คำนำ รายงานผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC ) จดั ทำขน้ึ เพอ่ื นำเสนอแนวทางในการดำเนนิ งานของกลุ่ม “PLC Com science New normal” กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่อง การจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตาม เนื้อหาการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไรวัสโคโรนา่ (Covid-19) ในการพัฒนารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ จากความร่วมมือของครูประจำวิชา และเป็น การสรา้ งความรู้ความเข้าใจ เร่ืองการปฏิบตั ิดว้ ยกระบวนการ PLC เพือ่ แกไ้ ขปัญหาดา้ นพฤติกรรม รวมทั้งแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ การตดิ ตามและประเมนิ ผลในการดำเนนิ งานของโรงเรียนอนุบาลตราดของครผู ูส้ อนในโรงเรยี น หวังเปน็ อย่างยิง่ วา่ เอกสารเล่มน้ี จะเกิดประโยชน์ตอ่ ผู้ครผู สู้ อน ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและบุคลากรทางการ ศึกษา รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป ในการนำไปใช้เพื่อศึกษาเรียนรู้สร้างความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว ได้เป็นอยา่ งดี กลุ่ม “PLC Com science New normal”
ผลการดำเนินกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ 1. หลกั การและเหตุผล ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ( Professional Learning community : PLC) หมายถึง การรวมกลุม่ กนั ของครูผูส้ อนและบคุ ลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชิงวชิ าการทีม่ ีเปา้ หมาย เพ่อื พฒั นา คุณภาพการศึกษา โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบตั ิ การถอดบทเรียน และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ร่วมกนั อย่างต่อเน่ือง (ราชบัณฑิตยสถาน, 2558) จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดำเนินการในรูปแบบ PLC นำไปสู่ การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน โดย มีผลดีทั้งต่อครูผู้สอนและนักเรียน ในแง่ผลดีต่อครูผสู้ อน พบว่า PLC สง่ ผลตอ่ ครูผสู้ อนกล่าวคือลดความรสู้ ึกโดดเด่ียวในงานสอนของครู เพิ่มความรู้สึก ผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิ่มความกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติให้บรรลุพันธกิจอย่างแข็ง ขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดียิ่งขึ้น รวมทั้งเข้าใจบทบาทและพฤติกรรม การสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด ซึ่งจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจในแง่ของผลดีต่อผู้เรียน พบว่า PLC สามารถลดอัตราการตกซ้ำชั้น และจำนวนชั้นเรียนที่ต้องเลื่อนหรือชะลอการจัดการเรียนรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์และวิชาการอ่านที่สูงขึ้นอย่าง เด่นชัด สุดท้ายคือมีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภูมิหลังไม่เหมือนกันลดลง อย่างชัดเจน จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทำจึงเกิดความคิดที่จะนำกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพือ่ เป็นการปรับปรุงแก้ปญั หาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันและร่วมกัน พัฒนานวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจน พัฒนาทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น โดยได้เริ่มดำเนินกิจกรรมกับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในห้องเรียน คือ “การจัดการเรียนการสอน ไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้” เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) จำเป็นต้องมีการเว้นระยะห่างทางสังคม มีการแบ่งกลุ่มนักเรียน แบ่งเวลาเรียน ทำให้เวลาเรียน ในห้องเรยี นนอ้ ยลง สง่ ผลให้การจดั การเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเน้ือหาการเรยี นรู้ 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ให้นักเรียนมีทักษะในการฟงั และเหน็ คุณค่าของการเปน็ ผฟู้ งั ทีด่ ี 2. เพื่อให้นักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในระดบั ท่สี ูงขน้ึ
3. เพม่ิ โอกาสในการเขา้ ถึงเน้ือหาการเรยี นได้จากอปุ กรณต์ า่ งๆ เช่น เครอื่ งคอมพวิ เตอร์โทรศพั ท์มือถือ ผ่านทางระบบเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ 4. มีนวตั กรรมหรอื คู่มอื การใช้ทมี่ คี วามเหมาะสมและเรา้ ความสนใจของผเู้ รยี น 3. วธิ กี ารดำเนนิ งาน ➢ แนวทางการปฏิบัตกิ ิจกรรมการสร้างชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC) 1. แบ่งกล่มุ ย่อย ตามความเหมาะสม 2. ให้แต่ละกลุ่มคดิ แนวทางแกไ้ ขปัญหา 1 เรอ่ื งจากประเดน็ ต่อไปนี้ 2.1 ปญั หาการเรียนรูข้ องนกั เรียน 1 เร่อื ง/กล่มุ 2.2 ปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอนของครู หรือเทคนิควิธีการสอนที่ครูควรพัฒนา จำนวน 1 เรื่อง/กลุม่ 3. จัดทำโครงการ/กิจกรรม การสรา้ งชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ➢ กระบวนการของ PLC ขน้ั ตอนที่ 1 Community สร้างทีมครู ขั้นตอนที่ 2 Practice จัดการเรียนรู้ เช่นการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ ร่วมกันออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนา และนำสู่การปฏิบัติ โดยมีการเปิดห้องเรียน เพือ่ การสงั เกตการณส์ อน เคร่อื งมือในการประเมนิ - แบบนเิ ทศ 01 แบบสังเกตการณ์จดั กิจกรรมการเรียนการสอน ขน้ั ตอนที่ 3 Reflection สะท้อนคิดเพ่อื การพัฒนาการปฏบิ ตั ิ ขั้นตอนท่ี 4 Evaluation ประเมินเพื่อพัฒนาสมรรถนะครู ข้นั ตอนที่ 5 Network Development สรา้ งเครือขา่ ยการพัฒนา ➢ บทบาทหน้าท่ขี องสมาชิกกลุม่ ตามกระบวนการ PLC - Model Teacher หมายถึง ครูผรู้ ับการนิเทศ หรอื ครผู สู้ อน - Buddy Teacher หมายถงึ ครูคูน่ ิเทศ หรือ ครรู ่วมเรียนรู้ - Mentor หมายถึง หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ - Expert หมายถงึ ผู้เชี่ยวชาญ เช่น ครู คศ.3 นักวิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลยั ศึกษานิเทศก์ - Administrator หมายถึง ผ้บู ริหารโรงเรียน - Recorder หมายถงึ ผู้บันทึกรายงานการประชุม 4. วัน เวลา สถานท่ี ในการดำเนินงาน ระยะเวลา : ตั้งแต่ วันท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 – 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 สถานท่ี : โรงเรยี นอนบุ าลตราด
5. สรปุ ผลการดำเนินงาน ➢ ประเด็นดา้ นผ้เู รยี น - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอน บทเรียน ออนไลน์ และจากเว็บไซต์ตา่ ง ๆ ทค่ี รูแนะนำ ทำให้การจัดการเรยี นการสอนครอบคลุมตามเนอ้ื หาการเรียนรู้ - นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หาความรู้ ใหม่ๆ ตรงกับระบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยมีผู้สอนเป็นเพียงผู้แนะนำ ท่ีปรึกษา และแนะนำ แหล่งความรู้ใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนผู้เรียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียน รู้ความก้าวหน้าได้จาก E-Mail การประเมินผล การประเมินย่อย โดยใช้เว็บไซต์เปน็ ท่ีทดสอบและการประเมินผล รวม ที่ใชก้ ารสอบแบบปกตใิ นหอ้ งเรียน เพื่อเป็นการยืนยนั ว่าผู้เรียนเรยี นจริงและทำข้อสอบจรงิ ได้หรือไม่อย่างไร - ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในทางที่เหมาะสม เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองที่คอยช่วยให้นักเรียนสามารถ แยกแยะข่าวสารหรือข้อมูลท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วให้รบั รู้ได้อย่างมีคุณภาพ - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์ ระหวา่ งครูกับนักเรียน และนกั เรียนกับนักเรียนดว้ ยกนั เองเพ่ิมมากข้ึน - นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผล และยอมรับฟัง ความคดิ เหน็ ของผู้อื่นมากข้ึน ➢ ประเดน็ ดา้ นกิจกรรม - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็นลกั ษณะการเรยี นรูจ้ ากแหลง่ เรยี นรนู้ อกชนั้ เรียนท่ีทำใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรยี นรู้ไดท้ ุกที่ทุกเวลา - การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลนท์ ำให้การเรียนการสอนครอบคลมุ ตามเนอ้ื หา - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เปน็ ลกั ษณะการเรยี นรู้จากแหล่งเรียนรนู้ อกชัน้ เรยี นท่ที ำใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรียนรู้ไดท้ ุกทที่ ุกเวลา - ครแู ละผเู้ รยี นมีปฏิสัมพนั ธ/์ การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ทำใหบ้ รรยากาศการเรียนสอนดำเนินไป โดยเน้น ผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลางการเรยี นรู้ ➢ ประเด็นดา้ นครู - ครูจะทำหน้าเป็นผูอ้ ำนวยทีค่ อยให้ความช่วยเหลอื คำปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถ เรียนร้ไู ด้ด้วยตนเอง สรา้ งแรงจงู ใจและแรงบันดาลใจในการเรียน ➢ ประเด็นสอ่ื การสอน - สอื่ กจิ กรรมและแหล่งการเรียนรู้มคี วามถกู ตอ้ งเหมาะสมมปี ระสทิ ธภิ าพ (ด้านคุณภาพ) - สอื่ มคี วามเพยี งพอเหมาะสม (ดา้ นปรมิ าณ) - ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้ ผู้เรียน สามารถเรียนจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใดก็ได้ และในปัจจุบันนี้การเข้าถึงเครือข่ายอินเตอร์เน็ตกระทำได้ง่ายข้ึน มาก และยงั มีคา่ เชอ่ื มต่ออนิ เตอรเ์ นต็ ที่มรี าคาต่ำลงมากว่าแตก่ ่อนอีกด้วย
- นักเรียนได้ใช้เครื่องมือที่ตนถนัดคือ เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและสังคม ออนไลน์ เมื่อได้ใช้หรือทำอะไรที่ตนชอบหรอื ถนัด จึงทำให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้อย่างอัตโนมัติ ผ้เู รยี นเกดิ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมเปน็ ไปตามที่ครูต้องการให้เกิดขนึ้ ในตวั ผเู้ รยี น ➢ ประเดน็ ดา้ นบรรยากาศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นสิ่งที่สำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนให้ความสนใจใคร่รู้ และพรอ้ มท่ีจะรว่ มพดู คยุ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้อยา่ งมีสว่ นร่วมมากขึ้น 6. อภิปรายผลการดำเนินงาน 6.1 ผลลัพธ์ทเ่ี กดิ จากกระบวนการ 1) มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของสมาชิกเครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียน ได้อย่างเป็นรปู ธรรม (สมาชกิ เครือขา่ ยมกี ารนำไปใชไ้ ดอ้ ย่างชัดเจน) 2) มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรูท้ น่ี ่าสนใจ ทีเ่ กิดขนึ้ ของ สมาชกิ เครือข่ายไปใชต้ ลอดระยะท่ดี ำเนินโครงการทุกครงั้ ท่ีมีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้โดยสมาชิกทุกคน 3) ผูส้ อนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏบิ ัติการจัดกิจกรรมการเรียนรมู้ าอภปิ ราย เพอ่ื แลกเปล่ยี นความคดิ โดยมีครูผู้สอนหลักเปน็ ผู้สะทอ้ นความคิดเกีย่ วกับความสำเรจ็ จุดเดน่ และจดุ ท่ตี ้องพฒั นา ในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 6.2 ผลลพั ธท์ ่ีเกิดกบั ผ้เู รียน / ครู / สมาชิกที่เข้ารว่ มเครือข่าย PLC 1) ผู้เรียนได้การเรียนรู้ตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ทุกประการ และมีความชัดเจน ท้ังเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น และทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะ อยา่ งชัดเจน 3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการจัดการ เรยี นรู้ และผู้สอนได้รับนวตั กรรมและเร่ิมวางแผนจัดทำวจิ ัยปฏิบัติการในช้นั เรียน 4) ผู้สอนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนำวัตกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับจากการทำวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรยี นไปใชพ้ ัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้ 6.3 คณุ คา่ ท่ีเกิดต่อวงการศกึ ษา 1) มีเครือข่ายที่ชัดเจน และการขยายเครือข่ายแล้วและมีความชัดเจน เป็นรูปธรรมและมีแนวโน้ม การเกิดเครอื ขา่ ยเพ่ิมขน้ึ 2) การรว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อการเรยี นรู้ของนักเรียน ให้ผลการเรยี นรูท้ ่ีต้องการให้เกิดขนึ้ ในตัวนกั เรียน โดยครทู ่เี ปน็ สมาชกิ ในชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพทุกคนวางเปา้ หมายรว่ มกนั
7. ผลทเ่ี กิดจากการดำเนินงาน 7.1 ได้นวัตกรรมในการแกไ้ ขปญั หา 7.2 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี นดีขึ้น หรือเปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่ตกลงกนั ไว้ 7.3 พฤติกรรมของนกั เรยี นท่มี ีปัญหาเปลีย่ นไปในทางท่ีดีข้ึนตามขอ้ ตกลงท่ตี ้ังไว้ 7.4 นำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และรวบรวมสง่ เพ่อื เก็บเปน็ หลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป 8. รอ่ งรอย/หลักฐาน 8.1 แผนการจัดการเรียนรู้ พร้อมบนั ทึกหลงั การสอน 8.2 ภาพการพูดคยุ ปรึกษากับสมาชกิ กลมุ่ PLC 8.3 ภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอน 8.4 แบบสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 8.5 ภาพการนเิ ทศการสอน 9. บทเรียนทไ่ี ดจ้ ากการดำเนนิ งาน ครูผู้สอนได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่หลากหลายในห้องเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนที่แตกต่างกัน ในแต่ละบุคคล รวมไปถึงเรียนรู้ที่จะหาแนวทางในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่แตกต่างกันผ่านการอภิปราย รว่ มกนั กบั เพอ่ื นครูและนักเรยี น ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการที่มีประโยชน์และ คุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ที่จะก่อให้เกิดผล ทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้และ สง่ ผลใหน้ ักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ข้นึ 10. ส่งิ ท่จี ะดำเนนิ การตอ่ ไป การจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าสนใจ โดยพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นแบบ distance learning การเรียนการสอนทางไกล ใชส้ อ่ื การเรียนออนไลน์ เชน่ Google Site, แอพพลิเคช่ันตา่ งๆ มาช่วยเพ่มิ เตมิ จากการเรียนในห้องเรียนปกติและ ทำให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกท่ีทุกเวลา จงึ ตอ้ งการเผยแพรเ่ ทคนคิ ในการดูแลและบรหิ ารชนั้ เรียนใหก้ ับเพื่อนครูในชน้ั เรยี นอ่นื ๆ และผ้ทู ่ีสนใจต่อไป
11. ปัญหา /อปุ สรรค การพบปะพูดคุยระหว่างครูผู้สอนประจำวิชาไม่ค่อยต่อเนื่องเท่าที่ควร เนื่องด้วยคาบสอนตรงกันและ ในบางครัง้ ครูผู้สอนมีภาระนอกเหนอื งานสอนมาก จึงไมส่ ะดวกในการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ 12. ข้อเสนอแนะ ควรมีเครือข่ายออนไลน์เป็นสื่อกลางในการติดต่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างครูที่ทำงานร่วมกัน เช่น กลุ่ม Line หรือ Facebook และควรมีการวิจัยเพื่อหารูปแบบของบทเรียนออนไลน์ ที่เหมาะสมกับการเรียน การสอนในระดับชั้นต่าง ๆ เพื่อรองรับการเรียนการสอน เพราะผู้เรียนแต่ละช่วงวัยมีด้านความรู้และทักษะ ท่ีแตกตา่ งกัน
แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” คร้งั ที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 3 กรกฎาคม 2563 เร่มิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สิ้น 2 ช่วั โมง กิจกรรมครง้ั นี้อยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขน้ั ที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ข้ันท่ี 2 ปฏบิ ัติและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังน้ี ที่ ช่อื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่ือ 1. นายสมนึก แพทย์พิทกั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นางสุชาดา ใจช่นื ผเู้ ช่ยี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์ หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศิลป์ ครูร่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี นิ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครรู ว่ มเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ชา่ งตอ่ ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม รวมกลุ่มเพ่ือจดั ต้ังกลุ่ม PLC จดั ทำปฏิทินการดำเนนิ การงานชุมชนการเรยี นรูว้ ิชาชพี (PLC) 2. ประเดน็ ปัญหา/ส่ิงท่ตี ้องการพฒั นา (เน้นทห่ี ้องเรียน) สร้างทีมครู รวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งกลุ่ม PLC จัดทำปฏิทินการดำเนินการงาน สมาชิกพูดคุยในเรื่องของ ระเบียบการจัดตั้งชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC) และแบ่งหน้าที่ให้ครูแต่ละท่านช่วยกันดำเนินการเพื่อนำเสนอ ขออนุมัติจัดตงั้ กลุ่มกับฝ่ายบริหารของโรงเรยี นอนบุ าลตราดต่อไป 3. สมาชกิ ในกลุม่ นำเสนอปัญหา - 4. สมาชกิ เลอื กปัญหา ท่จี ะนำมาแกไ้ ขรว่ มกนั จำนวน 1 ปญั หา -
5. สมาชกิ ร่วมกนั วิเคราะห์สาเหตขุ องปญั หา - 6. ผลทีไ่ ดจ้ ากการจัดกิจกรรม หัวหน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้แต่ละคนคิดแนวทางแก้ไขปัญหา 1 เรื่องจากประเด็น ตอ่ ไปน้ี ปญั หาการเรียนรู้ของนักเรยี นหรือครคู นละ 1 เร่ือง หรือเทคนคิ วิธีการสอนทค่ี รูควรพัฒนา จำนวน 1 เรื่อง เพ่ือนำมาวิเคราะหป์ ญั หาและคดั เลือกปญั หาในการประชุมคร้ังต่อไป และจัดทำกิจกรรมการสร้างชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) ไปศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาจากงานวิจัย หรือรูปแบบที่มีผู้พัฒนาแล้ว เพื่อนำมาร่วม ประชุมคร้ังต่อไป และนำผลการประชุมไปบันทึก เพอื่ เกบ็ เปน็ หลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผู้บนั ทกึ (นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์) ลงชอ่ื . ลงชื่อ ผรู้ บั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสงั ข์) (นายสมนกึ แพทย์พิทักษ์) หัวหน้ากลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด
แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ช่ือกลุ่ม “PLC Com Science New Normal” คร้งั ท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 10 กรกฎาคม 2563 เริ่มดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สิ้น 2 ช่ัวโมง กิจกรรมครัง้ นี้อยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขัน้ ที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขั้นที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See) ข้ันที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เี่ ข้าร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอ่ื 1. นายสมนกึ แพทยพ์ ิทักษ์ ผ้อู ำนวยการโรงเรียน 2. นางสุชาดา ใจชื่น ผู้เชี่ยวชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข์ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูร่วมเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศลิ ป์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี ิน ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายจรี เดช ช่างตอ่ ครูร่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การคน้ หาปัญหา และหาสาเหตุของปัญหา 2. ประเดน็ ปญั หา/ส่ิงท่ตี ้องการพฒั นา (เนน้ ท่ีหอ้ งเรยี น) พูดคุยในเรื่องของปัญหาของเด็กที่เกิดจากตัวครู ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กทั้งห้อง เป็นเฉพาะกลุ่มก็ได้ โดยการสรุปเป็นปัญหาเดียวกันในกลุ่ม เป็นปัญหาเร่งด่วนที่ควรแก้ไขก่อน เพื่อลดความโดดเดี่ยวในการทำงาน และไมใ่ ช่ปัญหาจากความไม่พร้อมของส่ือ วัสดอุ ปุ กรณ์ของหอ้ งเรียน 3. สมาชกิ ในกลุ่มนำเสนอปัญหา 1) ครูภารดี พรประเสริฐทิพย์ – ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ เนอื่ งจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) 2) ครูสวุ ภา เรอื งศิลป์ – ปญั หานกั เรยี นไม่สามารถนำความรจู้ ากการเรียนไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ 3) ครธู นวรรณ ปญั จวีณนิ – ปญั หานกั เรยี นขาดความรบั ผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
4) ครูศศิธร บัวขาว – ปัญหาวิธีการสอนหรือเทคนิควิธีการสอนของครูไม่สามารถดำเนินการจัดการ ให้บรรลุตามแนวการสอน 5) ครูจรี เดช ชา่ งตอ่ – ปญั หานักเรียนบางคนขาดเรยี นสง่ ผลต่อการการทำงานในห้องเรียน 4. สมาชกิ เลือกปญั หา ท่ีจะนำมาแก้ไขร่วมกนั จำนวน 1 ปญั หา ปัญหาการจดั การเรียนการสอนไมค่ รอบคลมุ ตามเน้ือหาการเรยี นรู้ 5. สมาชกิ ร่วมกันวิเคราะห์สาเหตขุ องปัญหา โดยสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากข้อสรุปของกลุ่ม สาเหตุเกิดจากกระบวนการจัดการเรียนการสอน และสาเหตไุ มใ่ ช่ปญั หาเกิดจากความไมพ่ ร้อมของส่อื วสั ดอุ ุปกรณข์ องหอ้ งเรียน - ผลกระทบอันเนื่องมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทำให้ครูผู้สอนและนักเรียน ต้องปรับตัวส่สู ภาวะการเรียนรู้ที่ไม่คนุ้ เคยนำไปส่ภู าระท่เี พม่ิ มากขนึ้ ทั้งในส่วนผ้สู อนและผู้เรยี น - การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ การเลือกวิธีผลิตสื่อและเผยแพร่ออนไลน์ในหลาย ช่องทางภายในเวลาจำกัด เช่น เว็บไซต์ DLTV วิดีโอสาธิต การสอนสดผ่านแอพพลิเคชั่น Line Google Meet หรือ โปรแกรม Zoom - การออกแบบสื่อการเรียนการสอน ครูจำเป็นต้องรู้จักพิจารณา คัดเลือก ปรับปรุง และออกแบบการใช้ ส่ือใหเ้ หมาะสมกบั เนื้อหา ผู้เรียนและ บริบทในการเรียนการสอน - สื่อการเรียนการสอนต้องเหมาะสมกับผู้เรียน ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้ง ในด้านพัฒนาการ ของร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคมในแต่ละช่วงวัย ซึ่งเกี่ยวข้องอย่างมากกับ ความสามารถในการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีความแตกต่างกนั ในด้านของวิธีการเรยี นรู้ เช่น ผู้เรียนบางคน ชอบการเรียนรูผ้ า่ นการลงมือปฏิบัติ บางคนชอบการเรียนรู้ผ่านการบอกเล่าและอธิบาย บางคนชอบ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เป็นต้น ผู้สอนจึงควร ศึกษาความแตกต่างของผู้เรียนเพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสมพัฒนาการ ของผู้เรียนในแตล่ ะชว่ งวยั และวิธีการเรียนร้ขู องผู้เรียน 6. ผลทไี่ ดจ้ ากการจดั กิจกรรม หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ มอบหมายให้ครูรว่ มเรยี นรู้ไปศกึ ษาแนวทางการแก้ไขปัญหาจากงานวจิ ยั หรอื รูปแบบ ที่มีผู้พัฒนาแล้ว เพื่อนำมาร่วมประชุมครั้งต่อไป และนำผลการประชุมไปบันทึก เพื่อเก็บเป็นหลักฐานในการ รายงานตอ่ ไป เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอื่ ผบู้ ันทึก (นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์) ลงชอ่ื . ลงช่ือ ผู้รบั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มีสงั ข)์ (นายสมนึก แพทย์พทิ ักษ์) หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด
แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลตราด ชื่อกลุ่ม “PLC Com Science New Normal” คร้ังที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1/2563 วนั /เดอื น/ปี : 17 กรกฎาคม 2563 เรม่ิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทงั้ สนิ้ 2 ชว่ั โมง กจิ กรรมคร้ังนี้อยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขั้นท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ข้ันท่ี 2 ปฏบิ ตั ิและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ขั้นที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังน้ี ที่ ชือ่ -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชือ่ 1. นายสมนกึ แพทย์พิทกั ษ์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 2. นางสุชาดา ใจชื่น ผูเ้ ช่ยี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์ หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรอื งศิลป์ ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี ิน ครรู ่วมเรียนรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครรู ่วมเรยี นรู้ 8. นายจรี เดช ช่างตอ่ ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม แนวทางแก้ไขปัญหา และ การออกแบบกิจกรรม 2. ประเดน็ ปัญหา/ส่งิ ท่ีต้องการพฒั นา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) 3. สมาชกิ ในกลมุ่ นำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา รว่ มศึกษาปัญหา แนวทางแกไ้ ขปญั หา หรือกระบวนการท่ีจะใชใ้ นการแก้ไขปัญหาดังน้ี 1) ครูธิพาภรณ์ มีสังข์ ครูควรนำเทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ประกอบการเรียน เช่น บทเรียนสำเร็จรปู บทเรยี นออนไลน์
2) ครูสุวภา เรืองศิลป์ ครูผู้สอนต้องพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ที่สำคัญครูผู้สอนต้อง เข้าใจ ต้องเรยี นรู้ และใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศนำมาประยกุ ต์ใช้รว่ มกับการจดั การศึกษา 3) ครูสุชาดา ใจชื่น เสนอแนะเพิ่มเติมว่าสื่อการเรียนการสอนต้องเหมาะสมกับวิธีสอนหรือรูปแบบการ เรียนการสอนทีใ่ ช้ 4) ครูภารดี พรประเสริฐทิพย์ เสนอแนะแนวทางการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนต้องมีความสะดวกใช้ และสอดคลอ้ งกบั ความสามารถของผเู้ รียน 5) ครูธนวรรณ ปัญจวีณิน เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา สื่อการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพควร เปน็ ส่อื ทีม่ ีลกั ษณะดงึ ดดู ความสนใจของผ้เู รียน สามารถสรา้ งความเข้าใจเน้ือหา สาระให้กับผู้เรียนได้ ถกู ตอ้ งตรงตามจดุ ประสงคข์ องการเรียนรู้ โดยไมเ่ สียเวลามาก 6) ครูจีรเดช ช่างต่อ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้ไปศึกษาวิธีการนำเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งจะช่วยให้การนำเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนที่มีความน่าสนใจขึ้น และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรยี น และครูได้มากขึ้น แม้ในขณะที่ทุกคนต้องอาศัยภายในท่ีพกั ของตนเองในช่วงสถานการณ์ COVID-19 เพื่อให้แน่ใจได้ว่านักเรียนจะไม่พลาดการเรียนรู้ของพวก เขา และช่วยให้เส้นทางการเรียนของนกั เรยี นสามารถเดินหนา้ ต่อไปได้ 7) ครูศศิธร บัวขาว ผู้เชี่ยวชาญได้ร่วมเสนอแนะการนำ “เทคโนโลยี” มาใช้กับระบบการเรียนการสอน มากข้ึน เพ่ือทำให้การเรียนการสอนยังคงดำเนินต่อไปได้อย่างไม่สะดุด และไม่ว่าผู้เรียน ผู้สอนจะอยู่ ทไี่ หนกส็ ามารถเขา้ ถึงการศึกษาได้ 4. สมาชิกร่วมกนั ออกแบบกิจกรรมในการแก้ไขปญั หา การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนจาก www.dltv.ac.th เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ของครูผู้สอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) โดยคำนึงถึงบริบทของนักเรียนและ ผ้ปู กครองแตแ่ ละพ้ืนท่ี 5. ประเด็น/ ความร้แู ละขอ้ เสนอแนะทไี่ ดร้ บั จากการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ครัง้ น้ี จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งนี้ สามารถนำมาเป็นแนวทางการแก้ปัญหาในการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อให้ได้ข้อค้นพบหรือคำตอบที่หนักแน่น น่าเชื่อถือ สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น และนำไปใช้ในการพัฒนางาน ของตนได้จริง 6. ผลท่ีได้จากการจัดกิจกรรม นำผลการประชมุ ไปบนั ทึกเพอื่ เก็บเป็นหลกั ฐานในการรายงานต่อไป ลงช่อื เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. (นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์) ผู้บันทกึ ลงชอื่ . ลงชอื่ ผู้รับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์) (นายสมนกึ แพทย์พทิ ักษ์) หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตราด
แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ชื่อกลุ่ม “PLC Com Science New Normal” คร้งั ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1/2563 วนั /เดอื น/ปี : 24 กรกฎาคม 2563 เร่มิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สิ้น 2 ชวั่ โมง กิจกรรมครั้งน้อี ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขนั้ ท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขั้นที่ 2 ปฏบิ ัติและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขั้นที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้ ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชื่อ 1. นายสมนึก แพทย์พิทกั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นางสชุ าดา ใจชน่ื ผู้เชีย่ วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์ หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศลิ ป์ ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณนิ ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บวั ขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ช่างต่อ ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม ตัดสินใจเลือกรูปแบบ/วธิ กี าร/นวตั กรรมในการแกป้ ญั หา 2. ประเดน็ ปัญหา/ส่งิ ทตี่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) 3. สมาชกิ ในกลมุ่ ร่วมกันจัดทำแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์ที่ผ่านมาได้หัวข้อการพัฒนานักเรียน คือ การพัฒนา รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน โดยการสรา้ งสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพอ่ื แกป้ ญั หาการจัดการ เรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ของครูผู้สอนจึงได้มีการวางแผนงาน เพื่อจัดทำแผนกิจกรรม ดังน้ี
1) การวางแผน (Planning) การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผน คือ การพจิ ารณาวา่ จะเลือกใช้สอ่ื ใดในการเรียนการสอน 2) การเตรียมการ (Preparation) เมื่อได้วางแผนเลือกใช้สื่อการสอนแล้ว ขั้นต่อมาคือการเตรียม การสิ่งต่างๆ เพื่อให้การใช้สื่อการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามวัตถุประสงค์ ก่อนใช้สื่อการสอน ผ้สู อนควรเตรยี มความพร้อมในสิง่ ต่าง ๆ ดงั น้ี 2.1 การเตรยี มความพรอ้ มของผ้สู อน 2.2 การเตรียมความพร้อมให้ผูเ้ รียน 2.3 การเตรยี มความพร้อมของสือ่ และอุปกรณห์ รือเครอื่ งมือท่ใี ชร้ ่วมกัน 2.4 การเตรียมความพรอ้ มของสภาพแวดล้อมและหอ้ งสอน 3) ศึกษาเครื่องมือสำหรับพัฒนาสื่อการสอนการพัฒนาสื่อการสอนผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ การสร้างโปรแกรมในการนำเสนอเนื้อหาบทเรียน ในรูปแบบของข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ให้สอดคลอ้ งกบั เนือ้ หาและวัตถปุ ระสงค์ท่ีกำหนดไว้ 4) ตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของนักเรียนแตล่ ะคนในความรแู้ ละทกั ษะแต่ละดา้ น 5) ครูผู้สอนนำผลการประเมนิ และการวจิ ารณข์ องครูรว่ มเรียนรู้ มาปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้น 4. ประเดน็ / ความรูแ้ ละขอ้ เสนอแนะทไี่ ดร้ ับจากการแลกเปลย่ี นเรียนรคู้ ร้ังนี้ ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (สพฐ.) ได้มีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูพัฒนา สอื่ การเรยี นร้ดู ิจิทัลที่มคี ุณภาพสู่การพัฒนาผู้เรยี น โดยสร้างบทเรยี นออนไลน์ เพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศึกษาไทย ให้ทันกับการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงและวิวัฒนาการทางการศึกษาที่เจริญก้าวหน้ามากขึ้น ดังนั้นครูผู้สอน จงึ จำเปน็ ต้องจัดทำสือ่ การเรียนการสอนออนไลน์ข้ึนมาเพ่อื ให้นกั เรยี นไดเ้ รยี นร้ทู ุกทที่ ุกเวลา 5. ผลทไ่ี ดจ้ ากการจดั กจิ กรรม นำผลการประชมุ ไปบันทกึ เพื่อเก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผูบ้ ันทกึ (นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์) ลงช่ือ . ลงชื่อ ผรู้ บั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข)์ (นายสมนึก แพทย์พทิ ักษ์) หวั หนา้ กลุม่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตราด
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ชอ่ื กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครง้ั ท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 วนั /เดอื น/ปี : 31 กรกฎาคม 2563 เริม่ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสนิ้ 2 ชวั่ โมง กจิ กรรมครงั้ นอ้ี ยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในช่อง ) ข้ันที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขั้นที่ 2 ปฏบิ ัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่อื 1. นายสมนกึ แพทยพ์ ิทกั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2. นางสุชาดา ใจชนื่ ผู้เช่ียวชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี งั ข์ หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครรู ่วมเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศิลป์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี นิ ครรู ว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครูร่วมเรยี นรู้ 8. นายจรี เดช ช่างตอ่ ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม ออกแบบกิจกรรมแกป้ ัญหา 2. ประเดน็ ปญั หา/สง่ิ ที่ต้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า (COVID-19) 3. สมาชิกในกลุม่ ร่วมกนั จัดทำแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์ที่ผ่านมาได้คัดเลือก ครูภารดี พรประเสริฐทิพย์ เป็นครูต้นแบบ (Model Teacher) ในการให้คำแนะนำการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหา การเรียนร้ขู องครูผูส้ อนจงึ ไดม้ ีการร่วมวางแผนงาน เพอ่ื จดั ทำและปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรูร้ ว่ มกัน ดงั น้ี
1) คณะครูผู้เข้าร่วมประชุม ได้ศึกษาขั้นตอนวิธีการจากครูต้นแบบร่วมกันแสดงความคิดเห็นพูดคุย เพอ่ื นำไปจัดทำและปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ในรายวชิ าของตนเอง 2) คณะครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถึงวิธีการข้นั ตอน เพอ่ื ดำเนนิ การในขัน้ ต่อไป 3) คณะครูแต่ละท่านได้ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอน ออนไลน์ไปปรับใช้ในรายวชิ าของตนเอง 4) ร่วมกนั กำหนดบทบาทสมาชิกในการสังเกตการณ์ทดลองใช้รูปแบบกิจกรรม 5) คณะครมู กี ารนดั หมาย เพอ่ื ไปสงั เกตการณ์การสอนของครตู ้นแบบในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และนำผลที่ได้จากการ จัดกิจกรรมมาอภปิ รายและสรปุ ผลรว่ มกนั เพอ่ื หาแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป 4. ประเดน็ / ความรู้และข้อเสนอแนะที่ไดร้ บั จากการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ครั้งนี้ สรุปความรู้และข้อเสนอแนะที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั้งนี้คือ การพัฒนารูปแบบ การจัดกิจกรรม การเรียนการสอน โดยเลือกใช้สื่อการเรียนการสอนจาก www.dltv.ac.th เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน ไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ของครผู สู้ อน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า (COVID- 19) โดยคำนึงถึงบริบทของนักเรียนและผู้ปกครองแต่และพื้นที่ โดยผ่านแอพพลิเคชั่น Line Facebook หรือ DLTV ซึ่งเป็นช่องที่เปิดให้ใช้ฟรี มีทั้งแบบแอพและเว็บไซต์ คุณครูสามารถสร้างกลุ่มออนไลน์ แบบทดสอบ สร้างและ แจกจ่ายการบา้ น ส่ือสารกับนกั เรยี นและผปู้ กครองได้ ใชง้ านง่าย ซง่ึ ถา้ ผู้ใช้คุ้นเคยอยู่แล้วจะยง่ิ เขา้ ใจง่าย 5. ผลท่ไี ด้จากการจัดกจิ กรรม นำผลการประชมุ ไปบนั ทึก เพอ่ื เก็บเปน็ หลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงช่ือ ผบู้ นั ทึก (นางสาวศศิธร บัวขาว) ลงชอื่ . ลงชือ่ ผู้รับรอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์) (นายสมนึก แพทย์พิทักษ์) หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้อู ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตราด
แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สารญะการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนบุ าลตราด ชื่อกลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครง้ั ท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 7 สิงหาคม 2563 เร่มิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ สิน้ 2 ช่ัวโมง กจิ กรรมคร้งั นอี้ ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในช่อง ) ขั้นที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขัน้ ท่ี 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ขนั้ ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายชื่อและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ที่ ชอื่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ 1. นายสมนึก แพทยพ์ ิทกั ษ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน 2. นางสชุ าดา ใจชื่น ผู้เชย่ี วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์ หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศลิ ป์ ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี ิน ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครูร่วมเรยี นรู้ 8. นายจรี เดช ช่างตอ่ ครูร่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม ออกแบบกจิ กรรมตามวธิ กี าร/นวตั กรรมทีก่ ลุม่ เลอื ก 2. ประเด็นปัญหา/ส่ิงที่ตอ้ งการพฒั นา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรน่า (COVID-19) 3. สมาชิกในกลุ่มรว่ มกนั จัดทำและปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ จากปัญหาที่สำคัญที่สุดของกลุ่ม คือ “ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19)” สมาชิกในกลุ่มจึงร่วมกันนำเสนอ องค์ประกอบของนวัตกรรม กำหนดทิศทางและแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกันโดยใช้วิธีเดียวกันซึ่งสมาชิกในกลุ่ม ร่วมกันตัดสินใจเลอื กวธิ กี ารแก้ปัญหา คือ การพฒั นารปู แบบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสรา้ งส่ือ
การเรียนการสอนออนไลน์ จึงได้มีการร่วมจัดทำและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาของตนเองร่วมกัน โดยมขี นั้ ตอนการดำเนินการ ดงั น้ี 1) กำหนดชอ่ื หน่วยการเรยี นให้สอดคล้องกับประเดน็ ทจ่ี ะแกป้ ัญหา 2) กำหนดขอบเขตของเน้ือหาให้สอดคลอ้ งกับประเด็นที่จะแก้ปัญหา 3) สร้างแผนการจดั การเรียนรเู้ ฉพาะหน่วยการเรียนทใี่ ช้นวตั กรรม 4) ทดลองนวตั กรรมใช้กับนักเรยี น และรายงานการสรา้ งส่อื นวัตกรรม 5) สมาชกิ ในกลมุ่ PLC นัดหมายวนั และเวลาในการนำส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยใี หผ้ ู้นเิ ทศ/ผเู้ ชี่ยวชาญ ทำการนเิ ทศ/ตรวจสอบ เพ่ือแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ประสบการณ์ในการสรา้ ง 6) บนั ทึกผลการทดลองใช้สอื่ นวัตกรรมตามแผนการจดั การเรียนรู้ 7) สะทอ้ นผลการใชส้ ือ่ นวัตกรรมในการแก้ปัญหา 8) สรุปผลการเข้ารว่ มชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชีพ 9) จากการใชก้ ระบวนการ PLC แกป้ ัญหา นำไปส่รู ายงานการวจิ ยั ในชัน้ เรียน 4. ประเดน็ / ความร้แู ละขอ้ เสนอแนะทีไ่ ด้รับจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ครั้งนี้ ศกึ ษาทฤษฏีทเี่ กี่ยวข้อง สมาชกิ ในกลุ่มร่วมกันเสนอแนะทฤษฏ/ี งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง ดงั ต่อไปน้ี 1) การเรียนการสอนแนวใหม่เป็นการนำแนวคิด วิธีการ กระบวนการหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ มาใช้ ในการ จดั การเรยี นรู้ ในการแก้ปญั หาหรือพัฒนาการเรียนรู้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพตรงตามเปา้ หมายของหลักสูตร ซึ่งจะช่วยให้การศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ ได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมเหล่านั้นและ ประหยดั เวลาในการเรียนได้อีกด้วย 2) สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ช่วยกระตุ้นความสนใจและส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองแก่ผู้เรียน สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนแสวงหาความรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และเปน็ สื่อทมี่ ีบทบาทสำคัญในการจัด กระบวนการเรียนรู้ 3) การจัดการเรียนการสอนออนไลน์เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพ ในการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากอำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยส่ือ การเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึง แหล่งเรียนรู้ไดท้ กุ ท่ี ทุกเวลา 5. ผลทไ่ี ด้จากการจัดกจิ กรรม นำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนำผลการประชุมไปบันทึก เพื่อเก็บเป็นหลักฐานในการรายงาน ต่อไปทั้งนี้ได้นัดหมายวิธีการที่จะดำเนินการต่อไปในครั้งต่อไป คือ การจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะ หนว่ ยการเรียนท่จี ะดำเนินการใช้นวัตกรรม เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชื่อ .......................................................... ผูบ้ นั ทกึ (นางสาวศศิธร บวั ขาว) ลงช่อื . ลงชอื่ ผู้รบั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข)์ (นายสมนึก แพทย์พทิ ักษ์) หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้อู ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตราด
แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลตราด ช่ือกลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครง้ั ที่ 7 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 14 สงิ หาคม 2563 เร่ิมดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสน้ิ 2 ชั่วโมง กิจกรรมคร้งั น้ีอยคู่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขน้ั ท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ข้ันท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชื่อ 1. นายสมนกึ แพทยพ์ ิทักษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นางสชุ าดา ใจช่ืน ผู้เชยี่ วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์ หวั หน้ากลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศิลป์ ครูร่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี ิน ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครรู ว่ มเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ช่างตอ่ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม แลกเปลี่ยนเสนอแนะ (นำเสนอกิจกรรมการแก้ปัญหาให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์ให้ ข้อเสนอแนะ) 2. ประเด็นปญั หา/ส่ิงทีต่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) 3. สมาชิกในกลุ่มรว่ มกนั จดั ทำและปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ได้คัดเลือก นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ เป็นครูผู้สอนหลัก (Model Teacher) เพื่อให้คำแนะนำในการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อ การเรยี นการสอน ซง่ึ ในครงั้ นี้ได้มกี ารนัดหมายจดั ส่งแผนการจัดการเรยี นรู้เฉพาะหน่วยการเรียนท่ีจะดำเนนิ การ
ใช้นวัตกรรม เพื่อที่สมาชิกในกลุ่มจะได้ร่วมกันตรวจสอบ สังเคราะห์ และปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ จึงได้มีการ รว่ มวางแผนงาน ดังน้ี 1. สมาชิกผู้เข้าร่วมประชุม ได้ศึกษาขั้นตอนวิธีการจากครูผู้สอนหลัก ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พูดคุย เพ่ือนำไปจัดทำและปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ของตนเอง 2. สมาชิกในกลุ่มรว่ มแลกเปล่ียนเรียนรู้ ถงึ วิธีการขั้นตอน เพื่อดำเนินการในขัน้ ต่อไป 3. สมาชิกในกลุ่มแต่ละท่านได้ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างเนื้อหาและสร้างสื่อ การเรยี นการสอนออนไลน์ ไปปรับใชใ้ นรายวชิ าของตนเอง 4. รว่ มกนั กำหนดบทบาทสมาชิกในการสังเกตการณ์ทดลองใช้รปู แบบกิจกรรม 5. สมาชิกในกลุ่มมีการนัดหมาย เพื่อไปสังเกตการณ์การสอนของครูผู้สอนหลักในการพัฒนารูปแบบ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างเน้ือหาและสร้างสื่อการเรยี นการสอนออนไลน์ และนำผลท่ีได้จากการ จัดกิจกรรมมาอภิปรายและสรปุ ผลร่วมกัน เพ่อื หาแนวทางในการปรับปรุงและพฒั นาต่อไป 4. ประเดน็ / ความร้แู ละข้อเสนอแนะที่ไดร้ บั จากการแลกเปลยี่ นเรียนรคู้ รงั้ นี้ ช่อื สื่อนวตั กรรมและเทคโนโลยี ห้องเรียนออนไลน์ By ครูแปว๋ นำไปใช้ในรายวิชา วทิ ยาการคำนวณ รหัสวิชา ว16101 เรื่อง การเขียนโปรแกรม Scratch ระดบั ชั้น ประถมศึกษาศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 1 ชวั่ โมง ใชว้ ิธกี ารสอนแบบ การสร้างเนอื้ หาและสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ ร่วมกบั ส่อื นวัตกรรม Google Sites และแอพลเิ คชน่ั Line ทั้งนี้ได้นัดหมายสังเกตการณ์การสอนของครูผู้สอนหลัก ในวันที่ 19 สิงหาคม 2563 คาบเรียนที่ 3 รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6/2 5. ผลทีไ่ ดจ้ ากการจัดกิจกรรม นำไปสกู่ ารอบรมคูปองพฒั นาครู และนำผลการประชมุ ไปบนั ทึกเพ่ือเกบ็ เปน็ หลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงช่ือ ผ้บู นั ทึก (นางสาวสุวภา เรืองศิลป์) ลงชื่อ . ลงชอ่ื ผ้รู ับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์) (นายสมนกึ แพทย์พิทักษ์) หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด
แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครั้งที่ 8 ภาคเรียนที่ 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 21 สงิ หาคม 2563 เริม่ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สนิ้ 2 ชวั่ โมง กจิ กรรมคร้ังนี้อยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง ) ข้ันที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขน้ั ที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See) ข้ันท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้ ที่ ช่ือ-สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชือ่ 1. นายสมนึก แพทยพ์ ิทักษ์ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น 2. นางสชุ าดา ใจชืน่ ผเู้ ชย่ี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มีสังข์ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศิลป์ ครูร่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี นิ ครรู ่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายจรี เดช ช่างตอ่ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนำสู่การปฏิบัติ และ สงั เกตการสอน คร้ังท่ี 1 (การทดลองของ Model Teacher) 2. ประเดน็ ปญั หา/ส่ิงทต่ี ้องการพฒั นา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) 3. ผลการสงั เกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูภารดี พรประเสริฐทิพย์ ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว16101 จากการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสรา้ งสอื่ การเรยี นการสอนออนไลน์ พบวา่ ครผู ูส้ อนสอบถามนักเรยี นเกย่ี วกับหลักการเขยี นโปรแกรม ตามที่ให้นักเรียน ไปศึกษาล่วงหน้าจากเว็บเรียนออนไลน์ของครูภารดี วิชาวิทยาการคำนวณ เรื่อง การเขียนโปรแกรม (Super Cat) ครผู สู้ อนทบทวนและอธิบายหลกั การเขียนโปรแกรมอีกครั้งเพ่ือใหน้ ักเรยี นเข้าใจเน้ือได้ดีข้นึ
จากนั้นครูผู้สอนให้นักเรียนเข้ากลุ่มห้องเรียนใน Line เพื่อดูงานที่ครูมอบหมายให้ โดยนักเรียนสามารถ ศึกษาเพิ่มจากเว็บเรียนออนไลน์ของครูภารดี โดยครูผู้สอนคอยให้คำแนะนำ เมื่อนักเรียนทำงานที่มอบหมาย เสรจ็ ให้นกั เรียนส่งงานในอลั บมั้ ในกลุม่ Line และครผู ู้สอนสุ่มเลขทเ่ี พ่ือให้นักเรยี นนำเสนอผลงานของตนเอง 7. จุดเด่นในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ครูผู้สอนเข้าใจเนื้อหาที่สอนอย่างแจ่มแจ้ง (Insight) การสอนในลักษณะนี้ครูผู้สอน มีการเตรียมการสอนมาเป็นอย่างดี เข้าใจเนื้อหาสาระที่สอนได้อย่างชัดเจน จึงสามารถสอนให้ผู้เรียนเข้าใจ ในเนอ้ื หาไดอ้ ยา่ งแจม่ แจง้ 5. จุดท่ีต้องพัฒนาในการจดั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วมกันสะท้อนความคิดทั้งจุดเด่น จุดด้อย ปัญหา-อุปสรรค รวมทั้งแนะนำ วธิ ีการแกป้ ญั หาโดยใช้สนุ ทรยี สนทนา ดังน้ี 1) ครผู ู้สอนควรใหน้ กั เรยี นแก้ปัญหาด้วยตนเองอันจะนำไปสู่การคิดเป็น ทำเป็น และแกป้ ญั หาเปน็ 2) ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค้นหาสาเหตุ เหตุผล ความเป็นไปของสิ่งที่เรียน มีส่วนร่วม ในการวางแผน การดำเนนิ กิจกรรม และการประเมินผลการเรยี นการสอน 6. ผลลพั ธท์ ีไ่ ดจ้ ากกจิ กรรม ผสู้ อนไดร้ บั ความรู้และประสบการณ์ ซงึ่ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การปรบั ปรุงและพฒั นาแผนการจัดการ เรยี นรู้ และผูส้ อนไดร้ บั นวตั กรรมและเริ่มวางแผนจัดทำวจิ ัยปฏบิ ัติการในชน้ั เรยี น เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงช่ือ ผบู้ ันทกึ (นางสาวสวุ ภา เรอื งศิลป์) ลงช่ือ . ลงชอื่ ผู้รบั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข์) (นายสมนึก แพทย์พิทักษ์) หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตราด
แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลตราด ชอ่ื กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครั้งท่ี 9 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 28 สิงหาคม 2563 เรมิ่ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทงั้ สนิ้ 2 ชวั่ โมง กจิ กรรมครง้ั นี้อยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่อง ) ขัน้ ท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขั้นที่ 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See) ข้ันที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 8 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอ่ื 1. นายสมนกึ แพทยพ์ ิทกั ษ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น 2. นางสชุ าดา ใจชืน่ ผูเ้ ชีย่ วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์ หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศิลป์ ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี ิน ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครรู ่วมเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ช่างต่อ ครูร่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏบิ ัตขิ อง Model Teacher (After Action Review : AAR) 2. ประเดน็ ปญั หา/สิ่งท่ตี อ้ งการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ (COVID-19) 3. ครูผ้สู อนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 1/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนโดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตาม เนื้อหาการเรียนรู้ พบว่าสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ช่วยกระตุ้นความสนใจและส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วย ตนเองแก่ผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียน มาก่อนล่วงหน้าและอ่านทบทวนเนื้อหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา
4. สะท้อนผลการใช้ส่ือนวัตกรรมในการแก้ปญั หา สมาชกิ ในกล่มุ PLC รว่ มกันอภปิ รายพจิ ารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้านการ เรียนรูข้ องนกั เรยี น เพือ่ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครูผู้สอน 5. ผลการนำสอื่ นวตั กรรมฯไปแกป้ ัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรยี นการสอนออนไลน์ฯ เพอื่ แกป้ ญั หาการจัดการเรยี นการสอนไม่ครอบคลมุ ตามเน้ือหา การเรียนรู้ของครูผู้สอน รายวิชา ว16101 วิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563” 6. สมาชิกร่วมกันปรบั ปรุงแบบกิจกรรมตามท่ไี ด้สะทอ้ นผล และ ปรับแผนกจิ กรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนหลัก เมื่อวันพุธท่ี19 สิงหาคม 2563 คาบเรียนที่ 3 ในรายวิชา ว16101 วิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้ เชิงวิชาชีพร่วมสังเกตการณ์ ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้นี้มีขั้นตอนสำคัญในการจัดกิจกรรมการสร้างเนื้อหาและ การสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ คือ การนำเข้าสู่บทเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบไปด้วย ขั้นสนใจ (Motivation) ขั้นศึกษาข้อมูล (Information) ขั้นพยายาม (Application) และขั้นสำเร็จผล (Progress) ซ ึ ่ ง ค ร ู ม อ บ ห ม า ย ใ ห ้ น ั ก เ ร ี ย น เ ป ็ น ผ ู ้ ศ ึ ก ษ า จ า ก โดยการสร ้ างส ื ่ อการเร ี ยนการสอนออนไลน์ ท ี ่ ค ร ู ไ ด ้ ส ร ้ า ง ขึ้ น จากนั้นนักเรียนได้ออกแบบชิ้นงานเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ชี้แนะ และอธิบายเพิ่มเติม จากนั้นครูและนักเรียน จะร่วมกันสรปุ องคค์ วามร้ทู ไี่ ดจ้ ากการจดั กจิ กรรมภายในชน้ั เรยี น 7. กจิ กรรมที่ได้ร่วมทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เช่ียวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกบั จุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทง้ั ให้คำแนะนำในการพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนน้ั ปรับปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจยั ปฏิบัติการในช้นั เรียนต่อไป เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผู้บันทึก (นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี ิน) ลงชือ่ . ลงช่อื ผู้รบั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสังข์) (นายสมนึก แพทย์พทิ ักษ์) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด
แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลตราด ช่ือกลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครั้งท่ี 10 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 4 กันยายน 2563 เริม่ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 2 ชั่วโมง กจิ กรรมครงั้ นอี้ ย่คู วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขั้นที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขั้นที่ 2 ปฏบิ ตั ิและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่เี ข้าร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอ่ื 1. นายสมนึก แพทย์พิทักษ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2. นางสุชาดา ใจช่นื ผ้เู ช่ียวชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี งั ข์ หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศลิ ป์ ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณิน ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครรู ่วมเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ช่างตอ่ ครูร่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนำส่กู ารปฏิบัติ และ การสะท้อนผล คร้ังท่ี 2 (การทดลองของสมาชิก 1) 2. ประเด็นปญั หา/สง่ิ ทต่ี ้องการพฒั นา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) 3. สมาชิกในกลุ่มรว่ มกันจดั ทำและปรบั ปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของ ครูศศิธร บัวขาว ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาวิทยาการ คำนวณ เรื่อง การเขียนโปรแกรมและหาข้อผิดพลาด ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 การพัฒนารูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทำส่ือ เพื่อนำมาใช้ในการสอนจากบทเรียนออนไลน์ ส่งผลให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในเรื่องที่จะศึกษาง่ายยิ่งขึ้น ทำได้และทำเสร็จในเวลาท่ีรวดเรว็ ประกอบไปดว้ ยส่ือ วดี โี อ ใบงาน ใบความรู้
4. สะท้อนผลการใชส้ ่ือนวัตกรรมในการแกป้ ญั หา สมาชกิ ในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภปิ รายพจิ ารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้านการ เรยี นรู้ของนักเรยี น เพอื่ ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนรู้ของครผู สู้ อน 5. ผลการนำส่อื นวตั กรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ฯ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563” เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอ่ื ผู้บนั ทึก (นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณิน) ลงชอื่ . ลงชื่อ ผรู้ บั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี งั ข)์ (นายสมนกึ แพทย์พทิ ักษ์) หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด
แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ชอื่ กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครงั้ ท่ี 11 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วนั /เดือน/ปี : 11 กันยายน 2563 เริ่มดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้นิ 2 ชว่ั โมง กจิ กรรมคร้ังนี้อยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ข้ันที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ข้ันท่ี 2 ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขนั้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่เี ข้าร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือช่ือ 1. นายสมนกึ แพทยพ์ ิทกั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2. นางสุชาดา ใจชื่น ผู้เช่ียวชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มีสงั ข์ หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศลิ ป์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี นิ ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครูร่วมเรยี นรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งตอ่ ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะทอ้ นผลการปฏิบัตขิ องครรู ว่ มเรียนรู้ (After Action Review : AAR) 2. ประเดน็ ปญั หา/ส่งิ ท่ีต้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) 3. ครผู ้สู อนหลกั (Model teacher) สะท้อนผลการจัดกจิ กรรมการเรียนร้ขู องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 1/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพอ่ื แก้ปญั หาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลมุ ตามเน้ือหาการเรยี นรขู้ องครผู ้สู อน พบวา่ เป็นการจัดกิจกรรม ทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการของผเู้ รยี น มีความสนใจ กระตือรอื ร้นในการทำกจิ กรรมตา่ งๆ
เพราะบทเรียนออนไลน์ เป็นสื่อทีม่ ีความสวยงาม ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่ายเรยี นได้ทุกที่ทุกเวลา และสามารถ เข้าถงึ กลุ่มเป้าหมายได้เปน็ อย่างดี 4. สะท้อนผลการใช้สื่อนวตั กรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ด้านการเรียนรู้ของนักเรยี น เพื่อปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนร้ขู องครผู ู้สอน 5. ผลการนำสอ่ื นวตั กรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ฯ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563” 6. สมาชกิ รว่ มกันปรบั ปรงุ แบบกิจกรรมตามท่ไี ด้สะท้อนผล และ ปรับแผนกจิ กรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้ากลุ่ม สาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน 2563 คาบเรียนที่ 1 ในรายวิชา ว14101 วิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้ เชิงวิชาชพี รว่ มสงั เกตการณ์ ซึง่ แผนการจดั การเรยี นรนู้ ้ีมีขั้นตอนสำคญั ในการจดั กิจกรรมการพัฒนารูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน )ซึง่ ครูมอบหมายให้นักเรียนเปน็ ผู้ศึกษาด้วยตนเอง ซ่งึ ครูจะทำหนา้ ท่ีชี้แนะ และอธิบาย เพิม่ เตมิ จากนั้นครแู ละนักเรียนจะร่วมกันสรปุ องค์ความร้ทู ี่ได้จากการจดั กจิ กรรมภายในช้ันเรียน 7. กิจกรรมท่ไี ดร้ ว่ มทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้า กลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำ ในการ พฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เมอ่ื สน้ิ สุดขัน้ ตอนการสะท้อนคดิ แลว้ ผูส้ อนบนั ทกึ ผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนัน้ ปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ และทำวจิ ยั ปฏิบตั กิ ารในชั้นเรยี นต่อไป 8. แนวทางการนำความรู้ไปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพ่อื แลกเปลี่ยนความคิด โดยมคี รผู สู้ อนหลกั เป็นผสู้ ะทอ้ นความคดิ เก่ียวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดทตี่ อ้ งพัฒนา ในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนำผลการประชุมไปบันทึก เพ่อื เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานตอ่ ไป เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงช่อื ผบู้ นั ทกึ (นายจรี เดช ชา่ งตอ่ ) ลงชอื่ . ลงชื่อ ผู้รบั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์) (นายสมนกึ แพทย์พิทักษ์) หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตราด
แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ชอื่ กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” คร้ังที่ 12 ภาคเรียนที่ 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 18 กนั ยายน 2563 เรมิ่ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สิ้น 2 ชั่วโมง กิจกรรมครัง้ นอี้ ยคู่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ข้ันท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขน้ั ท่ี 2 ปฏบิ ตั ิและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ่เี ข้ารว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอ่ื 1. นายสมนกึ แพทย์พิทักษ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2. นางสุชาดา ใจชื่น ผเู้ ชย่ี วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์ หวั หนา้ กลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศิลป์ ครูรว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณนิ ครรู ่วมเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครูร่วมเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ชา่ งต่อ ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนำสกู่ ารปฏบิ ตั ิ และ การสะท้อนผล ครั้งท่ี 3 (การทดลองของสมาชกิ 2) 2. ประเดน็ ปัญหา/ส่ิงทตี่ อ้ งการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) 3. สมาชิกในกลุ่มรว่ มกันจดั ทำและปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูสุวภา เรืองศิลป์ ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาวิทยาการ คำนวณ เรื่อง การแก้ปัญหาโดยแสดงอัลกอลิทึม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การพัฒนารูปแบบการจัด กจิ กรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสือ่ การเรียนการสอนออนไลน์ พบวา่ ครูผู้สอนไดจ้ ัดทำสอ่ื เพื่อนำมาใช้ ในการสอนจากบทเรียนออนไลน์ ส่งผลให้นกั เรยี นเกิดความเข้าใจในเร่อื งท่จี ะศึกษาง่ายยง่ิ ขนึ้ ทำได้และทำเสร็จ ในเวลาทีร่ วดเรว็ ประกอบไปด้วยสอ่ื วีดีโอ ใบงาน ใบความรู้
4. สะท้อนผลการใชส้ ่ือนวัตกรรมในการแก้ปญั หา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ดา้ นการเรียนร้ขู องนกั เรยี น เพ่ือปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรขู้ องครูผสู้ อน 5. ผลการนำสื่อนวัตกรรมฯไปแก้ปัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ฯ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563” เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชอื่ ผบู้ ันทกึ (นายจีรเดช ชา่ งตอ่ ) ลงช่ือ . ลงชอ่ื ผ้รู ับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสังข์) (นายสมนกึ แพทย์พิทักษ์) หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด
แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนบุ าลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครั้งท่ี 13 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วนั /เดอื น/ปี : 25 กนั ยายน 2563 เริ่มดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้ินเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทัง้ ส้ิน 2 ช่ัวโมง กิจกรรมครง้ั นอ้ี ย่คู วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง ) ขนั้ ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขั้นท่ี 2 ปฏิบตั แิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ข้นั ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ี่เข้าร่วมกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ที่ ชอื่ -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่อื 1. นายสมนึก แพทยพ์ ิทกั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2. นางสุชาดา ใจชืน่ ผ้เู ช่ยี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์ ครูรว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรอื งศลิ ป์ ครรู ่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี นิ ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ช่างต่อ ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะท้อนผลการปฏิบตั ิของครูรว่ มเรียนรู้ (After Action Review : AAR) 2. ประเดน็ ปญั หา/สิ่งทต่ี อ้ งการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรน่า (COVID-19) 3. ครูผู้สอนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 1/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ของครูผู้สอน พบว่าเป็นการจัดกิจกรรมที่ สามารถตอบสนองความต้องการของผเู้ รียน มคี วามสนใจ กระตือรอื ร้นในการทำกิจกรรมตา่ งๆ เพราะบทเรียน
ออนไลน์ เป็นสื่อที่มีความสวยงาม ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่ายเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา และสามารถเข้าถึง กลุ่มเปา้ หมายไดเ้ ป็นอย่างดี 4. สะท้อนผลการใชส้ ่ือนวัตกรรมในการแกป้ ญั หา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ด้านการเรียนรู้ของนักเรยี น เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นรขู้ องครูผสู้ อน 5. ผลการนำสอ่ื นวตั กรรมฯไปแกป้ ญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563” 6. สมาชกิ รว่ มกนั ปรับปรงุ แบบกจิ กรรมตามทไ่ี ด้สะท้อนผล และ ปรับแผนกิจกรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้ากลุ่ม สาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมื่อวันศุกร์ที่ 18 กันยายน 2563 คาบเรียนที่ 5 ในรายวิชา ว13101 วิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้ เชงิ วิชาชพี รว่ มสงั เกตการณ์ ซ่ึงแผนการจัดการเรยี นรู้น้ีมีขั้นตอนสำคญั ในการจดั กิจกรรมการพฒั นารูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากสื่อที่ครูได้สร้างขึ้น และศึกษาวิธีการ ออกแบบ Portfolio จากบทเรียนออนไลน์ ด้วยตนเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ชี้แนะ และอธิบายเพิ่มเติม จากนั้นครู และนกั เรยี นจะรว่ มกนั สรุปองค์ความรู้ท่ีไดจ้ ากการจดั กิจกรรมภายในช้ันเรยี น 7. กจิ กรรมท่ไี ดร้ ว่ มทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้า กลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเดน่ จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำ ในการ พัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เมือ่ ส้นิ สดุ ขนั้ ตอนการสะท้อนคิดแลว้ ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนน้ั ปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัยปฏบิ ัติการในชัน้ เรยี นต่อไป 8. แนวทางการนำความรไู้ ปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ แลกเปลย่ี นความคดิ โดยมีครูผูส้ อนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้องพัฒนาใน การจัดการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จากน้นั นำไปสู่การอบรมคูปองพฒั นาครู และนำผลการประชุมไปบันทึกเพ่ือเก็บ เป็นหลกั ฐานในการรายงานต่อไป ลงชือ่ เลกิ ประชุมเวลา 17.30 น. (นางสาวศศธิ ร บวั ขาว) ผู้บันทกึ ลงชื่อ . ลงชื่อ ผู้รบั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์) (นายสมนึก แพทย์พิทักษ์) หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด
แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลตราด ชอื่ กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” คร้งั ที่ 14 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 2 ตุลาคม 2563 เริม่ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้นิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสิน้ 2 ชว่ั โมง กิจกรรมคร้ังน้อี ยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขั้นที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขน้ั ท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See) ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชอื่ -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่อื 1. นายสมนึก แพทย์พิทกั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นางสชุ าดา ใจชนื่ ผเู้ ชีย่ วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี งั ข์ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูร่วมเรียนรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศลิ ป์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณิน ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครรู ่วมเรียนรู้ 8. นายจีรเดช ช่างตอ่ ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม การนำสู่การปฏิบตั ิ และ การสะท้อนผล คร้ังที่ 4 (การทดลองสมาชกิ 3) 2. ประเดน็ ปัญหา/สิง่ ทีต่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) 3. สมาชกิ ในกลุ่มร่วมกันจดั ทำและปรับปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูธนวรรณ ปัญจวีณิน ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา วิทยาการคำนวณ เรื่อง การตรวจหาข้อผิดพลาดและการเขียนโปรแกรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 การพัฒนา รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทำส่อื เพื่อนำมาใช้ศึกษาการปรับแต่งวัตถุจากบทเรียนออนไลน์ ส่งผลให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในเรื่องที่จะศึกษาง่าย ยิ่งข้นึ ทำไดแ้ ละทำเสร็จในเวลาที่รวดเร็ว เนื้อหาท่ีใช้ในการในการจดั การเรียนการสอน ประกอบไปดว้ ย คลิปวิดีโอ การสอน ใบความรู้ ใบงาน
4. สะท้อนผลการใช้สื่อนวตั กรรมในการแก้ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ดา้ นการเรียนรู้ของนกั เรยี น เพอ่ื ปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครผู ู้สอน 5. ผลการนำสอ่ื นวัตกรรมฯไปแกป้ ัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563” เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผู้บันทกึ (นางสาวสุวภา เรืองศลิ ป์) ลงช่อื . ลงช่ือ ผ้รู ับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสงั ข์) (นายสมนกึ แพทย์พิทักษ์) หัวหน้ากล่มุ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตราด
แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนุบาลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครัง้ ท่ี 15 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 9 ตุลาคม 2563 เร่มิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั สน้ิ 2 ช่วั โมง กจิ กรรมครั้งนอี้ ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง ) ข้ันท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขัน้ ท่ี 2 ปฏิบตั ิและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูที่เขา้ รว่ มกิจกรรม 8 คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ 1. นายสมนกึ แพทย์พิทกั ษ์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 2. นางสชุ าดา ใจชืน่ ผเู้ ชี่ยวชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์ หวั หน้ากลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์ ครูร่วมเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรอื งศลิ ป์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวณี ิน ครูรว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศิธร บวั ขาว ครูร่วมเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ช่างต่อ ครรู ว่ มเรียนรู้ 1. งาน/กิจกรรม การสะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ขิ องครูรว่ มเรียนรู้ (After Action Review : AAR) 2. ประเดน็ ปญั หา/สงิ่ ทตี่ อ้ งการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา่ (COVID-19) 3. ครผู สู้ อนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรขู้ องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 1/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ของครูผู้สอน พบว่าเป็นการจัดกิจกรรมที่ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียน มีความสนใจ กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมต่าง ๆเพราะบทเรียน ออนไลน์ เป็นสื่อที่มีความสวยงาม ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่ายเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา และสามารถเข้าถึง กลมุ่ เป้าหมายไดเ้ ป็นอยา่ งดี
4. สะท้อนผลการใชส้ ่ือนวัตกรรมในการแกป้ ัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ดา้ นการเรยี นร้ขู องนักเรียน เพื่อปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนรขู้ องครผู สู้ อน 5. ผลการนำส่ือนวัตกรรมฯไปแกป้ ัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563” 6. สมาชิกร่วมกันปรับปรงุ แบบกิจกรรมตามท่ไี ด้สะทอ้ นผล และ ปรบั แผนกิจกรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน 2563 คาบเรียนที่ 1 ในรายวิชา ว12101 วิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้ เชิงวชิ าชพี รว่ มสังเกตการณ์ ซ่งึ แผนการจัดการเรียนรูน้ มี้ ีขั้นตอนสำคัญในการจดั กิจกรรมการพฒั นารูปแบบ การจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากสื่อที่ครูได้สร้างขึ้น และศึกษาวิธีการ ออกแบบ Portfolio จากบทเรียนออนไลน์ ด้วยตนเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ชี้แนะ และอธิบายเพิ่มเติม จากนั้น ครแู ละนักเรียนจะรว่ มกนั สรปุ องคค์ วามรู้ท่ีได้จากการจัดกจิ กรรมภายในช้นั เรยี น 7. กจิ กรรมท่ไี ด้รว่ มทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้า กลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำ ในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิด หลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัยปฏิบัติการ ในชน้ั เรียนตอ่ ไป 8. แนวทางการนำความรู้ไปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพอ่ื แลกเปลี่ยนความคดิ โดยมคี รูผู้สอนหลักเป็นผสู้ ะทอ้ นความคดิ เก่ียวกบั ความสำเรจ็ จดุ เดน่ และจดุ ท่ตี อ้ งพัฒนา ในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนำผลการประชุมไปบันทึ ก เพ่ือเก็บเป็นหลกั ฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชือ่ ผู้บันทึก (นางสาวสวุ ภา เรืองศลิ ป์) ลงชือ่ . ลงช่ือ ผ้รู บั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข์) (นายสมนึก แพทย์พทิ ักษ์) หวั หน้ากล่มุ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตราด
แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนบุ าลตราด ชื่อกลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครง้ั ที่ 16 ภาคเรยี นที่ 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 16 ตุลาคม 2563 เรม่ิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้งั สิ้น 2 ช่วั โมง กิจกรรมครง้ั นีอ้ ย่คู วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในช่อง ) ขัน้ ที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขนั้ ที่ 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชอื่ และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอ่ื 1. นายสมนึก แพทยพ์ ิทกั ษ์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 2. นางสชุ าดา ใจชืน่ ผเู้ ชย่ี วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์ หัวหน้ากลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูร่วมเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศลิ ป์ ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณนิ ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บัวขาว ครรู ่วมเรยี นรู้ 8. นายจีรเดช ช่างตอ่ ครรู ่วมเรียนรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การนำสู่การปฏิบตั ิ และ การสะท้อนผล ครั้งที่ 5 (การทดลองสมาชกิ 4) 2. ประเดน็ ปญั หา/ส่ิงทีต่ ้องการพัฒนา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) 3. สมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกนั จัดทำและปรับปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้ จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูจีรเดช ช่างต่อ ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่า ครูผู้สอนได้จัดทำสื่อเพื่อนำมาใช้ศึกษาการปรับแต่งวัตถุจาก บทเรียนออนไลน์ ส่งผลให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในเรือ่ งที่จะศึกษาง่ายยิ่งขึ้นทำได้และทำเสร็จในเวลาทีร่ วดเรว็ เนือ้ หาทใ่ี ชใ้ นการในการจดั การเรยี นการสอน ประกอบไปด้วยคลิปวดิ โี อการสอน ใบความรู้ ใบงาน
4. สะท้อนผลการใช้ส่ือนวัตกรรมในการแกป้ ัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ดา้ นการเรยี นรขู้ องนักเรยี น เพือ่ ปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรียนรู้ของครูผูส้ อน 5. ผลการนำส่อื นวัตกรรมฯไปแก้ปัญหา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ฯ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563” เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผูบ้ นั ทึก (นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี ิน) ลงชือ่ . ลงชอ่ื ผู้รับรอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี งั ข์) (นายสมนกึ แพทย์พิทักษ์) หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด
แบบบันทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นอนบุ าลตราด ชื่อกลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครงั้ ท่ี 17 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 23 ตุลาคม 2563 เรม่ิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้งั สิน้ 2 ชัว่ โมง กจิ กรรมคร้งั น้ีอยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในช่อง ) ขั้นที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ข้ันที่ 2 ปฏิบตั ิและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่อื 1. นายสมนึก แพทย์พิทกั ษ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2. นางสชุ าดา ใจชืน่ ผู้เชย่ี วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มีสงั ข์ หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์ ครูรว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศิลป์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวีณนิ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บวั ขาว ครรู ่วมเรยี นรู้ 8. นายจีรเดช ชา่ งตอ่ ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. งาน/กจิ กรรม การสะทอ้ นผลการปฏิบตั ิของครรู ว่ มเรียนรู้ (After Action Review : AAR) 2. ประเดน็ ปัญหา/สง่ิ ทตี่ ้องการพฒั นา ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา่ (COVID-19) 3. ครูผสู้ อนหลัก (Model teacher) สะท้อนผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรขู้ องตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 1/2563 ได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้ของครูผู้สอน พบว่าเป็นการจัดกิจกรรม ที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียน มีความสนใจ กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมต่าง ๆเพราะบทเรียน ออนไลน์ เป็นสื่อที่มีความสวยงาม ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่ายเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา และสามารถเข้าถึง กลมุ่ เปา้ หมายไดเ้ ปน็ อย่างดี
4. สะท้อนผลการใชส้ ่ือนวัตกรรมในการแก้ปญั หา สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันอภิปรายพิจารณาทบทวนปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา ด้านการเรยี นร้ขู องนักเรยี น เพ่อื ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นร้ขู องครผู สู้ อน 5. ผลการนำส่ือนวัตกรรมฯไปแก้ปญั หา ประสบความสำเร็จ ประเด็นที่นำไปสู่รายงานการวิจัย เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ฯ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563” 6. สมาชิกรว่ มกนั ปรับปรุงแบบกจิ กรรมตามทีไ่ ดส้ ะท้อนผล และ ปรับแผนกจิ กรรม นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอนหลัก เมื่อวันพุธที่ 14 ตุลาคม 2563 คาบเรียนที่ 5 ในรายวิชา ว15101 วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วม สังเกตการณ์ ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้นี้มีขั้นตอนสำคัญในการจัดกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากสื่อที่ครูได้สร้างขึ้น และศึกษาวิธีการ จากบทเรียนออนไลน์ ด้วยตนเอง ซึ่งครูจะทำหน้าที่ชี้แนะ และอธิบายเพิ่มเติม จากนั้นครูและนักเรียนจะร่วมกนั สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการจดั กิจกรรมภายในชัน้ เรยี น 7. กิจกรรมทีไ่ ดร้ ่วมทำ ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์ จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้า กลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกีย่ วกับจุดเดน่ จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำ ในการ พัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เมื่อส้นิ สุดข้ันตอนการสะท้อนคิดแลว้ ผูส้ อนบนั ทกึ ผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรบั ปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัยปฏบิ ัติการในชั้นเรียนต่อไป 8. แนวทางการนำความร้ไู ปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพ่ือแลกเปลีย่ นความคิด โดยมีครูผสู้ อนหลักเปน็ ผสู้ ะท้อนความคิดเกีย่ วกบั ความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ตอ้ งพัฒนา ในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนำผลการประชุมไปบันทึก เพือ่ เกบ็ เป็นหลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอื่ ผ้บู ันทึก (นายจีรเดช ช่างต่อ) ลงชือ่ . ลงชอื่ ผรู้ บั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มีสังข์) (นายสมนึก แพทย์พทิ ักษ์) หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด
แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ช่ือกลุ่ม “PLC Com Science New Normal” คร้งั ที่ 18 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วัน/เดอื น/ปี : 30 ตุลาคม 2563 เรม่ิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้ิน 2 ชั่วโมง กิจกรรมคร้ังน้ีอยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในช่อง ) ขน้ั ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขน้ั ท่ี 2 ปฏบิ ัติและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขั้นที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูที่เข้าร่วมกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชือ่ 1. นายสมนกึ แพทยพ์ ิทักษ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2. นางสุชาดา ใจช่ืน ผ้เู ชีย่ วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข์ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 5. นางสาวสุวภา เรืองศิลป์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปญั จวีณนิ ครูร่วมเรยี นรู้ 7. นางสาวศศิธร บวั ขาว ครรู ่วมเรยี นรู้ 8. นายจีรเดช ช่างต่อ ครูรว่ มเรียนรู้ 1. สภาพหรือกลุ่มปัญหา การจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) 2. งาน/กจิ กรรม สรปุ รายงานผล ครั้งที่ 1 (การสรปุ ผล และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา) 3. สรุปสังเคราะห์การเรียนรจู้ ากสมาชิกในทีม จดุ อ่อน จดุ เดน่ ของการดำเนินการ 3.1 ประเด็นด้านผเู้ รยี น - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอน บทเรียนออนไลน์ และจากเวบ็ ไซต์ต่างๆ ทค่ี รูแนะนำ ทำให้การจัดการเรียนการสอนครอบคลมุ ตามเน้ือหาการเรียนรู้ - ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หาความรู้ใหม่ๆ ตรงกับระบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยมีผู้สอนเป็นเพียงผู้แนะนำ ที่ปรึกษา และแนะนำ แหลง่ ความรู้ใหม่ๆ ท่ีเกยี่ วข้องกับการเรยี น ผเู้ รียนสามารถทราบผลย้อนกลบั ของการเรียน รู้ความก้าวหน้า
ในเว็บไซต์เป็นที่สอบ กลุ่มไลน์และการประเมินผลรวม ที่ใช้การสอบแบบปกติในห้องเรียน เพื่อเป็นการยืนยันว่า ผู้เรียนเรยี นจรงิ และทำขอ้ สอบจรงิ ได้หรอื ไมอ่ ย่างไร 3.2 ประเดน็ ด้านกจิ กรรม - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอนเป็นลักษณะ การเรยี นรู้จากแหล่งเรียนร้นู อกชนั้ เรียนทท่ี ำใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรียนรไู้ ด้ทุกที่ทุกเวลา - การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลนท์ ำใหก้ ารเรียนการสอนครอบคลมุ ตามเนือ้ หา 3.3 ประเดน็ ด้านครู - ครูจะทำหน้าที่คอยให้ความช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ ไดด้ ว้ ยตนเอง สร้างแรงจงู ใจและแรงบันดาลใจในการเรียน 3.4 ประเดน็ ส่อื การสอน - สอ่ื กจิ กรรมและแหลง่ การเรยี นรู้มคี วามถูกต้องเหมาะสมมีประสทิ ธิภาพ (ด้านคุณภาพ) - สื่อมีความเพียงพอเหมาะสม (ด้านปรมิ าณ) - ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้ ผู้เรียน สามารถเรียนจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใดก็ได้ และในปัจจุบันนี้การเข้าถึงเครือข่ายอินเตอร์เน็ตกระทำ ได้ง่ายขึ้น มาก และยังมีคา่ เช่อื มตอ่ อนิ เตอร์เน็ตท่มี ีราคาตำ่ ลงมากวา่ แตก่ ่อนอกี ดว้ ย 3.5 ประเด็นด้านบรรยากาศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นสิ่งที่สำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนให้ความสนใจใคร่รู้ และพร้อมทจี่ ะรว่ มพดู คยุ แลกเปล่ยี นเรยี นรูอ้ ย่างมีส่วนร่วมมากขึน้ จดุ แข็งจุดออ่ นของการสอน - มกี ารนำเทคโนโลยเี ขา้ มาบรู ณาการ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - กระบวนการทำงานพัฒนาวชิ าชพี ครแู บบชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ มรี ะบบการทำงานตามรปู แบบ PDCA - เพิม่ ประสทิ ธิภาพการเรยี นการสอน - สนบั สนุนการเรียนการสอน - เกิดเครือขา่ ยความรู้ - เนน้ การเรียนแบบผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง ตรงตามหวั ใจของการปฏริ ูปการศึกษา 4. ผลการดำเนินงาน นำการจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน เพอื่ อำนวยความสะดวกใหผ้ ู้สอนสามารถจดั เตรียมการสอนด้วยสื่อการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย น่าสนใจ และทำให้ผู้เรียน สามารถอ่านทบทวนเน้ือหาย้อนหลงั ได้และยงั เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ ถึงแหลง่ เรยี นรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา 5. ร่องรอย/หลกั ฐาน 5.1 แผนการจดั การเรยี นรู้ พรอ้ มบันทึกหลงั การสอน 5.2 ภาพการพูดคุย ปรึกษากับสมาชิกกลุม่ PLC 5.3 ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน 5.4 แบบสงั เกตการณจ์ ดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 5.5 ภาพการนิเทศการสอน
เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น. ลงชื่อ ผูบ้ นั ทกึ (นางสาวภารดี พรประเสริฐทิพย์) ลงชือ่ . ลงชอื่ ผรู้ ับรอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มสี งั ข์) (นายสมนึก แพทย์พทิ ักษ์) หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด
แบบบนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นอนุบาลตราด ชือ่ กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” ครง้ั ท่ี 19 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 วัน/เดือน/ปี : 6 พฤศจิกายน 2563 เรมิ่ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทงั้ ส้นิ 2 ชัว่ โมง กจิ กรรมครัง้ น้ีอยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในช่อง ) ข้นั ท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขั้นที่ 2 ปฏบิ ัตแิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขนั้ ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชอื่ -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือช่อื 1. นายสมนึก แพทย์พิทกั ษ์ ผ้อู ำนวยการโรงเรียน 2. นางสชุ าดา ใจชื่น ผ้เู ชีย่ วชาญ 3. นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข์ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศลิ ป์ ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี ิน ครรู ว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวศศิธร บวั ขาว ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายจรี เดช ชา่ งตอ่ ครูร่วมเรยี นรู้ 1. สภาพหรือกลุ่มปัญหา การจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา่ (COVID-19) 2. งาน/กิจกรรม สรุปรายงานผล ครัง้ ที่ 2 (การเขียนรายงาน) 3. ผลลัพธท์ ี่ไดจ้ ากกจิ กรรม 3.1 ผลลพั ธท์ ่เี กิดจากกระบวนการ 1) มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของสมาชิกเครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียน ได้อยา่ งเป็นรปู ธรรม (สมาชกิ เครือข่ายมกี ารนำไปใช้ได้อย่างชดั เจน) 2) มรี อ่ งรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวตั กรรม และประเดน็ ความรูท้ นี่ า่ สนใจ ท่เี กดิ ขึน้ ของ สมาชกิ เครือข่ายไปใช้ตลอดระยะท่ดี ำเนินโครงการทกุ ครัง้ ที่มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้โดยสมาชิกทกุ คน
3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพอ่ื แลกเปล่ยี นความคดิ โดยมคี รูผสู้ อนหลกั เปน็ ผู้สะทอ้ นความคิดเกย่ี วกับความสำเร็จ จดุ เดน่ และจดุ ทตี่ อ้ งพัฒนา ในการจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 3.2 ผลลพั ธท์ ีเ่ กิดกับผ้เู รยี น / ครู / สมาชกิ ทเ่ี ข้ารว่ มเครือข่าย PLC 1) ผู้เรียนได้การเรียนรู้ตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ทุกประการ และมีความชัดเจน ทง้ั เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น และทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะ อยา่ งชัดเจน 3) ผู้สอนได้รับความรูแ้ ละประสบการณ์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการจัดการ เรียนรู้ และผ้สู อนได้รับนวตั กรรมและเร่ิมวางแผนจดั ทำวจิ ัยปฏิบัติการในชน้ั เรยี น 4) ผู้สอนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ ใช้ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนำวัตกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับจากการทำวิจัยปฏิบัติการ ในชน้ั เรียนไปใชพ้ ัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นรู้ 3.3 คุณค่าท่ีเกิดต่อวงการศึกษา 1) มีเครือข่ายที่ชัดเจน และการขยายเครือข่ายแล้วและมีความชัดเจน เป็นรูปธรรมและมีแนวโน้ม การเกิดเครือขา่ ยเพม่ิ ขึ้น 2) การรว่ มกนั รับผิดชอบต่อการเรยี นร้ขู องนักเรียน ให้ผลการเรียนรทู้ ี่ตอ้ งการให้เกิดข้ึนในตวั นกั เรียน โดยครูที่เป็นสมาชิกในชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี ทกุ คนวางเปา้ หมายรว่ มกัน เลิกประชมุ เวลา 17.30 น. ลงช่อื ผบู้ ันทึก (นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทพิ ย์) ลงชือ่ . ลงชอ่ื ผูร้ บั รอง (นางสาวธิพาภรณ์ มสี ังข)์ (นายสมนกึ แพทย์พิทักษ์) หวั หน้ากลุม่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลตราด
แบบบันทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนอนบุ าลตราด ช่อื กลุ่ม “PLC Com Science New Normal” คร้งั ที่ 20 ภาคเรียนท่ี 1/2563 วนั /เดือน/ปี : 13 พฤศจกิ ายน 2563 เรม่ิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิน้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้นิ 2 ชัว่ โมง กิจกรรมคร้ังน้อี ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในช่อง ) ขั้นท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขั้นที่ 2 ปฏิบตั ิและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ่เี ข้ารว่ มกจิ กรรม 8 คน โดยมรี ายชื่อและบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ที่ ชอื่ -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชือ่ 1. นายสมนึก แพทยพ์ ิทักษ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น 2. นางสชุ าดา ใจชน่ื ผเู้ ชย่ี วชาญ 3. นางสาวธพิ าภรณ์ มสี ังข์ หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวภารดี พรประเสรฐิ ทิพย์ ครรู ่วมเรยี นรู้ 5. นางสาวสวุ ภา เรืองศลิ ป์ ครรู ว่ มเรียนรู้ 6. นางสาวธนวรรณ ปัญจวณี ิน ครูร่วมเรียนรู้ 7. นางสาวศศธิ ร บัวขาว ครูร่วมเรยี นรู้ 8. นายจรี เดช ช่างต่อ ครูรว่ มเรียนรู้ 1. สภาพหรือกลุ่มปัญหา การจัดการเรียนการสอนไม่ครอบคลุมตามเนื้อหาการเรียนรู้เนื่องจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรน่า (COVID-19) 2. งาน/กจิ กรรม เผยแพร่กิจกรรม/ชนิ้ งาน/นวตั กรรม 3. ผลการดำเนินงาน 4.1 ไดน้ วัตกรรมในการแกไ้ ขปญั หา 4.2 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนดีขึน้ หรือเปน็ ไปตามเกณฑ์ทต่ี กลงกันไว้ 4.3 พฤติกรรมของนักเรียนที่มปี ญั หาเปลีย่ นไปในทางท่ดี ีขนึ้ ตามข้อตกลงทตี่ ้ังไว้ 4.4 นำไปสกู่ ารอบรมคูปองพัฒนาครู และรวบรวมส่ง เพือ่ เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานตอ่ ไป
4. รอ่ งรอย/หลักฐาน 4.1 แผนการจัดการเรียนรู้ พร้อมบนั ทึกหลังการสอน 4.2 ภาพการพูดคุย ปรกึ ษากับสมาชกิ กลุ่ม PLC 4.3 ภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.4 แบบสงั เกตการณจ์ ัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 4.5 ภาพการนิเทศการสอน 5. การเผยแพร่กจิ กรรม/ชิน้ งาน/นวัตกรรม 5.1 รวบรวมเอกสารร่องรอยหลักฐานต่าง ๆ ที่เกิดจากการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 5.2 จดั ทำรูปแบบการนำเสนอเปน็ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื E-Book เพื่อการนำเสนอท่นี า่ สนใจ 5.3 เผยแพร่ไฟล์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต จะทำให้การกระจายสื่อทำได้อย่างรวดเร็ว และกวา้ งขว้างกว่าส่อื ทอ่ี ยู่ในรปู สิ่งพิมพ์ เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงชอื่ ผบู้ ันทึก (นางสาวภารดี พรประเสริฐทพิ ย์) ลงชอ่ื . ลงชอ่ื ผรู้ บั รอง (นางสาวธพิ าภรณ์ มีสงั ข์) (นายสมนึก แพทย์พิทักษ์) หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตราด
ภาพการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม PLC
Search