Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาระ ภูมิศาสตร์

สาระ ภูมิศาสตร์

Published by ชัยสิทธิ์ ชาพา, 2022-01-03 03:11:05

Description: สาระ ภูมิศาสตร์

Search

Read the Text Version

สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตรม์ คี วามสำคัญในการใช้รวบรวมขอ้ มลู และเสนอข้อมลู เกี่ยวกับลกั ษณะทาง กายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟรกิ า ตวั ชวี้ ดั /จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ตวั ชี้วัด ส 5.1 ม.1/1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเก่ียวกบั ลักษณะทางกายภาพและสงั คมของทวีปยโุ รปและแอฟริกา จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ - อธบิ ายลกั ษณะสำคญั ของเคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์แตล่ ะประเภทได้ - เปรียบเทยี บเคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์แต่ละประเภทได้ - ใชเ้ ครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ในการสบื ค้นและนำเสนอข้อมลู เกยี่ วกบั ลักษณะภูมปิ ระเทศและ ภูมอิ ากาศของทวีปยุโรปและแอฟริกาได้ - เหน็ คุณคา่ และมคี วามรับผิดชอบเมอื่ ใช้เครื่องมือทางภูมศิ าสตรแ์ ตล่ ะประเภทได้ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตรท์ ่ีแสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟรกิ า สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่นิ - (พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา)

ผงั มโนทัศนส์ าระการเรยี นรู้ ภมู ิศาสตร์ (geography) คือ ศาสตร์ของการจดั การพน้ื ที่และสิ่งแวดลอ้ ม และองค์ประกอบด้านสงั คม มนษุ ย์ โดยแบ่งเป็น 2 ระบบ ได้แก่ ระบบกายภาพ และระบบสังคมมนุษย์ เครื่องมือทีใ่ ช้ศึกษาภูมิศาสตรม์ ีหลายชนดิ เชน่ แผนที่ รูปถา่ ยทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี ม ดงั นัน้ จึงควรมี ความรเู้ ก่ียวกบั อปุ กรณช์ นิดต่าง ๆ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจในวชิ าภูมศิ าสตร์มากข้นึ 1. แผนที่ พจนานุกรมศัพท์ภมู ิศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ให้ความหมายของแผนท่วี า่ “แผนที่ หมายถงึ สือ่ รปู แบบ หนึง่ ที่ถ่ายทอดขอ้ มลู ของโลกในรูปของกราฟิก โดยการย่อสว่ นให้เล็กลงด้วยมาตราส่วนขนาดตา่ ง ๆ และเส้นโครง แผนทแ่ี บบต่าง ๆ ให้เขา้ ใจตรงตามวัตถปุ ระสงค์ด้วยการใช้สญั ลกั ษณ”์ 1.1 ชนิดของแผนที่ 1. การแบง่ แผนท่ีตามลักษณะการใชแ้ บ่งได้ 3 ประเภท คอื 1) แผนท่อี า้ งอิง (general reference map) 2) แผนทเ่ี ฉพาะเรอื่ ง (thematic map) 3) แผนท่ีเลม่ (atlas)



2. แผนท่แี บ่งตามมาตราส่วนสำหรบั ประเทศไทยกรมแผนท่ที หารกำหนดไว้ดังน้ี 1) แผนทม่ี าตราสว่ นขนาดใหญ่ (large scale map) ได้แก่ แผนที่มาตราสว่ นใหญก่ ว่าหรอื เทา่ กบั 1:75,000 2) แผนท่ีมาตราสว่ นขนาดกลาง (medium scale map) ได้แก่ แผนท่ีมาตราสว่ น 1:75,000 ถึง 1:600,000 3) แผนที่มาตราส่วนขนาดเลก็ (small scale map) ได้แก่ แผนที่มาตราส่วนท่ีเลก็ กวา่ หรอื เท่ากับ 1:600,000 1.2 องคป์ ระกอบของแผนที่ 1. ชอื่ แผนท่ี (map name) 2. ชื่อภมู ศิ าสตร์ (geographic name) 3. ทิศ (direction) โดยปกตสิ ว่ นบนของแผนท่ี คือ ทิศเหนือเสมอ แนวทิศเหนอื มี 3 ชนิดไดแ้ ก่ ทศิ เหนือจริง (true north) ใชส้ ัญลักษณเ์ ป็นรูปดาว ทิศเหนือแม่เหล็ก (magnetic north) ใชส้ ญั ลกั ษณ์เปน็ รปู ปลายลูกศรครงึ่ ซีก ทิศเหนอื กริด (grid north) ใชส้ ญั ลักษณเ์ ปน็ ขีดตรง มีอักษร GN อยขู่ ้างบน

นอกจากนี้ ยงั สามารถบอกทศิ ทางแบบมมุ แบรงิ และบอกทิศทางแบบแอซิมัทได้ 1) การบอกทิศทางแบบแบรงิ หมายถงึ การบอกทิศทางเปน็ ค่าของมุมในแนวราบ ซึง่ วัดจากแนวทิศเหนือ หลักหรือแนวทศิ ใตห้ ลักไปยงั แนวเปา้ หมายทางตะวันออกหรอื ตะวันตก มีขนาดมมุ ไมเ่ กิน 90 องศา 2) การบอกทิศแบบแอซมิ ัท (azimuth) เปน็ มุมทว่ี ดั จากทิศเหนือไปหาทิศทางเป้าหมายตามเข็มนาฬกิ า มมุ ที่ได้จะไม่เกนิ 360 องศา

4. มาตราส่วน (map scale) โดยทั่วไปมี 3 ชนิด ดังน้ี 1) มาตราส่วนคำพูด (verbal scale) 2) มาตราส่วนเส้น (graphic scale) หรือ มาตราสว่ นรปู แทง่ (bar scale)

3) มาตราสว่ นแบบเศษสว่ น (representative scale) การวดั ระยะทางในแผนที่ (Map Distance) เพื่อคำนวณหาระยะทางของภมู ิประเทศจรงิ จากมาตราส่วน เชน่ การใชไ้ มบ้ รรทดั วดั หรอื ใชด้ า้ ยวัดระยะทางแล้วนำความยาวทไี่ ด้ไปวดั กับไมบ้ รรทัดก็จะไดร้ ะยะทางในแผนที่ และนำไปเทยี บกับมาตราส่วนของแผนท่ี ก็จะได้ระยะทางจริงบนพน้ื ผวิ โลก (Ground Distance) สูตรการหาระยะทางจรงิ บนพน้ื ผิวโลกจากแผนที่ คอื เม่อื MD คือ Map Distance และ GD คอื Ground Distance 5. สัญลกั ษณ์ แบง่ ได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1) สญั ลกั ษณ์ทเ่ี ป็นจุด (point symbol) ใช้แทนสถานท่ี และกำหนดสถานที่ตั้ง เช่น 2) สญั ลกั ษณท์ ี่เป็นเส้น (line symbol) ใชแ้ ทนส่งิ ต่าง ๆ ท่เี ปน็ เส้นมีระยะทาง เชน่

3) สญั ลกั ษณ์ท่เี ปน็ พื้นที่ (area symbol) ใชแ้ ทนพ้ืนท่ที ่ีปรากฏในภูมปิ ระเทศ เช่น 6. สี (color) มาตรฐานสีท่ีใช้ในแผนท่มี ี 5 สี ได้แก่ สีดำ ใช้แทนสิ่งท่ีมนุษยส์ ร้างขึน้ เช่น วัด โรงเรียน หมบู่ า้ น สีแดง ใชแ้ ทนถนนและรายละเอยี ดพิเศษอนื่ ๆ สนี ้ำเงิน ใช้แทนบริเวณท่เี ปน็ นำ้ เชน่ ทะเล มหาสมุทร สีน้ำตาล ใชแ้ ทนความสูง เชน่ เส้นชั้นความสูง ภูเขา สีเขยี ว ใชแ้ ทนพนื้ ทีป่ ่าไม้ พน้ื ที่การเกษตร 1.3 แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ เป็นแผนท่ีทแ่ี สดงข้อมลู ลกั ษณะภมู ิประเทศของพน้ื ที่ และใชส้ ัญลกั ษณ์ต่าง ๆ แสดงความสูง – ต่ำของภูมิ ประเทศโดยใชร้ ะดบั ทะเลปานกลาง (mean sea level) เปน็ เกณฑ์กำหนดความสูง เพ่ือบอกระดบั ความสูงของ

ภมู ปิ ระเทศ ซ่ึงนยิ มแสดงระดับความสงู ไว้ 4 รูปแบบ ดังน้ี 1. เสน้ ช้นั ความสงู (contour level) 2. การใช้แถบสี (layer tinting) สที ี่นยิ มใช้ในแผนท่เี พ่อื แสดงความสูง – ตำ่ ของภูมิประเทศมดี งั น้ี 1) พน้ื ดนิ สีท่ีนิยมแสดงลักษณะภมู ปิ ระเทศมดี ังนี้ สเี ขยี ว = ทีร่ าบ ทตี่ ำ่ สีเหลือง = เนนิ เขาหรอื ท่สี ูง สเี หลืองแก่ = ภเู ขาสงู มาก สีนำ้ ตาล = ภูเขาสูงมาก สีขาว = ภูเขาท่ีมีหมิ ะปกคลมุ 2) พน้ื น้ำ สที ี่นยิ มใชเ้ พอ่ื บอกความลกึ ของแหลง่ นำ้ ในแผนทีม่ ีดังนี้ สีฟา้ อ่อน = ไหล่ทวีปหรอื เขตทะเลต้ืน สีฟา้ แก่ = ทะเลลึก สีนำ้ เงิน = ทะเลหรือมหาสมทุ รลึก สีนำ้ เงินแก่ = น่านนำ้ ที่มีความลึกมาก

3. เส้นลายขวานสบั หรอื เสน้ ลาดเขา (hachure) 4. การแรเงา (shading) 1.4 ประโยชนข์ องแผนท่ี 1. ทำใหร้ ูจ้ ักและเข้าใจสถานทท่ี ่ีไมเ่ คยร้จู ักดียิง่ ขน้ึ 2. ทำใหท้ ราบการเปล่ียนแปลงของสภาพภมู ิประเทศ และส่ิงก่อสร้างทป่ี รากฏอยู่ 3. ช่วยอำนวยความสะดวกแกน่ ักทอ่ งเท่ยี วท่ีไมท่ ราบรายละเอยี ดของสถานท่ีทจ่ี ะเดินทางไป 4. ชว่ ยวางแผนหรอื ตัดสนิ ใจในพน้ื ทีน่ น้ั ๆ 5. เปน็ ขอ้ มลู การเลือกเสน้ ทางและพาหนะทเ่ี หมาะสมสำหรับการเดินทาง 1.5 ตวั อยา่ งแผนท่แี สดงความสัมพนั ธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวปี ยุโรปและแอฟรกิ า แผนทีแ่ สดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งลกั ษณะทางกายภาพและสงั คมของทวีปยุโรป

จากแผนท่แี สดงใหเ้ หน็ วา่ บรเิ วณยุโรปตะวันตก ยโุ รปกลาง และท่รี าบใหญ่ตอนกลางของทวีปมีประชากร หนาแน่น สว่ นบริเวณคาบสมุทรสแกนดิเนเวยี ประเทศฟินแลนด์ และทางตอนเหนือของประเทศรสั เซยี มี ประชากรเบาบาง แผนที่แสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปแอฟรกิ า

จากแผนทแี่ สดงใหเ้ ห็นวา่ บริเวณท่มี ปี ระชากรหนาแน่น ได้แก่ ลมุ่ นำ้ ไนล์ ประเทศอียปิ ต์ คาบสมุทรใน สาธารณรฐั แอฟริกาใต้ ที่ราบสูงของประเทศเอธโิ อเปีย สว่ นบรเิ วณทมี่ ีประชากรเบาบาง ได้แก่ เขตทะเลทรายสะ ฮาราและคาลาฮารี และทางตะวนั ออกของอา่ วกินีและล่มุ น้ำคองโก 2.รูปถา่ ยทางอากาศ (aerial photograph) รูปถา่ ยทางอากาศ หมายถึง รูปภาพลกั ษณะของภูมิประเทศทป่ี รากฏอย่บู นพื้นผิวโลก ภาพถา่ ยแตล่ ะภาพต้อง ครอบคลุมพน้ื ที่ทับซ้อนกันประมาณร้อยละ 60 เพื่อใชก้ ล้องสามมิตดิ ู และแตล่ ะภาพต้องซอ้ นทับกนั ประมาณร้อย ละ 20–30 การนำรูปถ่ายมาต่อกัน เรียกวา่ โมเสกภาพ เพื่อปอ้ งกันพืน้ ทบี่ างสว่ นขาดไป และเมื่อนำภาพมาเรียง ตอ่ กนั ก็จะเห็นส่งิ ทป่ี รากฏอยู่จริงบนพ้ืนโลก 2.1 ประโยชนข์ องรปู ถ่ายทางอากาศ รูปถา่ ยทางอากาศมีประโยชนด์ า้ นยุทธศาสตรก์ ารทหาร ใชใ้ นการทำแผนท่ี และสำรวจทางโบราณคดี ธรณีวิทยา สมุทรศาสตร์ อุตุนิยมวทิ ยา การวางแผนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การวางผังเมือง ระบบการจราจร และยงั ใช้ในการแก้ไขแผนทีใ่ หเ้ ป็นขอ้ มูลลา่ สุดอีกด้วย

2.2 ตัวอยา่ งการใช้รูปถา่ ยทางอากาศแสดงลักษณะทางกายภาพและสงั คมของทวปี ยุโรปและแอฟริกา 3. ภาพจากดาวเทยี ม (satellite imagery) การบันทกึ ข้อมลู เชงิ ลกึ จากดาวเทยี มทต่ี ิดต้ังอุปกรณท์ ่ีอาศยั กระบวนการบนั ทึกพลังงานคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ ที่ สะท้อนหรือสง่ ผา่ นของวตั ถุ แล้วส่งข้อมลู ไปยงั สถานีรับภาคพน้ื ดิน ซ่ึงวตั ถุแตล่ ะชนดิ สะท้อนแสงไม่เทา่ กนั ทำให้ เกดิ ภาพจากดาวเทยี ม แตไ่ ม่สามารถแปลความหมายไดง้ ่าย จึงตอ้ งอาศยั ผูเ้ ชยี่ วชาญและเคร่ืองมือในการแปล ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรดวงแรกของประเทศไทย คือ ดาวเทียมธอี อส (THEOS) ภาพจากดาวเทยี มสามารถ นำมาประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ด้านการเกษตร ดา้ นป่าไม้ ด้านการวางผงั เมือง และด้าน อื่น ๆ เชน่ ใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นการบรหิ าร อุทกวทิ ยา ธรณีวทิ ยา และภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ

กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ สบื ค้นข้อมูลเกีย่ วกับประโยชน์ของดาวเทยี มท่นี กั เรียนสนใจมา 1 ช่ือบนั ทกึ ข้อมลู นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น บทสรปุ ภูมศิ าสตรเ์ ป็นวชิ าที่ว่าดว้ ยการจัดการพืน้ ท่ีและสง่ิ แวดล้อมทมี่ นุษย์อาศัยอยู่ ตลอดจนองค์ประกอบด้าน สังคมมนษุ ย์กับสิง่ แวดล้อม การศกึ ษาภูมิศาสตรต์ ้องอาศยั วิธกี ารคน้ คว้า เทคนิค และเครื่องมือหลายชนิด เคร่อื งมอื ท่ีใช้แพรห่ ลายมากที่สุดคอื แผนท่ี นอกจากนย้ี ังมเี คร่อื งมืออีกหลายชนดิ ทเ่ี ราใช้ในการรวบรวม วเิ คราะห์ และนำเสนอข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ เช่น รปู ถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ดังน้ันเราจึงมีความรูเ้ กยี่ วกบั เครอ่ื งมือทางภูมิศาสตรช์ นิดต่างๆเพ่ือใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจวชิ า ภูมศิ าสตรม์ ากข้นึ กจิ กรรมเสนอแนะ 1.แบ่งนกั เรยี นเปน็ กลมุ่ 4-6คน คน้ ควา้ เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตรช์ นดิ อื่นๆนอกจากในบทเรยี นเพม่ิ เติมกลมุ่ ละ 1 ชนิด จดั ทำเป็นรายงานเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น 2.ศกึ ษาคน้ คว้าข้อมลู เกี่ยวกับภาพถ่ายทางอากาศในการพัฒนาพ้นื ที่ภายในจงั หวัดของนักเรยี น 3.แสดงความคิดเหน็ รว่ มกนั เกยี่ วกับประโยชน์ของภาพจากดาวเทยี ม บันทกึ ขอ้ มลู การประยุกต์ในชวี ิตประจำวัน

1.ถ้านกั เรียนต้องการทราบข้อมลู เก่ียวกับลกั ษณะทางกายภาพของประเทศไทศ นักเรยี นเลือกใชเ้ ครอื่ งมือทาง ภมู ิศาสตร์ชนดิ ใดบา้ งในการศกึ ษาข้อมลู คำถามทบทวน 1.แผนท่ีมปี ระโยชนอ์ ย่างไร 2.แผนทอี่ า้ งอิงแตกต่างจากแผนท่พี าะเรอื่ งอย่างไร 3.องคป์ ระกอบของแผนที่มีอะไรบ้าง 4.สญั ลักษณใ์ นแผนทม่ี คี วามสำคญั อย่างไร 5.จากแผนที่มาตราส่วน 1:30,000 วดั ระยะทางในแผนท่ีจากจดุ ก ไปจดุ ข ได้ 5 ซม.อยากทรายระยะทางจรงิ บนพ้นื ผวิ โลกเป็นเทา่ ใด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook