมมกี าร สะทอนกับแสงอ่นื ๆ ในสว นทฤษฎคี วรจะนําเสนอเฉพาะสมการท่ีใชโดยไมตอ งเขียนอธบิ ายอยางละเอียด วา ไดม าอยางไร 4.2.2.5 ควรจะหลกี เล่ยี งการใชสมการยาวๆ 4.2.2.6 ถา จําเปนใหแสดงเฉพาะสมการท่ีสาํ คัญเทา นั้น 4.2.2.7 ความสําคัญของสมการและสัญลักษณตางๆ ควรจะอธิบาย โดยการพดู 4.2.2.8 ควรหลีกเล่ียงการใชตาราง แตถาจําเปนควรจํากัดใหมีขอมูล จํานวนไมม ากเกินไป 4.2.2.9 รูป และแผนภูมิ ควรจะชัดเจน คําอธิบายของแกนตางๆ ตอง สามารถมองเหน็ ไดอ ยางชดั เจน 4.2.3 การพูดและการเตรียมตัว 4.2.3.1 ควรเตรียมตัวมาอยางดแี ละมีความเขาใจในเน้อื หาทจ่ี ะพดู 4.2.3.2 ฝกพดู เพอื่ ตรวจสอบวาส่ือทเี่ ตรยี มและเนอ้ื หาที่เหมาะสมกับเวลา และผฟู ง หรือไม 4.2.3.3 ทาํ แผน โนต เพื่อใชเ ตือนความจาํ ในเรอ่ื งท่ีควรจะพดู 4.2.3.4 แตง กายใหเ รยี บรอยและเหมาะสมกับสถานที่และผูฟง 4.2.3.5 การทาํ สมาธกิ อนการพดู อาจชวยใหอาการประหมา หรือต่ืนเตน ลดลงสูดหายใจลกึ ๆ กอ นและระหวางการพดู เพ่อื ระงบั อาการต่นื เตน 4.2.3.6 ควรจะสํารวมกิริยา และใชภ าษาท่เี หมาะสมในการพูด 4.2.3.7 อาจดูโนตชวยระหวางพดู ถา เกิดอาการต่ืนเตนจนลืมเรอื่ งทีจ่ ะพดู 4.2.3.8 ตอ งมีความกระตือรอื รนในเร่ืองท่จี ะพูด ถา พดู เสยี งโทนเดียวและ ดูเฉือ่ ยๆ ผฟู ง จะไมสนใจและเบ่ือหนาย 4.2.3.9 ตองพยายามรักษาเวลาในการพูดใหเหมาะสม ถากําลังจะเกิน เวลาที่กาํ หนดควรจะรบี สรปุ การพูดใหจบตามเวลาท่ีกาํ หนด

53 (ตัวอยาง) แบบบนั ทกึ การนิเทศแบบสนทนาทางวชิ าการ ชอ่ื ผูนเิ ทศ........................................โรงเรียน...............................อําเภอ....................จังหวดั ......................... ชือ่ ผรู ับการนเิ ทศ................................................................................สอนชนั้ ................................................ วนั เดอื น ป เร่ืองทส่ี นทนา ผลการสนทนา หมายเหตุ ลงชือ่ ..................................................................ผนู ิเทศ (.................................................................) รับทราบ/ปรับปรงุ /ดาํ เนินการตามคาํ แนะนํา ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงช่ือ..................................................................ผรู ับการนิเทศ (.................................................................)

54 5. การประชมุ การประชุม หมายถึง การพบปะของกลมุ คนเพือ่ การอยางใดอยางหนึ่ง ในแงของการนิเทศ การศึกษา การประชุมจัดข้ึนโดยหนวยงานท่ีมีรูปแบบตามขนาดของกลุมคน เพ่ือแสดงการตัดสินใจ และเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค การประชุมที่ใชในการนิเทศมีหลายลักษณะ เชน การประชุมนิเทศ การประชุมเฉพาะกจิ การประชมุ ระดมสมอง การประชุมช้ีแจง การประชมุ สัมมนา การอบรม การประชุม กลมุ ยอ ยในงาน การประชุมปฏบิ ตั กิ ารในเรื่องใดๆ 5.1 การประชมุ นเิ ทศ การประชุมนิเทศ หมายถึง การใหขอมูลปอนกลับแกผูรับการนิเทศเกี่ยวกับปญหา ที่เกดิ ข้ึน โดยผนู เิ ทศเปนผูศึกษาหาแนวทางในการแกไขปญหา แลวนาํ มาแนะนําแกผูรับการนิเทศหรือ ผูนเิ ทศและผรู บั การนิเทศหาขอสรุปที่เปน ประโยชนต อการปรบั ปรงุ แกไ ขปญหานน้ั ๆ 5.1.1 ขน้ั ตอนการประชุมนิเทศ มขี ้นั ตอนดังนี้ ขนั้ ที่ 1 ขน้ั เริม่ ตน 1.1 ผูนิเทศรับทราบปญหาจากผูรับการนิเทศแลวสนทนา สอบถามเรอื่ งราวทเี่ ปนปญหาน้ันๆ 1.2 ผนู เิ ทศศึกษาปญหาและหาแนวทางแกไขจากเอกสารตํารา หรอื จากประสบการณ หรอื ผนู เิ ทศและผูร บั การนิเทศศึกษาปญ หารวมกัน ขน้ั ที่ 2 ขน้ั อภปิ รายและแสดงความคดิ เห็น มขี น้ั ตอนดังนี้ 2.1 ผูนิเทศนาํ อภปิ รายถึงปญ หาของผูรบั การนเิ ทศ 2.2 ผูรบั การนเิ ทศรว มอภิปรายและแสดงความคิดเหน็ ขนั้ ที่ 3 ขน้ั สรุป ผูนิเทศและผูรับการนิเทศ รวมกันสรุปเกี่ยวกับการแกไขปญหา และผนู ิเทศตัดสินใจแกไ ขปญ หาแกผ รุ ับการนิเทศ หรอื อาจรวมกันตัดสินใจทั้งผูนเิ ทศและผูรบั การนิเทศ เพ่อื นําไปดําเนินการตอไป (ตวั อยาง) การบนั ทกึ การประชมุ นิเทศ ช่อื ผูน เิ ทศ........................................โรงเรยี น...............................อาํ เภอ....................จงั หวดั ......................... ชื่อผูรบั การนิเทศ................................................................................สอนชั้น................................................ วัน เดอื น ป เรื่องท่ปี ระชุมนเิ ทศ วธิ ีดําเนินการ ผลการประชมุ นิเทศ (ลงชื่อ)..........................................................ผูนเิ ทศ (...........................................................) ตําแหนง ............................................................. รับทราบ/ปรบั ปรุง/ดาํ เนินการตามคาํ แนะนาํ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ลงชื่อ..................................................................ผูร ับการนเิ ทศ (.................................................................)

55 5.2 การประชมุ ระดมสมอง การระดมสมองมาจากคําในภาษาอังกฤษ คือ Brain Storming โดยท่ีคําแรก คือ Brain หมายถงึ สมอง สว นคาํ หลัง Storming หมายถงึ พายทุ โ่ี หมกระหนํ่า หากจะแปลตรงๆ กค็ งหมายถงึ การมุงใชพลังความสามารถทางการคิดของสมองของมวลสมาชิกในกลุม เพื่อคิดในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง เพ่ือนาํ ไปใชประโยชนตอไป คนท่ีไมชอบคิด หรือคนที่ชอบคิดเงียบๆ ไมชอบแสดงใหคนอ่ืนรูวาตนเอง คดิ อาจไมเ หมาะท่จี ะรวมกลมุ เพอื่ ระดมสมอง การระดมสมอง ถือเปนเทคนคิ ทใ่ี ชก บั กลมุ Group Technique ไมใ ชใ ชก บั คนเพยี งคนเดยี ว (ในทางการบริหารมักใชเปนเคร่ืองมอื ในการแสวงหาทางเลือกในการตัดสินใจและใชในการวางแผน) การระดมสมอง หมายถงึ การแสวงหาความคิดตอ เร่ืองใดเร่ืองหน่ึงใหไดมากที่สุดภายในเวลาท่ีกําหนด ดังน้ัน การใหคิดโดยไมกําหนดเวลาท่ีจํากัดแนนอนก็ไมเรียกวาการระดมสมอง การระดมสมองจะมี ประสทิ ธภิ าพมากท่สี ุดเม่อื ใชกับกลุมท่ีไมรูจักกัน ไมเกรงใจกันหรือสนิทสนมกันมากเกินไป และจํานวน สมาชิกท่รี ว มระดมสมองถาจะใหม ปี ระสทิ ธิภาพมากที่สุดควรอยรู ะหวาง 4 ถึง 9 คน สําหรับนักวิชาการที่เปนผูใหกําเนิดของเทคนิคน้ียังมีความเห็นที่แตกตางกันอยู โดยมิซูโน (Mizuno) ไมไดบอกวาใครเปนผูตนคิด แตระบุวาไดมีการใชเทคนิคระดมสมองในญี่ปุน ตงั้ แตป 1952 ในขณะท่ฟี อรซทิ (Donelson Forsyth) กลบั ระบุชัดเจนวาเทคนิคการระดมสมองเกดิ จาก แนวคดิ ของออสบอรน (Alex F. Osborne) ซึง่ เปนผบู ริหารบริษทั โฆษณาแหงหนง่ึ ตง้ั แตป 1957 5.2.1 จดุ เนน ของการระดมสมอง ออสบอรน ไดก าํ หนดจุดเนนของการระดมสมองไว 4 ประการ ไดแก 5.2.1.1 เนน ใหม ีการแสดงความคิดออกมา (Expressiveness) สมาชิกทกุ คน ตองมีเสรีภาพ อยางสมบูรณในการที่จะแสดงความคิดเห็นใดๆ ออกมาจากจิตใจ โดยไมตองคํานึงวา จะเปน ความคดิ ทีแ่ ปลกประหลาด กวา งขวาง ลา สมยั หรอื เพอ ฝนเพียงใด 5.2.1.2 เนนการไมประเมินความคิดในขณะที่กําลังระดมสมอง (Non – evaluative) ความคิดท่ีสมาชิกแสดงออกตองไมถูกประเมินไมวากรณีใดๆ เพราะถือวาทุกความคิด มีความสาํ คญั หามวิพากษ วิจารณความคดิ ผอู น่ื การแสดงความเหน็ หักลาง หรอื ครอบงําผูอื่นจะทําลาย พลงั ความคิดสรา งสรรคข องกลุม ซึง่ สงผลทําใหการระดมสมองครั้งนน้ั เปลาประโยชน 5.2.1.3 เนนปริมาณของความคิด (Quautity) เปาหมายของการระดมสมอง คือ ตองการใหไดความคิดในปริมาณมากที่สุดเทาท่ีจะมากได แมความคิดที่ไมมีทางเปนจริงก็ตาม เพราะอาจใชประโยชนไดในแงการเสริมแรง หรือการเปนพ้ืนฐานใหความคิดอ่ืนท่ีใหมและมีคุณคา ย่ิงมีความคดิ ใหมๆ เกดิ ขน้ึ มากเพียงใดกย็ งิ่ มีโอกาสคนพบวธิ กี ารแกป ญหาทด่ี ี 5.2.1.4 เนนการสรา งความคดิ (Building) การระดมสมองเกิดข้ึนในกลุม ดังน้นั สมาชิกสามารถสรางความคิดข้ึนเองโดยเชื่อมโยงความคิดของเพ่ือนในกลุม โดยใชความคิดของ ผอู ื่นเปนฐานแลวขยายความเพ่ิมเตมิ เพ่ือเปนความคิดใหมข องตนเอง 5.2.2 การเตรยี มระดมสมอง กอ นการดาํ เนนิ การระดมสมองนัน้ จะตองเตรยี มการ 3 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 5.2.2.1 ขั้นกําหนดเปาหมาย ตองกําหนดใหกระชับ เฉพาะเจาะจง และชัดเจนท่ีสุดวาจะระดมสมองเรื่องอะไร เพื่ออะไรและตองทําใหสมาชิกเขาใจ และเห็นดวยกับ เปา หมายนน้ั

56 5.2.2.2 ขั้นกําหนดกลมุ จะมีจํานวนเทาไร ใครบาง ใครจะทาํ หนา ทเี่ ขียนความคดิ ของสมาชกิ และสถานท่ี ที่จะนาํ แผน การดความคิดไปติด ตอ งใหมองเห็นไดชัดเจน และในบางครั้งผูนํากลุม ตอ งเดด็ ขาดหากมีสมาชกิ บางคนเร่มิ ครอบงาํ หรือขมผูอ ืน่ 5.2.2.3 ข้นั กาํ หนดเวลา ตอ งแนช ัดและเหมาะสม จะเริ่มและจะตองยุติเม่ือใด การมีเวลาจาํ กดั จะสรา งความกดดนั ใหสมองเรง ทํางานอยางเต็มที่ สมองซีกขวาจะคิด สวนสมองซีกซาย จะประเมนิ ความคดิ ของตนเองวา เหมาะสมหรือไม แลว รบี แสดงออกมาโดยเรว็ 5.3 การประชมุ สมั มนา การจัดประชุมสัมมนาเปนกระบวนการของการทาํ งานรวมกันเปน กลุม โดยมีขั้นตอน การปฏิบัติอยางตอเน่ือง สามารถตรวจสอบและประเมินผลไดทุกข้ันตอน ซึ่งการดําเนินการการจัด ประชุมสมั มนาจะแบงออกเปน 3 ขนั้ ตอน คือ 5.3.1 การเตรียมการกอ นการประชุมสัมมนา 5.3.2 การดําเนนิ การระหวา งการประชุมสัมมนา 5.3.3 การดาํ เนินการหลงั การประชมุ สัมมนา ข้ันตอนการจดั ประชุมสมั มนา ขัน้ ท่ี 1 ข้นั ที่ 2 ขน้ั ท่ี 3 การเตรยี มการกอ นการสัมมนา การดาํ เนนิ การหลงั การสัมมนา การดําเนนิ การระหวา ง การสมั มนา 1. วเิ คราะหผ ลการศึกษา 2. รายงานผบู งั คบั บัญชา 1. สาํ รวจประเด็นปญ หา 1. ลงทะเบยี น 3. รายงานหนวยงานที่เกย่ี วของ 4. ดําเนินงานงบประมาณ 2. ตง้ั คณะกรรมการกลาง 2. เปด การสมั มนา 5. ติดตามผลและวเิ คราะห 3. เขยี นโครงการสัมมนา 3. จดั ประชุมกลมุ ใหญ 4. ดําเนินงานเตรยี มการสัมมนา 4. จดั ประชุมกลุม ยอย 5. จัดประชมุ รวม 6. ปด การสมั มนา 5.3.1 การเตรียมการกอ นการประชุมสัมมนา ในการจัดประชมุ สมั มนาตอ งอาศัยบคุ คลหลายฝายมาทํางานรวมกัน ดังน้ัน การเตรียมงานไวลว งหนา จงึ เปนสิ่งจําเปนเพ่ือใหการดําเนินงานเปน ไปดวยความเรียบรอยภายในเวลา ที่กําหนดไว โดยมีขน้ั ตอนในการจดั เตรยี มงานประชุมสมั มนา ดังตอ ไปนี้ ขนั้ ตอนการเตรยี มการกอ นการประชมุ สมั มนา สาํ รวจประเด็นปญหา แตง ต้ังคณะกรรมการ เตรยี มการประชมุ สัมมนา เขยี นโครงการ

57 5.3.1.1 สํารวจประเด็นปญหาและความตองการในการประชุมสัมมนา โดยพิจารณาจากปญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการทํางาน หรือปญหาที่เกิดข้ึนในหนวยงานความ ตอ งการของบุคลากร โดยรวบรวมขอ มูลจากแบบสาํ รวจความคิดเหน็ แบบสอบถาม หรือแบบสัมภาษณ ใชการจัดประชมุ สัมมนาชวยใหบุคลากรในหนวยงานเขาใจ นโยบายของหนวยงานและปฏิบัติไดอยาง ถกู ตอง 5.3.1.2 แตงตั้งคณะกรรมการดําเนนิ การจัดประชุมสัมมนาเพ่ือทําหนาที่ ดงั ตอ ไปน้ี 1) หาหัวขอเรือ่ งที่จะใชใ นการประชุมสัมมนา โดยการรวบรวม และแยกแยะในประเดน็ ปญหาตา งๆ 2) พิจารณาบุคคลหรือผูเชี่ยวชาญ ที่จะเชิญเขารวมการ ประชมุ สมั มนาพธิ ีเปด พิธปี ด การสัมมนา ตลอดจนเจาหนาที่ทปี่ ฏบิ ัติงานในฝา ยตา งๆ 3) พิจารณาแผนการและจัดเตรียมขั้นตอนในการดําเนินการ วาชวงใดควรจะจดั การอยา งไร เพ่อื จะไดเตรียมจัดใหม ีพธิ ีการตางๆ ในแตละชวงนนั้ ไดอยางเหมาะสม 4) พิจารณาแนวทางในการประชาสัมพันธ วิธีการประเมินผล ตลอดจนการเผยแพร รายงานผลการประชมุ สัมมนา หรอื ผลสรุปของการประชมุ สัมมนาไดอ ยางเหมาะสม 5) พิจารณาและเสนอการแตงต้ังคณะอนุกรรมการฝายตางๆ ต้ังแตเรม่ิ เตรยี มงาน จนกระทั่งสน้ิ สุดการประชุมสัมมนา 6) พิจารณาปญหาอื่นๆ ท่ีคาดวาอาจจะเกิดข้ึนไดในขั้น การเตรียมงาน ข้ันดําเนนิ การ ประชุมสัมมนา และข้นั หลงั การดําเนินการสมั มนา 7) พจิ ารณาเรอ่ื งอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งตามความเหมาะสม 5.3.1.3 เขียนโครงการประชุมสัมมนา เพ่ือกําหนดความชัดเจนของ การดําเนินงานขั้นตอนตางๆ ซึ่งจะทําใหการดําเนินการประชุมสัมมนา สามารถดําเนินไปไดดวย ความเรียบรอยและมีประสิทธิภาพนอกจากน้ี ยังสามารถใชประโยชนจากโครงการประชุมสัมมนา ดงั ตอ ไปน้ี 1) ใชใ นการขออนุมัตจิ ัดประชมุ สัมมนาจากผมู อี าํ นาจ 2) ใชข อความสนบั สนนุ ดานงบประมาณจากหนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ ง 3) ใหผูเกี่ยวของทําความเขาใจความเปนมาเกี่ยวกับการจัด ประชุมสัมมนา โครงการประชุมสมั มนา ประกอบดวยหัวขอ ดังตอ ไปนี้ 1) ชอ่ื โครงการ การตัง้ ชอื่ โครงการสามารถต้ังไดหลายลักษณะ ดังตอไปนี้ - ตัง้ ชอ่ื ตามลกั ษณะของผเู ขาประชมุ สัมมนา - ตง้ั ช่ือตามเนื้อหาทจ่ี ะประชมุ สัมมนา - ตง้ั ช่ือตามกจิ กรรมทีป่ ระชมุ สัมมนา - ตง้ั ชอ่ื ตามปญหาทจี่ ะประชมุ สัมมนา 2) ผรู บั ผิดชอบโครงการ อาจเปน หนวยงาน องคการ หรือบุคคล 3) หลักการและเหตุผล เปนการกลาวถึง ปญหาและความ จําเปนที่จะตองประชุมสัมมนาในหัวขอดังกลาว ซึ่งการเขียนหลักการและเหตุผล ทําไดโดยการศึกษา

58 คนควาหาขอมูลมาอางอิง ประกอบเพื่อเปนเหตุผลวามีความจําเปนอยางท่ีจัดประชุมสัมมนาหัวขอ ดังกลา ว 4) วัตถุประสงค ตองเขียนใหสัมพันธกับหลักการและเหตุผล โดยเขยี นใหชัดเจนวา ประชมุ สัมมนาเพื่ออะไร มีเปาหมายที่สําคญั อยางไร 5) กลมุ เปา หมายหรอื ผูเขา รวมการประชมุ สัมมนา กาํ หนดไวให ชดั เจนวา เปน ใคร มคี ุณสมบัติอยางไรมจี ํานวนเทาใด และจากทไ่ี หน 6) วทิ ยากร กําหนดวา คือใคร มีคุณสมบัตอิ ยางไร ตดิ ตอ ไดจากทไี่ หน 7) ระยะเวลา กําหนดใหแนนอนวาจะประชุมสัมมนากี่วัน เริ่มตั้งแตวันใด และสิน้ สดุ ในวนั ใด 8) สถานที่ กําหนดใหช ัดเจนวาในแตละกจิ กรรมทีจ่ ัดในระหวาง การประชมุ สัมมนานนั้ จะใชสถานท่ีท่ใี ดบาง เชน พิธเี ปด – พธิ ปี ด การประชุมสัมมนา การประชุมสัมมนา กลุมใหญ การประชุม สัมมนากลุมยอยแตล ะกลุมจะใชหอ งใด และจะตอ งแจงใหผ ูเขา รวมประชุมสัมมนา ทราบดว ย 9) วิธีการประชุมสัมมนา กําหนดใหชัดเจนวาจะใชวิธใี ดบาง เชน การบรรยาย การอภิปราย การปฏิบัติจรงิ เปนตน 10) งบประมาณ กําหนดรายรับ–รายจาย ที่จะใชในการจัด ประชมุ สมั มนาวา จะไดร ายรับ มาจากท่ีไหนบาง เชน จากคาลงทะเบียน จากเงินอุดหนุนของหนวยงาน เปนตน และรายจายจะตองใชจายอะไรบาง เชน คาวัสดุที่ใชในการประชุมสัมมนาพิธีเปด – พิธีปด คา สมนาคณุ วิทยากร เปน ตน ซ่ึงผจู ดั ประชมุ สัมมนาจะตอ งคิดคํานวณงบประมาณใหชัดเจน จะไดไมเ กิด ปญ หาในภายหลงั 11) การประเมินผล กําหนดวิธีการประเมินผลใหชัดเจน จะประเมินผลดวยเครื่องมือหรือ เทคนิคอะไรก็ไดที่เหมาะสม เชน ใชแบบสอบถาม การสัมภาษณ และการสังเกต เปนตน 12) ผลท่ีคาดวา จะไดร ับมีการคาดคะเนวา หลังจากการประชุมสมั มนาแลว ผูเขา รว มประชุมสัมมนาจะไดรับประโยชนอ ะไรบา งจากการประชมุ สัมมนาครั้งน้ี 13) กําหนดการประชุมสัมมนา กาํ หนดตารางการประชุมสัมมนา ในแตละวัน โดยระบุเวลาและกิจกรรมท่ีจะทําอยางชัดเจน เพ่ือผูท่ีเก่ียวของและผูเขารวมการ ประชุมสมั มนาสามารถเตรยี มตวั ลว งหนา ได อนึ่ง หวั ขอ ของโครงการดังกลาวสามารถปรับใหยืดหยุนไดตาม ลักษณะของโครงการ 5.3.1.4 ขนั้ ดาํ เนนิ งานเตรียมการจดั ประชุมสัมมนา เมื่อทราบประเด็นปญหาและตัดสินใจที่จะจัดประชุมสัมมนาแลว ควรเตรยี มการจัดประชุมสัมมนา โดยปฏิบัติตามลําดับข้นึ ดังตอไปน้ี 1) การประชาสมั พันธก ารประชุมสมั มนาใหผูท เ่ี ก่ยี วของทราบ 2) ติดตอ เชิญวิทยากร ที่จะมาใหความรูแกผูเขาประชุมสัมมนา โดยวางแผนการติดตอเชิญวทิ ยากร ดงั ตอไปน้ี 2.1) สํารวจรายชื่อวิทยากรท่ีจะบรรยายตามหัวขอท่ีจะ ประชุมสัมมนา

59 2.2) กําหนดตัววิทยากรที่จะบรรยาย ท้ังวิทยากรหลัก และวทิ ยากรสาํ รอง 2.3) ตดิ ตอ ทาบทามวทิ ยากรดวยวาจาเปน การสว นตัวกอน พรอมท้ังแจงวัตถุประสงคขอบขายหัวขอของการประชุมสัมมนา วัน เวลา สถานท่ี และรายละเอียด เก่ยี วกับผเู ขาประชมุ สัมมนา 2.4) ทําหนังสือเชิญวทิ ยากรและขออนุญาตผูบังคับบัญชา ของวิทยากรพรอมกบั สง กําหนดการประชมุ สัมมนาใหวทิ ยากร 2.5) ประสานงานกับวิทยากรเพอ่ื อํานวยความสะดวก เชน ดานการเดินทาง ทพ่ี กั และอื่นๆ 2.6) เชญิ ผเู ขา รว มการประชมุ สมั มนา 3) การเตรียมการ ดานสถานที่และอุปกรณ ดําเนินการ ดังตอ ไปน้ี 3.1) ติดตอขอใชสถานท่ีทําการประชุมสัมมนา หรือถามี การศึกษาดงู านฝกงาน ทศั นศึกษา ฯลฯ จะตอ งตดิ ตอ หนวยงานทเี่ กี่ยวของพรอมทง้ั ยานพาหนะทจ่ี ะใชใน การเดนิ ทางดว ย 3.2) วางแผนการใชสถานท่ีในการจัดประชุมสัมมนา การ จดั หองประชมุ สมั มนา การเตรยี ม โสตทศั นูปกรณต า งๆ ท่ีจะใช 3.3) จัดทําอปุ กรณที่จะตองใชในการประชุมสัมมนา เชน ปายช่ือโครงการประชมุ สัมมนา ปา ยช่ือวทิ ยากร ปา ยช่อื ผเู ขา รว มประชุมสัมมนา ปายบอกทางไปยังหอง ประชมุ สัมมนา ปา ยลงทะเบียน และปายอน่ื ๆ ทจ่ี าํ เปน 4) เตรียมการดานการลงทะเบียน โดยจัดเตรียมแฟมบัญชี รายชื่อเพื่อความสะดวกในการลงทะเบยี น การแจกเอกสาร การเกบ็ เงิน และการสรปุ ผล และยงั ทําใหผ ูจ ดั ทราบยอดจาํ นวนท่แี ทจ รงิ ของผเู ขารว มการประชมุ สัมมนา ซึง่ จะเปนประโยชนใ นการประสานงานกับฝา ย ตางๆ เชน ฝายที่พัก ฝายเอกสาร ฝายอาหารและเครื่องดื่ม ตลอดจนการจัดแบงกลุมยอย ถาผูเขา ประชุมสัมมนามจี าํ นวนมาก ควรเตรียมแฟมสําหรบั ลงทะเบียนมากกวา 1 แฟม และรายช่ือควรพมิ พหนา เดียว เพือ่ ความสะดวกในการเซน็ ชื่อลงทะเบียน 5) เตรียมการดานเอกสารแจกผูเขารวมการประชุมสัมมนา เอกสารที่จะแจกผเู ขา รว มการประชมุ สมั มนาควรจดั ใสแ ฟม ใหเรียบรอ ย โดยมเี อกสารตา งๆ ดังตอ ไปนี้ 5.1) โครงการประชุมสัมมนา 5.2) กาํ หนดการประชุมสมั มนา 5.3) คูม อื ในการประชุมสัมมนา 5.4) รายช่อื ผูเขารวมการประชุมสัมมนา พรอมแจงสังกัด ของผูเขา รว มการประชุมสัมมนา 5.5) รายชื่อผูเขา รว มการประชมุ สัมมนา ตามกลมุ ในกรณที ี่ มีการแบง กลมุ 5.6) เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา 5.7) กระดาษเปลา สําหรับจดบันทึกเพ่ิมเตมิ 6) เตรยี มการสาํ หรบั พธิ เี ปด–พธิ ปี ด การประชุมสมั มนา โดยการ รา งคาํ กลา วรายงานคาํ กลา วประธานในพิธีเปด –พิธปี ด การประชมุ สัมมนา

60 5.3.2 การดําเนินการระหวางการประชมุ สัมมนา เม่ือถงึ กาํ หนดวันจัดประชุมสัมมนาคณะกรรมการแตละฝายจะตอ งดําเนิน กิจกรรมตา งๆ ตามที่กําหนดไว ดังตอ ไปนี้ 5.3.2.1 การตอนรับผูเขาประชุมสัมมนา ไดแก ประธานในพิธี แขกผูมี เกียรติ วิทยากรและผูเขา สงั เกตการณ 5.3.2.2 การลงทะเบยี น ผูเขา รว มการประชมุ สมั มนาทุกคน จะตองเซ็นชื่อ ในบัญชีรายชื่อท่ที างคณะกรรมการฝา ยทะเบียนจัดเตรยี มไว พรอ มกับรบั เอกสารการประชมุ สมั มนา 5.3.2.3 พิธีเปดการประชุมสัมมนา ประธานคณะกรรมการดําเนินการจัด ประชมุ สัมมนาจะเปน ผูกลาวรายงานความเปนมาของการจดั การประชุมสัมมนาพรอมกลาวเชิญประธาน เพือ่ กลา วเปดการประชมุ สมั มนา 5.3.2.4 จดั ประชุมกลุมใหญ โดยมีวัตถุประสงคเพอ่ื จะสรางความเขาใจท่ี ตรงกนั ใหแกผูเขารวมการประชุมสัมมนาและกิจกรรมที่นิยมจัดในหองประชุมใหญ ไดแก การบรรยาย การอภปิ ราย และการสาธติ 5.3.2.5 จัดประชมุ กลมุ ยอ ย หลงั จากทไี่ ดร ับความรู ความคิด จากวทิ ยากร ในทปี่ ระชมุ กลุมใหญแ ลว ใหแ บงกลุมผเู ขารวมสัมมนาออกเปนกลุม ยอ ยตามลกั ษณะของปญ หาและความ สนใจ ซึ่งในกลมุ ยอยจะรว มกนั ถกปญ หา เสนอขอ คิดเห็น โดยมีวิทยากรประจํากลุมทําหนาท่ีดําเนินการ เลือกสมาชิกในกลุมขึ้นมาทําหนาท่ีตางๆ คือ ประธานกลุม รองประธานกลุม เลขานุการกลุม และ ผชู ว ยเลขานกุ ารกลมุ ยอย 5.3.2.6 จัดประชุมรวมเพื่อรายงานผลการประชุม แนวทางการแกไข ปญหาของแตละกลุมยอยอภิปรายผลท่ัวไป โดยประธานกลุม หรือผูท่ีไดรับมอบหมายรายงานผลการ ประชุมสัมมนาของแตละกลุมยอยที่เสนอมานั้น ผูเขาประชุมสัมมนาทุกคนในที่ประชุมมีสิทธิที่จะ เสนอแนะขอคดิ เห็นหรอื สนับสนุนได หลังจากท่ไี ดป รบั ปรุงแกไ ขผลของการประชุมสัมมนาของแตล ะกลุม จนเปนทพี่ อใจของสมาชกิ สวนใหญแ ลว เลขานุการของแตล ะกลมุ จะตองจดขอ ความที่เปล่ียนแปลง หรือ

61 เพิ่มเติมจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ ไดรวมกันอภิปราย เพ่ือรวบรวมใหเลขานุการคณะกรรมการจัด ประชมุ สมั มนา จดั พิมพเปน รายงานผลการประชมุ สมั มนาของทป่ี ระชุมใหญตอ ไป 5.3.2.7 พิธีปดการประชุมสัมมนา ประธานในพิธีปดการสัมมนา อาจจะ เปน บุคคลเดียวกันกับประธานในพิธเี ปด การสมั มนาหรอื คนละคนก็ได 5.3.3 การดําเนนิ การหลังการประชุมสมั มนา ขนั้ ดาํ เนนิ การหลังการประชุมสัมมนา นบั เปนขัน้ ตอนประเมินผล รายงานผล และติดตามผลการประชมุ สัมมนาเมื่อการประชุมสัมมนาส้ินสุดลงแลว คณะกรรมการดําเนินการจัดการ ประชมุ สมั มนาจะตองปฏิบัติภารกจิ ดงั ตอไปน้ี 5.3.3.1 วิเคราะหการประเมินผลการประชุมสัมมนา โดยผูจัดการ ประชุมสัมมนาตองติดตามผลทั้งทางฝายสมาชิกผูเขารวมการประชุมสัมมนาและฝายคณะกรรมการ ดาํ เนินงานทง้ั หมด แลว นาํ ผลทไี่ ดม าวเิ คราะห เพ่ือประมวลผลออกมาเปน ผลสรปุ ของการประชุมสัมมนา ในครงั้ นัน้ แลวจดั พิมพเปน รายงานการประชมุ สัมมนาแจกจา ยไปยังบคุ คลหรือหนว ยงานตา งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ ง กบั การจดั ประชุมสัมมนา 5.3.3.2 รายงานผลการประชมุ สัมมนาตอผูบังคับบัญชา ผูจัดประชุมสัมมนา ตองรายงานผลการประชุมสัมมนาใหผูบังคับบัญชาทราบเปนลายลักษณอักษร ภายหลังจากการ ประชุมสมั มนาสิน้ สุดลงวา การจัดประชุมสมั มนาในครั้งน้ันบรรลุวตั ถปุ ระสงคท ่ีกําหนดไวม ากนอยเพียงใด มปี ญ หาและอุปสรรคอะไรบาง มีขอ เสนอแนะและวธิ ีการแกไ ขอยา งไร 5.3.3.3 ทําหนังสือแจงผลการประชุมสัมมนาตอหนวยงานท่ีเก่ียวของ ผูจัดประชุมสัมมนาจะตองแจงผลการประชุมสัมมนาไปยังหนวยงานของผูเขารวมประชุมสัมมนา ซ่งึ อาจจะพมิ พเ ปน รายงานการประชมุ สมั มนา เพ่ือทห่ี นวยงานน้ันๆ จะไดใชประโยชนในการบริหารงาน บคุ ลากรตอไป 5.3.3.4 ดาํ เนินการเกี่ยวกับงบประมาณคา ใชจ ายตา งๆ ผจู ัดการประชมุ สัมมนา จะตองดาํ เนินการเบิก – จายใหเปนที่เรียบรอย เชน คาตอบแทนวิทยากร คาอาหารวางและเครื่องดื่ม คาใชจ ายในพธิ ีเปด – ปด คาวัสดอุ ุปกรณตางๆ ทีใ่ ชก ารดาํ เนนิ การจดั ประชมุ สัมมนา เปน ตน

62 5.3.3.5 ติดตามผลและวิเคราะหการติดตามผลการประชุมสัมมนา ภายหลังจากท่ีผูเขารวมการประชุมสัมมนาไดกลับไปปฏิบัติงานในหนวยงานระยะหน่ึง ผูจัดการ ประชุมสมั มนาควรจะติดตามผลวาผูเขารวมการประชุมสัมมนา ไดนําความรูและประสบการณจากการ ประชมุ สัมมนาไปใชปรบั ปรงุ งานในหนา ทีไ่ ดผ ลเพยี งใด และตอ งนาํ ขอมูลท่ีไดม าวเิ คราะหดูวาสิ่งใดท่ีเปน ประโยชนและส่ิงใดท่ีควรแกไข เพ่ือใหการจัดประชุมสัมมนาคร้ังตอไปไดผลตรงตามที่ผูเขารวมการ ประชุมสมั มนาจะสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชไ ด 5.4 การอภิปราย ผอบ โปษะกฤษณะไดใหความหมายของการอภิปรายไววาการอภปิ ราย คือ การท่ีบุคคลกลุมหนง่ึ มีเจตนาจะพิจารณาเรื่องใดเร่ืองหน่ึงปรกึ ษาหารือกัน ออกความคิดเห็นเพ่ือแกปญหาที่มีอยู หรือเพื่อ เปนการแลกเปลี่ยนความรคู วามคิดเห็น ถา ยทอดประสบการณท ่ีไดร บั ใหไดทราบซง่ึ ในที่สุดก็มีการตัดสิน ตกลงใจรวมกนั (ผอบ โปษะกฤษณะ อางจาก สมพงศ เกษมสิน, 2519) 5.4.1 ลกั ษณะการอภิปราย 5.4.1.1 จาํ นวนผอู ภปิ รายประมาณ 5 – 20 คน 5.4.1.2 จะตอ งเปนการปรึกษาหารือเปนกลมุ 5.4.1.3 จุดมุงจะตองแกปญหารวมกัน หรือแลกเปลี่ยนความรู ความคิด ทัศนคติ และประสบการณร วมกัน 5.4.1.4 ผูม าอภปิ รายจะตองสนใจในเร่ืองอยางเดียวกนั 5.4.2 จดุ มงุ หมายของการอภิปราย 5.4.2.1 เพื่อฝกความคดิ แบบประชาธิปไตย 5.4.2.2 เพื่อชวยใหผูรวมอภิปรายไดทํางานรวมกันรูจักปรับตัวและรูจัก เปน ผูนาํ และผตู ามที่ดี 5.4.2.3 การอภิปรายมจี ุดมงุ หมายเพ่อื หาขอเทจ็ จรงิ 5.4.2.4 เพ่ือนาํ ความรหู รือขอ คิดเห็นมาแกป ญหาสังคม 5.4.2.5 เพื่อนําความรู ความคิดเห็นท่ีไดจากการอภิปรายไปใชปฏิบัติใน ชีวิตประจาํ วัน 5.4.3 ประเภทของการอภิปราย การอภปิ ราย สว นมากแบง ออกได 3 แบบคอื 5.4.3.1 การอภิปรายกลมุ (Group Discussion) เปน การอภปิ รายที่ใชคน ไมจํากัดจํานวน ผูอ ภิปรายจะเปนทั้งผูพูดและผลัดกันเปน ผูฟง เพราะการอภปิ รายแบบนี้จะไมมีผูฟง ผูอภปิ รายจะมีจํานวนไมเกนิ 20 คน การอภิปรายแบบนี้มักใชกนั มากในวงการศึกษาหรือหนวยราชการ โดยทัว่ ไป 5.4.3.2 การอภปิ รายในทีช่ ุมชน (Public Discussion) เปนการอภปิ รายที่ ประกอบดว ยบคุ คล 2 ฝายคอื มีผอู ภิปรายเปน ผพู ดู และผฟู งอกี ฝายหนงึ่ เมือ่ การอภิปรายยุติลงจะมีการ เปดใหซักถาม (Forum – period) การอภิปรายน้ีมีประโยชนมากท่ีสุดในการใหความรู ความคิด ประสบการณ ขอ เท็จจริง และเปน การแกปญหาสังคมโดยสว นรวมดที สี่ ุด 5.4.3.3 การอภปิ รายแบบโตวาที (Debate) เปน การอภิปรายแบบโตแยง กันอยา งมเี หตุผล โดยมผี คู า นฝา ยหน่งึ และผูเ สนออกี ฝา ยหนง่ึ หาเหตุผลมาหกั ลา งความคิดซ่ึงกันและกัน ฝายใดมีเหตุผลดีกวาอีกฝายหน่ึง ฝายมีเหตุผลกวาก็จะไดรับชัยชนะ โดยมีประธานเปนผูตัดสินหรือ ดําเนินการโตวาทีใหเปน ไปอยางเรยี บรอ ย วธิ กี ารนีใ้ ชสําหรบั หาขอมูลหรือนโยบายท่ตี อ งการเลือกสิง่ หน่ึง

63 สิ่งใดไปปฏิบตั แิ ละยังตกลงกนั ไมได ตองอาศัยวิธีการอภิปรายน้ีในการประชุมตัดสิน วิธีน้ีสวนมากใชใน การประชุมพิจารณาเร่ืองสําคญั หรอื ใชใ นท่ปี ระชมุ สภา 5.4.4 การอภปิ รายในที่ชุมชน มลี กั ษณะของการจัดหลายแบบดังนี้ 5.4.4.1 การอภปิ รายแบบพาเนล (Panel Discussion) การอภิปรายแบบนี้จะใหสมาชิกประมาณ 3 คน 6 คน หรือ 8 คน ผพู ูดจะมีความรโู ดยทัว่ ไป อภิปรายหรือพดู ในปญหาอยา งเดียวกันโดยผูพดู เปนผทู ี่ศกึ ษาหาความรูค น ควา หาหลกั ฐานขอเท็จจรงิ มาพูดตอ หนาผูฟง เปนการสนทนาอยางเปนกันเอง โดยมีผูดําเนินการเปนผูเชิญ ใหผูอภิปรายแสดงความรู ความคิดและใหขอ เสนอแนะ สาํ หรบั ตอนทายของการอภิปรายควรเปดโอกาส ใหผฟู ง ไดรว มอภิปรายดว ย การอภปิ รายแบบน้ีเหมาะสําหรับการแยกแยะประเดน็ ปญหา และผูอภิปราย ทกุ คนจะเปนผูศ ึกษาหาความรูค น ควาขอ เท็จจริงในเรอ่ื งท่ีจะอภปิ รายมากอนแลวนาํ มาพดู ใหผ ฟู งฟง การพูดของผูอภิปรายแตละคนจะเปนการพูดตามทัศนะของตน การอภปิ รายแบบน้ีนิยมใชกันมากในองคการทั้งที่เปนของรัฐและเอกชนตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในวง การศกึ ษา 5.4.4.2 การอภปิ รายแบบซมิ โปเซียม (Symposium Discussion) การอภิปรายน้ีเปนการอภิปรายทางวิชาการ เพ่ือแลกเปล่ียน ความรูโดยผูอภิปราย แตละคนจะเตรียมคนหาความรูขอเท็จจริงเฉพาะตอนหนึ่งตอนใดของเรื่องมา อภิปรายตามท่ีไดตกลงกันไว ผูอภิปรายแบบน้ีจะเปนผูเช่ียวชาญหรือผูชํานาญการในดา นใดดานหน่ึง สวนผูดําเนินการอภิปรายจะมหี นาท่ีเชื่อมโยงเรื่องตางๆ ใหตอเนื่องประสานกันใหเปนไปดว ยดีตลอด ระยะเวลาของการอภิปราย หนวยงานท่ีใชการอภิปรายแบบนี้กันมาก ไดแก หนวยงานทางการศึกษา แพทย ทหาร และธรุ กจิ วิธีดําเนินการอภิปรายเหมือนกันกับการอภิปรายแบบพาเนล แตกตางกันเพยี งแตวาการจดั อภิปรายแบบซิมโปเซียม มีลักษณะเปนวิชาการที่ใหความรูลึกซ้งึ มากกวา การอภิปรายแบบซิมโปเซียมนี้ บางครั้งมักเรียกวา “ชุมชนปาฐก” เพราะมีลักษณะคลายผูอภิปรายมา บรรยายโดยมีผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ผูเช่ียวชาญแตละสาขามาอภิปรายใหความรูแกที่ประชุม ผูอภปิ รายจะใชเ วลาประมาณคนละ 10 - 15 นาที เปน อยา งนอ ย และเวลาการอภปิ รายแบบนไ้ี มค วรเกิน 2 - 3 ช่ัวโมง ขอแตกตางระหวา งการอภปิ รายแบบพาเนลและแบบซมิ โปเซยี ม แบบพาเนล แบบซิมโปเซยี ม 1. ลักษณะการจดั เปน กันเอง 1. ลกั ษณะการจดั เปน ทางการมากกวา 2. วัตถปุ ระสงคในการอภิปรายจะเปน การอภปิ ราย 2. ผูอภิปรายจะเปนผูเช่ียวชาญและมีความรู ความรทู ว่ั ๆ ไป เฉพาะดา น 3. จาํ นวนคนในการอภิปราย 3 - 8 คน 3. จํานวนคนประมาณ 2 - 5 คน 4. ผูฟ งไดรบั ความรทู วั่ ๆ ไป 4. ผูฟงไดรับความรูอยางกวางขวางละเอียดเพราะ 5. ผูรวมอภิปรายมีปฏิสัมพันธระหวางกันและกัน เปนการรวบรวมผูอภิปรายท่ีเชี่ยวชาญหลายๆ ไดอยา งเสรี ดานมาไวดว ยกัน 5. ผรู วมอภิปรายมีปฏิสัมพันธระหวางกันนอยมาก หรอื ไมม ีเลยเพราะตางพดู ในเร่อื งที่ตนถนดั

64 5.4.4.3 การอภปิ รายแบบปุจฉา - วสิ ัชนา (Colloquy) การอภิปรายแบบนี้ในประเทศไทยมักเรียกวาการอภิปราย แบบปจุ ฉา-วสิ ชั นา หรือบางคร้ังก็เรียกวาการอภิปรายแบบโตปญหาระหวางกลุมวิทยากรกับกลุมผูพูด ผฟู ง สามารถซักถามกลุม วทิ ยากรไดอ ยางใกลช ดิ ซง่ึ เปนการแกไขขอของใจระหวางกลุมคนท้ังสองกลุมได เปนอยา งดี 5.4.5 วธิ ีดําเนนิ การอภปิ ราย 5.4.5.1 แบงกลุมบุคคลออกเปน 2 กลุม คือกลุมผูถามซ่ึงเปนผูฟง และกลมุ ผูตอบซงึ่ เปนวิทยากร 5.4.5.2 จัดใหกลุมผูถามและกลุมวิทยากรนั่งคนละดานโดยผูดําเนินการ อภปิ รายคอยควบคุมการซักถาม ระหวางกลมุ บุคคลทัง้ สองกลุม 5.4.5.3 เม่อื มีการโตปญ หา ผดู ําเนนิ การอภิปรายควรสรุปปญ หาเปน เรอื่ งๆ หรือเปน ประเดน็ ๆ ไป 5.4.5.4 ผดู ําเนินการอภิปราย จะตอ งเปนผูสรปุ การอภปิ รายหลังจากเสร็จ สนิ้ การโตปญ หาแลว รวมทัง้ สรปุ ผลการอภิปรายปญ หาตา งๆ ท่ีโตต อบกนั มาแลว ดวย 5.4.5.5 การอภิปรายแบบนี้ผูดําเนินการอภิปรายจะตองมีความสามารถ ในการควบคมุ รายการอภปิ รายไดด ี ตลอดจนควบคุมเวลาในการพูดอยา งเครง ครดั และการอภปิ รายแตล ะ ครง้ั ไมค วรเกิน 2 ชวั่ โมง 5.4.6 หนา ทขี่ องวิทยากร 5.4.6.1 ควรตอบคําถามใหตรงจดุ ประสงคของผูถาม 5.4.6.2 ควรสรา งบรรยากาศเปน กันเอง 5.4.6.3 ควรควบคมุ อารมณใหม ่นั คงในการถกู ซกั ถาม 5.4.7 หนา ทีข่ องผถู าม 5.4.7.1 ใชภาษาสุภาพในการถามวทิ ยากร 5.4.7.2 ถามปญ หาทีน่ า สนใจรวมกนั 5.4.7.3 ถามเพ่อื มจี ุดมงุ หมายไมใชเ พ่ือลองภูมิความรู 5.4.8 การเลือกเรอื่ งท่ีจะอภิปราย 5.4.8.1 เร่อื งท่ีนาํ มาอภิปรายไมควรใชเวลาอภิปรายนานนัก ควรใชเ วลา อภิปราย 1 – 2 ชว่ั โมง ก็สรปุ ผลได 5.4.8.2 ปญหาท่ีนํามาอภิปรายควรเปนประโยชนตอสังคม หรือเปน ประโยชนต อสว นรวม เมอ่ื อภปิ รายแลว จะไดผ ลนําไปปฏบิ ตั ิ 5.4.8.3 ปญหาท่ีเลือกควรเปนปญหาท่ีนาสนใจในขณะนั้น หรือเปน ทีน่ า สนใจของผูฟง เชน ปญ หาโรคเอดส ปญ หานํ้าทว ม ฯลฯ 5.4.8.4 เร่ืองท่ีนํามาอภิปราย ควรเปนเร่ืองท่ีสนใจรวมกันของสมาชิก ในกลุมทจี่ ะจดั อภปิ ราย 5.5 สัมมนา (Seminar) การสมั มนาเปนการประชุมกลุมประเภทหนึ่ง ที่ตองอาศัยกลุมเปนหลักโดยทั่วไป ผทู ี่จะเขา สมั มนาจะตองเปนผูทม่ี ีประสบการณในเรื่องนั้นๆ มาประชุมเพ่ือศึกษาปญหา วิเคราะห สรุป และหาแนวทางแกป ญหารว มกนั ตามหลักการของประชาธปิ ไตย

65 การสมั มนา หมายถงึ การประชุมทีส่ มาชิกซึง่ มีความรู ความสนใจในเร่ืองเดียวกันมา ประชุมดว ยความรวมใจ ปรึกษาหารอื รว มใจกนั คดิ ชวยกนั แกปญหา 5.5.1 สาเหตุของการสัมมนา การสัมมนาจะเกิดขึ้นไดเน่ืองจากเกิดปญหาขึ้นในสถาบัน หนวยงาน องคการ หรือสวนราชการตางๆ และปญหาเหลาน้ันเปนปญหารวมกันท่ีทุกคนตองการคลี่คลาย ท่จี ะแกปญหาเหลา น้ันใหดีข้ึน จึงหาวิถีทางหรือวิธีการมาประชุมรวมกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือ จัดประชุมอบรมรวมกันเพื่อใหไดมาซ่ึงคําตอบที่จะไดนําไปใชแกปญหาไดตอไป สวนรายวิชาสัมมนา การศกึ ษาเปนกระบวนการหนึ่งที่จดั ข้นึ มาเพ่ือใหผูเรียนไดเรยี นรูและสามารถนําเอาวธิ ีการไปใชไ ดห ลงั จาก สําเรจ็ การศกึ ษาไปแลว 5.5.2 ลกั ษณะของการสมั มนาทด่ี ี ลักษณะของการสัมมนาท่ีดนี ้นั สมาชิกทเี่ ขารวมสัมมนาทุกคนจะตองทราบ วัตถุประสงคของการสัมมนาอยางละเอียด และผูจัดจะตองพยายามจัดใหสมาชิกผูเขารวมสัมมนาได มีประสบการณในการเรยี นรแู ละแกป ญ หารวมกนั อยางมรี ะบบระเบยี บ มกี ารแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ และ ขอ เทจ็ จริงระหวา งสมาชกิ ผเู ขา รวมสัมมนาจะตองมีทศั นคตทิ ดี่ ีตอ ปญหาและจริงใจตอการทํางานตามท่ี กลุม มอบหมาย นอกจากน้ีในการสัมมนาแตละครั้งสิ่งท่ีจะขาดเสียไมไดน้ันก็คือการมีผูนําและผูตามที่ดี มีผฟู ง และผูพูดที่ดี ทง้ั นี้เพือ่ ใหบรรลเุ ปาหมายของการสมั มนาที่ตงั้ ไว 5.5.3 ประโยชนข องการสมั มนา 5.5.3.1 ชวยใหผูเขารวมสัมมนามีความรู ความคิด และประสบการณ เพ่มิ ขน้ึ 5.5.3.2 ชวย ใหผูเขารวมสัมมนาไดขอเสนอแนะ หรือแนวทางใน การแกปญหาตางๆ 5.5.3.3 ชว ยใหผ ูเ ขา รว มสัมมนา ไดม ปี ระสบการณใ นการแกปญหารว มกัน โดยใชค วามคดิ อยา งมเี หตุผล 5.5.3.4 ชวยใหผ เู ขา รว มสมั มนารจู กั กนั ดียิ่งข้ึน 5.5.3.5 ชวยกระตุนใหผูเขารวมสัมมนาเกิดความคิดท่ีจะปฏิบัติอยางใด อยางหนง่ึ ตอไป 5.5.3.6 ชวยฝกฝนผูเขารวมสัมมนาใหยอมรับผลการตัดสินใจ โดยใช กระบวนการกลมุ 5.5.3.7 ชวยใหผ ูเ ขารวมสมั มนาไดแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ซ่งึ กนั และกนั 5.5.3.8 ผลของการสัมมนาจะเปนประโยชนแกผูสัมมนาแกบุคคล และสถาบนั ตางๆ ทเ่ี กี่ยวขอ งในเรือ่ งของการสมั มนาโดยตรง นอกจากน้ียงั จะเปน ประโยชนตอผทู จี่ ะศกึ ษา ในเรื่องทเ่ี กี่ยวของกบั การใชใ นการสมั มนาตอ ไป 5.5.4 ผูม ีสว นรวมในการสมั มนา ในการสัมมนาจะมีบุคคลฝายตางๆ เก่ียวของเปนจํานวนมาก ผูมีสวนรวม ในการสมั มนาแบง ออกไดเ ปน 3 กลุมใหญๆ คอื 5.5.4.1 กลุมผูจัดการสัมมนา เปนกลุมบุคคลที่มีบทบาทตอความสําเร็จ หรอื ความลมเหลวในการสมั มนาแตละคร้งั เปนอยา งมาก กลมุ นแ้ี บง เปน 2 กลมุ ยอย คือ 1) คณะกรรมการจัด ดําเนินการสัมมนา (Steering Committee) จะเปนคณะกรรมการกลางที่ดําเนินการในเร่ืองนโยบาย และการปฏิบัติตางๆ ใหสําเร็จดวยดี

66 ประกอบดว ย ประธาน รองประธาน เลขานุการหรอื ผูชวยเลขานุการ นายทะเบียน ประธานอนุกรรมการ ฝายตางๆ เชน ฝา ยเอกสาร ฝา ยสถานที่และบริการ ฝายอาหารและเคร่ืองดื่ม ฝายกิจกรรมและวิทยากร ฝา ยการเงนิ ฝายวัดและประเมนิ ผล เปนตน 2) เจา หนา ทปี่ ฏบิ ัตงิ าน ไดแก เจาหนา ทีป่ ฏบิ ตั ิงานในคณะอนุกรรมการ แตล ะฝาย เชน ผพู ิมพเ อกสาร ผเู รยี งเอกสาร เจา หนา ทโี่ รเนยี วเย็บเลม เจาหนา ท่สี ื่อวสั ดุ โสตทัศนูปกรณ และเจาหนาทีผ่ จู ดั หอ งประชมุ ฯลฯ 5.5.4.2 กลุมวิทยากรหรือผูทรงคุณวุฒิ เปนกลุมที่คณะกรรมการ ดําเนินการสัมมนาเชิญมา เพื่อใหความรูแกผูเขารวมสัมมนากอนทําการสัมมนา หรือระหวางทําการ สมั มนา สําหรับการเชิญวิทยากรมาใหความรูกอนทําการสัมมนานั้นเพือ่ ใหผเู ขารว มสมั มนาไดแนวคิดบาง ประการทจ่ี ะใชป ระโยชนต อ การสมั มนาในแตละครั้ง โดยเฉพาะอยางยิ่งวิทยากรท่ีถูกเชิญมาพูดคร้ังนั้น จะเปน ผทู รงคุณวุฒิ และมีหนาทีเ่ กยี่ วของกับเรือ่ งท่จี ะจดั สัมมนาอยางแทจ รงิ ข้ันตอนนจ้ี ะเปนสว นหนึ่งที่ มุง เสรมิ ความรู และแนวคดิ ใหผ เู ขา รวมสัมมนาไดเ ปน อยา งดี 5.5.4.3 กลมุ สมาชิกผรู วมการสัมมนา การสมั มนาจะสําเร็จลลุ วงลงไปไมไ ด ถาขาดสมาชิกผเู ขา รวมการสมั มนา และในการสมั มนาแตล ะครัง้ ผเู ขา รว มการสมั มนาเปน ผูทป่ี ระสบการณ มากในเร่อื งทีจ่ ะสมั มนา ผลของการสัมมนาจะออกมาดี แตถ าผูเขารว มมีประสบการณนอย และไมเอาใจ ใสตอปญ หาของการสมั มนา ก็จะทาํ ใหการสัมมนาในครัง้ นั้นประสบความลมเหลว ดังน้นั ผเู ขารว มสัมมนา จึงตองมีความตั้งใจอยา งจรงิ จังตอ ปญ หา และชว ยกนั พจิ ารณาหาแนวทางท่ีจะแกไ ขปญหารวมกนั อยางมี ประสทิ ธภิ าพ 5.5.5 กระบวนการจัดสัมมนา การจัดสัมมนาท่ัวไปแบงออกได 3 ข้ันตอน คือ ข้ันเตรียมการกอนการ สัมมนา ขั้นดําเนินการระหวางการสัมมนา และขั้นประเมินผลหลังการสัมมนา ซ่ึงแตละขั้นเหลานี้ มีรายละเอยี ดทีจ่ ะตอ งดาํ เนนิ การหลายอยาง ผูดําเนินการสัมมนาจําเปนตองวางแผนลวงหนาไวกอนวา การจดั การสัมมนาในแตละคร้งั นั้น จะตองเตรียมการอะไรบา ง มีอะไรท่ีตองทํากอน มีอะไรตองทําทีหลัง หรือทําพรอ มๆ กนั ได โดยเฉพาะผดู ําเนนิ การควรจะตอ งเตรยี มการในเรือ่ งตอ ไปน้ี 5.5.6 ข้นั เตรยี มการกอนการสัมมนา 5.5.6.1 จัดทาํ โครงการเพื่อขออนมุ ตั โิ ครงการ 5.5.6.2 ออกแบบสอบถาม และสงแบบสอบถามไปยงั อาจารยทีจ่ ะเขา รว ม สัมมนา เพ่ือหาขอมูลของเน้ือหาวิชาท่ีอาจารยสวนใหญตองการ ที่จะใหสัมมนาและนํามาวิเคราะห เพอ่ื จดั ทาํ ตารางการสัมมนาและหลกั สูตร 5.5.6.3 ออกแบบสอบถามเพ่ือนํามาคํานวณ คาเบี้ยเล้ียง พาหนะ และคา ท่พี กั ของผูเขา รวมสัมมนา 5.5.6.4 แตง ต้งั คณะกรรมการสัมมนา 5.5.6.5 จัดทาํ ตารางสมั มนาและหลกั สูตร 5.5.6.6 เตรยี มเอกสารประกอบการสัมมนา 5.5.6.7 แจงขาวเรื่องโครงการสัมมนาใหผูเก่ียวของทราบ เชน ประกาศ ในหนงั สือพิมพ 5.5.7 การดาํ เนนิ การเกีย่ วกับผูเขารว มสมั มนา 5.5.7.1 จัดทําแบบประวัตหิ รอื แบบลงทะเบียนของผเู ขารบั การสัมมนา

67 5.5.7.2 ทําหนังสือแจงหนวยงานใหคัดเลือกบุคคลเขารับการสัมมนา โดยแจง คุณสมบัติของผูเขารบั การสัมมนาพรอมท้ังสงรายละเอียดเก่ียวกับการสัมมนาของแบบประวัติ ใหก รอก 5.5.7.3 คัดเลอื กผูเขาสมั มนาโดย 1) กาํ หนดแนวทางในการคัดเลือกวา จะใชเกณฑในการคัดเลือก อยางไร 2) พจิ ารณาใบสมคั ร 3) คดั เลือกจัดแบง กลมุ 5.5.7.4 แจงชื่อผูที่ไดรับการคัดเลือกเขาสัมมนาใหเจาสังกัดและผูเขา สัมมนาทราบพรอมท้ังกําหนดการรายละเอียดท่ีผูเขาสัมมนาจะตองทราบและเอกสารท่ีจําเปน (กําหนดการเปด พธิ ี - การแตง กาย) 5.5.8 การดาํ เนินการเกย่ี วกับวิทยากร 5.5.8.1 ทาํ รายละเอียดเกี่ยวกับผเู ขารับการสมั มนา (ภูมหิ ลงั – วุฒิการศึกษา) สง วิทยากร 5.5.8.2 ติดตอวิทยากรเปนการสวนตัว โดยช้ีแจงวัตถุประสงคของหลักสูตร วตั ถปุ ระสงคของหวั ขอ วชิ า ขอบเขตของหัวขอ บรรยาย ตลอดจนใหรายละเอียดอ่ืนๆ พรอมท้ังสอบถาม วิทยากรวาตองการอะไร จะใหสถานท่ีและจดั เตรยี มอปุ กรณห รอื เอกสารอยา งไรบา ง 5.5.8.3 ทําหนังสือเชิญวิทยากร (พรอมทั้งสงตารางการสัมมนาและ รายละเอยี ดเกี่ยวกับหลกั สูตร) และขออนุญาตผบู ังคบั บัญชาของวิทยากร 5.5.8.4 เตรยี มรถรบั สง วิทยากรในแตล ะวัน 5.5.8.5 เตือนวิทยากรลวงหนา 1 วัน และควรย้ําเร่ืองการเตรียมรับ เกย่ี วกบั การเดินทางของวทิ ยากร 5.5.9 การดําเนนิ การอ่นื ๆ เก่ยี วกบั การสัมมนา 5.5.9.1 ติดตอ เกีย่ วกับการสมั มนานอกสถานที่ (ดูงานฝกงาน ทัศนศึกษา ฯลฯ) โดยติดตอหนวยงานทีเ่ ก่ยี วขอ ง 5.5.9.2 เตรียมจัดกิจกรรมทดแทนในกรณีท่ีวิทยากรไมสามารถจะมา บรรยายได 5.5.9.3 เตรียมวธิ กี ารประเมนิ ผล และออกแบบประเมนิ ผล 5.5.9.4 เตรยี มงบประมาณ (เบิกเงินทดรองจา ย) 5.5.9.5 เตรยี มออกประกาศนียบัตรและจดั พิมพ 5.5.9.6 เตรยี มตดิ ตอ จดั หาเครอ่ื งด่มื สําหรบั ผูเขารับการสัมมนา 5.5.9.7 วางแผนการใชสถานท่ใี นการสมั มนาการจัดหอง และเตรยี มเครือ่ ง โสตทศั นปู กรณท่ีจะใชในแตล ะวันลว งหนา (โดยอาจจะทําเปนรายวันวาวันใดจะใชหองใด และจะตองใช อุปกรณอะไรบางใหผรู ับผิดชอบทราบ) 5.5.9.8 จัดทําปายช่ือโครงการสมั มนา ปายชื่อวิทยากร ปายชื่อผูรับการ สัมมนา (ปา ยใหญตัง้ โตะ ปายเลก็ ติดเสื้อ) ปา ยบอกมายงั หองสมั มนา ปายลงทะเบยี น ปา ยอืน่ ๆ ที่จําเปน 5.5.9.9 เตรียมแฟมแจกผูเขารับการสัมมนา ในแฟมควรใสโครงการ สมั มนา ตารางการสัมมนา รายละเอียดหลักสูตร คูมือในการสัมมนา (ถามี) รายช่ือผูเขารับการสัมมนา

68 (วุฒิการศึกษา สังกัด) รายช่ือผูเขารับการสัมมนาแบบกลุม (ถามีการแบงกลุม) เอกสารประกอบการ สมั มนา กระดาษเปลา สําหรับโนต 5.5.9.10 เตรียมแฟมสําหรับลงทะเบยี น 2 – 3 แฟม ขนึ้ อยูกับจํานวนผูเขา รบั การสมั มนา (รายช่ือควรโรเนียวดานเดียว เพ่อื สะดวกในการเซน็ ช่อื ) 5.5.10 การเตรียมการสําหรับพธิ เี ปด – ปด 5.5.10.1 รา งคาํ กลา วรายงาน และคํากลาวเปด – ปด การสัมมนา 5.5.10.2 ทําหนังสือเชิญประธานเปด – ปดการสัมมนาพรอมกับแจง กําหนดการและแบบคาํ กลาวเปด – ปด 5.5.10.3 ทาํ หนังสือเชญิ วิทยากร และแขกผูมเี กียรติมาในพิธีเปด – ปด สัมมนา 5.5.10.4 ทําหนังสือสื่อมวลชนใหม าชว ยทําขา วในพิธเี ปด – ปด 5.5.10.5 เตรยี มเขยี นขา วแจกสอ่ื มวลชน 5.5.10.6 เตรียมแผนปฏิบัติงานในพิธีเปด – ปดการสัมมนา แจงผูเกี่ยวของ เชน ลงทะเบียน แจกเอกสาร จัดสถานท่ีโตะหมูบูชา แจกันดอกไม การตอนรับประธาน แขก และ สือ่ มวลชน ตรวจสอบควบคุมแสงเสยี ง สถานที่ ฯลฯ (โดยระบชุ อื่ ผรู บั ผดิ ชอบในแตล ะเร่อื ง เวลา สถานท)ี่ 5.5.10.7 เตรียมเร่ืองที่จะชีแ้ จงใหผูเขาสัมมนาในวันเปด - ปด (แนวทาง ปฐมนิเทศ) ซึ่งควรที่จะชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงคของการสัมมนา และขอบเขตเนื้อหา เชน แนะนํา เจา หนา ท่ีทเ่ี กยี่ วของหลักเกณฑห รือการปฏิบตั ติ นระหวา งเขา สัมมนา การเซ็นชื่อเวลาใด ที่ไหน อยางไร การขาดการสัมมนา หลกั เกณฑในการใหใบรับรอง หรือประกาศนียบัตร การติดปายช่ือ การสับเปล่ียน ที่น่งั วธิ กี ารแจกเอกสาร การใหบริการและอํานวยความสะดวกตางๆ เวลาพัก บริการเคร่ืองดื่มเวลาใด ทไี่ หน อยางไร หองนํา้ หอ งสมุด หอ งเครอ่ื งดื่มอยูทีไ่ หน การโทรศพั ทติดตอ 5.5.10.8 ตรวจสอบความเรียบรอยของสถานทีส่ มั มนา สถานทล่ี งทะเบยี น และสถานท่ีสาํ หรับพิธเี ปด - ปด ตลอดจนอปุ กรณต างๆ ใหพ รอ มท่ีจะใชไ ดกอนวนั เปด - ปด การสมั มนา 5.5.10.9 เตรียมสรุปแบบประเมินผลการสัมมนาเพื่อรายงานใหประธาน ในพธิ ที ราบ 5.5.11 ขัน้ ดาํ เนินการระหวางการสมั มนา 5.5.11.1 จดั แฟม เซน็ ชือ่ ประจาํ วัน 5.5.11.2 ช้ีแจงกําหนดการประจําวนั 5.5.11.3 แจกเอกสารท่ีมีแตละคน (ควรเตรียมกระดาษเปลาไวใหผูเขา สัมมนาดว ย) 5.5.11.4 จดั รถรับ – สงวิทยากร 5.5.11.5 ตอนรับและสง วทิ ยากรและอาํ นวยความสะดวก เตรียมที่พักให วทิ ยากร ช้ีแจงวธิ ใี ชอ ปุ กรณ เครื่องมอื ตางๆ ทว่ี ทิ ยากรตอ งการ 5.5.11.6 แนะนาํ วิทยากร และขอบคุณ 5.5.11.7 จัดของสมนาคณุ วิทยากร 5.5.11.8 จัดเครอ่ื งดม่ื สําหรับวทิ ยากร 5.5.11.9 จดั เครอื่ งดมื่ สําหรบั ผเู ขา รบั การสัมมนา 5.5.11.10 สงั เกตการณการสัมมนา 5.5.11.11 คอยควบคมุ เวลาใหเปนไปตามกําหนดการ

69 5.5.11.12 ตรวจสอบสถานที่ เวลา เสียง อปุ กรณใ หพรอ มทีจ่ ะใชอ ยูเ สมอ 5.5.11.13 เปลีย่ นปายชอ่ื วทิ ยากร และผูเขารับการสัมมนา 5.5.11.14 อาํ นวยความสะดวกใหแ กผ เู ขารบั การสมั มนา 5.5.11.15 สังเกต สอบถามและวิเคราะหปญ หาประจําวนั 5.5.11.16 ประชุมกรรมการเพ่ือหาทางแกไ ข 5.5.12 ข้ันประเมินผลหลังการสัมมนา 5.5.12.1 วเิ คราะหประเมนิ ผลการสัมมนา 5.5.12.2 รายงานผลการสมั มนาตอ ผูบ งั คับบัญชา 5.5.12.3 ทําหนังสือแจงผลการสัมมนาตอหนวยงานของผูเขารับการ สัมมนา 5.5.12.4 ดาํ เนินการเกย่ี วกับงบประมาณคาใชจายอื่นๆ ใหเ รียบรอย 5.5.12.5 ติดตามผล 5.5.12.6 วเิ คราะห ตดิ ตามผล 5.5.12.7 ปรับปรุงหลักสูตร 5.5.12.8 หากมอี ะไรตอ งติดตอผูเขารับการสัมมนาภายหลังไดกําหนดไว กอน เก่ยี วกบั สถานท่ีซงึ่ อาจเปลยี่ นแปลงทีหลงั หรอื เกย่ี วกบั การแจกเอกสารทจ่ี ัดทําทหี ลงั ถา จําเปนอาจ ขอซองจดหมายปด แสตมปไ วกอนก็ได 5.5.13 ขอดีของการสัมมนา 5.5.13.1 ผูเขาสัมมนาไดมีโอกาสศึกษาคนควา โดยรับการใหคําปรึกษา แนะนําอยางใกลช ิดจากผูท รงคุณวุฒิ 5.5.13.2 กระตุนใหผูเขารวมประชุมสัมมนาทุกคน ไดมีสวนรวมในการ สมั มนาอยา งเต็มท่ี 5.5.13.3 มกี ารเสนอเอกสารและขอ มูลใหมๆ 5.5.13.4 ไดรูปแบบของการแกปญหาหลายๆ แนวทางที่เหมาะสมกับ สถานการณต างๆ 5.5.14 ขอจํากดั ของการสมั มนา 5.5.14.1 ผูท รงคุณวฒุ ิบางทานอาจใจแคบไมยอมรับความคดิ ใหมๆ มักจะ ควบคุมใหก ารสมั มนาเปนไปตามความคดิ เห็นของตนเอง 5.5.14.2 ผูเขารวมสัมมนาไมกลาตักเตือนผูเขารวมสัมมนาทานอืน่ ๆ ที่ กระทาํ ตนไมเหมาะสมในขณะสมั มนา 5.5.14.3 ระยะเวลาในการสมั มนาถาหากมีเวลาจํากัดจะเปนอุปสรรคตอ การศกึ ษาคน ควาหาขอ มูลของผเู ขา รวมสมั มนา 6. การศกึ ษาดงู าน การศึกษาดูงาน หมายถึง การพาบุคลากรของโรงเรียน ไปศึกษาคนควาและเพิ่มพูนใน สถานทตี่ างๆ โดยมีวตั ถปุ รสงคเ พือ่ ใหบ ุคลากรในสถานศึกษา ไดพฒั นาตนเองและพัฒนางานใหมคี ณุ ภาพ ดังน้ัน กอนการศกึ ษาดงู านควรมีประเด็นคําถามเก่ียวกบั การศึกษาดงู านไว 3 ขอ ดงั น้ี 1) การศึกษาดงู านจะมสี ว นในการแกป ญ หาการทํางานใหก ับตนเองอยางไร? 2) การศกึ ษาดงู านจะกอใหเ กิดความคดิ ใหมๆ ที่นําใชกับการทาํ งานไดอยา งไร? 3) การศกึ ษาดูงานมปี ระโยชนต อทีมงาน และหนวยงานอยางไร?

70 6.1 วธิ ีการศกึ ษาดงู านใหเกิดประสิทธิภาพ วธิ กี ารศึกษาดูงานใหเกิดประสิทธิภาพหรือใหเกิดประโยชนจากการศึกษาดูงานนั้น ควรมีวธิ กี ารดงั ตอไปนี้ 6.1.1 เตรยี มความพรอมกอนศึกษาดูงาน 6.1.1.1 ความพรอมในเรอื่ งสภาพรางกาย ใหส มบรู ณแข็งแรงอยใู นภาวะท่ี พรอ มทจี่ ะศกึ ษาดูงาน 6.1.1.2 สรางทศั นคติเชงิ บวก ใหเ กิดความรสู ึกทด่ี ีในการศึกษาดูงาน ดวย การมองเหน็ ถงึ ขอ ดีในการศึกษาดูงาน หนวยงานที่จะศึกษาดูงาน หรอื กิจกรรมทจี่ ดั รวมในการศกึ ษาดงู าน รวมทงั้ ผลทจ่ี ะไดร ับกับตนเอง ทมี งาน และหนวยงาน 6.1.1.3 ต้ังประเดน็ ปญหาท่เี กดิ ขนึ้ ในการทาํ งานปจจบุ นั รวมท้ังทบทวนถงึ วิธีการทํางานในปจจุบัน ถึงแนวคิดที่มุงหวังเพ่ือจะไดนําความรูมาใชในพัฒนาการทํางานใหเกิด ประสทิ ธภิ าพ และจดเปน บันทึกเตือนความจํากอนการศกึ ษาดูงาน 6.1.2 เตรยี มความพรอ มขณะศกึ ษาดงู าน 6.1.2.1 รับฟง การบรรยายหรือการเลาถึงประสบการณในการทํางาน ตลอดจนเทคนคิ วธิ ีการทํางานใหมๆ 6.1.2.2 คิดตาม สรา งแนวความคดิ ใหม โดยมองถงึ ขอ ดีของวิธีการทํางาน แบบใหมท ี่ไดเรยี นรู ท่จี ะสามารถนาํ มาประยุกตใ ชก ับวธิ ีการทาํ งานแบบปจจุบัน เพ่ือลดปญหาและเสริม ประสทิ ธิภาพ ในการทํางาน 6.1.2.3 ถามดู การตง้ั คาํ ถามเพ่ือแลกเปล่ียนความรู โดยถามจากสิ่งที่ ไดเห็น การต้ังคําถามเปนการจุดประกายความคิด กระตุนใหเกิดการถายทอดความรูในการทํางาน ถงึ เทคนคิ วิธกี ารทาํ งานใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพ เชน การลดขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน การนาํ เทคโนโลยีสมัยใหม มาใช การนาํ เอาวธิ กี ารบริหารจัดการสมยั ใหมมาใช เปน ตน ซ่งึ การถามเพื่อสรา งองคค วามรูน้ี เราจะไขขอของใจ ถงึ ประเดน็ ปญหาที่ไดตง้ั ไวก อ นการศึกษาดงู านได 6.1.2.4 รเู ขียน การนําความรูท ่ีไดจากการศกึ ษาดูงานนัน้ นํามาเขียนหรือ จดบนั ทกึ ยอเตือนความจํา การเขียนเปนส่ิงสําคญั เพราะตกผลกึ จากความรูความเขาใจของตนเองนั่นคือ เขียนตามที่รูหรอื เขาใจ ซ่ึงโดยปจจุบนั เราอาจใชเ ทคโนโลยตี างๆ เชน การบันทกึ ความรดู วยกลอ งถา ยวดิ โี อ หรือเลา เรือ่ งจากรปู ภาพโดยการถา ยภาพ หรอื บนั ทึกเสยี งดว ยเครื่องอัดเทป โทรศัพทมือถือ ซึ่งจะชวย เตอื นความจาํ ใหกบั ตวั เอง และถายทอดเปน องคความรไู ดอีกวิธหี น่งึ 6.1.3 เตรยี มความพรอมหลังศกึ ษาดูงานเสรจ็ สิน้ 6.1.3.1 ทบทวนความรทู ่ไี ดจากการศกึ ษาดงู านของตนเอง 6.1.3.2 นําความรูทไี่ ดจากการศกึ ษาดูงานมาประยกุ ตใ ชใ นการทาํ งาน 6.1.3.3 จดบนั ทกึ เตือนความจาํ ถงึ วิธกี ารแกป ญ หาตามประเด็นปญหาทต่ี งั้ ไวกอนการศกึ ษาดงู าน ความรูท่สี ามารถนํามาประยุกตใ ช ตลอดจนความรูใ หมๆ ท่ีเกดิ ขึ้นการจดบันทึกน้ี เปนการตรวจสอบความรขู องตนเองท่ไี ดรับในอีกทางหนึ่งดว ย 6.1.3.4 จัดประชุมแตละทีมงาน เพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกัน ตดิ ตามและประเมินผลความรทู ไ่ี ดรับจากการศึกษาดงู าน กอ นที่จะรวบรวมความรทู ่ีไดในแตละบุคคล มา สรุปเพอื่ จดั ทาํ เปน องคค วามรแู ตล ะทมี งาน 6.1.3.5 ถา ยทอดและเผยแพรอ งคค วามรู และนําองคค วามรูทไ่ี ดมาปรบั ใช ในการทํางานอยา งตอ เน่ืองและสม่ําเสมอ

71 6.2 ขนั้ ตอนการนเิ ทศแบบศกึ ษาดงู าน 6.2.1 เลอื กสถานทศ่ี กึ ษาดูงานท่ตี รงกบั ปญ หาและความตองการ 6.2.2 กําหนดวัตถปุ ระสงคของการศกึ ษาดูงาน 6.2.3 วางแผน ประสานงาน กบั สถานทท่ี จี่ ะไปศึกษาดูงาน 6.2.4 แจง ใหห นว ยงานท่ไี ปศกึ ษาดงู าน บรรยายสรุปใหฟ ง 6.2.5 ควรใชเ วลาในการศกึ ษาดงู าน ใหนานพอสมควร 6.2.6 หลังจากศึกษาดงู านแลว ควรกลบั ไปสรปุ แนวความคิด และวางแผนปรับปรงุ งานตอไป (ตัวอยาง) แบบบนั ทกึ การศกึ ษาดงู าน (แบบที่ 1) โรงเรียน........................................................อาํ เภอ..........................จังหวดั ....................... วันที่....................................................สถานทไ่ี ปศกึ ษาดงู าน............................................... เรื่องทศ่ี กึ ษาดูงาน ผลการศึกษาดูงาน ส่งิ ท่ีนาํ ไปประยุกตใ ช หมายเหตุ (ลงช่ือ).................................................ผศู กึ ษาดูงาน (..........................................)

72 (ตวั อยา ง) แบบบนั ทกึ การศึกษาดูงาน (แบบท่ี 2) ชือ่ ผศู กึ ษาดงู าน.......................................................................วันท่.ี ................................................ ชื่อรายการทศี่ กึ ษาดงู าน..........................................................สถานทศี่ กึ ษาดงู าน........................... ......................................................................................................................................................... 1. จดุ ประสงคก ารศกึ ษาดงู าน 1.1............................................................................................................................................. 1.2............................................................................................................................................. 1.3............................................................................................................................................. 2. ลกั ษณะหรือรปู แบบการจัด/ทํา/ตกแตง /ผลติ /สาธติ ฯลฯ ของผทู ใี่ หศ ึกษาดูงาน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 3. ผลจากการศึกษาดงู าน 3.1 สว นดี.................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ 3.2 สวนท่คี วรปรบั ปรุง.............................................................................................................. ............................................................................................................................................ 4. รายการ/สง่ิ ทค่ี วรนําไปปรับปรงุ ใชในโรงเรียน ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 5. วธิ กี ารท่ีจะนาํ ส่ิงหรืองานทีไ่ ดไ ปปรับปรุงใช  ใชเ ครื่องบนั ทกึ ภาพ วดี โี อ  ถา ยภาพ จํานวน.........ภาพ  ไดรบั เอกสารคอื ................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... (ลงชื่อ).................................................ผศู กึ ษาดูงาน (..........................................)

73 7. การดูนทิ รรศการ นิทรรศการ หมายถงึ การจดั แสดงขอมูลเน้อื หาผลงานตางๆ ดวยวัสดุ ส่ิงของ อุปกรณและ กจิ กรรมท่ีหลากหลายแตมีความสัมพันธกันในแตละเร่ืองโดยมีจุดมุงหมายที่ชัดเจน มีการวางแผนและ ออกแบบทเี่ ราความสนใจใหผ ชู มมสี วนรวมในการดู การฟง การสงั เกต การจับตองและการทดลองดวยส่ือ ท่ีหลากหลาย เชน รูปภาพ ของจริง หุนจําลอง ปายนิเทศ และกิจกรรมตางๆ เชน การประกวดการ แขงขนั การบรรยาย การสาธติ การอภิปราย และการตอบปญหา เปน ตน 8. การสาธติ การสอน การสาธิตการสอน เปนกจิ กรรมทมี่ งุ ใหผดู ูเหน็ การดําเนินการคลายสถานการณจริง โดยการ นําคณะครูไปชมสาธติ การสอนในหรอื นอกโรงเรียน โดยมีวตั ถปุ ระสงค เพื่อใหผ สู าธติ การสอนนาํ ประโยชน ท่ีไดจากการไปชมการสาธิตการสอน มาปรับปรุงการเรียนการสอนและพัฒนาตนเอง และเปนการ เสรมิ แรงใหกับผสู าธิตการสอน ถา หากผูสาธิตการสอนเปน ครใู นโรงเรียนเดยี วกนั ดู ผสู าธติ การสอนจะตอ ง ปรับปรุงการเรยี นการสอนของตนเองใหม าก เพื่อมาเปนผูสาธติ การสอน การดําเนินการนิเทศแบบสาธติ การสอน มขี น้ั ตอนดงั นี้ ข้นั ท่ี 1 เตรียมการสาธติ การสอน 1.1 ศึกษา ปญ หา สํารวจความตอ งการ เพื่อนําไปสูการสาธิตการสอนในเร่ืองที่ ตรงกนั 1.2 แจงผสู าธติ การสอนและผดู กู ารสาธิตการสอน ทราบวัตถุประสงครวมกันใน เรื่องของการชมการสาธติ การสอน กลมุ ประสบการณใ ดๆ เรื่องใด ชน้ั ใด ประสานงาน เตรียมการใหพ รอม 1.3 ใหผูดูการสาธิตการสอน เตรียมบันทึกผลการชมการสาธิตการสอนตาม รูปแบบท่ีกําหนดให ข้ันที่ 2 ปฏบิ ัติการสาธติ ผูดูการสาธิตการสอน ศึกษา สังเกต กระบวนการ ขั้นตอน เทคนิควิธีการสอน รูปแบบตางๆ ทีไ่ ดจากการสาธติ การสอน และจดบนั ทึกไว ข้นั ท่ี 3 ประยกุ ต และดําเนินการ ผูดูการสาธติ การสอนนํากระบวนการ เทคนิควธิ กี ารสอนทีไ่ ดจ ากการสาธิตการสอน สรุปประยกุ ตใ ชด ําเนนิ การในการจดั การเรยี นการสอนของตน ข้นั ท่ี 4 ประเมนิ ผล 4.1 ตดิ ตามผลการปฏิบัติงานของครูผูไ ปดูสาธติ การสอน มกี ารเปลี่ยนแปลง 4.2 สรุปรายงานผล แจงใหคณะครูผูไปดูการสาธิตการสอน เพ่ือนําผลไป ปรับปรุงแกไข พฒั นาตนเองตอไป มาตรฐานการนเิ ทศภายในโรงเรยี น การวางแผนการนิเทศภายในโรงเรยี น เปนกระบวนการสาํ คัญทีจ่ ะตองดําเนนิ การใหไ ดแ ผนนเิ ทศ สาํ หรับใชเปน เครอ่ื งมอื /คูมือปฏิบตั ิการนเิ ทศภายในโรงเรียน แสดงถึงการบรหิ ารจดั การโครงสรา งองคกร และระบบการดําเนินงานของโรงเรียนได ซ่ึงสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดกําหนด มาตรฐานในการนิเทศภายในโรงเรยี นไว 5 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานท่ี 1 โรงเรียนกาํ หนดผูรับผิดชอบงานนเิ ทศภายในโรงเรยี นและมีคาํ สงั่ แตง ตั้งเปนลาย ลกั ษณอักษร

74 1.1 ใหม ีคณะบุคคลรบั ผดิ ชอบงานนิเทศภายในโรงเรียนและมีคําสั่งแตง ต้งั 1.2 บคุ ลากรที่ไดร บั การแตงตัง้ มีคุณสมบตั เิ หมาะสม 1.3 มีการกําหนดภาระงานและความรบั ผิดชอบไวชัดเจน 1.4 บุคลากรท่ีไดร บั มอบหมายเขาใจภาระงานและความรับผิดชอบงานนิเทศ ภายในโรงเรียน 1.5 คณะครูในโรงเรียนมีสวนรวมในการสรรหาผูรับผิดชอบงานนิเทศภายใน โรงเรยี น มาตรฐานท่ี 2 โรงเรยี นมีระบบขอ มูลสารสนเทศเพอ่ื การวางแผนการนเิ ทศ 2.1 มขี อมูลพน้ื ฐานทีจ่ าํ เปน ท่ตี อ งใชในการนเิ ทศ ดงั น้ี 2.1.1 ขอ มูลแสดงสภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนของครู 2.1.2 ขอมลู แสดงความตองการพฒั นาของครู 2.1.3 นโยบายของหนวยงานระดับเหนือในการพฒั นาครู 2.2 ขอมูลสอดคลอ งกบั สภาพความเปน จรงิ 2.3 การจัดเก็บขอ มูลสะดวกและนําไปใชป ระโยชนไดทันที 2.4 มกี ารนําขอ มลู ที่ไดจัดเก็บมาใชป ระโยชนในการวางแผน 2.5 มีขอ มลู ยอ นหลงั อยางนอย 2 ป มาตรฐานท่ี 3 โรงเรียนมีแผนการนิเทศท่ีตอบสนองความตองการพัฒนาครูของครูและของ โรงเรียน 3.1 มีแผนนเิ ทศท่ีมสี าระสาํ คญั ดังนี้ 3.1.1 ความสาํ คัญและความจาํ เปนที่ตองพัฒนาครู 3.1.2 จุดเนน ทีต่ อ งพฒั นา 3.1.3 กิจกรรมการนิเทศและรายละเอียดของแตละกิจกรรม ไดแก วัตถุประสงค เปาหมาย ข้นั ตอนการดาํ เนินงาน ระยะเวลา สอื่ และเคร่ืองมือทจ่ี ําเปน วิธกี ารวดั ประเมนิ ผล กิจกรรมการนเิ ทศ 3.1.4 แผนนเิ ทศของโรงเรียนตอบสนองความตองการพัฒนาของครูและ ของโรงเรยี น 3.1.5 บุคลากรมสี วนรวมในการวางแผนการนเิ ทศตามบทบาทหนาท่ขี องตน 3.1.6 การเขียนสาระสําคัญของแผนการนิเทศแตละสวนสอดคลอง สัมพนั ธกัน มาตรฐานที่ 4 โรงเรยี นดําเนนิ การตามแผนการนิเทศทวี่ างไว 4.1 มผี ูรับผดิ ชอบดาํ เนินการตามแผน 4.2 ผูรับผิดชอบรบั ทราบ และดําเนินการตามแผนการนิเทศ 4.3 คณะครรู บั ทราบแผนนเิ ทศของโรงเรยี น 4.4 ผนู ิเทศดําเนินการไดตามแผนการนิเทศ 4.5 มกี ารบันทกึ การดําเนินการและผลการดําเนินการของแตละกจิ กรรม มาตรฐานที่ 5 โรงเรียนประเมินผลตามแผนการนิเทศอยางเปนระบบและนําผลการประเมิน มาปรบั ปรุงการนิเทศของโรงเรียน 5.1 มีการวางแผนประเมนิ ผลแผนนเิ ทศ 5.2 แผนการประเมินผลแผนนิเทศ ประกอบดวย

75 5.2.1 สิ่งทจี่ ะประเมนิ 5.2.2 สภาพความสําเร็จและเกณฑก ารประเมนิ 5.2.3 วิธีการและเครอ่ื งมือประเมนิ 5.2.4 แหลงขอ มลู ผูป ระเมนิ 5.3 มรี ายงานผลแผนนเิ ทศของโรงเรยี นทีค่ รอบคลมุ สาระสําคัญ ดังน้ี 5.3.1 แผนนิเทศปการศึกษาทีจ่ ะประเมนิ 5.3.2 การดําเนินการตามแผนนิเทศและผลการดําเนินการของ แตล ะกิจกรรม 5.3.3 ผลตามวัตถุประสงคของกิจกรรมการนเิ ทศแตละกจิ กรรม 5.3.4 อุปสรรค/ปญหาในการดาํ เนนิ การ 5.4 คณะครมู ีสว นรว มในกิจกรรมการประเมิน 5.5 นําผลการประเมนิ ไปพิจารณาวางแผนนเิ ทศของโรงเรยี นในปตอไป เพื่อใหการนิเทศเปนไปตามมาตรฐาน แผนการนิเทศเปนเสมือนเข็มทิศของการนิเทศซ่ึงตอง วางแผนโดยอิงหลักการ ทฤษฎี เทคนิควิธีการท่ีเกี่ยวของกับการนิเทศ เพื่อใหไดแผนการนิเทศท่ีดีมี ประสิทธภิ าพ เหมาะสมกบั บรบิ ทและความตอ งการจาํ เปนในการพัฒนางานของโรงเรียน และครู ศภุ ลกั ษณ มุขพรหม (2553) ไดเ สนอเทคนิควธิ กี ารดําเนินการสมู าตรฐานการนเิ ทศภายใน ดังน้ี ข้นั ท่ี 1 สรา งความตระหนกั เปนขน้ั การจดั การใหค รูรบั รปู ญ หาหรอื สถานการณ ใหตระหนกั ถงึ ความสําคัญจําเปนใน การพัฒนาน้ันๆ เชน การใหรับทราบขอมูล หรือสภาพปญหา การกระตุนหรือสรางแรงจูงใจสภาพ ความสําเรจ็ ในขั้นน้ี คือ ครูรับทราบปญ หา/นโยบาย มีความสนใจและกระตอื รือรนและพรอ มจะแกปญ หา หรอื พัฒนาตนเอง ขั้นที่ 2 ปกหลกั ชัย เปนการดําเนินงานเพ่ือกําหนดจุดพัฒนา และกําหนดสภาพความสําเร็จในการพัฒนา รว มกัน โดยรวบรวมขอ มูลและศึกษาขอ มูลทเี่ กยี่ วของเพอ่ื กําหนดหลักชยั หรือเปาหมาย สภาพความสําเรจ็ ในข้นั นี้ คอื 2.1 มขี อมลู สารสนเทศที่เกย่ี วของเปนระบบ สะดวกตอ การใชว างแผน 2.2 ผูเ ก่ียวขอ งมภี าพความคาดหวงั เพือ่ เตรียมวางแผนการนเิ ทศ 2.3 มีเปาหมาย/วตั ถปุ ระสงคก ารนิเทศชดั เจน สอดคลองกับความตองการ และรับรู รว มกนั ข้ันท่ี 3 รวมใจพฒั นา เปนการพิจารณาหาทางเลือกในการนิเทศ เชน ผูนิเทศ ผูรับการนิเทศ วิธีการนิเทศ/ กิจกรรม สอ่ื /เครือ่ งมอื ทง้ั นกี้ ารดาํ เนินการอาจดาํ เนินการในลักษณะกลุมท่มี ปี ระสิทธภิ าพซ่ึงอาจมีหลาย กลมุ ตามความสนใจ/ความตองการจําเปน โดยเนน การมสี ว นรวมในการวางแผนและกําหนดองคป ระกอบ ตางๆ และท่ีสําคัญผูบริหารในฐานะผูบริหารการศึกษา และผูนิเทศการศึกษาตองเปนสวนหนึ่งในกลุม ประสิทธิภาพ คือ ทําหนาที่อํานวยการ เชน การวินิจฉัยส่ังการ การจัดวิธีการใหมีการดําเนินการอยาง ตอเนื่อง ทําหนาที่เปนผูประสานงาน เชน การประสานความรู ความคิดของทีมใหเปนไปในทิศทางท่ี ตอ งการตามเปา หมาย ทําหนาทีผ่ นู ิเทศ เชน การใหความรู ใหค ําปรกึ ษา ตรวจและประเมนิ กจิ กรรม/งาน โครงการ สภาพความสาํ เรจ็ ในขั้นนี้ คือ

76 3.1 ผูรบั การนเิ ทศมีเปา หมายในการพัฒนาตนเองชัดเจน 3.2 ผูรับการนเิ ทศไดรวมกนั วางแผนพัฒนาตนเองตามเปาหมาย 3.3 ผนู ิเทศมีสว นรวมในการคัดเลอื กตัวผูนิเทศ 3.4 ทม่ี คี วามเหมาะสม มคี ําส่งั มอบหมายและกําหนดภารกจิ ชดั เจน 3.5 ผูรบั การนเิ ทศรบั ทราบภารกจิ ทีจ่ ะนเิ ทศตามสภาพความตองการ 3.6 มกี ิจกรรมนเิ ทศท่เี หมาะกับสภาพความตอ งการจาํ เปน และขอจาํ กดั ของโรงเรียน ในแตล ะกิจกรรมการนเิ ทศควรมีองคประกอบตอ ไปนี้ ชอ่ื กจิ กรรมการนิเทศ จุดประสงค/ เปา หมายของการนิเทศ สภาพความสาํ เร็จทต่ี อ งการพฒั นา (ความรู/ทักษะ/เจตคต)ิ กระบวนการ/ขน้ั ตอน การนิเทศ วัน เวลา สถานท่ีท่ีดําเนินการ สื่อประกอบการนิเทศ เคร่ืองมือการนิเทศ และผูปฏิบัติ/ ผูร ับผดิ ชอบ/คณะ ส่ิงสาํ คัญ คือ ผบู รหิ ารจะตอ งเปนผูมคี วามรคู วามสามารถในเรื่องที่จัดใหมีการนิเทศแม จะมอบหมายใหครูนิเทศกันเองก็ตาม กิจกรรมในแตละองคประกอบจะตองรอยรัดสัมพันธกันมีความ ชดั เจนและเห็นภาพงานตลอดแนว ขั้นที่ 4 รคู า ผลงาน เปนข้ันตอนการวางแผนการดําเนินงานนิเทศภายในโรงเรียน นอกจากจะเปนการ ประเมนิ ผล สภาพความสําเรจ็ ของการดําเนินงานแลว ยงั เปนการนําผลขอมูลดานปญหา/อุปสรรค เพื่อใช ประโยชนใ นการวางแผนปรบั ปรงุ แกไขในการนเิ ทศคร้ังตอไป ดังน้ัน การวัดประเมินผลที่ดีควรมขี อมูลที่ สอดคลองกบั สภาพความเปนจริง ผูรับการประเมินรูจุดท่ีควรปรับปรุงแกไขและยอมรับผลการประเมิน ดวยความเต็มใจ ควรวางแผนการประเมินทั้งกอนดําเนินการ ระหวางดําเนินการและส้ินสุดการนิเทศมี หลักการสาํ คัญ คอื เปนการตดิ ตามชว ยเหลือ สรา งขวญั กําลังใจ โดยมุงใหผูรับการนิเทศสามารถพัฒนา ตนเองไดตามเปา หมาย เนน การวัดประเมนิ ผลรว มกนั ระหวา งผปู ระเมิน และผูรับการประเมินเพอ่ื ใหทราบ ปญหา/อุปสรรคในการพัฒนางาน ควรเปดโอกาสใหผูรับการประเมินมีสวนรวม เชน กําหนดวิธีการ ประเมิน ใหว พิ ากษเ ครอื่ งมอื หรอื แบบการประเมิน การคัดเลอื กผปู ระเมนิ /ทีม การประเมนิ ตนเองเปน ตน สภาพความสําเร็จในขั้นน้ี คอื 4.1 ผูรบั การนิเทศมีสวนรวมในการวางแผนประเมิน เชน รวมกําหนดขอบขายและ เกณฑการประเมิน กําหนดแหลงขอ มูลและระยะเวลา 4.2 สรางและมีเครื่องมือการประเมินท่ีหลากหลาย มีคุณภาพสอดคลองภารกิจ/ กจิ กรรม 4.3 มีการวัดประเมนิ ท้งั ดานกระบวนการและผลลัพธ ขั้นที่ 5 สืบสานพฒั นาคมู ือสูการปฏิบัติ เปน การนาํ ขอมลู ผลการดําเนินงานจากข้นั ตอนท่ี 1 – 4 มาสรปุ วางแผนจัดทาํ คมู ือหรือ แผนการนิเทศ และนาํ ไปสูการปฏิบัติในการนิเทศภายในโรงเรียนตอไป สว นประกอบของคมู อื /แผนการนิเทศควรประกอบดวยสาระสาํ คญั ดงั น้ี สวนประกอบตอนตน - คาํ นํา คาํ ชแี้ จง สารบญั สว นประกอบตอนกลาง ตอนที่ 1 บทนํา - ความสาํ คญั และความเปน มา - วัตถปุ ระสงคข องการนเิ ทศภายใน

77 ตอนท่ี 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ ง ตอนท่ี 3 วิธีดาํ เนนิ การ ตอนท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข อ มลู ตอนที่ 5 สรปุ อภปิ ราย สว นประกอบตอนทา ย คําสง่ั หลกั ฐานอางองิ สภาพความสาํ เร็จในข้นั นี้ คือ 5.1 มคี ูม อื /แผนการนเิ ทศทส่ี มบูรณ 5.2 คณะผูนิเทศมีความมั่นใจในการนิเทศสามารถนิเทศไดตรงตามแผน ขัน้ ที่ 6 รอยรัด สรุปรายงานผล เปนข้ันตอนเมอ่ื สิ้นสุดการดําเนินงานตามแผนนิเทศ จะตองมีการสรุปรายงานผลการ ดาํ เนนิ งานใหผเู กี่ยวของทราบ โดยใชร ปู แบบการรายงาน การวิจยั หรือรายงานการประเมนิ โครงการ แลว นาํ ผลการนเิ ทศไปใชพัฒนางานตอไป สภาพความสาํ เรจ็ ในขนั้ นี้ คือ 6.1 ทาํ ใหทราบผลการดําเนินงานวาบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคหรือไม 6.2 ทําใหทราบขอ มูลในการดําเนินงานวามีปญ หา/อปุ สรรคอะไร 6.3 ใชเปนขอมูลในการศึกษา อางอิงหลังการดําเนินงานและใชเปนขอมูลในการ วางแผนพฒั นางานในครง้ั ตอๆ ไป กจิ กรรมการนเิ ทศภายในสามารถดาํ เนินการไดห ลายวิธี ดังน้ัน การดําเนินการนิเทศภายในควร เลอื กกจิ กรรมใหเ หมาะสมและสอดคลองกับปญ หา ลกั ษณะงานและความพรอมของโรงเรียน เพราะการ นิเทศภายในโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพ เปนสวนหนึ่งท่ีชวยพัฒนาการปฏิบัติงานของครูและการจัด การศกึ ษาของโรงเรยี นใหเ ปน ไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

บทที่ 4 แนวทางการประเมนิ ผลการนเิ ทศ การประเมนิ ผลการนเิ ทศ หมายถึง การตคี า เพอ่ื ตดั สนิ ผลงานนิเทศการศึกษาท่ีกําลังดําเนินการอยู และท่ีดาํ เนนิ การไปแลว มีผลเปนที่พอใจหรือไม จําเปนตองมีการปรับปรุงสวนใด เพ่ือใหงานการนิเทศ ประสบผลสําเร็จตามท่ีตองการ การประเมินผลเปนข้ันตอนสําคัญขั้นตอนหน่ึงในกระบวนการนิเทศ เปนกระบวนการที่ตอ งการรวบรวมขอ มลู ตา งๆ เพ่อื ทราบความกา วหนา ปญ หา อปุ สรรค และความสําเรจ็ ในการนิเทศการสอน การประเมินผลการนิเทศภายในโรงเรียนและหรือการนเิ ทศการเรียนการสอนมีความจําเปน และสําคัญอยา งยิ่ง ในการนเิ ทศการศึกษาและการนิเทศการสอน ในการประเมินผลดําเนินการไดหลาย รปู แบบ เชน การประเมนิ ทัง้ ระบบ หมายถึง การท่ีตอ งมีการประเมินท้ังปจจัยปอ นเขาหรือปจจัยนําเขา (Input) ประเมินกระบวนการนิเทศการสอนซึง่ เปนสวนหนึ่งท่สี าํ คญั ของการนิเทศการศึกษา และประเมินผลลัพธ (Product) ซ่ึงหมายถึง ผลลัพธของโครงการโดยภาพรวม และผลลัพธของกระบวนการนิเทศการสอน ทคี่ รูไดรับการนิเทศ เม่อื มกี ารประเมินผลระบบการนิเทศ รวมถึงโครงการการนิเทศของโรงเรยี นซึ่งอาจจะ มีโครงการยอ ยๆ ภายใตโ ครงการนิเทศในโรงเรยี นโดยรวมก็ได ดังนัน้ รูปแบบของการประเมนิ เคร่อื งมอื ที่ ใชในการประเมินและวิธีการประเมินอาจจะเลือกใชใหเหมาะสมกับการนิเทศการศึกษาแตละเร่ือง และการนิเทศการสอนซึ่งเนนเฉพาะการนิเทศการจัดการเรียนการสอนของครูในชั้นเรียนโดยตรง การประเมินผลโครงการกิจกรรมหรือตัวหลักสูตรใชหลักการประเมินผลท่ีคลายคลึงกัน รวมท้ังรูปแบบ ตางๆ ทเ่ี ลือกใชในการประเมินอาจจะมีการปรับประยุกตใชใหเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงคและเปาหมาย ของการประเมินผล ที่สําคญั คือ ในการนเิ ทศนน้ั ควรมีการประเมินท้ังดานกระบวนการและผลลัพธท่ีเกิด ขึ้นกับผูนิเทศดวย เพ่ือที่จะนําไปสูการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการนิเทศใหประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผลยิ่งข้ึนตอไป ในการประเมนิ ผลใดก็ตาม จะประกอบดวยการประเมินผลเพือ่ การปรบั ปรุงแกไข ซึ่งโดยทั่วไป จะมีการประเมนิ ผลระหวา งดําเนนิ การและการประเมินผลเพื่อตดั สนิ ผลการดาํ เนนิ การ เครือ่ งมอื การประเมินผลการนิเทศมีหลายแบบ การทจี่ ะใชเ คร่ืองมอื ใดยอมขนึ้ อยูกับวตั ถปุ ระสงค หรือจุดมุงหมาย ท่ีกําหนดไวเปนสําคัญเครื่องมือที่ใชในการประเมินผลการนิเทศ เชน แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสาํ รวจ การสัมภาษณ การตรวจสอบผลงานภาคปฏบิ ัติ การประชุมปรึกษาหารือและ ทบทวนการปฏิบัตงิ าน การวจิ ัยในเชงิ ประเมินผล การสงั เกตการสอน การบันทึกวิดีทัศน การบันทึกเสียง การสังเกตการสอนโดยการเขา ไปนง่ั ในชั้นเรียน การใชแ ฟมสะสมผลงาน (Portfolio) ฯลฯ รูปแบบการประเมินผลการนิเทศการสอน ประยุกตจ ากรูปแบบการประเมินหลักสูตรของ คณะกรรมการ Phi Delta Kappa Committee Model คณะกรรมการ Phi Delta Kappa เชื่อวา การประเมินผล 4 ประการตอ ไปน้ี มีความจําเปน 1. การประเมินส่ิงแวดลอ ม (Context evaluation) ในท่ีนี้ หมายถึงการประเมินโรงเรียน ผบู ริหารหอ งเรียน สอ่ื และอปุ กรณ 2. การประเมินตัวปอน (Input evaluation) ซ่ึงมีความจําเปน ตอการตัดสินใจหรือการ ออกแบบจุดประสงค เพ่ือตรวจสอบสมรรถภาพของสิ่งท่ีเกี่ยวขอ งในที่น้ี ไดแ ก ครู ผูนิเทศ นกั เรียน วธิ กี ารนเิ ทศ เทคนิค เนอ้ื หา เครือ่ งมอื การนิเทศการสอน

79 3. การประเมินกระบวนการ (Process evaluation) ซ่ึงจะนําไปสูก ารตัดสินใจปฏิบัติ ในท่ีนี้ หมายถงึ การประเมนิ ผลการนิเทศการสอน การสงั เกตการสอน การเยย่ี มชน้ั เรยี น การอบรม ฯลฯ 4. การประเมนิ ผลผลิต (Product evaluation) ที่ ไดร ับดวยการจัดหาขอมูลในการตัดสนิ ซง่ึ จะ บรรลไุ ดห รือในท่นี อี้ าจหมายถึงการประเมนิ ผลที่ เกดิ ขึน้ จากการนเิ ทศการสอน เชน ผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียนรู ของนักเรียน การประเมินผลการนเิ ทศภายในโรงเรยี น การประเมินผลการนิเทศภายในโรงเรียน เปนการตรวจสอบกิจกรรมการนิเทศวาสนองตอ วตั ถปุ ระสงคและเปาหมายของการนเิ ทศมากนอ ยเพยี งใด โดยมกี ารประเมนิ 3 ขั้นตอน ดังน้ี ขั้นท่ี 1 ประเมินกอ นการดาํ เนินการ ขัน้ ท่ี 2 ประเมินระหวางดาํ เนินการ ขัน้ ที่ 3 ประเมนิ หลงั ดําเนนิ การ ซึ่งมีรายละเอยี ดการดาํ เนินการ ดงั นี้ ขั้นที่ 1 ประเมนิ กอ นการดําเนินการ เปนการประเมนิ ความพรอ มกอนการดําเนินงานของผูบริหารหรือคณะกรรมการ ของสถานศกึ ษา ในเรื่องตอไปนี้ 1.1 ความเปน ไปไดใ นการปฏิบัติจรงิ ของกิจกรรมวา มคี วามเปนไปไดมากนอ ย เพยี งใด 1.2 ตรวจสอบเครื่องมือ สอื่ คน และเวลา ข้ันที่ 2 ประเมนิ ระหวา งดําเนนิ การ เปน การประเมนิ ขณะปฏิบัติงานตามแผนการนิเทศภายในโรงเรียน โดยกําหนด รายละเอียดในแผนการประเมนิ ใหค รอบคลมุ สาระสําคัญ ตอ ไปนี้ 2.1 เรอื่ งท่ีประเมิน 2.1.1 วตั ถุประสงค 2.1.2 เปา หมายเชิงปรมิ าณและเชิงคุณภาพ 2.2 วธิ กี ารประเมิน 2.3 เคร่ืองมือประเมิน 2.4 ระยะเวลาดาํ เนินการ 2.5 ผลการประเมิน ขน้ั ท่ี 3 ประเมนิ หลงั ดําเนินการ ขน้ั น้ี เปนการประเมนิ ผลสาํ เรจ็ ของการนิเทศภายในโรงเรียน และความพึงพอใจ ของครูที่มตี อ การนเิ ทศภายในโรงเรยี น ซ่งึ ประเมินไดจากสาระสาํ คัญ ตอ ไปน้ี 3.1 บรรลุตามวัตถุประสงคแ ละเปาหมายในแผนการนิเทศเพยี งใด 3.2 ครูเกิดการพฒั นาหรือไม 3.3 การพฒั นาท่เี กิดขึ้นสง ผลตอ นกั เรียนมากนอ ยเพียงใด 3.4 ครมู คี วามพงึ พอใจมากนอ ยเพียงใด

80 3.5 มีการนําผลการประเมินมาวิเคราะหและปรับปรุงแผนนิเทศในปตอไป หรอื ไม (ตวั อยา ง) แบบประเมินกระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรยี น โรงเรียน ................................................................................................................... ประเดน็ การประเมิน ผลการประเมนิ 1. บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคแ ละเปาหมาย ของแผนนเิ ทศเพยี งใด ........................................................................................ ........................................................................................ 2. ครูเกดิ การพฒั นาหรอื ไม ........................................................................................ 3. การพัฒนาทเ่ี กดิ ขึ้นสง ผลตอ นกั เรียน ........................................................................................ มากนอยเพยี งใด ........................................................................................ ........................................................................................ 4. ครูมคี วามพึงพอใจมากนอยเพยี งใด ........................................................................................ 5. มกี ารนําผลการประเมนิ มาวเิ คราะหและ ........................................................................................ ปรับปรงุ แผนนเิ ทศ ในปต อไปหรอื ไม ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ประเมนิ วันท่ี ................... เดอื น ...................... พ.ศ. ...................... ผปู ระเมนิ ........................................

81 (ตวั อยาง) แบบประเมินกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน โรงเรยี น ................................................................................................................... กระบวนการ ปฏบิ ัติ ไมไ ด ปญ หา/อุปสรรค ปฏบิ ตั ิ ขัน้ ท1่ี การศึกษาสภาพปจจุบนั ปญ หาและความตอ งการ 1.1 ศกึ ษาวเิ คราะหขอ มลู ตัวบงชี้คณุ ภาพดานตาง ๆ 1.2 สาํ รวจและประเมินความตอ งการของครู 1.3 จดั ลาํ ดับความสาํ คญั ของปญ หาและความตองการ 1.4 วเิ คราะหส าเหตุ จดั ลาํ ดบั ความสาํ คัญของสาเหตุ กําหนดทางเลอื กในการแกปญ หาและดําเนินการตามความตอ งการ ขั้นท่ี 2 การวางแผน 2.1 กาํ หนดกจิ กรรมและรายละเอยี ดกิจกรรม 2.2 เขยี นโครงการ ข้ันท่ี 3 การปฏบิ ตั ิการนิเทศภายในโรงเรยี น 1.1 การดําเนนิ การตามโครงการ 1.2 การกาํ กบั ตดิ ตาม 1.3 การประเมินโครงการ ขน้ั ที่ 4 การประเมินผล 4.1 ประเมนิ กระบวนการ 4.2 ประเมนิ โครงการ 4.3 ประเมินความพงึ พอใจของครู ประเมนิ วันที่ ................... เดอื น ...................... พ.ศ. ...................... ผปู ระเมนิ ...................................

82 (ตัวอยา ง) แบบสอบถามความคิดเห็นของครผู สู อน เกย่ี วกับสภาพการปฏิบตั กิ ารนิเทศภายในโรงเรยี น โรงเรยี น.............................................................................................. กิจกรรม............................................................................................. ระดับความพงึ พอใจมี 5 ระดบั 5 หมายถงึ พงึ พอใจมากทส่ี ดุ 4 หมายถึง พงึ พอใจมาก 3 หมายถึง พงึ พอใจ 2 หมายถงึ พงึ พอใจนอ ย 1 หมายถงึ พงึ พอใจนอยทส่ี ดุ หรือไมมีเลย รายการประเมนิ /กจิ กรรม ระดบั ความคดิ เห็นตอ การปฏบิ ัติ 1234 5 1. มีการศกึ ษาและรวบรวมขอมูลพน้ื ฐาน ซงึ่ เปนสภาพปจ จบุ ัน ปญหาการดาํ เนินงานดานตา ง ๆ ของโรงเรียนไวอยา งเปน ระบบ 2. มกี ารกําหนดเกณฑม าตรฐานของงานทกุ ดา นไว อยา งเปนระบบ 3. มีการคนหาความสามารถของครูผสู อนแตล ะคนในดา นตา ง ๆ 4. การศึกษาสภาพปจ จบุ นั ปญ หา และความตองการ ของครผู สู อน 5. มีการสาํ รวจสภาพปจ จุบนั ปญ หา โดยใชส อื่ หรือเคร่ืองมอื ตา ง ๆ เชน เครอ่ื งมือประเมนิ คณุ ภาพนักเรยี น 6. มีการกําหนดวตั ถปุ ระสงค และเปาหมายในการวางแผนการนเิ ทศ ไวช ัดเจน 7. มีการกําหนดขนั้ ตอน หรอื วธิ ีการดาํ เนนิ การตามแผน อยางชดั เจน 8. กําหนดระยะเวลาในการนิเทศภายในอยา งเหมาะสม 9. มกี ารชี้แจงใหครผู สู อนมคี วามเขาใจในแผนการนิเทศ 10. มีการปฏิบตั ิการนเิ ทศภายในตามแผนทก่ี าํ หนดไว 11. มกี ารนาํ ส่อื เครอ่ื งมือ วิธีการท่เี ตรยี มไวในการนเิ ทศภายในมา ใชอ ยา งจริงจัง 12. ผูใหการนิเทศภายในไดป ฏบิ ตั ิการนเิ ทศ มกี ารปรบั วิธีการนเิ ทศ ภายในใหเ หมาะสมกับสถานการณ 13. ผใู หการนิเทศภายในไดใ ชก ารนเิ ทศภายใน ในการแกไ ขปญหาและขอขัดของท่ีเกดิ ข้ึน

83 รายการประเมิน/กจิ กรรม ระดับความคิดเหน็ ตอ การปฏบิ ตั ิ 1234 5 14. ใชห ลกั การนเิ ทศภายในโดยการสรา งความมี มนุษยสมั พันธ เพ่อื สรา งขวัญกาํ ลงั ใจแกครผู สู อน 15. สงเสริมและสนับสนนุ วัสดุ อปุ กรณแ ละการบรกิ าร เพอื่ ความสะดวกในการปฏบิ ตั งิ านของครผู สู อน 16. สง เสรมิ และเปด โอกาสใหค รผู สู อนไดคดิ คน วิธกี ารหรอื พัฒนา งานทรี่ ับผดิ ชอบอยดู ว ยตนเอง 17. มีการประเมินผลการนเิ ทศภายในตามแผนและโครงการที่ กาํ หนดไว 18. มกี ารประเมนิ ผลการนเิ ทศภายในตามวตั ถปุ ระสงคท ่ี กําหนดไว 19. จดั ใหมีการสรุปผลการนเิ ทศภายในตามแผนงานและโครงการ 20. จดั ใหม กี ารรายงานผลการนเิ ทศภายในใหผทู ม่ี สี ว นเกย่ี วของ รับทราบเปน ระยะ ๆ และนาํ ผลการประเมนิ ไปใชวางแผนพฒั นา ตอ ไป (ตัวอยาง) แบบประเมินความพงึ พอใจของครทู ่ีมีตอ การนเิ ทศภายในโรงเรยี น คําชีแ้ จง 1. แบบประเมนิ ความพึงพอใจของครฉู บบั นี้ ใชเ มือ่ ส้ินสดุ กระบวนการนิเทศ 2. ครูผูรับการนิเทศเปนผูประเมินและโปรดทําเคร่ืองหมาย  ท่ีตรงกับความพึงพอใจ ทไี่ ดรับ 3. ระดับความพึงพอใจมี 5 ระดบั 5 หมายถึง พึงพอใจมากทส่ี ุด 4 หมายถงึ พงึ พอใจมาก 3 หมายถึง พงึ พอใจ 2 หมายถงึ พงึ พอใจนอ ย 1 หมายถึง พงึ พอใจนอยท่สี ดุ หรือไมม เี ลย ขอที่ รายการ ระดบั คะแนน 54321 ก. การดําเนินงานตามกระบวนการนิเทศภายในฯ 1 การศกึ ษาสภาพปจจุบันปญ หาและการวางแผน 1.1 นโยบายการนเิ ทศภายในโรงเรียน 1.2 โครงการนเิ ทศภายในโรงเรียน 1.3 ผูรบั ผดิ ชอบโครงการนิเทศภายในโรงเรยี น 1.4 กิจกรรมทกี่ ําหนดในโครงการภายในโรงเรยี น 1.5 แบบและวิธกี ารประเมนิ ผล

84 ขอ ท่ี รายการ ระดับคะแนน 54321 2 การปฏบิ ตั งิ าน 2.1 การปฏิบตั ติ ามกําหนดในปฏิทนิ ปฏบิ ัติงาน 2.2 ความรวมมือของคณะครูในการดําเนินกิจกรรมนเิ ทศภายในโรงเรยี น 2.3 บรรยากาศการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 2.4 การใชสื่อ/เคร่อื งมอื ในการนิเทศ 2.5 การใหขวัญกําลงั ใจในการปฏบิ ัตงิ าน 3 การประเมินผล 3.1 วธิ กี ารประเมินผล 3.2 การมสี ว นในการประเมนิ 3.3 ระยะเวลาในการประเมิน ข. ผลการดาํ เนินงานตามกระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี น 1 การศึกษาสภาพปจจุบนั ปญ หาและการวางแผน 1. ครู 1.1 ครมู คี วามรู ความเขา ใจและมที กั ษะในการปฏิบตั งิ านเพม่ิ ขน้ึ 1.2 ครปู ฏบิ ตั งิ านอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.3 ครูมคี วามสมั พนั ธอันดตี อ กัน 1.4 ครูใหการยอมรบั ซงึ่ กนั และกัน 1.5 ครูจัดทาํ แผนพฒั นาเพอื่ การเรยี นการสอน (สือ่ , แบบฝก, แบบวดั ประเมนิ ผล ฯลฯ) 2. นักเรยี น 2.1 นกั เรียนมีความสนใจและความกระตือรือรนในการเรยี น 2.2 นักเรยี นใหค วามรว มมอื ในการปฏบิ ตั ิงานดขี ึน้ 2.3 นักเรียนมผี ลการเรยี นดขี น้ึ (ตวั อยา ง) แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของครทู ่ีมตี อการนิเทศภายในโรงเรียน คําชี้แจง 1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของครูใชเ มอ่ื ส้ินสุดกระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี น 2. ครู (ผูรบั การนเิ ทศ) เปนผูป ระเมนิ โดยกาเคร่อื งหมาย  ทีต่ รงกบั ความพึงพอใจ 3. ระดบั ความพงึ พอใจมี 4 ระดับ คอื มากทส่ี ดุ มาก นอ ย ไมพ อใจ ที่ รายการ ระดับความพงึ พอใจ 1 กจิ กรรมนิเทศภายในโรงเรยี นชวยพฒั นาครตู ามความตองการ/ มาก มาก นอ ย ไมพ อใจ จําเปน ที่สดุ

85 2 ความเหมาะสมของกิจกรรมนิเทศ - การเยยี่ มช้นั เรียน - การศึกษาดงู าน - การประชมุ ทางวิชาการ - การใหคาํ ปรกึ ษาแนะนํา - อ่ืน ๆ โปรดระบุ 3 บทบาทหนาทท่ี ไี่ ดร ับมอบหมายในกจิ กรรมการนเิ ทศ 4 บรรยากาศการนิเทศ 5 การมีสว นรว มของคณะครู 6 ระยะเวลาในการดาํ เนนิ การนเิ ทศ 7 บทบาทหนา ทขี่ องผนู เิ ทศ 8 ความเหมาะสมของส่อื และเครื่องมือนเิ ทศ 9 การตดิ ตามและประเมนิ ผลการนเิ ทศ ภายในโรงเรยี น 10 นักเรียนมีผลการเรยี นดีข้ึน (ตัวอยาง) แบบสอบถามความคิดเห็นของครเู พื่อวดั เจตคติตอ การนเิ ทศการสอน คาํ ชแ้ี จง โปรดอานขอความขางลางน้แี ลวทาํ เคร่อื งหมาย  ลงในชอ งวางตามความคิดเห็น ขอ พจิ ารณา เหน็ ดว ย ไมเห็นดว ย 1. การนเิ ทศการสอนเปนการตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงานของครู 2. การนิเทศการสอนชวยใหการจดั การเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธิภาพ 3. การนเิ ทศการสอนชว ยใหค รปู ฏบิ ตั ิงานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 4. การนิเทศการสอนชว ยใหครมู คี วามกระตือรอื รน ในการทาํ งาน 5. การนเิ ทศการสอนชวยใหครูมคี วามวติ กกงั วลในการทาํ งาน 6. การนเิ ทศการสอนชว ยใหค รไู ดมโี อกาสศกึ ษาคน ควาหาความรู เพมิ่ เตมิ มากขนึ้ 7. การนเิ ทศการสอนชว ยใหครมู คี วามม่นั ใจในการทํางานมากข้ึน 8. การนเิ ทศการสอนชว ยใหครตู อ งรบั ผดิ ชอบงานหลายดาน 9. การนเิ ทศการสอนชวยใหครมู ขี วญั และกาํ ลังใจในการปฏบิ ตั งิ าน 10. การนเิ ทศการสอนชวยใหค รรู วมมอื กนั ทํางานมากข้ึน 11. การนิเทศการสอนชว ยใหเ กดิ ความสามคั คใี นหมคู ณะ 12. การนเิ ทศการสอนสามารถแกป ญหาใหต รงตามสภาพความเปน จรงิ มากท่ีสดุ 13. การนิเทศการสอนมสี ว นชว ยใหผ ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนสูงขึ้น 14. การนเิ ทศการสอนชว ยใหค รูมคี วามพงึ พอใจในการทาํ งาน

86 ขอพจิ ารณา เห็นดว ย ไมเ ห็นดว ย 15. การนิเทศการสอนทําใหค รตู อ งทาํ งานมากขึ้น 16. การนิเทศการสอนเปน การพัฒนาความรู ความสามารถของครู 17. การนเิ ทศการสอนชวยพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาไดต ามเปาหมายที่ กําหนด เกณฑก ารพจิ ารณา ผูทสี่ ามารถทาํ คะแนนได 10 คะแนนข้ึนไป แสดงวามเี จตคตทิ ด่ี ตี อ การนเิ ทศการสอน (ตัวอยาง) แบบประเมนิ โครงการนเิ ทศภายในโรงเรยี น แบบ Checklist คําช้แี จง โปรดทาํ เครื่องหมาย  ลงใน  หนา ขอ ความทตี่ รวจสอบ พรอ มทงั้ ระบุเหตผุ ล เกย่ี วกบั เร่อื งสั้น ๆ 1. มกี ารประชมุ ของผปู ฏบิ ตั ิงานและบนั ทึกเพอื่ ประเมินโครงการหรือไม  มี  ไมม ี เพราะ ................................................................................................................ 2. ผปู ฏบิ ตั งิ านมคี วามรคู วามเขาใจเพมิ่ ขน้ึ เพยี งใด  มคี วามรูความเขาใจดี  ไมแนใจ เพราะ ....................................................................................................... 3. การปฏบิ ตั งิ านสําเร็จตามเวลาของโครงการหรือไม  เปน ไปตามกําหนด  ไมเปน ไปตามกาํ หนด เพราะ ....................................................................................... 4. ผลการปฏิบตั ิงานบรรลุวตั ถปุ ระสงคท กุ ขอของโครงการหรือไม  ครบทุกขอ  ไมค รบทุกขอ ขอท่ไี มบรรลุวตั ถปุ ระสงค คือ................................................................ เพราะ ............................................................................................ 5. โครงการน้สี ง ผลประโยชนแกน ักเรยี นเพยี งใด  เกิดประโยชนมาก  เกดิ ประโยชนเพราะ .............................................................................................. 6. ผูร ว มปฏบิ ตั ิงานตามโครงการสวนมากมคี วามเห็นอยา งไร  เปน ทพ่ี อใจ  ไมเ ปนท่ีพอใจเพราะ .............................................................................................. 7. ผูรว มปฏบิ ตั งิ านตามโครงการสวนมากมคี วามเหน็ อยางไร  ตองการใหม โี ครงการน้ีอีก  ไมต อ งการใหมีโครงการนอ้ี ีกเพราะ ......................................................................

87 8. ผูน ิเทศ คณะกรรการนเิ ทศ สวนมากมคี วามเห็นอยางไร  ตอ งการใหม โี ครงการนอ้ี ีก  ไมต อ งการใหมโี ครงการนอี้ กี เพราะ ...................................................................... 9. ผูรบั การนิเทศมคี วามเห็นตอ โครงการอยางไร  ตอ งการใหม โี ครงการนีอ้ ีก  ไมต อ งการใหมโี ครงการน้ีอีกเพราะ ...................................................................... 10. ผูบรหิ ารโรงเรยี นใหค วามสนใจในการดาํ เนนิ การนเิ ทศภายในโรงเรียนมากนอ ยเพยี งใด  ใหค วามสนใจในการดาํ เนินการโดยตลอด  ใหค วามสนใจบางขณะ เพราะ ......................................................................  ไมไดใหค วามสนใจ เพราะ ...................................................................... 11. กระบวนการทํางานสง ผลตอ ความสําเรจ็ ของโครงการ อยางไร  มปี ระสิทธิภาพมากทส่ี ดุ  ไมค อ ยมปี ระสทิ ธิภาพเพราะ ...................................................................... 12. งบประมาณและสิ่งอํานวยความสะดวกที่ไดร บั จากโรงเรียนเหมาะสมเพยี งใด  เหมาะสม  ไมเหมาะสมเพราะ ...................................................................... 13. สอ่ื และเครอ่ื งมอื – วิธีการนิเทศถูกนํามาใชบ างหรอื ไม  ใช  ไมใ ชเ พราะ ...................................................................... (ตวั อยา ง) แบบประเมนิ โครงการ................................................................................................................... คําชี้แจง 1. แบบประเมนิ โครงการ.......................................มจี าํ นวน 4 ดังน้ี ตอนท่ี 1 ดานสภาวะแวดลอม ตอนที่ 2 ดา นปจจัย ตอนท่ี 3 ดา นกระบวนการ ตอนท่ี 4 ดานผลผลติ 2. วธิ ีการประเมนิ ใหค ําเคร่อื งหมาย  ลงในชองระดับการประเมนิ 5 ระดบั ดงั นี้ คะแนน 5 หมายถงึ มผี ลการดาํ เนินการในระดบั มากทส่ี ดุ คะแนน 4 หมายถงึ มผี ลการดาํ เนินการในระดบั มาก คะแนน 3 หมายถงึ ดา นกระบวนการ ปานกลาง คะแนน 2 หมายถงึ มผี ลการดาํ เนนิ การในระดับ นอ ย คะแนน 1 หมายถงึ มผี ลการดําเนนิ การในระดับ นอ ยทส่ี ดุ

88 ท่ี รายการประเมิน ระดบั การประเมนิ ขอสังเกตจาก 5 4 3 2 1 การประเมิน 1. ดา นสภาวะแวดลอ ม 1.1 โครงการ...................................สรา ง คุณลกั ษณะทดี่ ดี า น....................ใหแ กผ ูเ รยี น 1.2 หลกั การ วตั ถุประสงค และเปาหมายของ โครงการมคี วามเหมาะสม และสอดคลอ งกัน 1.3 การกาํ หนดเปาหมาย วธิ ีการดําเนนิ การและ ระยะเวลาดาํ เนินการมคี วามเหมาะสมและปฏบิ ตั ไิ ด 1.4 การจดั บรรยากาศในการดาํ เนินงานเหมาะสมและ สอดคลอ งกบั การดาํ เนนิ โครงการ 1.5 การประสานงานระหวา งบคุ ลากรทาํ ใหเกดิ ความ รว มมือในการดําเนินงาน 2. ดา นปจ จยั 2.1 มจี ํานวนบุคลากรทรี่ วมดําเนนิ การโครงการ มีความเหมาะสมและเพยี งพอ 2.2 มีคณะกรรมการดาํ เนินโครงการประกอบดว ย ผบู ริหาร ครแู ละบคุ ลากรในชมุ ชน 2.3 มีงบประมาณสนบั สนุนจากหนว ยงานตนสังกดั 2.4 ไดร บั งบประมาณสนับสนนุ จากชุมชน บคุ ลากร หรอื หนว ยงานเอกชน 2.5 มีวสั ดุอุปกรณ เครอื่ งมอื เครือ่ งใชใ นการดําเนนิ โครงการ มีเพยี งพอ 2.6 อาคารสถานท่ี หองปฏิบตั งิ านตามโครงการ มคี วามเหมาะสมและเพยี งพอ 3. ดานกระบวนการ 3.1 การจดั ทํากรอบแนวคดิ และกาํ หนดจดุ พฒั นาตาม สภาพปญหาและความตองการ 3.2 การวางแผนดาํ เนินโครงการ 3.3 การปฏบิ ัตงิ านตามโครงการ 3.4 การดําเนินกิจกรรมท่ีกําหนดในโครงการตาม ข้ันตอนทกุ กจิ กรรม 3.5 การนเิ ทศตดิ ตามกาํ กบั การดําเนินการโครงการตาม ขั้นตอนทกี ําหนดทกุ ระยะ 3.6 การประเมินผลการดาํ เนินงาน 3.7 การวิเคราะหและนําผลการประเมินมาพฒั นางาน อยา งตอ เน่ือง

89 ท่ี รายการประเมิน ระดบั การประเมนิ ขอ สังเกตจาก 5 4 3 2 1 การประเมนิ 4. ดานผลผลิต 4.1 ประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรขู องครู 4.1.1 การวางแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู 4.1.2 การจดั ทําแผนการจดั การเรยี นรูตาม ข้นั ตอนโดยละเอยี ด และผานการตรวจรบั รองจาก ผบู รหิ ารโรงเรยี น 4.1.3 จัดกจิ กรรมการเรยี นรูตามแผนการเรยี นรทู ี่ เนน ผเู รียนเปนสําคญั 4.1.4 ใชวิธีการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู ี่ หลากหลายโดยมกี ารบรู ณาการเรียนรูกลุมสาระตาง ๆ 4.1.7 วัดและประเมินผลการจัดการเรยี นรู ดาํ เนินการตามท่ีกาํ หนดในแผนการจดั การเรยี นรู ทุกขนั้ ตอน 4.1.8 นาํ ผลการประเมนิ มาพฒั นาการจัด กิจกรรมการเรยี นรอู ยา งตอ เนอ่ื งและสมา่ํ เสมอ 4.2 พฤติกรรมการเรยี นรขู องผเู รียน 4.2.1 การมสี วนรว มในการวางแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู 4.2.2 การปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนรดู วยความ สนใจและตั้งใจ 4.2.3 การมีสวนรว มและมโี อกาสใชสอื่ อุปกรณ การเรียน 4.2.4 การมีปฏสิ มั พันธท ดี่ ตี อ ครแู ละเพอ่ื น นกั เรยี น 4.2.5 กลาแสดงออก ถาม และตอบคาํ ถาม ในการเรยี นรูอยา งถกู ตองและมีเหตผุ ล 4.2.6 การมสี วนรวมเก่ยี วกบั การวดั และ ประเมินผลการเรียนรูตามความเหมาะสม 4.2.7 การสรุปและบนั ทกึ ผลการเรยี นทกุ ครั้ง 4.2.8 ผเู รียนมคี วามกาวหนาในการเรียนรู เพ่ิมขนึ้ อยางสมาํ่ เสมอ 4.3 คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคข องผเู รียน 4.3.1 ความมวี ินยั ในตนเอง และปฏบิ ตั ติ าม ระเบียบของโรงเรยี น

90 ที่ รายการประเมนิ ระดับการประเมิน ขอสังเกตจาก 5 4 3 2 1 การประเมนิ 4.3.2 มีความใฝรใู ฝเ รียน ศกึ ษาคน ควาเพ่มิ เตมิ ความรูอยางสมํ่าเสมอ 4.3.3 มีความเอื้ออาทร ใหค วามชว ยเหลอื เมอ่ื มโี อกาส 4.3.4 มคี วามเสยี สละเพือ่ สว นรวม 4.3.5 มีความเปน ประชาธิปไตย 4.3.6 ควบคมุ ตนเองไดเหมาะสมกบั วัย 4.3.7 มีกระบวนการคดิ ปฏิบตั ิจริงและนาํ ไปใช ประโยชนไ ด 4.4 การอยูร ว มกบั ผอู ื่นอยา งมคี วามสขุ 4.4.1 การมีรางกายทแี่ ข็งแรง 4.4.2 การมีสขุ ภาพพลานามยั ดี 4.4.3 ความรา เรงิ แจม ใส 4.4.4 การมจี ติ ใจท่เี ขม แขง็ 4.4.5 การมีความสขุ ในการเรยี นรแู ละ การทํางาน 4.4.6 การมมี นุษยสมั พนั ธท่ดี ี การความรัก ตอเพอ่ื นมนษุ ยแ ละสรรพสิ่ง (ตวั อยาง) แบบประเมินผลการดําเนินงานโครงการนิเทศภายใน โรงเรียน.............................................................................. แบบสอบถามความคดิ เห็นของครูผสู อน ตอ สภาพการปฏบิ ัตงิ านการนเิ ทศภายในตามกระบวนการ 4 ข้ันตอน ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาสภาพปจ จบุ นั ปญหา และความตองการ รายการประเมนิ /กจิ กรรม ระดับความคดิ เห็น 1234 5 1. การศกึ ษาวเิ คราะหข อ มลู ตัวบง ชคี้ ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา 2. การศกึ ษาสภาพปจ จบุ ัน ปญหา และความตอ งการดานตา งๆ อยา งเปน ระบบ 3. การศึกษาวเิ คราะหผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี น

91 4. มกี ารประชมุ หารอื การดาํ เนินการนิเทศภายในอยางตอ เนอ่ื ง 5. มกี ารสาํ รวจ สอบถามปญ หา และความตอ งการจากคณะครู 6. มีเครอื่ งมือ และการเก็บขอมลู อยา งเปน ระบบ 7. เปด โอกาสใหค รูผสู อนรว มในการวิเคราะหส ภาพปญหาความตอ งการ 8. มีการรับฟง ความคดิ เหน็ จากคณะครใู นการวิเคราะหส ภาพปจ จุบนั ปญ หา และความตอ งการ 9. เรยี งลําดบั ความสําคญั ของปญ หาที่จําเปน ตอ การแกไข 10. นําขอ มูลทีไ่ ดร ับมาวเิ คราะหห าสภาพปญ หาทแ่ี ทจรงิ เพอ่ื นาํ ไปใชวางแผน ดาํ เนนิ การ ข้ันตอนที่ 2 ข้ันการวางแผน รายการประเมนิ /กจิ กรรม ระดับความคดิ เหน็ 12 345 1. การประชุมคณะครเู พื่อรว มกันวางแผนวเิ คราะหปญหาทพี่ บ 2. การประชมุ คณะกรรมการนิเทศภายในเพื่อวางแผนการดาํ เนินการนเิ ทศ ภายใน 3. การกําหนดยทุ ธวธิ ีในการแกไ ขปญ หารวมกนั 4. การกําหนดกิจกรรม รายละเอยี ด เปา หมาย ตวั บงช้ี 5. การกําหนดบทบาทหนาทข่ี องคณะทํางานตามความรคู วามสามารถ 6. การกาํ หนดปญหาทีช่ ดั เจนตอ การแกไ ขในรูปแบบทเ่ี ปนไปได 7. จัดทาํ แผนงาน/โครงการนเิ ทศภายในทเี่ หมาะสมกบั สภาพบริบทของ โรงเรยี น 8. จัดทาํ ปฏทิ ินปฏบิ ัตงิ านนเิ ทศภายใน ในรปู ตาราง รายสปั ดาห / รายเดือน 9. การจัดทําคมู อื ในการปฏบิ ตั งิ านการนิเทศภายในเพื่อเปนแนวทางการ ดําเนินงาน 10. สรปุ ผลการวางแผนและกําหนดทางเลอื กในการดาํ เนินงานอยา งเปนระบบ ข้นั ตอนท่ี 3 ขนั้ การปฏบิ ตั งิ าน รายการประเมิน/กจิ กรรม ระดบั ความคดิ เหน็ 1. การประชมุ ช้แี จงคณะครูในการดําเนนิ การนิเทศภายในและวางแผนในการ 12 345

92 ดาํ เนนิ การนิเทศภายใน 2. การสรา งความรู ความเขาใจแกค ณะครูเกยี่ วกบั กระบวนการนเิ ทศภายใน 3. การสรา งความรู ความเขา ใจแกค ณะครใู นกจิ กรรมการนิเทศภายในแตล ะ กจิ กรรม 4. การรบั ฟงความคดิ เห็นของคณะครใู นการดําเนินการนเิ ทศภายใน 5. การดําเนนิ การนเิ ทศภายในตามปฏทิ นิ การนิเทศ 6. มีความยดื หยุนในการดําเนินการนิเทศภายในแตล ะกิจกรรม เพ่อื ความ เหมาะสม 7. ผใู หก ารนเิ ทศภายในปฏบิ ตั ติ นเปน กลั ยาณมติ ร 8. มีการปฏสิ ัมพนั ธทด่ี รี ะหวา งผใู หก ารนเิ ทศภายในกบั ผูรับการนิเทศ 9. การนาํ ผลทีไ่ ดรบั จากการนิเทศภายในไปพฒั นาปรบั ปรงุ การเรยี นการสอน 10. มกี ารปรบั ปรุงการนเิ ทศภายในใหมคี วามเหมาะสมมากยงิ่ ข้นึ ข้ันตอนที่ 4 ขน้ั การประเมินผลและรายงานผล รายการประเมิน/กจิ กรรม ระดบั ความคดิ เหน็ 12 345 1. การวางแผนและกําหนดแนวทางในการประเมนิ ผลการดาํ เนนิ การ 2. การดาํ เนินการประเมินผล 3 ระยะ คอื กอ นดําเนินการ ระหวา งดาํ เนนิ การ และหลงั ดําเนนิ การ 3. มีการใชเครือ่ งมือทสี่ รางข้นึ ในการประเมินผลทุกครง้ั 4. การกําหนดใหค ณะครูมีสว นรว มในการกาํ หนดวิธีการประเมินผล 5. การประเมนิ ผลการดําเนินการนิเทศภายในตามกระบวนการ 5 ข้นั ตอน 6. การประเมนิ ผลการดําเนินการนเิ ทศภายในแตล ะกจิ กรรม 7. มกี ารตดิ ตามผลการดําเนินการนเิ ทศภายในเปนระยะๆ อยา งตอ เนอ่ื ง 8. นําผลจากการประเมินเกบ็ ไวอ ยางเปน ระบบ สะดวก ในการนาํ มาใช ประโยชน 9. นาํ ผลจากการประเมนิ วิเคราะหและหาแนวทางพฒั นา การนิเทศภายในครง้ั ตอไป 10. ระดมความคดิ เห็นจากคณะครใู นการสรุปการประเมนิ ผล เพอ่ื หาแนวทาง ในการพฒั นา

93 (ตัวอยา ง) แบบประเมินโครงการนเิ ทศภายใน โรงเรียน........................................................................................... รายการประเมิน ระดับคาการประเมิน หมายเหตุ 1 23 4 1 หมายถึง 1. หลักการและเหตผุ ล นอย 2 หมายถงึ 1.1 มีขอ มลู ยนื ยันชดั เจน ปานกลาง 3 หมายถึง 1.2 ความสอดคลองระหวางปญ หากบั หลักการและเหตผุ ล มาก 4 หมายถึง 1.3 มคี วามเปน เหตุ เปนผล นาเชอ่ื ถอื มากทส่ี ดุ 2. วัตถปุ ระสงคโ ครงการ 2.1 มคี วามชดั เจน เฉพาะเจาะจง 2.2 มีความเปนไปไดในการดา เนนิ งาน 2.3 สามารถวัดและประเมินได 2.4 มขี อบเขตของเวลาทแ่ี นน อนในการปฏบิ ตั ิงาน 2.5 สอดคลอ งกบั นโยบายของหนวยเหนือ 3. มเี ปาหมายทชี่ ดั เจน 4. วธิ ีการดําเนนิ งานของโครงการ 4.1 สอดคลอ งกบั วัตถปุ ระสงค 4.2 ความสมั พนั ธต อ เนื่องระหวางกิจกรรม 4.3 วิธีดําเนนิ งานชดั เจน และเขาใจงา ย 4.4 ชว งเวลาในการดาํ เนนิ งานมคี วามเหมาะสม 5. คาใชจา ยเหมาะสมกบั โครงการ 6. ผรู บั ผดิ ชอบและบคุ ลากรดาํ เนนิ งานมีความเหมาะสม 7. มรี ะบบการติดตามและประเมนิ ผลทชี่ ดั เจน 8. มคี วามสมั พนั ธตอเน่ืองกันระหวางองคประกอบตางๆ ของ โครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค วิธีดําเนินการ เวลา งบประมาณ 9. โครงการมคี วามสอดคลอ งกบั แผนงานหลกั ของโรงเรยี น 10. ผลสาํ เรจ็ ของโครงการเปน ไปตามวตั ถปุ ระสงค / เปาหมาย

94 (ตวั อยาง) แบบสรปุ ประเมินโครงการ โรงเรยี น........................................................................................... ชื่องาน / โครงการ……………………………………………………..................................................... ลกั ษณะงาน / โครงการ ใหม ตอ เนือ่ ง วัตถปุ ระสงคข องโครงการ ………………………………………………………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………………………………………………….............................................. เปา หมายดา นปริมาณ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ดานคุณภาพ…………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… เรมิ่ โครงการ วนั ท่ี………….เดอื น…………………………………พ.ศ…………………… เสร็จสิน้ โครงการ วนั ท่…ี ………เดือน……………………………..พ.ศ………………….. 1. ดานสภาวะแวดลอม ระดับการประเมนิ รายการประเมิน มาก ปาน นอ ย นอ ย กลาง มาก 1.1 สภาพปญหาทต่ี องจัดทํา งาน/โครงการ น้ีมคี วามสาํ คญั 1.2 งาน /โครงการ สนองนโยบาย สพฐ. 1.3 ความเปนไปไดท่จี ะบรรลุวัตถปุ ระสงค 1.4 ความเปน ไปไดท จ่ี ะบรรลุเปา หมาย (ดา นปรมิ าณ,ดานคณุ ภาพ) 2. ดานปจ จยั /ทรพั ยากร รายการประเมนิ เปนไปได ระดบั คณุ ภาพ ตามแผน 2.1 บุคลากรทเี่ ปนครู ไมเปน ไปตามแผน ไมเ ปนไปตามแผน 2.2 บุคลากรอ่นื ๆ (ระบ)ุ ……… แตด ําเนนิ การได ควรปรับปรุง 2.3 นกั เรียน 2.4 งบประมาณ

95 2.5 วสั ดุอุปกรณ 2.6 เอกสาร 2.7 ระยะเวลาดาํ เนนิ การ 2.8 สถานทด่ี าํ เนินการ 2.9 อน่ื ๆ (ระบุ)…………… 3. ดานกระบวนการ การดาํ เนนิ งาน ขัน้ ตอนและรายการปฏิบตั ขิ องงาน/โครงการ รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดี พอใช ควรปรบั ปรุง 3.1 การเตรียมการ 3.2 การปฏิบตั ิงานเปน ไปตามแผนในงาน / โครงการ 3.3 การประสานงาน 3.4 การปฏบิ ตั ิ (ระบกุ จิ กรรมหลกั ) 3.5 การปฏบิ ตั ิงานเปน ไปไดต ามระยะเวลาทกี่ ําหนด 3.6 กระบวนการในการปฏิบตั ิใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคได 4. ดา นผลผลิต ผลทไี่ ดเมอ่ื สน้ิ สดุ / โครงการ ผลผลติ ระดบั คณุ ภาพ 4.1 ผลทไ่ี ดบ รรลุวตั ถปุ ระสงค มาก มาก ปาน นอ ย นอย 4.2 ผลงานบรรลเุ ปา หมาย ที่สดุ กลาง ท่ีสดุ ความคดิ เห็นและขอ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชอื่ ) …………………………………..ผรู ายงาน (………………………………………) ความคดิ เหน็ ของผบู ริหารโรงเรยี น ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………. (ลงชือ่ ) ……………………………………. (……………………………………..) หมายเหตุ ระดบั คณุ ภาพและเกณฑก ารประเมนิ สามารถปรบั ไดต ามบริบทของโรงเรียน

96 การประเมินผลการนเิ ทศตามมาตรฐานการนิเทศภายในโรงเรยี น ตามที่สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดกําหนดมาตรฐานในการนิเทศภายใน โรงเรียนไว 5 มาตรฐาน คอื มาตรฐานท่ี 1 โรงเรียนกําหนดผูรับผิดชอบงานนิเทศภายในโรงเรียนและมีคําส่ังแตงต้ังเปน ลายลกั ษณอกั ษร มาตรฐานที่ 2 โรงเรยี นจัดระบบขอ มูลสารสนเทศ เพือ่ วางแผนการนิเทศภายในโรงเรียน มาตรฐานท่ี 3 โรงเรียนวางแผนการนิเทศภายในโรงเรียน ที่สอดคลองกับสภาพปญหา และ ความตองการของโรงเรยี น มาตรฐานท่ี 4 โรงเรียนดาํ เนินการตามแผนการนเิ ทศภายในโรงเรยี น มาตรฐานท่ี 5 โรงเรียนประเมินผลการนิเทศอยางเปนระบบ และนําการประเมินมาปรับปรุง การนิเทศของโรงเรยี น เพ่ือใหการนิเทศภายในโรงเรยี นเปนไปตามมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ จึงไดมีการประเมิน มาตรฐานการนิเทศภายในโรงเรียน เพ่ือนําผลการประเมินมาวิเคราะหและปรับปรุงพัฒนาการนิเทศ ภายในโรงเรียนใหไดม าตรฐานตอ ไป โดยมหี ลักเกณฑใ นการประเมินแตล ะมาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานท่ี 1 โรงเรียนกําหนดผรู ับผิดชอบงานนิเทศภายในไวอ ยางชัดเจน ผรู ับผดิ ชอบ มีความ เขา ใจขอบขายและความรบั ผิดชอบของตน เกณฑก ารพจิ ารณา 1. จัดใหม คี ณะบคุ คลรบั ผิดชอบงานนิเทศภายในโรงเรียน และมีคําส่ังแตงต้ัง เปน ลายลักษณอกั ษร 2. บุคลากรท่ไี ดรับมอบหมาย มีคณุ สมบตั ิเหมาะสม 3. มีการกาํ หนดภารกจิ ชัดเจน 4. บุคลากรท่รี บั ผิดชอบ มคี วามเขา ใจภารกจิ ของตน 5. บุคลากรในโรงเรียน มีสวนรวมในการสรรหาผูรับผิดชอบงานนิเทศภายใน โรงเรยี น ขอมลู ประกอบการพิจารณา 1. บนั ทกึ การประชมุ 2. คําสง่ั แตงตัง้ ผูรับผดิ ชอบงานนเิ ทศภายในโรงเรียน 3. คําสง่ั มอบหมายงานนเิ ทศภายในโรงเรยี น มาตรฐานท่ี 2 โรงเรยี นจดั ระบบขอ มลู สารสนเทศ เพื่อวางแผนการนิเทศภายในโรงเรยี น เกณฑก ารพิจารณา 1. มีขอมูลพ้ืนฐานที่จําเปนตองใชในการวางแผนการนิเทศภายในโรงเรียนท่ี ครอบคลุมสภาพการบริหารงานดา นตางๆ ของโรงเรยี นและขอ มลู ที่แสดงระดับคุณภาพของนกั เรยี น ไดแ ก 1.1 ระดับคุณภาพของนักเรยี น 1.2 อัตราการมาเรยี นของนกั เรยี น 1.3 สภาพการปฏบิ ัติงานของครู 1.4 สภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นรู 1.5 ความตองการในการพัฒนาตนเอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook