Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีไทย ดนตรี ป.4 ครูรณชัย

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีไทย ดนตรี ป.4 ครูรณชัย

Published by รณชัย บุญลือ, 2022-06-18 19:09:56

Description: เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีไทย รายวิชาดนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จัดทำโดย ... ครูหนุ่ม@รณชัย บุญลือ โรงเรียนบางขุนเทียนศึกษา สำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร

Keywords: เอกสารประกอบการเรียน,ประเภทของเครื่องดนตรีไทย,เสียงของเครื่องดนตรีไทย

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียน เรือ่ ง ประเภทของเครอื่ งดนตรไี ทย กล่มุ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ (สาระดนตรี) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ศึกษา รู้เร่อื งเคร่อื งดนตรีไทย SCAN ME วดี ทิ ศั น์ บทเรยี น คอมพวิ เตอร์ ชว่ ยสอน(CAI) จดั ทำโดย นายรณชยั บญุ ลอื ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ โรงเรียนบางขนุ เทียนศกึ ษา สำนักงานเขตบางขนุ เทยี น กรงุ เทพมหานคร

ก คำนำ เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ประเภทของเคร่ืองดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 นี้ จัดทำขึ้นเพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการเรียนรู้เก่ียวกับดนตรีไทย มีการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจ เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และเป็นการเติมเต็มตามศักยภาพในการเรียนรู้ดนตรีไทยของนักเรียนให้สูงที่สุด พัฒนา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึงนักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำ ส่งเสริม การพัฒนาด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนสอดคล้อง กับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง ประเภทของเคร่ืองดนตรีไทย นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานักเรียน ส่งผลให้ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของเคร่ืองดนตรีไทย อันเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ สามารถนำความรทู้ ี่ได้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ และสง่ เสรมิ ให้ครจู ัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ซง่ึ เปน็ ส่วนสำคัญในการพฒั นา ทกั ษะการเรียนรู้เครื่องดนตรีไทย รณชัย บุญลอื

ข สารบัญ เรื่อง หนา้ คำนำ............................................................................................................................ ก สารบัญ................................................................................................................................ ข คำชีแ้ จง........................................................................................................................ 1 แผนผังแสดงขั้นตอนการเรยี นรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน........................................ 2 คำแนะนำสำหรบั นกั เรยี น............................................................................................. 3 มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้วี ัด และสาระการเรียนรู้............................................................ 4 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้.......................................................................................................... 5 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น.................................................................................................. 6 ใบความรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง ประเภทของเครอ่ื งดนตรไี ทย...................................................... 8 ใบงานท่ี 1 เรื่อง ประเภทของเครือ่ งดนตรีไทย.......................................................... 12 ใบความรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง หน้าทีข่ องเคร่อื งดนตรไี ทย......................................................... 13 ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง หน้าท่ขี องเครื่องดนตรไี ทย............................................................. 17 ใบความรูท้ ่ี 3 เร่ือง การดูแลรักษาเคร่อื งดนตรีไทย.................................................. 18 ใบงานที่ 3 เรือ่ ง การดูแลรกั ษาเคร่ืองดนตรไี ทย....................................................... 22 แบบทดสอบหลังเรยี น.................................................................................................. 23 บรรณานุกรม...................................................................................................................... 25 กระดาษคำตอบ........................................................................................................... 27 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน.......................................................................... 28 เฉลยใบงานท่ี 1............................................................................................................ 29 เฉลยใบงานที่ 2............................................................................................................ 30 เฉลยใบงานที่ 3............................................................................................................ 31 แบบบันทึกผลคะแนนการเรยี นรู้......................................................................................... 32

1 คำชีแ้ จง 1. เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง ประเภทของเคร่ืองดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ใชป้ ระกอบแผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) รหัสวชิ า ศ 14101 รายวิชาดนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 4 แผน เวลา 4 ชว่ั โมง 2. เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง ประเภทของเครื่องดนตรีไทย น้ี มสี ่วนประกอบดังน้ี 2.1 คำชแ้ี จง 2.2 แผนผังแสดงข้ันตอนการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน 2.3 คำแนะนำสำหรับนกั เรยี น 2.4 มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้ และจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.5 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 2.6 ใบความรทู้ ี่ 1 – 3 2.7 ใบงานท่ี 1 – 3 2.8 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น 2.9 เฉลยใบงานท่ี 1 – 3 2.10 แบบบนั ทกึ ผลคะแนนการเรียนรู้ 3. ผใู้ ช้เอกสารประกอบการเรียนควรศึกษาคำแนะนำในการใช้เอกสารประกอบการเรยี น กอ่ นใช้ทกุ คร้งั

2 แผนผังแสดงข้ันตอนการเรียนรู้ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน 1. อ่านคำชี้แจง คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน ไม่ผ่านเกณฑ์ 2. ศกึ ษาเรียนรเู้ อกสารประกอบการเรยี นโดยปฏบิ ัติกจิ กรรม - ทำแบบทดสอบก่อนเรียน - ศึกษาค้นควา้ ใบความรู้ในเอกสารประกอบการเรยี น -ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามขนั้ ตอนในเอกสารประกอบการเรยี น - ทำกิจกรรมในใบงานท่ีกำหนดให้ในเอกสารประกอบการเรียน - ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น และใบงานจากเฉลยท่ีให้มาในเอกสารประกอบการเรยี น การประเมนิ ผล ผ่านเกณฑ์ 4. ศกึ ษาเอกสารประกอบการเรยี นเรื่องต่อไป

3 คำแนะนำสำหรบั นกั เรยี น การเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เรื่อง ประเภทของเคร่ืองดนตรีไทย กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 เร่ืองที่ 1 รู้เรื่องเครื่องดนตรีไทย ใช้เวลา 4 ช่ัวโมง เพ่ือช่วยให้นกั เรียนสามารถเรียนไดง้ ่ายขึน้ มีความรู้ความเข้าใจดีข้ึน โดยให้นักเรียนปฏิบัติ ตามข้นั ตอนท่กี ำหนดไว้ โดยปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนดังนี้ 1. นกั เรียนอ่านคำช้ีแจงและคำแนะนำใหเ้ ขา้ ใจก่อนลงมือศึกษาเอกสารประกอบการเรยี น 2. นกั เรยี นทำความเข้าใจมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 10 นาที เพื่อตรวจสอบ ความรู้พืน้ ฐานของนักเรยี น 4. นักเรียนศึกษาเนื้อหาแต่ละเรื่องในใบความรู้ให้เข้าใจก่อนทำใบงานในเอกสารประกอบการเรียน ถ้านักเรยี นทำใบงานไมไ่ ด้ ใหก้ ลบั ไปอ่านทบทวนเน้ือหาอกี ครัง้ หรอื ปรึกษาครูผสู้ อน 5. เม่ือนกั เรยี นทำใบงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นกั เรียนตรวจคำตอบได้จากเฉลยใบงาน และ บันทกึ ผลคะแนนทไี่ ดล้ งในแบบบันทึกคะแนน โดยครูคอยใหค้ ำแนะนำและอธิบายเพม่ิ เติม 6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 10 นาที เพ่ือตรวจสอบ ความก้าวหน้าทางการเรียน นักเรียนตรวจคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยตนเอง แล้วบันทึกผลคะแนนท่ีได้ลงในแบบบันทึกคะแนน ซึ่งนักเรียนต้องทำกิจกรรมให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ ถ้านกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ตามท่ีกำหนดไวใ้ ห้ทบทวนเนื้อหา แลว้ ทำแบบทดสอบหลังเรยี น อีกคร้งั หากผา่ นเกณฑ์ ใหศ้ ึกษาเอกสารประกอบการเรียนเรอื่ งต่อไป



4 มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด และสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์ คุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคิดตอ่ ดนตรีอย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ตัวช้ีวดั 1. ศ 2.1 ป.4/2 จำแนกประเภทของเครือ่ งดนตรีทีใ่ ช้ในเพลงทีฟ่ งั 2. ศ 2.1 ป.4/6 ใช้และเก็บรกั ษาเคร่ืองดนตรีอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั สาระการเรยี นรู้ 1. ประเภทของเครอ่ื งดนตรีไทย 2. หน้าที่ของเครอื่ งดนตรีไทย 3. การใช้และการดแู ลรกั ษาเครอื่ งดนตรไี ทย

5 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ด้านความรู้ (Knowledge : K) 1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของเครื่องดนตรีไทยแต่ละประเภทไดถ้ ูกต้อง 2. นกั เรียนสามารถอธิบายหนา้ ที่ของเครือ่ งดนตรีไทยแต่ละประเภทได้ถกู ตอ้ ง 3. นักเรียนสามารถอธบิ ายการใชแ้ ละการดแู ลรกั ษาเคร่ืองดนตรีไทยไดถ้ กู ตอ้ ง ด้านทักษะกระบวนการ (Process : P) 4. นักเรยี นสามารถใชแ้ ละดแู ลรักษาเครื่องดนตรีไทยไดถ้ กู วธิ ี ด้านคณุ ลกั ษณะ (Attribute : A) 5. นกั เรยี นสามารถบรรยายคุณค่าความสำคัญและประโยชนข์ องเครอื่ งดนตรไี ทยได้

6 แบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง ประเภทของเคร่ืองดนตรไี ทย กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ (สาระดนตร)ี ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด : ศ 2.1 ป.4/2 จำแนกประเภทของเครอ่ื งดนตรที ใ่ี ช้ในเพลงที่ฟัง ศ 2.1 ป.4/6 ใช้และเกบ็ รักษาเครื่องดนตรีอย่างถูกตอ้ งและปลอดภยั คำช้ีแจง 1. แบบทดสอบเปน็ แบบเลือกตอบจำนวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาในการทำ 10 นาที 2. นกั เรียนเลอื กคำตอบทถี่ ูกทส่ี ุดเพียงคำตอบเดียว และทำเคร่ืองหมาย ( X ) ลงใน กระดาษคำตอบใหต้ รงกับตวั เลือกทต่ี ้องการ 3. ตัง้ ใจทำแบบทดสอบดว้ ยความรอบคอบใหค้ รบทกุ ขอ้ ตามความเข้าใจของตนเอง 1. เคร่อื งดนตรไี ทยประกอบดว้ ยประเภทใดบ้าง ? ก. เคร่ืองสาย เคร่ืองเปา่ และเครอื่ งตี ข. เครอ่ื งดดี เครือ่ งสี เคร่ืองตี และเคร่อื งเป่า ค. เคร่ืองสาย เคร่อื งเป่า และเครอื่ งสี ง. เครอ่ื งดีด เคร่ืองสี เครอ่ื งตี และเคร่ืองเขยา่ 2. ขอ้ ใดไม่ใช่เครือ่ งดนตรีไทย ? ข. ซอด้วง ก. ปีช่ วา ง. กระจับปี่ ค. ไวโอลนิ 3. ข้อใดจดั เป็นเครือ่ งดนตรไี ทยประเภทเดยี วกนั ทั้งหมด ? ก. ซึง พณิ เปีย๊ ะ จะเข้ ข. ซอด้วง สะลอ้ แคน ค. ป่ีใน ระนาดเอก ซออู้ ง. ฉิ่ง โปงลาง ขลุ่ยเพยี งออ 4. เคร่ืองดนตรไี ทยในขอ้ ใดไมเ่ ข้าพวก ? ข. ระนาดเอกเหลก็ ก. ตะโพน ง. โทน – รำมะนา ค. กลองทัด 5. เครอื่ งดนตรไี ทยใดเปรียบเสมือนเป็นทำนองหลกั หรือทางหลัก ? ก. ปใ่ี น ข. ตะโพน ค. ระนาดเอก ง. ฆอ้ งวงใหญ่ 6. ขอ้ ใดเป็นเคร่อื งดนตรไี ทยที่ใช้กำกับจังหวะท้ังหมด ? ก. จะเข้ กลองยาว โทน ข. กรบั เสภา ฉาบ ปชี่ วา ค. ฉงิ่ รำมะนา ขลยุ่ เพียงออ ง. กลองแขก โหมง่ ตะโพน

7 7. ขอ้ ใดเปน็ เครอ่ื งดนตรไี ทยท่ใี ช้ดำเนนิ ทำนองทั้งหมด ? ก. ระนาดเอก ตะโพน ซออู้ ข. กรับ โหมง่ ขลยุ่ เพียงออ ค. ซอดว้ ง กลองทัด ระนาดทุ้ม ง. จะเข้ ฆ้องวงเลก็ ขลยุ่ เพยี งออ 8. ข้อใดไมใ่ ช่จุดประสงคห์ ลกั ของการใชแ้ ละดแู ลรักษาเครื่องดนตรีไทย ? ก. ความเปน็ ระเบยี บ ข. ทำใหส้ ะดวกในการหยบิ ใช้ ค. ความสวยงามนา่ ใช้ ง. ยืดอายุการใชง้ านของเคร่อื งดนตรี 9. ขอ้ ใดเป็นวิธดี แู ลรักษาเครือ่ งสายทม่ี ีคนั ชกั ? ข. แยกคันชักไปเก็บไว้อีกท่ี ก. หย่อนสาย ก่อนนำไปแขวน ง. ดึงสายใหต้ งึ กอ่ นนำไปแขวน ค. ชโลมน้ำายากันสนมิ กอ่ นเก็บ 10. เครอ่ื งดนตรีไทยข้อใดมีวธิ กี ารใช้และดูแลรักษาแบบเดยี วกันทั้งหมด ? ก. ซอด้วง ขิม ข. ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ค. ฆอ้ งวงใหญ่ ซอดว้ ง ง. ระนาดเอก ระนาดเอกเหล็ก

8 ใบความรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง ประเภทของเครื่องดนตรีไทย เครือ่ งดนตรีไทย เครือ่ งดนตรีไทย เปน็ ส่ิงประดิษฐท์ ีเ่ กิดจากภูมปิ ญั ญาไทย แสดงใหเ้ หน็ เอกลกั ษณข์ องความเปน็ ไทย สร้างข้ึนมาเพ่อื ความเหมาะสมกับคนไทยและความเป็นอยู่อย่างไทย สันนิษฐานว่ามีต้นกำเนิดมาจาก การรับเอาวัฒนธรรมทางดนตรีของชาติต่าง ๆ เข้ามาผสมผสานกัน เช่น อินเดีย จีน ลาว พม่า มอญ เป็นต้น และมีความเช่ือว่าดนตรีไทยเกิดจากภูมิปัญญาของชาวบ้านที่นำเอาวัสดุที่มีอยู่ในธรรมชาติ มาสรา้ งเปน็ เคร่อื งดนตรที ่ีนยิ มนำมาเลน่ กันในท้องถน่ิ ผู้เช่ียวชาญดนตรีไทยแบ่งเคร่ืองดนตรีไทยออกเป็น 4 ประเภท โดยยึดหลักการทำให้เกิดเสียง และวธิ บี รรเลง ได้แก่ เคร่อื งดีด เครอ่ื งสี เครื่องตี และเครื่องเปา่ 1. เครอ่ื งดีด เปน็ เคร่อื งดนตรปี ระเภทท่มี สี าย เกดิ เสยี งได้โดยการดดี ดว้ ยมือขา้ งหน่ึงและมืออกี ข้างหน่ึง กดสาย ตามเสียงที่ต้องการหรือใช้ไม้ดีดสาย ลักษณะของเครื่องดนตรีประเภทน้ีประกอบด้วยส่วนที่ เป็นกระพุ้ง เรยี กว่า “กะโหลก\" สำหรบั ทำให้เสยี งที่ดีดดังกงั วาน มีคนั ทวนลูกบดิ สะพานหนหู รอื นม เปน็ สว่ นประกอบที่ทำใหเ้ กิดเสียง เช่น ซึง จะเข้ พิณน้ำเตา้ พิณเป๊ยี ะ และกระจบั ปี่ เป็นต้น ซงึ จะเข้ พณิ เปยี๊ ะ กระจับป่ี ภาพท่ี 1 เครื่องดนตรีไทยประเภทเคร่ืองดีด

9 2. เครือ่ งสี เป็นเคร่ืองดนตรที ี่ดัดแปลงมาจากเครือ่ งดีด มีสาย และกะโหลกเสียงเป็นส่วนประกอบ ท่ีสำคัญเช่นเดียวกับเครื่องดีด ทำให้เกิดเสียงโดยใช้คันชักสีที่สาย ซึ่งมีหลายประเภท เช่น ซอสามสาย ซออู้ ซอด้วง และสะลอ้ เปน็ ต้น ซอสามสาย ซอดว้ ง สะลอ้ ซออู้ ภาพที่ 2 เคร่ืองดนตรไี ทยประเภทเครอื่ งสี 3. เครื่องตี เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทเก่าแก่ท่ีสุดท่ีมนุษย์รู้จักใช้แต่ก็ได้แก้ไขปรับปรงุ ให้วิวัฒนาการมาโดยลำดับ ทำใหเ้ กดิ เสียงได้โดยการตหี รอื การเคาะ เครือ่ งตเี มอ่ื แบง่ ตามวตั ถุทท่ี ำ แบง่ ออกได้ 3 ประเภท ดงั น้ี 1) เคร่ืองตีทำด้วยไม้ ได้แก่ เกราะ โกร่ง กรับคู่ กรับพวง กรับเสภา ระนาดเอก ระนาดทุ้ม และโปงลาง ระนาดเอก กรับเสภา กรับพวง ภาพท่ี 3 เครอ่ื งดนตรีไทยประเภทเครอ่ื งตที ที่ ำด้วยไม้

10 2) เครื่องตีทำด้วยโลหะ ได้แก่ ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก มโหระทึก ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ฆ้องเดยี่ ว ฆ้องคู่ ฆ้องราว และฆ้องราง ฉ่ิง ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องวงใหญ่ ฉาบใหญ่ ภาพที่ 4 เคร่ืองดนตรีไทยประเภทเครือ่ งตที ี่ทำด้วยโลหะ 3) เคร่ืองตีที่ขึงด้วยหนัง ได้แก่ กลองทัด กลองชาตรี กลองตะโพน กลองแขก กลองสะบัดชัย กลองมลายู กลองชนะ กลองยาว กลองสองหนา้ รำมะนาลำตดั ตะโพนไทย ตะโพนมอญ โทนมโหรี ตะโล้ดโปด๊ เปงิ มางคอก และบณั เฑาะว์ กลองสองหน้า บัณเฑาะว์ กลองยาว กลองทดั เปิงมางคอก ภาพที่ 5 เคร่อื งดนตรีไทยประเภทเคร่อื งตีทข่ี งึ ด้วยหนงั

11 4. เคร่ืองเปา่ เปน็ เคร่ืองดนตรปี ระเภททใี่ ช้ลมเป่าให้เกดิ เสยี ง ซงึ่ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 1) เคร่ืองเป่าที่ไม่มลี ิ้น มแี ต่รูบงั คบั ให้ลมที่เปา่ หักมุมแล้วเกิดเป็นเสียง เรยี กว่า \"ขลุ่ย\" ได้แก่ ขล่ยุ หลบี ขลุย่ เพียงออ ขลยุ่ อู้ และสังข์ ขลุ่ยหลีบ ขลยุ่ เพียงออ ขลุ่ยอู้ สังข์ ภาพท่ี 6 เคร่ืองดนตรไี ทยประเภทเครื่องเป่าทีไ่ ม่มีล้นิ 2) เครอื่ งเป่าที่มีลิ้น ทำด้วยใบไม้ หรือไม้ไผ่ หรอื โลหะ สำหรับเป่าลมเข้าไปในลิ้น แล้วล้ิน จะเกิดความเคลือ่ นไหวทำให้เกิดเสียงขน้ึ เรียกว่า \"ลน้ิ ปี่\" และเรยี กเครื่องดนตรีประเภทน้ีวา่ \"ป่\"ี ได้แก่ ปน่ี อก ป่กี ลาง ป่ีใน ปีช่ วา ปมี่ อญ ปอ่ี ้อ และแคน ป่ีมอญ ป่นี อก ปี่กลาง ป่ใี น แคน ภาพที่ 7 เครือ่ งดนตรีไทยประเภทเคร่ืองเปา่ ท่มี ลี ้ิน

12 ใบงานที่ 1 เร่อื ง ประเภทของเครือ่ งดนตรไี ทย มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด : ศ 2.1 ป.4/2 จำแนกประเภทของเคร่อื งดนตรที ่ีใช้ในเพลงที่ฟัง คำช้แี จง : นกั เรียนเขียนชื่อเครื่องดนตรไี ทยลงในแผนผงั ความคดิ ประเภทละ 4 ชนดิ (10 คะแนน) 1. …………………………………… 1. …………………………………… 2. …………………………………… 2. …………………………………… 3. …………………………………… 3. …………………………………… 4. …………………………………… 4. …………………………………… ...................... ...................... เครอ่ื งดนตรีไทย ...................... ...................... 1. …………………………………… 1. …………………………………… 2. …………………………………… 2. …………………………………… 3. …………………………………… 3. …………………………………… 4. …………………………………… 4. …………………………………… ช่ือ – นามสกุล.......................................................................ชนั้ ................เลขท่.ี .......... วันที่............เดอื น.................................พ.ศ..................

13 ใบความรู้ท่ี 2 เร่ือง หนา้ ทข่ี องเครอ่ื งดนตรไี ทย เครื่องดนตรไี ทยแต่ละชนิดจะมหี น้าที่ในการบรรเลงทแ่ี ตกต่างกัน ขนึ้ อยู่กับลกั ษณะของการสร้าง เสียงของเครื่องดนตรีแต่ละช้ิน เช่น บางชิ้นมีเสียงสูง บางช้ินมีเสียงต่ำ เป็นต้น ซึ่งแบ่งหน้าที่ตาม ลักษณะการใชง้ านหรือหนา้ ทก่ี ารบรรเลงในวงดนตรีไทยไดเ้ ป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ เครือ่ งดนตรีไทยท่ีใช้ กำกบั จังหวะ และเครื่องดนตรไี ทยทใ่ี ช้ดำเนนิ ทำนอง 1. เครอ่ื งดนตรีไทยที่ใชก้ ำกับจังหวะ เป็นเครอ่ื งดนตรีท่ีใช้สำหรบั บรรเลงประกอบจังหวะเพลง เสียงของเคร่ืองดนตรปี ระเภทนี้ ไม่สามารถไล่ระดับเสียงสูง – ต่ำ ได้ เพราะมเี สยี งสงู -ตำ่ ไม่ถึง 7 เสียง เชน่ ฉิ่ง ฉาบ กรบั โหม่ง ตะโพน กลองทัด กลองแขก โทน - รำมะนา เปน็ ต้น ซงึ่ แต่ละชนิดมวี ธิ กี ารบรรเลงที่แตกตา่ งกันไป ฉ่งิ กรับ ใชต้ กี ำกับจงั หวะของเพลง ใชต้ กี ำกับจังหวะ โดยมุ่งตเี นน้ ใหด้ ำเนินไปโดยสม่ำเสมอ จงั หวะปิดหรอื จงั หวะตก เช่น ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงลกั ษณะ ในจงั หวะ “ฉิ่ง” “ฉับ” กรับ การตีไปตามจงั หวะ จะตเี ฉพาะที่ลงจังหวะ “ฉบั ” และตามทำนอง เท่าน้นั ของเพลงนั้น ๆ

14 กลองทัด โหม่ง เปน็ เคร่ืองดนตรที ป่ี ระกอบ โหม่ง คือ ฆอ้ งคู่ เสียงต่างกัน อยู่ในวงปี่พาทยไ์ ม้แขง็ เสยี งแหลมเรยี กวา่ \"เสียงโหม่ง\" ใช้บรรเลงเข้าคู่กบั ตะโพน เสยี งทุม้ เรียกว่า \"เสยี งหมุง่ \" พบเห็นไดใ้ นการแสดงประเภท ใช้ตีกำกบั จงั หวะใหญ่ โขน ลิเก เป็นตน้ เชน่ เดยี วกบั กรบั ตะโพน โทน – รำมะนา ใชต้ กี ำกบั จังหวะหน้าทับ ใชต้ ีกำกบั จังหวะ ซึง่ ทำหนา้ ท่ี โดยตสี อดสลบั ให้สมั พนั ธ์ ควบคุมจงั หวะหนา้ ทบั โดยตี กลมกลนื กับเสยี งกลองทดั สอดสลบั กนั ไปมาระหวา่ ง โดยทำหนา้ ที่ควบคมุ โทนกับรำมะนา ความชา้ – เรว็ ของเพลง 2. เคร่ืองดนตรีไทยท่ีใชด้ ำเนนิ ทำนอง เปน็ เครือ่ งดนตรที ี่ใช้สำหรับบรรเลงเป็นทำนองเพลง ส่วนมากเป็นเครอ่ื งดนตรีท่มี ีเสยี งสูง - ต่ำ เรียงลำดับกนั มากกว่า 7 เสยี ง โดยแบ่งย่อยเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ เครอ่ื งนำและ เครือ่ งตาม ซง่ึ เป็นการแบง่ กลมุ่ เครือ่ งดนตรไี ทยให้มีหนา้ ที่ เปน็ ฝา่ ยนำและฝ่ายตามในการบรรเลงแบบ “ลกู ล้อ” และ “ลกู ขัด” ลูกล้อ คอื เครื่องดนตรีที่เล่นโนต้ เพลงเหมอื นกบั พวกเคร่ืองนำ ลูกขัด คอื เคร่อื งดนตรีทีเ่ ล่นโน้ตเพลงเหมอื นพวกเคร่ืองตาม

15 เครอ่ื งดนตรีที่ทำหน้าท่ีเป็น เคร่ืองนำ จะมีเสียงแหลม และดัง ระนาดเอก ฆ้องวงเลก็ ทำหน้าทบี่ รรเลงเปน็ ผู้นำวง ทำหน้าที่สอดแทรก มลี ีลาการบรรเลงและลูกเล่น การบรรเลงให้น่าฟัง บรรเลง ตา่ ง ๆ โดยยึดทำนองหลกั ทำนองคล้ายระนาดเอก แต่ตีเก็บ จากฆอ้ งวงใหญ่ ถีก่ ว่าระนาดเอก ซอด้วง จะเข้ ทำหนา้ ที่เปน็ ผนู้ ำวงและ ทำหน้าทด่ี ำเนินทำนอง เป็นหลกั ในการดำเนนิ ทำนอง เขา้ กับวงตามเนอ้ื รอ้ งหรือ อ้างองิ สอดแทรกกบั เคร่ืองดนตรี ดำเนนิ ทำนองอื่น ขล่ยุ หลบี ทำหน้าท่ีดำเนินทำนองนำวง หากรว่ มบรรเลงกบั ขล่ยุ เพียงออ จะมีชว่ งท่หี ยอกล้อและขดั กันบา้ ง ให้มคี วามไพเราะ น่าฟังขน้ึ

16 เคร่อื งดนตรีทีท่ ำหน้าที่เปน็ เครื่องตาม จะมเี สยี งท้มุ นุ่มนวล ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ทำหน้าทบ่ี รรเลงลอ้ หรือขัด ทำหนา้ ท่ีดำเนนิ ทำนอง กับระนาดเอกแต่ยดึ ทำนองหลัก เป็นหลักของเพลงในรปู แบบ จากฆ้องวงใหญ่เชน่ กนั การประสมวงตา่ ง ๆ โดยบรรเลง เปน็ ทำนองหา่ ง ๆ ซออู้ ขลุ่ยเพยี งออ ทำหน้าท่ีดำเนินทำนอง ทำหน้าท่ีดำเนนิ ลลี าไปตาม แตอ่ าจมีช่วงที่ล้อหรือขัดกับ เนอ้ื เพลง หรือเชื่อมประสานเสยี ง การดำเนนิ ทำนอง ซอด้วงให้มีความไพเราะ ในการบรรเลง ขล่ยุ อู้ ทำหนา้ ท่ีดำเนนิ ทำนองคลา้ ย ขล่ยุ เพียงออ สว่ นใหญ่ใช้ใน วงปพ่ี าทย์ดกึ ดำบรรพ์

17 ใบงานท่ี 2 เร่อื ง หน้าท่ขี องเครื่องดนตรีไทย มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด : ศ 2.1 ป.4/2 จำแนกประเภทของเครื่องดนตรที ใี่ ช้ในเพลงท่ีฟงั คำชแี้ จง : นักเรยี นพจิ ารณาภาพเครือ่ งดนตรีไทย แลว้ บอกรายละเอยี ดและทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงใน ตาราง (10 คะแนน) 1) 5) 9) 3) 7) 2) 6) 10) 4) 8) ช่ือเครอ่ื งดนตรไี ทย ลกั ษณะการใชง้ านของเคร่ืองดนตรีไทย ใชก้ ำกบั จังหวะ ใชด้ ำเนนิ ทำนอง 1)…………………………………………………. …………………………. …………………………. 2)…………………………………………………. …………………………. …………………………. 3)…………………………………………………. …………………………. …………………………. 4)…………………………………………………. …………………………. …………………………. 5)…………………………………………………. …………………………. …………………………. 6)…………………………………………………. …………………………. …………………………. 7)…………………………………………………. …………………………. …………………………. 8)…………………………………………………. …………………………. …………………………. 9)…………………………………………………. …………………………. …………………………. 10)………………………………………………. …………………………. …………………………. ช่อื - นามสกุล.......................................................................ชั้น..................เลขที่........... วันท่.ี ...........เดอื น.................................พ.ศ..................

18 ใบความรู้ที่ 3 เร่อื ง การดแู ลรกั ษาเครือ่ งดนตรีไทย การดูแลรกั ษาเครื่องดนตรีไทยใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อมใช้ จะชว่ ยเออื้ ประโยชน์ต่อการนำมาใช้ได้ ทุกครั้ง และช่วยให้เครื่องดนตรีไทยมีความคงทน รวมทงั้ มีอายุการใช้งานทนี่ านขึ้น โดยหลกั การดูแล รกั ษาเคร่ืองดนตรีไทยทส่ี ำคญั มดี ังน้ี 1. การดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทยประเภทเครือ่ งดีด เคร่ืองดนตรีไทยประเภทเคร่อื งดดี เชน่ จะเข้ กระจบั ป่ี ซึง พณิ ต่าง ๆ เป็นต้น ก่อนนำมาใชท้ กุ คร้งั ต้องตรวจสอบความสมบูรณ์ของเคร่ืองดนตรีไทยให้เรียบร้อย ปรับเสยี ง และตง้ั ระดับเสียงให้ถกู ต้อง เมื่อเลกิ ใชแ้ ลว้ ให้ดำเนนิ การตามข้ันตอน ดงั นี้ ควรลดสายให้หย่อนพอประมาณ ต้องไมใ่ หห้ ยอ่ นเกินไป นำผา้ ชุบน้ำพอหมาด ๆ เช็ดถบู ริเวณตวั เครอ่ื งดนตรีไทยนนั้ ๆ ใหส้ ะอาด นำผา้ มาคลุมใหม้ ิดชิดและวางในทท่ี ี่เหมาะสม เช่น ในตู้ หรือในหอ้ งเกบ็ เครอ่ื งดนตรีไทย เป็นตน้

19 2. การดแู ลรกั ษาเครื่องดนตรไี ทยประเภทเครื่องสี เครือ่ งดนตรีไทยประเภทเครือ่ งสี เชน่ ซอด้วง ซออู้ ซอสามสาย และสะล้อ เปน็ ต้น เมอ่ื เลิกใชแ้ ลว้ ใหด้ ำเนินการตามข้นั ตอน ดังน้ี ควรผ่อนสายของซอทุกสายให้หย่อนพอประมาณ ปลดเล่ือนหมอนหรอื หย่องซอข้นึ ไว้บนขอบกระบอกหรอื กะโหลกซอ เพอ่ื ปอ้ งกนั หนา้ ซอยบุ ตัวจากการกดทับของสาย เก็บคันชักเขา้ ที่ให้ส่วนท่มี ือจับด้านขวามือไปคล้องกับลกู บิด แล้วจัดระดับคันชัก กับซอใหเ้ ข้าท่ี ไมค่ วรพิงซอไว้ขา้ งฝาผนัง เพราะอาจลม้ จนเกดิ ความเสียหาย นำผ้าสำลชี ุบนำ้ พอหมาด ๆ เช็ดสว่ นตา่ ง ๆ ของซอให้สะอาด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สว่ นกระบอกและกะโหลกซอ เพราะจะมีฝนุ่ ของยางสนตดิ สะสมอยู่ นำเก็บเขา้ ถุงผ้าหรือกล่องทม่ี ิดชิดแลว้ นำไปวางในทท่ี ่เี หมาะสม 3. การดูแลรักษาเคร่อื งดนตรไี ทยประเภทเคร่ืองตี เครือ่ งดนตรีไทยประเภทเครอื่ งตีกำกบั จังหวะ เช่น ฉ่ิง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ กรับ โหม่ง เป็นต้น เมอื่ เลิกใช้แล้วให้ดำเนนิ การตามขน้ั ตอน ดังนี้ ทำความสะอาดด้วยการใช้ผา้ เชด็ ถูเครอื่ งดนตรีนัน้ ๆ ใหส้ ะอาด ไมค่ วรใหเ้ ครื่องตกี ำกบั จังหวะทเ่ี ป็นโลหะถูกน้ำ เพราะจะทำใหเ้ ปน็ สนิม เกบ็ วางหรอื ใส่ไว้ในกล่องเก็บเครื่องดนตรใี หเ้ ป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย

20 เครื่องดนตรีประเภทเครื่องหนัง เช่น กลองทัด ตะโพนไทย ตะโพนมอญ กลองแขก กลองมลายู กลองสองหน้า กลองยาว กลองหาง โทน - รำมะนา เป็นต้น เครือ่ งดนตรีไทยลักษณะน้ีมักจะนำหนังสัตว์มาขึ้นหน้าหุ้มกลอง ตรึงด้วยหมุดบางชนิด โยงด้วยสายท่ีทำจากหนังสัตว์ สายหวาย เป็นต้น เมื่อเลิกใช้แล้วให้ดำเนินการ ตามข้นั ตอน ดงั น้ี ทำความสะอาดดว้ ยการใช้ผ้าเช็ดถูเคร่ืองดนตรีไทยน้นั ๆ ใหส้ ะอาด ล้างหรือเช็ดทำความสะอาดหน้ากลองทีต่ ิดจ่ากลองหรอื ข้าวบดสำหรบั ถว่ งหน้า กลองให้สะอาด เพราะข้าวบดถ่วงหรอื จ่ากลองท่ีมีส่วนผสมของขี้เถ้า หากไมท่ ำความสะอาด ให้ดีแล้ว ความเค็มของข้ีเถ้าจะกดั แผน่ หนงั กลองใหเ้ กิดความเสียหายได้ เครอื่ งดนตรีไทยประเภทเคร่อื งตีดำเนินทำนอง เช่น ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอกเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ฆอ้ งวงเลก็ ฆ้องมอญวงใหญ่ โปงลาง เป็นต้น เมอ่ื เลิก ใช้งานแล้ว ให้ดำเนนิ การตามขน้ั ตอน ดังนี้ ทำความสะอาดด้วยการใช้ผ้าเช็ดถูเครอ่ื งดนตรีไทยนน้ั ๆ ใหส้ ะอาด ระนาดเอกและระนาดทุ้ม ใหป้ ลดเชอื กจากตะขอแขวนทางด้านซา้ ย 1 อนั เพราะส่วนน้ีต้องรบั น้ำหนกั ผนื ระนาด จึงต้องปลดเชอื ก เพ่ือปอ้ งกนั เชือกขาด การเคลอ่ื นย้ายระนาด ควรยกขึน้ ทง้ั รางไมค่ วรลากหรือดึง เพราะจะทำให้ รางระนาดลม้ เกดิ ความเสยี หายได้ และทำใหพ้ ื้นบริเวณที่ลากเปน็ รอย ถา้ เป็นฆอ้ งวง ควรวางราบกบั พืน้ ไม่ควรวางตงั้ หรอื วางพงิ ไว้ข้างฝาผนงั เพราะอาจทำใหว้ งฆอ้ งล้มลงหรือหกั ลงได้ ถ้าตะกั่วทต่ี ิดใตผ้ ืนระนาดหลุด ควรใชไ้ ม้ขีดไฟลนเพื่อให้ตะกวั่ อ่อนตวั แล้วติด เข้าไว้ตามเดิม ห้ามใช้เทยี นไขลน เพราะอาจทำให้นำ้ ตาเทียนหยดผสมกับตะก่ัว ทำให้ ล่นื และตดิ ไม่ได้ ตั้งวางเครื่องดนตรีไว้อย่างเป็นระเบียบโดยมิให้ถูกแสงแดด เพ่ือป้องกันมิให้ตะกั่ว ถว่ งเสียงละลายหรือส่วนประกอบท่เี ปน็ ไม้แตกหัก บิดเบ้ยี ว

21 4. การดแู ลรักษาเคร่อื งดนตรีไทยประเภทเครอื่ งเป่า เคร่ืองดนตรีไทยประเภทเคร่ืองเป่า เช่น ปี่ใน ปี่นอก ปี่ชวา ปี่มอญ ปี่อ้อ แคน ขลุ่ยชนิดต่าง ๆ เป็นต้น ลักษณะโดยทั่วไปของปี่มักจะทำด้วยไม้ แต่บางชนิด จะแทรกด้วยกำพวด ลิ้นโลหะหรือล้ินใบตาล ก่อนนำมาใช้ควรตรวจสอบความสมบูรณ์ ของเครอื่ งดนตรีไทยให้เรียบร้อยเสียกอ่ น และปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนวิธีบรรเลงเคร่อื งดนตรีไทย แตล่ ะชนดิ ใหถ้ ูกต้อง เมื่อเลกิ ใช้แล้วใหด้ ำเนินการตามขน้ั ตอน ดงั น้ี ควรทำความสะอาดรทู ี่ปากเปา่ ด้วยน้ำหรือแอลกอฮอล์ จากนน้ั เช็ดด้วยผา้ แห้ง ทสี่ ะอาดเพอ่ื ปอ้ งกันเช้อื โรค แช่ลน้ิ ป่ีในน้ำยาฆ่าเชื้อโรค เก็บกำพวดปี่ และล้ินปไี่ วใ้ นกรกั ปีใ่ หเ้ รยี บรอ้ ย ไม่ควรนำขลยุ่ หรอื ป่ไี ปล้างนำ้ ท้งั เลา เพราะอาจทำให้เนอื้ ไมข้ ยายตวั สง่ ผลตอ่ ระบบเสยี ง ห้ามนำเลาป่ี เลาขลุ่ย หรือตัวแคนไปตากแดด หรือตั้งไว้ในท่ีมีอุณหภูมิสูง เพราะจะทำให้เคร่ืองดนตรีปริแตก หรือโครงสร้างภายในเสียหาย ส่งผลกระทบต่อ ระบบเสยี งของเคร่อื งดนตรีไทยชนดิ นัน้ ๆ ควรเกบ็ ใส่ถงุ ให้มิดชิดเพ่ือป้องกนั ฝนุ่ หรอื รอ้ ยเชอื กแขวนไวใ้ ห้เปน็ ระเบยี บ

22 ใบงานท่ี 3 เร่ือง การดแู ลรกั ษาเครือ่ งดนตรไี ทย มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด : ศ 2.1 ป.4/6 ใชแ้ ละเก็บรักษาเคร่ืองดนตรอี ยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภัย คำช้ีแจง : นกั เรียนพิจารณาสถานการณ์ตอ่ ไปนี้ แลว้ ทำเครอ่ื งหมาย หนา้ ข้อทถ่ี กู และ ทำเครอื่ งหมาย หนา้ ขอ้ ที่ผดิ พรอ้ มท้ังอธบิ ายเหตุผลประกอบ (10 คะแนน) 1. แววดาว นำผ้าหมาด ๆ ทำความสะอาดจะเข้ แลว้ นำผา้ มาคลมุ ใหม้ ิดชิด เหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………… 2. สุเมธ จดุ เทยี นไขลนตะก่ัวระนาดเอก เมื่ออ่อนตวั จงึ นำไปตดิ ไวท้ ี่เดมิ เหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………… 3. นิรันดร์ ตั้งวางระนาดเอกในท่มี อี ากาศโปร่ง แสงแดดส่องถึงเพ่อื ป้องกันเชื้อรา เหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………… 4. พงศธร ใช้ผา้ เชด็ ถฉู ่งิ และฉาบให้สะอาด แล้วนำไปเก็บในที่แห้งหา่ งไกลความชืน้ เหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………… 5. รุ่งรวี ลดสายซอดว้ ง พร้อมท้งั เอาหย่องออกทุกครั้งหลงั จากบรรเลงเสร็จ เหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………… 6. สมชาย ทำความสะอาดเลาขลยุ่ เพยี งออ ดว้ ยการนำไปแชน่ ้ำทุกคร้งั เหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………… 7. สมสขุ ทำความสะอาดรูปากเป่าขล่ยุ หลีบดว้ ยแอลกอฮอล์ แลว้ เช็ดดว้ ยผา้ แห้งทส่ี ะอาด เหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………… 8. รณชติ นำฆอ้ งวงเลก็ ไปเก็บโดยพงิ ไวข้ า้ งฝาผนังห้องดนตรีไทย เหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………… 9. ชานนท์ ใช้ผ้าเชด็ ถหู นา้ กลองโดยนำเอาจา่ กลองออกก่อน แล้วจึงนำไปเก็บให้เรยี บรอ้ ย เหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………… 10. สมหญิง ปลดเชอื กระนาดออกทงั้ 2 ข้าง หลังจากเล่นเสร็จ เหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………… ช่อื - นามสกุล................................................................................ชัน้ ..................เลขท.่ี ....... วนั ท.ี่ ...........เดอื น.................................พ.ศ..................

23 แบบทดสอบหลังเรยี น เร่ือง ประเภทของเคร่อื งดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ (สาระดนตร)ี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด : ศ 2.1 ป.4/2 จำแนกประเภทของเครื่องดนตรที ใ่ี ช้ในเพลงท่ีฟัง ศ 2.1 ป.4/6 ใช้และเกบ็ รักษาเครื่องดนตรอี ยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั คำชี้แจง 1. แบบทดสอบเปน็ แบบเลือกตอบจำนวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาในการทำ 10 นาที 2. นักเรยี นเลือกคำตอบทีถ่ ูกท่สี ดุ เพียงคำตอบเดียว และทำเคร่ืองหมาย ( X ) ลงใน กระดาษคำตอบใหต้ รงกับตวั เลอื กทีต่ อ้ งการ 3. ต้งั ใจทำแบบทดสอบด้วยความรอบคอบใหค้ รบทกุ ขอ้ ตามความเข้าใจของตนเอง 1. ขอ้ ใดไม่ใช่จดุ ประสงค์หลักของการใชแ้ ละดแู ลรกั ษาเครอ่ื งดนตรีไทย ? ก. ความเปน็ ระเบียบ ข. ทำใหส้ ะดวกในการหยบิ ใช้ ค. ความสวยงามน่าใช้ ง. ยืดอายกุ ารใช้งานของเคร่อื งดนตรี 2. เคร่อื งดนตรไี ทยใดเปรยี บเสมือนเป็นทำนองหลกั หรือทางหลัก ? ก. ปใ่ี น ข. ตะโพน ค. ระนาดเอก ง. ฆ้องวงใหญ่ 3. เคร่ืองดนตรไี ทยข้อใดมีวิธกี ารใช้และดูแลรักษาแบบเดียวกันทงั้ หมด ? ก. ซอดว้ ง ขมิ ข. ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ค. ฆ้องวงใหญ่ ซอดว้ ง ง. ระนาดเอก ระนาดเอกเหล็ก 4. ขอ้ ใดไมใ่ ช่เคร่ืองดนตรีไทย ? ข. ซอดว้ ง ก. ป่ชี วา ง. กระจบั ปี่ ค. ไวโอลิน 5. ข้อใดเป็นเครอ่ื งดนตรไี ทยทใี่ ช้ดำเนินทำนองทัง้ หมด ? ก. ระนาดเอก ตะโพน ซออู้ ข. กรบั โหม่ง ขล่ยุ เพียงออ ค. ซอด้วง กลองทัด ระนาดทุ้ม ง. จะเข้ ฆอ้ งวงเล็ก ขลยุ่ เพียงออ 6. ข้อใดเป็นวิธดี ูแลรักษาเครื่องสายที่มคี นั ชกั ? ก. หยอ่ นสาย ก่อนนำไปแขวน ข. แยกคนั ชักไปเก็บไว้อีกที่ ค. ชโลมน้ำายากนั สนิมก่อนเกบ็ ง. ดงึ สายให้ตึง ก่อนนำไปแขวน

24 7. เครอ่ื งดนตรีไทยในขอ้ ใดไม่เข้าพวก ? ข. ระนาดเอกเหล็ก ก. ตะโพน ง. โทน – รำมะนา ค. กลองทดั 8. เคร่อื งดนตรีไทยประกอบด้วยประเภทใดบ้าง ? ก. เครื่องสาย เครือ่ งเป่า และเครอ่ื งตี ข. เครือ่ งดีด เครื่องสี เครอื่ งตี และเคร่อื งเปา่ ค. เครอ่ื งสาย เครือ่ งเปา่ และเครอื่ งสี ง. เครอ่ื งดดี เครื่องสี เคร่ืองตี และเครื่องเขย่า 9. ขอ้ ใดจัดเปน็ เคร่อื งดนตรีไทยประเภทเดียวกันท้งั หมด ? ก. ซึง พณิ เปีย๊ ะ จะเข้ ข. ซอด้วง สะล้อ แคน ค. ปี่ใน ระนาดเอก ซออู้ ง. ฉิง่ โปงลาง ขลยุ่ เพียงออ 10. ขอ้ ใดเป็นเครอ่ื งดนตรไี ทยที่ใช้กำกบั จงั หวะทง้ั หมด ? ก. จะเข้ กลองยาว โทน ข. กรบั เสภา ฉาบ ปี่ชวา ค. ฉิง่ รำมะนา ขลยุ่ เพยี งออ ง. กลองแขก โหม่ง ตะโพน

25 บรรณานกุ รม กฤชกร เพชรนอก. (2554). เคร่ืองดนตรแี ละวงดนตรีไทย ชุด สบื สานวฒั นธรรมไทย. กรงุ เทพฯ : สกายบุ๊กส.์ กิตติวัฒน์ พิชติ ยศวัฒน์ และสราวุธ สระมูล. (2558). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน ดนตรี 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : เอมพนั ธ์. ธนรัชต์ ศริ ิวฒั น์. ดนตรีเพื่อการศึกษา. (ออนไลน์) แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site. สบื ค้นเมอื่ วันที่ 13 พฤษภาคม 2563. ประทาน สุไมรยา. เคร่ืองดนตรีไทย. (ออนไลน์) แหลง่ ทมี่ า : https://sites.google.com/site. สืบค้นเมื่อวนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2563. ปริญญา มติ รสุวรรณ และชาตชิ าย คงเทียน. (2552). ดนตรี. กรงุ เทพฯ : พัฒนาคุณภาพวชิ าการ. ป้อม พรรณพร. มาชวนใหร้ ู้จกั จะไดร้ ักเครอ่ื งดนตรีไทย. (ออนไลน์) แหล่งท่ีมา : http://www.classicthaisong.com/knowledge/2015-04-1-thai-instrument.html. สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 15 พฤษภาคม 2563. ฝา่ ยวิชาการ พบี ซี .ี (2552). ดนตรีไทย. กรงุ เทพฯ : พบี ีซ.ี สทุ ธิศักดิ์ โภชนกุ ูล. เครอ่ื งดนตรีไทย. (ออนไลน์) แหลง่ ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/312085. สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี 19 พฤษภาคม 2563. สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวช้ีวัดและสาระ การเรียนร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. สุมนมาลย์ นม่ิ เนตพิ นั ธ์ และคณะ. (2554). หนังสอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.1 กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. พมิ พค์ รั้งที่ 4. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทัศน.์ เอกรินทร์ สีม่ หาศาล และคณะ. (2551). ดนตรี – นาฏศิลป์ ป.6. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 7. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น.์

26 ภาคผนวก

27 กระดาษคำตอบ เอกสารประกอบการเรียน เรอ่ื ง ประเภทของเคร่อื งดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ (สาระดนตรี) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ชื่อ - นามสกลุ ...................................................................................ชั้น.................เลขที.่ ........... โรงเรยี น...................................................................................................................................... มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้ีวัด : ศ 2.1 ป.4/2 จำแนกประเภทของเคร่อื งดนตรีที่ใช้ในเพลงท่ีฟัง ศ 2.1 ป.4/6 ใชแ้ ละเกบ็ รักษาเคร่ืองดนตรอี ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั คำชีแ้ จง นกั เรยี นทำเคร่อื งหมาย (X) ลงในชอ่ งที่ถกู ตอ้ งเพยี งคำตอบเดียว แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น ขอ้ ท่ี ก ตวั เลือก ง ขอ้ ที่ ก ตวั เลอื ก ง 1 ขค 1 ขค 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนท่ีได้ คะแนนท่ีได้ 10 10

28 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรยี น ขอ้ ที่ เฉลย ขอ้ ที่ เฉลย 1ข 1ค 2ค 2ง 3ก 3ข 4ข 4ค 5ง 5ง 6ง 6ก 7ง 7ข 8ค 8ข 9ก 9ก 10 ข 10 ง

29 เฉลยใบงานที่ 1 เรื่อง ประเภทของเคร่ืองดนตรไี ทย มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชี้วัด : ศ 2.1 ป.4/2 จำแนกประเภทของเครอื่ งดนตรีที่ใช้ในเพลงท่ีฟัง คำชแี้ จง : นักเรียนพิจารณาภาพเครอื่ งดนตรไี ทย แล้วบอกรายละเอียดลงในตาราง (10 คะแนน) (ตวั อยา่ ง) 1. ……จะเข้……………………… 1. ……ซออู้……………..………… 2. ……กระจับป่ี………………… 2. ……ซอดว้ ง………….………… 3. ……พิณน้ำเต้า……….……… 3. ……ซอสามสาย……………… 4. ……พิณเป๊ียะ...……………… 4. ……สะลอ้ ……………………… ....เครอ่ื งดีด.... .....เครื่องสี..... เครือ่ งดนตรไี ทย .....เคร่ืองต.ี .... ...เครอ่ื งเป่า.... 1. ……ฉง่ิ ........…………………… 1. ……แคน…………………..…… 2. ……กลองทดั ………….……… 2. ……ขลุ่ยอ…ู้ …………………… 3. ……ระนาดเอก……….……… 3. ……ขลุย่ เพยี งออ.…………… 4. ……ฆอ้ งวงใหญ่...…………… 4. ……ป่ชี วา...…………………… ชอ่ื - นามสกุล.........................................................................ชั้น...............เลขท่ี.......... วันท.ี่ ...........เดอื น.................................พ.ศ..................

30 เฉลยใบงานที่ 2 เรื่อง หน้าท่ขี องเครือ่ งดนตรีไทย มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชี้วัด : ศ 2.1 ป.4/2 จำแนกประเภทของเครื่องดนตรที ใี่ ช้ในเพลงที่ฟงั คำช้ีแจง : นักเรียนพจิ ารณาภาพเครอ่ื งดนตรไี ทย แลว้ บอกรายละเอียดและทำเครือ่ งหมาย ✓ลงใน ตาราง (10 คะแนน) 1) 5) 9) 3) 7) 2) 6) 10) 4) 8) ช่ือเครอื่ งดนตรีไทย ลักษณะการใชง้ านของเครือ่ งดนตรไี ทย ใช้กำกับจงั หวะ ใชด้ ำเนินทำนอง 1)……โทน-รำมะนา…………..……………. ……………✓………… …………………………. 2)……ฉิง่ ……………………………..…………. ….…………✓………… …………………………. 3)……จะเข…้ ……………………….…………. …………………………. ……………✓………… 4)……ซออู้…………………………….………. …………………………. ……………✓………… 5)……ระนาดเอก……………………………. …………………………. ……………✓………… 6)……ตะโพน…………………………………. ……………✓………… …………………………. 7)……ฆอ้ งวงเลก็ ……………………………. …………………………. ……………✓………… 8)……กรับเสภา..……………………………. ……………✓………… …………………………. 9)……กลองทดั ………………………………. ……………✓………… …………………………. 10)…ขลุ่ยเพียงออ…………………………. …………………………. ……………✓…………

31 เฉลยใบงานที่ 3 เรอ่ื ง การดูแลรักษาเครอ่ื งดนตรีไทย มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด : ศ 2.1 ป.4/6 ใชแ้ ละเกบ็ รักษาเครื่องดนตรีอย่างถูกต้องและปลอดภัย คำชแี้ จง : นักเรยี นพจิ ารณาสถานการณต์ อ่ ไปนี้ แลว้ ทำเครอ่ื งหมาย หน้าข้อทีถ่ ูกและ ทำเครือ่ งหมาย หน้าข้อที่ผิด พร้อมทง้ั อธบิ ายเหตุผลประกอบ (10 คะแนน) 1. แววดาว นำผ้าหมาด ๆ ทำความสะอาดจะเข้ แลว้ นำผา้ มาคลุมใหม้ ิดชิด เหตุผล…เปน็ การทำความสะอาดจะเข้ท่ถี กู วิธี และนำผ้ามาคลมุ เพือ่ ปอ้ งกันฝ่นุ ละออง…….….. 2. สเุ มธ จุดเทยี นไขลนตะกั่วระนาดเอก เมอื่ ออ่ นตัวจงึ นำไปตดิ ไว้ท่ีเดิม เหตผุ ล…ไมค่ วรใชเ้ ทยี นไขลน จะทำใหน้ ้ำตาเทยี นหยดผสมกับตะก่ัวทำให้ลืน่ และตดิ ไม่ได้…… 3. นริ ันดร์ ตั้งวางระนาดเอกในที่มีอากาศโปรง่ แสงแดดส่องถงึ เพ่ือปอ้ งกนั เชอื้ รา เหตุผล…ไม่ควรให้ถูกแสงแดดจะทำให้ตะก่ัวถว่ งเสยี งละลายหรือส่วนประกอบทีเ่ ป็นไมแ้ ตกหัก…… 4. พงศธร ใช้ผา้ เชด็ ถฉู งิ่ และฉาบให้สะอาด แลว้ นำไปเก็บในทแี่ หง้ หา่ งไกลความช้ืน เหตุผล…เปน็ การรักษาเครอื่ งดนตรีท่เี ป็นโลหะอยา่ งถกู วธิ ี ถา้ ใกลค้ วามช้นื จะทำใหเ้ ปน็ สนมิ … 5. ร่งุ รวี ลดสายซอด้วง พรอ้ มท้งั เอาหย่องออกทุกครงั้ หลงั จากบรรเลงเสร็จ เหตุผล…เป็นการดูแลรักษาซอดว้ งทีถ่ ูกวิธี ซงึ่ จะช่วยป้องกันการยุบตัวของหน้าซอ……..……………. 6. สมชาย ทำความสะอาดเลาขลุ่ยเพยี งออ ด้วยการนำไปแชน่ ำ้ ทุกคร้งั เหตผุ ล…ไม่ควรนำเลาขลุย่ ไปแชน่ ้ำ เพราะจะทำให้เน้อื ไม้ขยายตัวส่งผลตอ่ ระบบเสียง…….... 7. สมสุข ทำความสะอาดรปู ากเปา่ ขลุ่ยหลบี ดว้ ยแอลกอฮอล์ แล้วเช็ดดว้ ยผ้าแห้งทส่ี ะอาด เหตผุ ล…เปน็ การทำความสะอาดรปู ากเป่าขลุย่ ท่ถี ูกวิธี เพราะจะช่วยปอ้ งกันเชอ้ื โรค……….…. 8. รณชติ นำฆ้องวงเลก็ ไปเก็บโดยพงิ ไว้ขา้ งฝาผนังหอ้ งดนตรีไทย เหตุผล…ไม่ควรวางพิงไว้ข้างฝาผนัง จะทำให้วงฆ้องลม้ ลงหรอื หักลงได้แต่ควรวางราบกับพน้ื …….. 9. ชานนท์ ใช้ผ้าเช็ดถหู น้ากลองโดยนำเอาจ่ากลองออกก่อน แลว้ จึงนำไปเกบ็ ให้เรยี บร้อย เหตุผล…จ่ากลองมีส่วนผสมของขีเ้ ถา้ ซึ่งความเคม็ ของขีเ้ ถา้ จะกัดแผ่นหนังกลองให้เกิด ...ความเสียหายได้ จึงต้องเอาจา่ กลองออกกอ่ นทำความสะอาด…..………………..............… 10. สมหญงิ ปลดเชอื กระนาดออกท้ัง 2 ขา้ ง หลังจากเลน่ เสร็จ เหตุผล…จะทำให้ระนาดหลน่ ตกกระแทก และเกิดความเสยี หายได้……………………………..…. ชอ่ื - นามสกลุ ............................................................................ช้ัน..................เลขท่ี............ วันท่.ี ...........เดือน.................................พ.ศ..................

32 แบบบันทึกผลคะแนนการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด : ศ 2.1 ป.4/2 จำแนกประเภทของเคร่อื งดนตรีท่ใี ชใ้ นเพลงท่ีฟัง ศ 2.1 ป.4/6 ใช้และเก็บรกั ษาเครื่องดนตรอี ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภัย ชอื่ - นามสกุล............................................................................ชน้ั ....................เลขท.่ี .................. โรงเรียน.......................................................................................................................................... คำชแ้ี จง นักเรยี นตรวจคำตอบจากเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น และเฉลยใบงาน แลว้ บันทึกคะแนนของตนเองลงในแบบบนั ทกึ คะแนนตอ่ ไปน้ี รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 10 2. ใบงานท่ี 1 10 3. ใบงานที่ 2 10 4. ใบงานท่ี 3 10 5. แบบทดสอบหลงั เรียน 10 50 รวม สรปุ ผา่ น ไม่ผ่าน เกณฑก์ ารประเมิน ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 60 ข้นึ ไป (30 คะแนนขน้ึ ไป) - กรณผี า่ นเกณฑ์ : ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเรอื่ งต่อไปได้ - กรณีไม่ผา่ นเกณฑ์ : กลับไปอ่านทบทวนบทเรยี น แลว้ ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นอีกคร้งั หากยังไม่ผ่านหรือมีข้อสงสัยให้นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเพมิ่ เติมหรือปรกึ ษา ครผู สู้ อน

ชดุ ทุุ 2 รเุร ุ องุเ ุ ครองดนตรุุ ไทุย