Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2

รวมเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2

Published by นายต้นสัก สนิทนาม, 2020-01-29 00:17:49

Description: รวมเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2
โดยใช้ผัง graphic design
Timeline Map

Search

Read the Text Version

ลําดบั เหตกุ ารณ โดยใช GraphicผาMนผAังPTime Line WW II สงครามโลกคร้งั ท่ี 2

ก คํานํา การลําดับเหตุการณโดยใชผังกราฟฟก (Graphic Map) โดยใชรูปแบบ Time Line เปนสวนหนึ่งของ รายวิชา เหตุการณโลกยุคปจจุบัน รหัสวิชา 23202 เพื่อใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย สามารถลําดับเหตุการณภาพรวบเพ่ือใหเห็นถึงผังเชิงมโนทัศนของผูเรียนในเนื้อหา สงครามโลกคร้ังท่ี 2พรอมทั้ง สามารถเขาใจผลกระทบของสงครามโลกครั้งที่ 2 และผลกระทบหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 ที่มีอยูอยางตอเนื่องซ่ึง เปนผลกระทบมาจนถงึ ปจ จบุ ัน ขาพเจาอาจารยตนสัก สนิทนาม ต้ังใจจะใหเอกสารฉบับบน้ี เกิดประโยชนอยางสูงสุด ในการเรียนการ สอน เพ่ือเปนสื่อนําไปสูความเขาใจในเน้ือหาของรายวิชาและเน้ือหาของเร่ือง สงครามโลกคร้ังที่ 2 การจัดทําใน ครั้งนี้ขอขอบคุณ อาจารยนราธิป แกวทอง ที่เปนผูท่ีใหโอกาส และเปนผูสนับสนุนทําใหขาพเจาไดประสบ ความสาํ เร็จในการปฏิบัตกิ ารเอกสารประกอบสอนในครัง้ น้ี คณุ ความดหี รอื คุณประโยชนใ ดที่เกดิ จากรายงานฉบับ นี้ ขาพเจาขอมอบใหแกท กุ ทานขา งตน นายตน สัก สนทิ นาม

สารบญั ข เรอ่ื ง หนา คาํ นํา ก สารบัญ ข ลาํ ดบั เหตกุ ารณส งครามโลกคร้ังที่ 2 1-6 ป ค.ศ. 1939 8-16 ลาํ ดับเหตกุ ารณสงครามโลกคร้งั ที่ 2 18-29 ป ค.ศ. 1940 31-38 ลําดับเหตุการณส งครามโลกครัง้ ที่ 2 40-43 ป ค.ศ. 1941 45-49 ลาํ ดับเหตุการณสงครามโลกคร้ังท่ี 2 51-56 ป ค.ศ. 1942 ลาํ ดับเหตุการณสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 ป ค.ศ. 1943 ลําดบั เหตกุ ารณส งครามโลกคร้งั ท่ี 2 ป ค.ศ. 1944 ลําดบั เหตุการณส งครามโลกครง้ั ท่ี 2 ป ค.ศ. 1945

• การบุกครองโปแลนดโดยนาซีเยอรมนี กองทัพอากาศ วนั ท่ี เดอื นกันยายน 1939 เยอรมนี โจมตีเปาหมายหลายแหงในโปแลนด และไมมี การประกาศสงครามอยา งเปน ทางการ • เอสโตเนีย ลัตเวียลิทัวเนีย นอรเวย สวิตเซอรแลนดและ ฟนแลนดป ระกาศวางตัวเปน กลางในสงคราม • รัฐบาลอังกฤษประกาศระดมพล และเร่ิมแผนอพยพ เตรียมรับมอื การเขา ตที างอากาศของเยอรมนี • สหราชอาณาจักรและฝร่ังเศสย่ืนคําขาดรวมตอ เยอรมนี ให • นครเสรีดนั ซิกถูกผนวกรวมกับเยอรมนี สง ทหารกลบั จากดนิ แดนโปแลนด • พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ค.ศ. 1939 มี • เบนิโต มสุ โสลินี ประกาศวา วางตัวเปนกลาง ฝายสาธารณรฐั ผลใชบังคับทันที และเกณฑชายทุกคนซ่ึงมีอายุ ไอรแลนดก็ประกาศวาตนเปนกลางเชนกันและรัฐบาล ระหวาง 18-41 ป และพํานักอยูในสหราช สวติ เซอรแลนดประกาศระดมพล อาณาจกั รกลางเชน กนั และรัฐบาล • นายกรัฐมนตรีอังกฤษ เสนตายที่กําหนดใหเยอรมนี • รัฐบาลฝร่ังเศสยื่นคาํ ขาดสดุ ทายคลายกันกบั อังกฤษ ถอนตัวออกจากโปแลนดไดส้ินสุดลงเม่ือ 11.00 น. • เรอื เดนิ สมทุ ร แอดเบนเนีย (Atbenia) ถกู เรือดําน้ํา อ-ู 30 ตอมาออสเตรเลีย อินเดียและนิวซีแลนดก็ประกาศ สงครามกับเยอรมนีในไมก่ีช่ัวโมงหลังการประกาศ ของเยอรมนีจม เพราะถูกเขาใจผิดวาเปนเรือชวยตรวจ สงครามของอังกฤษ การขององั กฤษ มีผูเสียชวี ติ 112 ราย • ญ่ีปุนประกาศวางตัวเปนกลางตอสถานการณในทวีปยุโรป • เมื่อเวลา 8.00 น. ประเทศในเครือจักรภพนิวฟน ฝา ยกระทรวงกองทพั เรืออังกฤษประกาศเรม่ิ ตนการปดลอม แลนด ประกาศสงครามกับเยอรมนี ทางทะเลตอเยอรมนี เปนหน่ึงในหลายมาตรการท่ีอังกฤษ ดาํ เนนิ การสงครามเศรษฐกจิ ตอฝา ยอกั ษะ • ในการปฏิบัติเชิงรุกครั้งแรกของอังกฤษในสงคราม • สหรัฐอเมรกิ าเริม่ การออกลาดตระเวนดวยความเปนกลาง กองทัพอากาศเปดฉากตโี ฉบฉวยกองเรอื เยอรมนั ใน อาวเฮลิโกแลนด โดยมุงเปาไปยังเรือประจัญบาน ขนาดเล็ก ที่ทอดสมออยูนอกวิลเฮลมชาเวนที่ ตะวันตกสุดของคลองคีล อากาศยานหลายลําสูญ หายไปในการเขาตีน้ี และ แมเรือจะถูกยิงสามคร้ัง แตร ะเบิดทุกลูกไมร ะเบิด • นายกรัฐมนตรีแอฟริกาใต แบรร่ี เฮอรซอก ลมเหลวในการ • แอฟรกิ าใตประกาศสงครามกบั เยอรมนี หาเสียงสนับสนุนในการประกาศวางตัวเปนกลาง และถูก • กองทัพเยอรมนียึดเมืองการกุฟ ทางตอนใตของโปแลนด ปลดโดยการประชุมลับของพรรคการเมือง และแทนท่ีดวย รองนายกรฐั มนตรแี จน สมุทส กองทพั โปแลนดลาถอยครั้งใหญ • สหราชอาณาจักรนําระบบขบวนเรือในความคมุ กัน กลับมา • สหรัฐอเมรกิ าประกาศวางตวั เปนกลางตอสาธารณะ • ฝรัง่ เศสเร่ิมการรกุ พอเปนพิธี โดยเคล่อื นเขา ไปในดินแดนของ ใชใหมกับเรือพาณิชย และปดลอมการเดนิ เรือของเยอรมนี เต็มข้ันรัฐบาลประกาศระบบคุมกันเรือพาณิชย และกีดกัน เยอรมนีใกลก บั ซารบรอื เคน เรอื สินคาของเยอรมนอี ยา งเตม็ ท่ี • สหราชอาณาจักรผา นพระราชบัญญตั ิวาดว ยการขน้ึ ทะเบียน • กองพลที่ 10 แหงเยอรมนี ภายใตการนําของนายพลวอล เทอร วอน ไรเชนนาว รุกคืบถึงขอบกรุงวอรซอวของ แหงชาติ เริม่ ใชบัตรประชาชน รัฐบาลมอี าํ นาจในการควบคมุ โปแลนด กองพลท่ี 14 โดยนายพลวิลเฮลม ลสิ ทรุกถงึ แมน ้ํา แรงงาน ซาน และกองพันแพนเซอรของนายพลไฮนส กเู ดอเรี่ยน รุก ถึงแมน้าํ บั๊ก ทางตะวนั ออกของกรุงวอรซ อว

• การรุกซารลันทของฝรั่งเศสหยุดชะงักท่ีปาวารนดทที่มี วนั ท่ี เดอื นกันยายน 1939 การวางทุนระเบิดหนาแนน หลังรุกเขาไปในดินแดน เยอรมนีท่มี กี ารปองกนั เบาบาง 8 ไมล • แคนาดาประกาศสงครามกบั เยอรมนี • กองทัพหลกั ของอังกฤษยกพลขน้ึ บกท่ฝี รงั่ เศสเพ่ือ • ผูสําเร็จราชการอินเดยี ลอรดลินลธิ โกว ประกาศตอสภา นิติบัญญัติท้ังสองของอินเดีย (สภาแหงรัฐและสภานิติ ชวยรบตอตานเยอรมนี มีจํานวนทหาร 160,000 บัญญัติ) วาเน่ืองจากการเขารวมสงคราม การวางแผน นาย พรอมยานพาหนะ 24,000 คนั การจัดต้ังสหพนั ธรฐั อินเดยี จึงถูกเล่ือนออกไป ……………………………… • พลเอกเกมลินสง่ั หยุดการรกุ เขา ไปในเยอรมนี • ฝรั่งเศสเสร็จสิ้นการรนถอยออกจากเยอรมนี สิ้นสุด • กองทพั โปแลนดไดร ับคาํ สั่งใหตา นทานท่ีพรมแดนโรมาเนีย การรกุ ซาร กระทั่งฝายสมั พนั ธมิตรมาถึง • สหภาพโซเวียตบุกครองโปแลนดจากทิศตะวันออก • กองทัพเยอรมนีลอมกรุงวอรซอ เมืองหลวงของโปแลนด ยึดครองดินแดนทางตะวันออกของแนวคูรซอน สมบรู ณ เชนเดียวกบั เบยี ลีสตอกและกาลีเซียตะวนั ออก • เรือบรรทุกเคร่ืองบิน เรือหลวง คะเรเจิส ถูกเรืออู-29 จม • ประธานาธิบดีโปแลนด และผูบัญชาการทหาร หลบหนีจาก ระหวางการลาดตระเวนนอกชายฝงตะวันตกเฉียงใตของ โปแลนดไปยังโรมาเนีย ที่ซ่ึงถูกกักตัวทั้งคู กําลังรัสเซยี ไปถงึ ไอรแลนด วลิ นอี ุสและเบรสต- ลตี อฟสค เรือดําน้าํ โปแลนดห ลบหนจี าก กรุงทาลลินน ทาํ ใหความเปนกลางของเอสโตเนียถูกสหภาพ • กองทัพจักรวรรดิญ่ีปุนเปดฉากโจมตีนครฉางชาของจีน เม่ือ โซเวยี ตและเยอรมนีตัง้ คําถาม กําลังญี่ปุนทางเหนือของมณฑลเจียงซีเขาตีไปทางตะวันตกสู มณฑลเหอหนาน • กองทัพเยอรมนแี ละโซเวียตบรรจบกันใกลเมืองเบรสต-ลีตอฟสค • เรือดําน้ํา อู-27 ของเยอรมนี ถูกจมโดยระเบิดนํ้าลึก • กองทพั โซเวียตปด ลอ มทาทาลลินน เมืองหลวงของเอสโตเนยี จากเรือประจัญบานองั กฤษ • สหภาพโซเวียตและมองโกเลีย พันธมิตร ชนะยุทธการคาลคิน • นายกรัฐมนตรีโรมาเนีย ถูกพวกคลั่งชาติในพ้ืนที่นาม โกล เหนือญีป่ นุ ยุติสงครามชายแดนโซเวยี ต-ญ่ปี ุน \"ผพิทักษเ หลก็ \" (Iron Guard) ลอบสงั หาร • กองทัพจักรวรรดิญี่ปุนเขาตีกองทัพปฏิวัติแหงชาติจีนตามแมน ้ํา ซนิ เชียงโดยใชแกสพษิ ระหวา งยุทธการฉางชา • กองทัพอากาศโซเวียตละเมิดนานฟาของเอสโตเนีย ผูแทน • ประเทศเยอรมนเี ร่ิมการปนสวนอาหาร เอสโตเนียเดนิ ทางไปเจรจากับโมโลตอฟที่กรุงมอสโก มกี ารขู • สหภาพโซเวียตไดเตรียมกําลังพล 160,000 นาย รถถัง 600 วาสหภาพโซเวียตจะดําเนนิ การอยา งรนุ แรงหากเอสโตเนยี ไม ยอมใหม กี ารต้ังฐานทพั โซเวียตในดนิ แดนเอสโตเนีย คนั และเคร่ืองบินรบ 600 ลํา ตามแนวชายแดนเอสโตเนยี • หลงั จากการระดมยงิ ปนใหญ ทหารเยอรมนีเขา ตีกรุงวอรซอว • เคร่ืองบินท้ิงระเบดิ ของโซเวียตบินเหนือนา นฟา เมอื งทาลลนิ น

• ปนใหญแหงแนวซิกฟรีดเปดฉากระดมยิงหมูบานในประเทศ วันที่ เดือนกันยายน 1939 ฝรง่ั เศสเบื้องหลงั แนวมากโิ นต • สนธิสัญญามิตรภาพและพรมแดนระหวางเยอรมนี-โซเวียต • กองทพั สวนท่ีเหลือและชาวบา นของโปแลนดยอมแพที่วอรซอร ไดรับการลงนาม มีภาคผนวกลับท่ีเปล่ียนแปลงการปกปน • กองทพั โซเวยี ตประชิดชายแดนลตั เวยี นานฟาลัตเวยี ถกู บกุ ดินแดน โดยยกลิทัวเนียใหแกสหภาพโซเวียต แตเยอรมนี จะไดรับดินแดนในโปแลนดมากขนึ้ • ผูเอสโตเนียยอมเซ็นสัญญาความชวยเหลือรวมกันกับ สหภาพโซเวียตเปนเวลา 10 ป ซ่ึงอนุญาตใหมีทหารโซ ……………………………… เวียตประจําในแลตเวียจํานวน 30,000 นาย ซ่ึงเปนของ ตอบแทนสตาลินท่ีใหคําม่ันวาจะธํารงเอกราชของ ฝา ยอกั ษะ เอสโตเนยี เยอรมนี • โซเวียตเร่ิมแผกําลังเขาควบคุมคาบสมุทรบอลติ ญป่ี ุน กเพื่อระวังการรุกรานของนาซี อติ าลี • ราชนาวีเยอรมนีจมเรือพาณิชยอังกฤษนอกชายฝง ของประเทศบราซิล ฝายสมั พันธมติ ร อังกฤษ ฝร่งั เศษ สหภาพโซเวียต จนี สหรัฐอเมริกา

• ผูแทนจากแลตเวียเจรจากับสตาลิน สหภาพโซเวียตขูวา เดือนตลุ าคม 1939 จะใชก าํ ลงั คุกคามถาหากไมไดต ง้ั ฐานทพั ในลตั เวีย • กองทัพอังกฤษเคล่ือนทัพสูชายแดนเบลเยี่ยม เพ่ือปองกัน • อเมริกาเห็นดว ยกับคําแถลงการณท ี่ปานามา การกระทาํ ทางสงครามจะตองไมเกิดขึ้นบริเวณผิวน้ํารอบทวีป วันที่ การรกุ รานมาทางทิศตะวันตกของเยอรมนั อเมริกา อาณาเขตเปนกลางกวางประมาณ 300 ไมลจะมี กองทพั เรือสหรัฐอเมริกาลาดตระเวน • ผูแทนลิทัวเนียพบสตาลินในกรงุ มอสโก สตาลินเสนอจะให เมืองวิลนิอัสของโปแลนดแกลิทัวเนียถาหากยอมรับ ขอตกลง ผแู ทนตอ งยอมรบั ขอเสนออยางเสยี ไมได • ลัตวียเซ็นสัญญาความรวมมือรวมกันกับสหภาพโซเวียต ……………………………… เปน เวลา 10 ป ซึ่งอนุญาตใหมที หารโซเวียตกวา 25,000 นายประจําในลัตเวีย สตาลินใหคํามั่นวาจะเคารพเอก ราชของแลตเวยี • กองทพั จีนมีชยั เหนอื กองทพั ญ่ีปนุ ในการตอ สทู ฉ่ี างชา • การตอตานของชาวโปแลนดส้ินสุดลง ฮิตเลอรกลาว • ฮติ เลอรประกาศคําสั่งเตรียมบกุ เบลเยยี ม ฝรัง่ เศส ปราศรัยตอหนาสภาไรซตารกวาตนจะปรึกษาการฟนฟู ลักเซมเบิรก และเนเธอรแ ลนด สนั ติภาพกบั อังกฤษและฝรงั่ เศส • ผูแทนลิทัวเนียมายังกรุงมอสโก โซเวียตยังตองการที่จะ สรา งฐานทพั ในลิทวั เนยี • กองทัพโปแลนดก องสุดทายยอมจํานนตอกองทพั เยอรมนั • ทหารอังกฤษประมาณ 158,000 นายอยใู นฝรงั่ เศส • เชมเบอรแลนด นายกรัฐมนตรีอังกฤษไดปฏิเสธขอเสนอ • ผนู ําฝรัง่ เศสปฏเิ สธขอเสนอสันตภิ าพของฮิตเลอร ของฮิตเลอร • ลิทัวเนียเซ็นสัญญาความรวมมือรวมกันกับสหภาพโซ เวียตเปนเวลา 15 ป ซึ่งอนุญาตใหมีทหารโซเวียตกวา 20,000 นายประจําการในลิทวั เนีย • ผูแทนจากฟนแลนดเขาพบสตาลินและโมโลทอฟที่กรุงมอสโก • ผูแทนจากฟนแลนดเขาพบสตาลินอีกคร้ัง สตาลินขูวา สหภาพโซเวียตตองการใหฟนแลนดถอนฐานทัพใกลกับเมือง หากการเจรจายืดเยื้อ อาจมเี หตุไมค าดฝนเกิดขึน้ ระหวาง เฮลซิงกิ และปรึกษากันเพ่ือปกปอง เลนินกราดจากสหราช กองทหารโซเวยี ตและฟนแลนดได อาณาจกั รหรอื การรุกรานจากเยอรมนใี นอนาคต • เรืออู-47 ฝาแนวปองกันของอังกฤษที่อ็อรคนีย ซึ่งกอง เรืออังกฤษเทียบทาอยู สงผลใหเรือหลวง รอแยล โอ็ค จมมีกะลาสเี สียชีวติ 786 นาย • การโจมตที างอากาศคร้ังแรกในสหราชอาณาจกั ร • เบลเยยี มประกาศวางตัวเปนกลาง • กองทัพชดุ แรกของสหภาพโซเวยี ตเขา มายังเอสโต • สหราชอาณาจักรรายงานวามีคายกักกันสําหรับชาวยิวและผู • เนียเกตโตหรือสลมั สําหรบั ชาวยิว ไดกอสรางข้ึนในเมือง Lublin • \"สงครามลวง\" ทหารฝร่ังเศสตั้งม่ันตามแนวเมกิโนต สวนทหาร ทีต่ อตา นนาซีกําลงั กอสรางในยุโรป • นาซีเยอรมนีไดทีแผนบุกฝร่ังเศส โดยพลโท เอริก ฟอน อังกฤษสรางแนวสนามเพลาะระหวางแนวเมกิโนตกับชองแคบ อังกฤษ มันชสไตนวางแผนทจี่ ะโจมตผี าน Ardennes มากกวาการบกุ เบลเยยี่ ม

• ฉนวนโปแลนดถูกผนวกเขากับเยอรมนี สวนดินแดนทาง วันท่ี เดือนพฤศจิกายน 1939 ตะวันออกของโปแลนดถูกผนวกรวมกับยูเครนและ เบโลรสุ เซยี ของสหภาพโซเวยี ต • ฟนแลนดและสหภาพโซเวียตเจรจาเกี่ยวกับแนวชายแดน อีกคร้ัง ฟนแลนดไมไวใจเจตนาของสตาลินและไมยอมยก • ชาวยิวในกรุงวอรซอวประมาณ 400,000 คนไดรับคําสั่ง ดินแดนที่เปนแนวปองกนั ประเทศให ใหยา ยไปยังชุมชนชาวยวิ ……………………………… • สหรัฐอเมริกาผานรา งกฎหมายยอมใหมีการคาขายอาวุธ กับรัฐใดก็ตามท่ีมีเงินจาย ซ่ึงเปนรางกฎหมายท่ีเอ้ือ • มกี ารระเบิดคร้งั แรกในสหราชอาณาจกั ร บริเวณหมู ประโยชนใหประเทศฝง สมั พันธมิตร เกาะเชตแลนดน อกชายฝง สกอตแลนด เกดิ ความ เสียหายเลก็ นอย • ฮิตเลอรไดกลาวถึงการหนีในเหตุการณโรงเบียรมิวนิดในป 1923 ในวันนั้นกองทัพอากาศอังกฤษเขาทิ้งระเบิดใสเมือง มิวนิด • การเจรจาแนวชายแดนระหวางฟน แลนดแ ละสหภาพโซเวียต • กองทัพอากาศเยอรมันทิ้งระเบิดในเมือง Oakney ของ ลมเหลว ฟนแลนดสงสัยวาฟนแลนดอาจเปนสวนหน่ึงใน สกอตแลนด ขอ ตกลงระหวางเยอรมนี-สหภาพโซเวียต • IRA ถูกกลา วหาวากอระเบิดขึน้ ในลอนดอน • รฐั บาลพลดั ถน่ิ โปแลนดหลบหนีไปยงั กรุงลอนดอน • กองทัพเยอรมันเริ่มตนปฏิบัติการการทําเหมืองแรที่แมน้ํา เทมส • ผูญ่ปี ุนยดึ เมืองหนานหนงิ ทางภาคใตของประเทศจนี • สหภาพโซเวียตเร่ิมเคลื่อนไหวตามแนวชายแดน • \"สงครามฤดหู นาว\" สหภาพโซเวยี ตโจมตีฟนแลนด ฟนแลนด • สหภาพโซเวียตยตุ ิสัมพนั ธท างการทตู กบั ฟนแลนด

เดือนธันวาคม 1939 • สหภาพโซเวียตทําสงครามกับฟนแลนด กรุงเฮลซิงกิถูก วันท่ี • ฟนแลนดยื่นคํารองตอสันนิบาตชาติเพ่ือใหยุติสงคราม ท้ิงระเบิดทางอากาศ ชวงสองสัปดาหแรกของเดือน ฤดูหนาว ซึ่งสันนิบาตชาติเห็นดวยที่จะใหโซเวียตถอน ธันวาคม ทหารฟนแลนดลาถอยไปยังแนวแมนเนอรไฮม ตัวแตถ ูกปฏเิ สธ ซึ่งเปนแนวปองกันเกาบริเวณชายแดนภาคใตที่ติดกับ สหภาพโซเวยี ต • สหราชอาณาจักรกําหนดใหชายอายุ 19 ถึง 41 ป เขา เกณฑทหาร • สหภาพโซเวียตโจมตีแนวแมนเนอรเฮมรุนแรงข้นึ ……………………………… • อิตาลีประกาศเปนกลางอีกครั้ง นอรเวย สวีเดน และ • สหภาพโซเวียตประสบความพา ยแพทางยทุ ธวิธี เดนมารกประกาศเปนกลางในกรณีพิพาทระหวาง หลายคร้ัง ฟน แลนด- โซเวียต • เรอื อังกฤษสองลําประทะกันนอกชายฝง ของ • ทหารของโซเวียตเคลื่อนทัพถึงหมูบาน Suomussali ทาง สกอตแลนด ตะวันออกของฟนแลนด และตองหยุดทัพไวเนื่องจาก ความหนาวเหน็บและถูกโจมตี ฟนแลนดที่พยายามรักษา • สหภาพโซเวยี ตปะทะกบั ฟน แลนดท่ี Taipale เสนทางลําเลียงเสบียง ของโซเวียตเองก็ถูกตรึงเอาไว • กองพลที่ 7 ของโซเวียตเดินทางมาถึงแนวแมนเนอรไฮม เชนกัน กรมทหารทั้งสองของโซเวียตพยายามฝาแนว ตา นทานไปจนกระทั่งปลายป กอนจะยอมจํานน และเริม่ ปฏิบตั ิการเขาตีครั้งใหญ • เรือกราฟสปรของเยอรมันไดออกจากมอนเตวิโอ ออกไป • ยุทธนาวีแมนาํ้ ปลาเต เรือลาดตระเวนหนักของอังกฤษ เอก เตอร พรอมดวยเรือลาดตระเวนเบา อาเจ็กซ และ อา จากนา นน้ําอุรุกวยั พรอ มลูกเรอื อีก 200 คน ชิลลิสต เขาปะทะกับเรือประจันบาน กราฟ สปร ของ เยอรมนี ณ ปากแมนํ้าปลาเต นอกชายฝงอรุ กุ วยั ไมมเี รือลาํ ใดจม กราฟ สปร หนีไปได • สหภาพโซเวียตถูกถอดถอนจากการเปนสมาชิกองคกร สนั นิบาตชาติ • กองทพั แคนาดาหนว ยแรกเดินทางถึงยโุ รป • ฮันส แลงสตอรฟ ผูบัญชาการเรือกราฟสปรฆ าตวั ตาย • เยอรมันสามารถปองกันการโจมตีทางอากาศของ • กองทหารแคนนาดาจํานวน 7,500 นายเดินทางถึง อังกฤษได องั กฤษ • กองทพั อินเดียหนวยแรกเดินทางถงึ ฝร่ังเศส • สหราชอาณาจกั รจาํ กัดปรมิ าณเนอ้ื สตั ว • ฟนแลนดคอนขางประสบความสําเร็จในการทําลาย กองทหารและยุทธโธปกรณของฝายโซเวียต

• กองทพั ญี่ปุนโจมตมี ณฑลซานซขี องจนี วนั ท่ี เดือนมกราคม 1940 • การรุกของโซเวียตในฟนแลนดห ยดุ ชะงัก ทหารฟน แลนด • สหราชอาณาจักรเร่ิมปนสวนเคร่ืองบริโภค ไดรับชัยชนะติดตอกันหลายคร้ัง รถถังโซเวียตถูกทําลาย • นายทหารบก 2 นายทโ่ี ดยสารมากบั เครือ่ งบินถูก • เครอ่ื งบินเยอรมนีหลงเขาไปในเบลเยียม และลงจอดที่ Mechelen สมั พันธมิตรจบั เอกสารลบั เกย่ี วกบั แผนการบกุ ของนาซี ถกู เปดเผย ฮติ เลอรเลือ่ นแผนการบุกออกไปเพราะสภาพ • นายพลเรือ มิตสุมาสะ โยไน ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรี อากาศไมเปนใจ ของญ่ีปุน • ทหารโซเวียตถูกตีโตใ นฟนแลนด และตอบโตโดยการ สงเคร่ืองบินโจมตที างอากาศอยา งหนกั • เอกสารลับของเยอรมันในการบุกสแกนดิเนเวียและ เล่ือนแผนบุกฝร่ังเสสถูกเปด เผย • เรืออ-ู 44ของเยอรมนั จมเรอื กลไฟกรีก • เยอรมนีเตรียมแผนการบุกเดนมารกและนอรเวย • เรือดํานํ้าเยอรมันจมเรือ HMS Exmouth ลูกเรือ ข้นั สุดทา ย เสยี ชวี ิต 135 นาย • Richard Heydrich ไดร บั การแตงตั้งจากเกอรร งิ ใน การแกปญ หาชาวยวิ

• คณะมนตรีสงครามของสัมพันธมิตรตัดสินใจเขา เดือนกุมภาพนั ธ 1940 รวมรบในนอรเวยและฟนแลนด เพื่อตัดเสนทาง วันท่ี ลําเลียงแรเหล็กของสวีเดน อยางไรก็ตาม แผนนี้ พึ่งพาความชวยเหลือของนอรเวยและสวีเดนที่ • เสบียงของกองทัพญี่ปุนสูงเปนครึ่งหน่ึงของกองทัพเปน เปน กลาง จํานวนมาก • เอริก ฟอน มันชสไตนไ ดเ ตรยี มกองพลที่ 38 ไดก ารโจมตี • สหภาพโซเวียตตกลงทจี่ ะสงเสบยี งและวัตถุดบิ ฝรั่งเศส ใหกบั เยอรมนี ตามขอ ตกลงทางการคา ฉบับ ใหม • รัฐบาลอังกฤษประกาศหาอาสาสมัครเขาไปชวยเหลือ • เรอื พิฆาตอังกฤษ คอรแซก ทาํ ลายความเปนกลางของ ฟนแลนด นอรเ วย เพอื่ ชว ยเหลือลูกเรือพาณิชยชาวอังกฤษ 299 นาย บนเรือขนสง สญั ชาตเิ ยอรมนั อลั มารค • ฮติ เลอรประกาศจมเรือแบบไมเลือกหนา • เยอรมนีเรงความพรอมในการรุกราน ดวยเช่ือวา อังกฤษจะสงกําลงั เขามาในนอรเวย • กองทัพฟนแลนดถูกบังคับใหถอยรนออกจากแนว • แผนการรุกแนวรบตะวันตกถูกวิเคราะหอีกครั้ง Mannerheim เขา สูแนวปอ งกันทสี่ อง หลงั จากการ พ้ืนที่เขาตีหลักถูกเปลี่ยนเปน อารเดน จะถูกกอง โจมตขี องทหารโซเวียต พลหมุ เกราะถกู นาํ ออกมาใช

• ฮิตเลอรไดเตรียมวางแผนบุกเดนมารกและ เดือนมีนาคม 1940 นอรเวย วนั ที่ • โซเวียตเขาโจมตีเมือง Viipuri เมืองใหญอันดับ • ฟนแลนดสงผูแทนมาเจรจาสนธิสัญญาสันติภาพท่ีกรุง สองของฟนแลนดทางทิศตะวันออกเฉียงใตของ มอสโก เฮลซิงกิ • สนธิสัญญาสนั ติภาพระหวางโซเวียตกับฟนแลนดไ ดร บั • ฟนแลนดไ ดสงบศกึ กับสหภาพโซเวียตหลังจาก การรับรองจากท้ังสองฝาย หลังจากโซเวียตเอาชนะได 105 วันหลังจากความขัดแยงระหวา งโซเวียต- แบบหืดข้ึนคอ ฟนแลนดยังคงรักษาเอกราชเอาไวได ฟนแลนด แตตองเสีย คาเรเลียและ ฮังโก ใหโซเวียต ซ่ึงคิดเปน 10% ของดินแดน • เยอรมนั ไดโ จมตพี ลเรือนในเกาะอังกฤษครง้ั แรก • ฮิตเลอรกับมุสโสลินี ไดพบกันท่ีชายแดนออสเตรีย และมสุ โสลนิ เี หน็ วาเปน โอกาสทีด่ ีทีจ่ ะเขา สสู งคราม • นายกรฐั มนตรี Édouard Daladier ของฝร่ังเศสลาออก • อังกฤษและฝร่ังเศสเห็นตองกันท่ีจะไมแบงแยก จากตําแหนง หลังถูกโจมตีเร่ืองความลมเหลวในการ สนธสิ ญั ญาสนั ติภาพกับเยอรมนี ชวยเหลือฟนแลนดแตเนิ่นๆ อันอาจจะเปนผลใหภัย คุกคามไมคืบคลานเขามาสูฝร่ังเศส Paul Reynaud • ญปี่ ุนไดจ ัดตั้งรฐั บาลหนุ เชิดของจีนทเี่ มืองนานกิง ขึ้นมาเปน นายกรัฐมนตรีตอ • สหราชอาณาจักรไดเรมิ่ สอดแนมสหภาพโซเวียต

เดือนเมษายน 1940 • อังกฤษและฝรั่งเศสวางทุนระเบิดในนานน้ํา • เรือพิฆาตอังกฤษ โกลววอรมเขาหยุดยั้งกองเรือรุกราน นอรเวยเจียน เพ่ือปองกันมิใหเยอรมนีขนแร ของเยอรมนีบริเวณนอรเวย แตถูกยิงจม เรือดําน้ํา เหล็กออกจากสวีเดนสูทะเลหลวง ซึ่งลาชาไป วันท่ี อังกฤษสามารถจมเรือขนสง กองเรืออังกฤษที่ถูกสงขึ้น จากแผนเดิม 3วัน และชาเกินไปในการยับยั้ง แผนการรุกรานของนาซี ไปยับยั้งกองเรือรุกรานของเยอรมันไดรับขอมูลไม เพียงพอและลมเหลวในภารกิจไมเพียงพอและลมเหลว • ปฏิบัติการแวเซอรีบุง การทัพนอรเวย: เยอรมนีสง ในภารกิจ กําลังเขารุกรานเดนมารกและนอรเวย ทั้งทางบก เรือ และอากาศ เดนมารกถูกยึดครองอยางรวดเร็ว • เรือลาดตระเวน Blücher ของเยอรมนีถูกยิงจมดวย ฐ า น ทั พ อ า ก า ศ ข อ ง น อ ร เ ว ย ส อ ง แ ห ง ถู ก โ จ ม ตี ปนรักษาฝง กะลาสีเสียชีวิต 1,600 นาย กษัตริย เยอรมนยี กพลขึน้ บกไดสาํ เร็จหกจดุ Haakon เสด็จหนีไปทางเหนือพรอมกับรัฐบาลของ พระองค เรือลาดตระเวนประจันบาน รอดนียของ • เรือพิฆาตอังกฤษ 5 ลําเขาโจมตีเรือพิฆาต 10 ของ อังกฤษไดรับความเสียหายจากการเขาปะทะกับเรือ เยอรมัน พรอมปอมปนรักษาชายฝงอยางฉับพลัน ลาดตระเวนประจันบานของเยอรมนี Scharnborst บริเวณตะวันตกของ Narvik เรือลาดตระเวน และ Gneisenau เรือลาดตระเวน Karisrube ถูกเรือ Königsberg ของเยอรมนีกลายเปนเรือลําแรกท่ถี ูกจม ดํานาํ้ อังกฤษยงิ จมนอกฝง Kristainsand ดวยเทคนกิ \"ดาํ ท้ิงระเบิด\" (Dive Bombing) • เยอรมนั รุกคบื ขน้ึ ทางเหนอื ของนอรเ วย • กองกําลงั ฝายสมั พนั ธมิตร 10,000 นาย ถูกเตรียมพรอม สําหรบั เขารบในคาบสมุทรนอรเ วย • กองทหารเยอรมนีปองกันทรอดไฮม ฝายสัมพันธมิตร • กองกําลังสัมพันธมิตรเขาระดมยิงเมืองทานารวิก ลม เหลวในปฏบิ ตั กิ ารเนือ่ งจากเตรยี มตวั ที่ไมประสบผล จากทางทะเล • ทหารองั กฤษเร่ิมถอนตวั ออกจากนอรเวย เพราะเหตุใดสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 จึงเกดิ ข้นึ ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ...........................................................................................................

วันที่ เดือนพฤษภาคม 1940 • ฝายสัมพันธมิตรเร่ิมตนการถอนกําลังออกจาก • นายกรัฐมนตรี เนวิลล เชมเบอรแลนด สามารถ นอรเวยตามเมืองทาตาง ๆ ซ่ึงดําเนินตอไป รอดตัวไดอยางหวุดหวิดจากการโตวาทีกรณี จนกระท่งั ถึงเดือนมิถนุ ายน นอรเวย ในสภาผแู ทนราษฎรอังกฤษ • รัฐบาลพลัดถิ่นของนอรเวยถูกจัดต้ังข้ึนในกรุง • การเกณฑท หารในองั กฤษขยายอายไุ ปจนถงึ 36 ลอนดอน • ลกั เซมเบิรก ถูกยดึ ครอง • เยอรมนีรุกรานเบลเย่ียม ฝรั่งเศส ลักเซมเบิรกและ • รัฐบาลผสมในยามสงครามของอังกฤษถูกจัดตง้ั ข้ึนอยา ง เนเธอรแลนด; ทหารเยอรมันจาํ นวนมากถกู ระดมมา เปนทางการ ทางแนวรบดานตะวันตก; เบลเยี่ยมประกาศ สถานการณฉกุ เฉนิ • กองทัพเนเธอรแ ลนดลงนามในสนธิสญั ญายอมจาํ นน • วินสตัน เชอรชิลลไดรับเลือกใหเปนนายกรัฐมนตรี อังกฤษ และประกาศจัดตั้งรัฐบาลผสมในยาม สงคราม • รัฐบาลพลัดถ่ินของเนเธอรแลนดถูกต้ังขึ้นในกรุง ลอนดอน • เนเธอรแลนดยอมจํานน ยกเวน ซแี ลนด • อังกฤษตดั สนิ ใจหยดุ ปฏบิ ัติการในนอรเวย • สหภาพโซเวียตเตรยี มพรอ มยดึ รัฐเขตบอลติก • กองกําลังฝายสัมพันธมิตร ประกอบดวย ทหารอังกฤษและ • เชอรชิลลสนับสนุนใหอังกฤษทําสงครามตอไป ฝร่ังเศสลาถอยไปยังดันเคิรก ฮิตเลอรสั่งหยุดกองทัพ แมวาจะมีเสยี งคัดคา นจากลอรด เฮลิแฟกซและเชม เ ย อ ร มั น แ ล ะ ใ ห ก อ ง ทั พ อ า ก า ศ ข อ ง เ ก อ ริ ง เ ข า โ จ ม ตี เบอรแ ลนด กองทัพอากาศอังกฤษสามารถปอ งกนั เมอื งไวได • กองทพั ญ่ีปุนท้งิ ระเบดิ กรุงฉงชิง่ อยางหนกั ทางตอน เหนอื ของแมน้าํ แยงซี • ปฏิบัตกิ ารไดนาโม ทหารฝา ยสมั พันธมิตรกวา 340,000 นาย ในดนั เคิรก อพยพไปยงั องั กฤษ ซง่ึ กนิ เวลาไปอยาง ยาวนาน • เบลเย่ยี มยอมจํานน

วันที่ เดือนมถิ ุนายน 1940 • ทหารอังกฤษกองสุดทายอพยพออกจากนอรเวย • อิตาลีประกาศสงครามกับสหราชอาณาจักรและ • สิ้นสุดปฏิบัติการไดนาโม ทหารฝายสัมพันธมิตร ฝรั่งเศส ไดร ับการอพยพไปยังอังกฤษ • นอรเ วยยอมจํานน • กรงุ ปารสี ถูกยดึ ครองโดยกองทัพเยอรมนั • ฟลิป เปแตงไดรับเลือกใหเปนนายกรัฐมนตรีแหง • สหภาพโซเวียตย่ืนคําขาดใหลิทัวเนียยอมจํานนใน ฝรง่ั เศส แปดชั่วโมง; กองทัพโซเวียตรุกเขาลิทัวเนียและ • สหภาพโซเวียตยื่นคําขาดใหลัตเวียและเอสโตเนียยอม โจมตีแนวชายแดนลัตเวยี จํานนภายในแปดชั่วโมง • ชารลส เดอ โกลลจ ัดต้ังรัฐบาลพลัดถ่นิ • การเจรจาหยุดยิงระหวางฝรั่งเศส-เยอรมนีเร่ิมตนข้ึน • ลิทวั เนีย ลตั เวยี และเอสโตเนียถกู ยึดครองโดยสหภาพ กองทพั อติ าลีขา มพรมแดนฝรง่ั เศส • ฝร่ังเศสยอมจํานนอยางเปนทางการตอ โซเวยี ต เยอรมนี เม่อื เวลา 0.35 น • ขอ ตกลงหยุดยงิ ระหวา งฝรงั่ เศส-เยอรมนีไดรบั การลงนาม • ขอตกลงหยุดยิงระหวางฝรั่งเศส-อติ าลีไดรับการลงนาม • สหภาพโซเวียตยื่นคําขาดตอโรมาเนีย โดยตองการ • กองทัพแดงยึดครองแควนเบสเซอราเบียและ แควน เบสเซอราเบยี และนอรเ ทริ น บูโควินา บางสวนของนอรเทิรนบูโควินา หลังจากย่ืนคําขาด ตอ โรมาเนียไปเม่อื วานน้ี • ชารลส เดอ โกลลไดรับการยอมรับจากอังกฤษวาเปน ผูนาํ ของฝรัง่ เศสเสรี • เยอรมนรี ุกรานหมูเกาะแชแนล

วนั ที่ เดือนกรกฎาคม-สงิ หาคม 1940 • รฐั บาลฝร่ังเศสยา ยไปยังวิชี • ยุทธการแหงบริเตนเริ่มตนขึ้น กองทัพอากาศ เยอรมันโจมตเี รือในชองแคบองั กฤษ • สหภาพโซเวียตจัดการเลือกต้ังในรัฐบอลติกท่ีถกู ยึด • รฐั บาลพลดั ถนิ่ ของเชโกสโลวาเกียมาถงึ กรุงลอนดอน ครอง สมาชิกรัฐสภาอยูภายใตอิทธิพลของสหภาพ • รัฐบอลติกภายใตการยึดครองของทหารโซเวียตรองขอที่ โซเวียต จะเขา ผนวกกับสหภาพโซเวยี ต • เจาชายฟมุ ิมะโระ โคะโนะเอะเปนนายกรฐั มนตรีแหง ญ่ปี ุน • หนวยโฮมการดของอังกฤษถูกกอต้ังข้ึน สวนใหญประกอบดวย • เน่ืองจากสภาพอากาศอันเลวรายเหนือชองแคบอังกฤษ การโจมตที างอากาศหยุดชะงัก ทหารชราและทหารที่พิจารณาวาไมเ หมาะสมตอ กองกําลงั ปกติ • สตรแี ละเด็กทัง้ หมดในยบิ รอลตารถ ูกอพยพ • สหภาพโซเวียตผนวกลตั เวีย • สหภาพโซเวยี ตผนวกเอสโตเนีย • สหภาพโซเวียตผนวกเอาแควนเบสเซอราเบียและนอร เทริ น บูโควนิ า • กองทัพอากาศอังกฤษไดรับชัยชนะหลายคร้ัง การผลิตเคร่ืองบินอังกฤษไดเพิ่มจํานวนข้ึน • สหภาพโซเวียตผนวกลทิ ัวเนยี อยา งเปนทางการ อยา งรวดเร็ว • กองทัพอิตาลรี ุกรานโซมาลแิ ลนดข องอังกฤษ ระหวา ง • แผนการแลกเปล่ียนเรือรบกับฐานทัพระหวาง การทพั แอฟริกาตะวันออก สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรเกิดข้ึน • เฮอรมันน เกอริงเร่ิมการโจมตีสนามบินอังกฤษเปนเวลา อยา งเปน ทางการ สองสัปดาห เปนการเตรียมการสําหรับแผนการบุกเกาะ องั กฤษในเวลาถัดมา • นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ เซอร เฮนรี่ ทิซารด เดินทาง ไปยังสหรัฐอเมริกาในภารกิจทิซารด เปนผูมอบเทคโนโลยี ขั้นลับสุดยอดของอังกฤษ รวมไปถึงเมคเนตรอน ซ่ึงเปน อุปกรณสําคัญตอเรดาร; การแลกเปลีย่ นเรือดาํ น้ํากับฐาน ทัพระหวางสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรดําเนินไป ดว ยดี • ฮติ เลอรป ระกาศปดเมอื งทา ท่วั เกาะองั กฤษ • อิตาลีประกาศปดเมืองทาอังกฤษในดินแดนเมดิ • กองทัพอิตาลีเขายึดเมืองเบอรบีรา เมืองหลวงของ เตอรเ รเนียนทัง้ หมด โซมาลิแลนด รวมไปถึงเมืองและคายทหารหลายแหงที่ • เบอรล ินถกู ท้ิงระเบิดทางอากาศ ตดิ กบั แนวชายแดนซูดานและเคนยา

วันที่ เดือนกันยายน-ตลุ าคม 1940 • กองทัพอากาศเยอรมันเปล่ียนเปาหมายไปโจมตี • กองทัพอากาศเยอรมันสวนใหญถูกขับไลโดย ลอนดอน ทําใหกองทัพอากาศอังกฤษฟนตัว นับเปน กองทพั อากาศอังกฤษ ความผดิ พลาดครง้ั ใหญข องเยอรมนี • ญ่ปี นุ ยึดครองเวียดนาม และสรางฐานทพั หลายแหงในอิน • รัฐบัญญัติเลือกเฟนและรับราชการทหารแหงป 1940 โดจีนของฝร่งั เศส เ ป น คํ า ส ง เ ก ณ ฑ ท ห า ร ใ น ย า ม ส ง บ ฉ บั บ แ ร ก ข อ ง ................................................ สหรัฐอเมริกา ชายอเมริกันอายุ 21-35 ปจะตอ งเกณฑ ................................................ ทหาร ................................................ ................................................ • สนธิสัญญาไตรภาคีไดร ับการลงนามในกรุงเบอรลนิ ประกอบดวย ................................................ ผูแทนจากเยอรมนี อิตาลีและญี่ปุน นับเปนจุดเร่ิมตนของคําวา “ฝา ยอักษะ” • ทหารจีนชาตินิยมและจีนคอมมิวนิสตรบกันเองทาง ภาคใตของประเทศ ขณะเดียวกัน กองทัพญ่ีปุนพาย แพท ีเ่ มืองฉางชา • การทงิ้ ระเบิดกรุงลอนดอนดําเนนิ ตอ ไปตลอดทัง้ เดอื น • เยอรมนีโจมตโี รมาเนียเพื่อขัดขวางเจตนาของสหภาพโซเวียต • เนวิลล เชมเบอรแลนดลาออกจากสภา เพอ่ื ยึดครองบอน้าํ มันอันมีคา ผูแทนราษฎรเนือ่ งจากปญหาดานสุขภาพ สวน วินสตนั เชอรชิลลไดร ับการเลือกใหเ ปนหัวหนา พรรคอนรุ ักษนิยม • ฮิตเลอรพบกับนายพลฟรานซิสโก ฟรังโกในสเปน ใน • อิตาลีโจมตีกรีซจากดินแดนยึดครองอัลเบเนีย ฮิต ความพยายามท่ีจะเกล้ียกลอมใหเขาเขารวมกับฝาย เลอรโ กรธมากในการเรม่ิ ตนสงครามคร้งั น้ี อักษะ

• แฟรงกลิน ดี. โรสเวลตชนะการเลือกต้ังประธานาธิบดี วันที่ เดือนพฤศจิกายน-ธนั วาคม 1940 สหรัฐอเมริกาเปนสมัยที่สาม อังกฤษรอคอยทาทีความ ชว ยเหลือจากสหรัฐอเมริกา • ไอรแลนดปฏิเสธไมยอมใหอังกฤษใชเมอื งทาของ ตนเปน ฐานทพั เรอื • กองทพั กรซี โจมตีโตค รั้งใหญตามแนวชายแดนอลั เบเนีย • โมโลตอฟพบกับฮิตเลอรและริบเบนทรอพในกรุง • โมโลตอฟพบกับฮิตเลอรอีกครั้งหนึ่งเพื่อขอใหยอมรับใน เบอรล ิน เพ่ืออภิปรายเก่ียวกบั ระเบยี บโลกใหม โมโล การโจมตีฟนแลนด แตก็เห็นไดอยางชัดเจนวา ฮิตเลอรมี ตอฟแจงความตองการของโซเวียตเหนือดินแดน เจตนาขัดขวางการขยายอิทธิพลของสหภาพโซเวียตใน ฟนแลนด บัลแกเรีย ดารเดแนลสและบอสบอร แต ทวีปยุโรป เขามองวาสหราชอาณาจักรวาเปนผูแพ ฮิตเลอรกลาวถึงการปกปนดินแดนระหวางเยอรมนี สงครามแลว และเสนอยกอินเดยี ใหแกสหภาพโซเวียต อิตาลี ญป่ี นุ และสหภาพโซเวียต • สหภาพโซเวียตไดรับเชิญใหเขารวมในสนธิสัญญา ................................................ ไตรภาคี และแบง ปนดนิ แดนอาณานิคมของจกั รวรรดิ ................................................ องั กฤษระหวา งกนั ................................................ ................................................ • เชอรชิลลออกคําสั่งใหสงกองกําลังอังกฤษบางสวน ................................................ จากแอฟรกิ าเหนือไปสนบั สนนุ การรบในกรีซ • โรมาเนยี ลงนามในสนธิสญั ญาไตรภาคี • ฮงั การลี งนามในสนธสิ ัญญาไตรภาคี • สาธารณรฐั สโลวคั ลงนามในสนธิสญั ญาไตรภาคี • รฐั บาลพลัดถิ่นเบลเยีย่ มประกาศสงครามกบั อติ าลี • สหภาพโซเวียตยื่นขอเสนอในการเขารวมใน • ปฏิบัติการเข็มทิศ: ทหารอังกฤษและอินเดียเริ่มการโจมตี กองทัพอิตาลีในอียิปต กองทัพอิตาลีถูกบังคับใหลาถอยไปยัง สนธิสัญญาไตรภาคี รวมไปถึงมอบดินแดนเพ่ิมเติม ลิเบีย ใหก บั สหภาพโซเวียต • กองทพั อิตาลีลาถอยจากกรซี ไปยงั อัลเบเนีย ทหารกรีซเร่ิมการ โจมตีอลั เบเนีย • ระหวางสงครามอิตาลี-กรีซ ทหารกรีซยึด • กองทพั องั กฤษเรม่ิ ทําการรบในลเิ บยี ครองอัลเบเนียไดหน่ึงในสี่ของดินแดนทั้งหมด อติ าลเี รยี กรอ งกาํ ลังสนบั สนุนจากเยอรมนี

• เคร่ืองบินท้ิงระเบิดของกองทัพอากาศอังกฤษท้ิงระเบิด เดือนมกราคม 1941 ทําลายโรงงานผลิตเคร่ืองบินท่ีเมอื งเบรเมน เยอรมนีเปน วันท่ี จํานวนมาก • กองทัพเครือจักรภพอยูหางจากโทรบรุค 70 ไมล • กองทัพเครือจกั รภพสามารถยดึ สนามบนิ ใกลก บั เมอื งโทรบรคุ ภายหลงั จากการรุกในปฏบิ ตั กิ ารเข็มทศิ • นโยบายใหเชา-ยืมถูกเสนอใหแกส ภาคองเกรส • ความขัดแยง ระหวางกองทัพจีนชาตนิ ิยมและจีน • ยุทธนาวีเกาะชา งยุตลิ งดว ยชัยชนะของวิชฝี รงั่ เศส คอมมวิ นิสตเ กดิ ขน้ึ • ทรบรุคถูกกองทัพเครือจกั รภพตีแตก • กองพลอินเดียท่ี 4 และ 5 โจมตีเอธิโอเปยภายใตการ • ชารลส ลินดเบิรกเสนอตอสภาคองเกรสให ยึดครองของอติ าลจี ากซดู าน สหรัฐอเมริกาลงนามในสนธิสัญญาความเปนกลาง • ฮิตเลอรยอมสงกําลังสนับสนุนมาชวยเหลือกองทัพ กับอดอลฟ ฮติ เลอร อติ าลใี นแอฟรกิ าเหนอื • กองทพั อังกฤษในเคนยาโจมตีโซมาลแิ ลนดของอติ าลี • กองทัพอังกฤษยึดเมืองเดอรนา หางออกไปทาง ตะวนั ตกของโทรบรคุ 100 ไมล

• นายพล เออรว นิ รอมเมล ไดร บั แตง ต้งั ใหเ ปนผูบ ญั ชาการ เดือนกมุ ภาพันธ 1941 กองทัพเยอรมันในแอฟริกาเหนอื วันที่ • หลังจากการสูรบอยางหนักเปนเวลาหลายวัน กองทัพนอยท่ี 13 แหงสหราชอาณาจักร ซง่ึ ขึ้นตรงกับ กองกาํ ลงั ทะเลทรายตะวันตก ไดทําลาย กองทัพท่ี 10 แหงอิตาลี ไดระหวางยุทธการแหงบีดา ฟอมม ทหารองั กฤษสามารถจับกมุ เชลยศึกไดกวา 130,000 นาย • นายพลรอมเมลเดินทางถึงทรโิ ปลี ประเทศลิเบีย; กองทพั องั กฤษรกุ • กองทัพเยอรมันยกพลข้ึนบกในแอฟริกาเหนือ และเคลื่อน เขา โซมาลิแลนด อาณานคิ มของอิตาลีในแอฟรกิ าตะวนั ออก ทพั ไปทางทศิ ตะวันออก กองทพั อังกฤษออ นแอเนอื่ งจากได สง กองกําลังบางสว นไปสนับสนุนการรบในกรีซ • กองทพั เยอรมันเคลื่อนทัพผานบลั แกเรยี เพือ่ ไปโจมตีกรีซ • กองทัพอังกฤษสามารถยึดโมกาดิชู เมืองหลวงของ โซมาลแิ ลนดไ ดสาํ เรจ็ เพ่ือนๆท่ีอานมาถึงตรงนี้จะสังเกตวา สหภาพโซเวียตในตอนน้ันก็คอนขางท่ีจะมี ปญหาเร่ืองดินแดนกับเยอรมนี จนตองมีการ เปล่ยี นขา งกนั เลยนะครับ แลวพื่อนๆละครับคิดวาสหภาพโซเวียตยายขางจาก อกั ษะไปอยสู ัมพันธมติ รเพราะตใุ ด ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... .......................................................................................

• หนวยคอมมานโดของอังกฤษโจมตีโรงกลน่ั น้ํามันในเมอื ง เดือนมีนาคม 1941 นารวกิ ประเทศนอรเวย วันที่ • เจาชายพอลแหงยูโกสลาเวียทรงเห็นชอบใหรวมลงนาม • พระราชวงั บัคคิงแฮมถกู ท้งิ ระเบดิ ทางอากาศ กบั กลมุ ประเทศฝา ยอกั ษะ • การรุกของอติ าลตี ามแนวรบอลั เบเนียเรม่ิ ตนข้นึ • ประธานาธิบดีโรสเวลตลงนามในบัญญัติใหเชา-ยืม โดย • กองทพั อิตาลแี ละกองทัพองั กฤษปะทะกันในเอริเตรีย อนุญาตใหประเทศฝา ยสมั พันธมิตรสามารถซ้อื ยุทโธปกรณ ทางทหาร โดยสามารถผอนชําระไดจนกระทง่ั สงครามยุติ • กองกําลังแพนเซอรของเยอรมนีมาถึงแอฟริกาเหนือ กองทพั เยอรมันเริ่มการบกุ โดยใชย านเกราะ • ยุทธนาวีแหลมมะตะปน: กองทัพเรืออังกฤษเผชิญหนากับ • การรุกของอิตาลีในอัลเบเนียยุติลงดวยความสูญเสีย กองทัพเรอื อิตาลที างตอนใตของกรซี มหาศาล และไมอ าจเปล่ยี นโฉมหนาของการรบได • กองทัพอังกฤษเคลื่อนทัพออกจากซูดาน และสามารถเอาชนะ • มงกุฎราชกุมารแหงยูโกสลาเวียข้ึนครองราชยเปนสมเด็จพระ กองทัพอติ าลีไดใ นยทุ ธการแหง คาเรน เอรเิ ตรีย เจาปเตอรท่ี 2 แหงยูโกสลาเวีย และขึ้นปกครองประเทศ ภายหลังจากกองทัพทําการรฐั ประหารรัฐบาลนิยมเยอรมนนี ํา โดยเจา ชายพอล NOTE ใกลสอบแลว ตั้งใจกนั หนอ ยนะคัรบ …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

• รฐั บาลอนุรกั ษน ิยมเยอรมนถี ูกจดั ตงั้ ขึน้ ในอิรัก เดือนเมษายน 1941 • กองทัพอากาศเยอรมนั โจมตีกรงุ เบลเกรดทาง วันที่ อากาศเปน เวลาสองวนั • กองทัพเยอรมนี ฮังการีและอิตาลีเคล่ือนทัพผาน • กรีนแลนดถูกยึดครองโดยสหรัฐอเมริกา และไดมี โรมาเนียและฮงั การเี พอื่ ไปโจมตยี โู กสลาเวยี และกรซี การสรางฐานทัพเรือและฐานทัพอากาศเพ่ือออก • กองทัพอิตาลีพายแพในแอดดิส อะบาบา ประเทศ ปฏิบตั ิการในมหาสมทุ รแอตแลนติก เอธโิ อเปย • ญี่ปุนและสหภาพโซเวียตลงนามในสนธิสัญญาความเปน กลางระหวางกนั • แมการรบจะยังไมยุติ แตดินแดนยูโกสลาเวียถูกแบงออกเปน • การโจมตเี มืองโทรบรุคของกองทพั เยอรมันลม เหลว เขตยดึ ครองระหวา งเยอรมนีและอติ าลี • รฐั บาลกรซี หลบหนไี ปยงั เกาะครีต • กองทัพอังกฤษและออสเตรเลียอพยพจากกรีซมายัง • กองทัพเยอรมันเริ่มการปดลอมเมืองทาโทรบรุค กองทัพ เกาะครตี และอยี ปิ ต เยอรมันอีกสวนหน่ึงเคล่ือนทัพไปยึดคายคาพุสโซและโซลุม • นายพลรอมเมลโจมตีแนวปองกันกาซาลา ประชดิ ชายแดนอียปิ ต • กรุงเอเธนสถกู ยดึ ครองโดยกองทัพเยอรมัน กรีซยอมจาํ นน • ยูโกสลาเวียยอมจํานน รัฐบาลพลัดถิ่นถูกจัดต้ังขึ้นในกรุง ลอนดอน สมเด็จพระเจาพอลเสด็จหนีไปยังกรซี • นายพลรอมเมลไดรับชัยชนะครั้งใหญที่ชองเขาฮัลฟายา ทางผานไปสชู ายแดนอยี ปิ ต NOTE มงุ มัน่ และฟนฝา ความสําเรจ็ อยูแคเ อื้อม …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

• ทหารองั กฤษในอิรักถกู โจมตีโดยกองทพั อริ ัก เดือนพฤษภาคม 1941 วันท่ี • เรืออูลําหนึ่งของเยอรมนีถูกกองทัพเรืออังกฤษยึดได พรอ มกับเคร่อื งอนิ กิ มา ซ่ึงเปล่ียนโชคชะตาของสงคราม • กองทพั อิตาลแี ละกองทพั องั กฤษปะทะกนั ในเอธิโอเปย • กองทพั อังกฤษยดึ ครองอริ กั • ญี่ปุนเขาไกลเกลี่ยในสงครามไทย-ฝรั่งเศส โดยไดมีการลง • กองทัพเยอรมันภายใตการบัญชาการของนายพลรอมเมล นามในสนธสิ ญั ญาสันตภิ าพในกรุงโตเกยี ว พายแพหลังถูกโจมตีโต \"ปฏิบัติการเบรวิตี\" ที่ชองเขา • ยุทธการเกาะครตี : พลรม เยอรมนั ถูกสงไปยงั เกาะครีต ฮัลฟายา ท้ังสองฝายผลัดเปล่ียนกันยดึ ครองคายคาพสุ โซ • ยทุ ธนาวีชองแคบเดนมารก และชอ งเขาฮลั ฟายา • บิสมารคถูกโจมตีอยางหนักเปนเวลานานเกือบสองชั่วโมง • การโจมตโี ตก ลับขององั กฤษ \"ปฏบิ ัตกิ ารเบรวิตี\" ลม เหลว กอนท่ีจะจมลงสูกนทะเล การจมของบิสมารคไดรับการ รายงานบนหนา แรกของหนงั สือพิมพห ลายฉบับทว่ั โลก NOTE ความสําเรจ็ ไมไดว ดั ที่ เกรดแตว ดั ที่ความ …………………………………………………………… ต้งั ใจ ใสใจและพยาม …………………………………………………………… …………………………………………………………… ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

• กองทัพเครอื จักรภพอพยพออกจากเกาะครีตสาํ เรจ็ วันที่ เดือนมถิ ุนายน 1941 • สหราชอาณาจักรเรมิ่ การปน สวนเสอื้ ผา • สมเด็จพระจกั รพรรดวิ ิลเฮลม ท่ี 2 แหงเยอรมนี ส้ินพระชนม ในฮอลแลนด • กองทัพอังกฤษรกุ รานอริ ัก และลมลา งรฐั บาลตอ ตา นอังกฤษ • ซีเรียและเลบานอนภายใตการปกครองของวิชีฝรั่งเศส • ฟนแลนดประกาศระดมพล เพ่ือเตรียมการรับการโจมตี ถูกโจมตีโดยกองทัพอังกฤษ ออสเตรเลีย อินเดียและ จากสหภาพโซเวียต กองทพั ฝรง่ั เศสเสรี • ปฏิบัติการบารบารอสซา: กองทัพเยอรมนีและพันธมิตรฝายอักษะ • ปฏบิ ตั กิ ารขวานศึกเพือ่ พยายามปลดปลอยการปดลอ มโท รุกรานสหภาพโซเวียต โดยแบงการโจมตีออกเปนสามทาง พุง รบรุคประสบความลมเหลว กองทัพอังกฤษพายแพครั้ง เปาหมายไปยังนครเลนินกราด กรุงมอสโกและแหลงน้ํามันแถบ ใหญทีช่ อ งเขาฮัลฟายา เทือกเขาคอเคซัส; กองทัพเยอรมันบางสวนไดรับอนุญาตใหใช ดินแดนฟน แลนดในการโจมตสี หภาพโซเวยี ต • ส ถ า น ก ง สุ ล ข อ ง เ ย อ ร ม นี แ ล ะ อิ ต า ลี ท้ั ง ห ม ด ใน สหรัฐอเมรกิ าถูกปด และทูตของท้งั สองประเทศถกู ส่ังขับ • ฮังการีและสโลวาเกียประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียต; สหภาพโซเวียตท้ิงระเบิดกรุงเฮลซิงกิ ฟนแลนดประกาศ สงครามตอสหภาพโซเวยี ต สงครามตอเน่อื งเร่ิมตนขึ้น • อัลเบเนยี ประกาศสงครามกบั สหภาพโซเวยี ต NOTE พฒั นาคือมนุษย อดทนคือความสาํ เร็จ …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

เดือนกรกฎาคม 1941 วนั ท่ี • กองทัพเยอรมันยึดครองกรุงรีกา เมืองหลวงของลัตเวีย • สตาลินประกาศ \"นโยบายเผาใหร าบ\" • กองทพั เยอรมนั เคลอื่ นทพั ถงึ แมน ้ําดไนเปอร • ไอซแ ลนดถูกยดึ ครองโดยสหรฐั อเมรกิ า • ยูโกสลาเวียถกู ผนวกเขา กบั ประเทศตา ง ๆ ทีเ่ ปนฝา ยนยิ มอกั ษะ • กองทัพแพนเซอรย ดึ เมืองมนิ สค และเปด ทางไปสยู เู ครน • กองทัพเยอรมันแบงเลนินกราดออกจากสวนที่เหลือของสหภาพ โซเวยี ต • อังกฤษและสหภาพโซเวียตลงนามในขอตกลงปองกันรวมกัน โดยใหสัตยาบันวาจะไมลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพแยก ตางหากกับเยอรมนี • กองกาํ ลงั วิชีฝร่งั เศสยอมจาํ นนในซเี รีย • กองทัพแดงโจมตีโตแถบเลนินกราด • ไดมีการลุกฮือขึ้นในมอนเตเนโกรเพื่อตอตานฝายอักษะ หลงั จากเกดิ การลกุ ฮอื ของพวกนยิ มกษตั ริยในเซอรเบยี • กองทัพญปี่ นุ ยดึ ครองอินโดจนี ของฝร่งั เศส • อิหรานถูกยึดครองโดยอังกฤษและสหภาพ โี NOTE ความสาํ เร็จไมไดว ดั ท่ี เกรดแตว ดั ท่ีความ ……………………………………………………………… ตงั้ ใจ ใสใจและพยาม ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

• สหรฐั อเมรกิ าประกาศหามสงน้ํามนั ใหแ กญป่ี นุ เดือนสงิ หาคม 1941 วนั ท่ี • ทหารโซเวียตถกู ลอมโดยทหารเยอรมันทีส่ โมเลนสก และจับ เชลยศกึ ไดกวา 300,000 นาย เมืองโอเรลถูกยดึ • เยอรมนยี ึดเมอื งสโมเลนสก • รัฐบาลอังกฤษและสหรัฐอเมริกาเตือนญี่ปุนไมใหรุกราน ไทย • กฎบัตรแอตแลนตกิ ไดรบั การลงนาม • ฮิตเลอรยายกําลังบางสวนจากกองทัพกลุมกลางไปชวย • กองทัพเยอรมันเคลื่อนประชิดนครเลนินกราด ประชาชน กองทัพกลุมเหนอื และกองทพั กลุมใต รบี สรางเครือ่ งกดี ขวางขาศกึ • กองทัพอังกฤษและกองทัพโซเวียตรกุ รานอิหรานเพื่อยึดครอง • เครือ่ งอนิ ิกมาอกี เคร่อื งหน่งึ ถกู ยดึ แหลงนํ้ามันอบาดาน และทางรถไฟสายสําคัญซ่ึงสามารถ ขนสง ทรัพยากรนํา้ มันใหแกสหภาพโซเวยี ตได NOTE เพราะอเมริกาหามขนสง น้ํามัน ใหญ่ปี ุนจงึ เกิดเปน ปฏิบัติการกา …………………………………………………………… …………………………………………………………… มกิ าเซข้นึ เพื่อทําลายฐาน …………………………………………………………… ทัพเรือเพิลฮารเ บอร ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

• ดวยความชวยเหลือจากกองทัพฟนแลนด เลนินกราดถูก เดือนกันยายน 1941 • การปดลอมเลนินกราดเริ่มตนขน้ึ วนั ที่ • กองทัพเยอรมันยึดเคียฟ สหภาพโซเวียตสูญเสียทหาร • เยอรมนยี ึดครองเอสโตเนีย จาํ นวนมากในการปอ งกันนคร • กองทพั เยอรมนั ลอ มเคยี ฟ • เยอรมนรี บท้ัง 2 ฝง ทัง้ กบั สมั พันธมิตร และ สหภาพโซเวยี ต • เยอรมนีเปดเผยการประกาสสงครามกับสหภาพโซเวียต อยางเปนทางการ NOTE งานเขาเยอรมนแี ลวทุกคนรบ 2 ทางแบบนีผ้ ลจะเปนอยางไรมา …………………………………………………………… …………………………………………………………… ตดิ ตามกันนะครบั …………………………………………………………… ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

• ปฏิบัติการไตฝุน: กองทัพกลุมกลางของเยอรมนีเริ่มการ เดือนตลุ าคมคม 1941 โจมตีกรุงมอสโกเต็มข้ัน นายพลเกออรกี จูคอฟเปนผู วันที่ บัญชาการกองทัพโซเวยี ตปองกันกรงุ มอสโก • มหาตมะ คานธีเริ่มการตอตานการปกครองของอังกฤษใน • ในการรุกรานไปทางตอนใตของสหภาพโซเวียต กองทัพ อนิ เดีย เยอรมนั ไปถงึ ทะเลอซอฟและสามารถยดึ เมืองมาริอพู อล • อุณหภมู ทิ ล่ี ดลงอยา งกะทนั หนั ทาํ ใหเกิดหมิ ะตกที่แนวหนา • รัฐบาลโซเวียตยายไปยังเมอื งคุยบีเชฟ ริมฝงแมนํ้าโวลกา มอสโก ทาํ ใหร ถถงั เยอรมันใชการไมไ ด แตสตาลินยังคงอยูในกรุงมอสโก สวนประชาชนในกรุง มอสโกเตรียมสรางกับดักรถถังเพ่ือรับมือกับกองทัพ • กองกําลังเสริมของกองทัพแดงจากไซบีเรียเดินทางมาถึงกรุง เยอรมนั มอสโก • นายพลฮิเดกิ โตโจ เปนนายกรัฐมนตรีคนที่ 40 ของญปี่ ุน • กรงุ มอสโกอยภู ายใตก ฎอยั การศกึ • เมืองรอสตอฟ-ดอน-วอนถูกยึดครองโดยกองทัพ • กองทพั นวิ ซีแลนดยกพลขน้ึ บกในอียิปตและยึดคา ยคาพสุ โซ เยอรมนั • การเจรจาระหวางสหรัฐอเมริกาและญ่ีปุนมีทีทาวาจะประสบ • เกิดการรบคร้ังใหญในลิเบีย รอมเมลพยายามตอตาน ความลมเหลว \"ปฏิบัตกิ ารนกั รบศกั ดิ์สิทธิ์\" ใกลก บั เมืองโทรบรคุ • เมืองคารคอฟถูกยึดครองโดยกองทพั เยอรมนั มหาตมะ คานธี คอื ใคร • กองทัพอติ าลกี องสดุ ทายยอมจาํ นนในเอธโิ อเปย กันนะ รูไ หมเอย • กองทัพกลุมใตเคล่ือนทัพไปจนถึงเมืองซาเวสโตปอล ในคาบสมุทรไครเมีย แตกองทัพเยอรมันไมมีรถถังใน การบกุ • ประธานาธิบดีโรสเวลตอนุมัติเงินกวา 1 พันลานดอล ลา รสหรฐั ตามนโยบายใหเชา -ยืม ใหแกสหภาพโซเวยี ต

• กองทัพเยอรมนั ยดึ เมืองเคริ สก เดือนพฤศจิกายน 1941 • ยุทธการแหงมอสโก: อุณหภูมิใกลกรุงมอสโกลดตํา่ ลงถงึ วันที่ -12 °C ทหารสกถี กู สงออกไปโจมตกี องทัพเยอรมัน • ผูนําโซเวียต โจเซฟ สตาลิน กลาวคําปราศรัยตอประชาชน • อังกฤษย่ืนคําขาดใหฟนแลนดยกเลิกสถานะสงครามกับ โซเวียตเปนครง้ั ท่ีสองระหวางการปกครองนานสามทศวรรษ สหภาพโซเวียต หรืออาจตองเผชิญหนากับฝาย • ปฏิบัติการนักรบศักด์ิสิทธิ์: กองทัพอังกฤษเคล่ือนทัพขาม สมั พนั ธมติ ร ลิเบีย และสามารถปลดปลอยการปดลอมโทรบรุคได • ญ่ีปุนสงเรือรบ 33 ลํา เรือสนับสนุนและเรือบรรทุกเคร่ืองบิน ชั่วคราว อีก 6 ลํามุงหนาจากญ่ีปุนมายังหมูเกาะฮาวาย คําขาดใน จดหมายฮลู ถูกสง ไปยังญี่ปนุ • สหรัฐอเมริกาอนุมัตินโยบายใหเ ชา -ยมื ใหแกฝ ร่งั เศสเสรี • กองทัพเยอรมันรุกเขาไปในอียิปตเปนระยะทางกวา 15 กโิ ลเมตร NOTE ญป่ี นเตรียมพรอมยดึ เอเชยี แบบ ทะลุทะลวง ท้ังเกาะกวม ไทย …………………………………………………………… มาลายา และเวยี ดนามกับกลุม …………………………………………………………… …………………………………………………………… เวยี ดมินท ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

• การเกณฑทหารของอังกฤษครอบคลุมชายทุกคนท่ีมีอายุ เดอื นธนั วาคม 1941 ระหวาง 18-50 ป สวนหญิงจะถูกจัดสรรเขาสูหนวย วนั ที่ ดบั เพลิงหรอื กองกาํ ลังสนบั สนนุ การรบ • กองทัพเยอรมนีอยูหางจากกรุงมอสโก 11 ไมล กองทัพโซ • ญปี่ ุน โจมตีไทย มาลายา และโจมตที างอากาศท่เี พริ ล ฮารเ บอร เวียตตีโตในชวงท่ีเกิดพายุหิมะครั้งใหญ; สหราชอาณาจักร เกาะกวม เกาะเวก ญ่ีปุนประกาศสงครามตอสหรัฐอเมริกา ประกาศสงครามกับฟน แลนด และสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ ฮองกง สิงคโปร ฟลิปปนส และเซ่ียงไฮถ ูกโจมตีทางอากาศดวยเชนกัน แคนาดาประกาศ • \"กฤษฎีการาตรีและหมอก\" ของเยอรมนีมีผลบังคับใช มี สงครามกับญี่ปุน; สํานักงานยุทธศาสตรไดสรางพันธมิตรกับ จดุ ประสงคเ พือ่ กําจัดการตอ ตานลทั ธินาซีในยโุ รปตะวนั ตก โฮจมิ นิ หและกองโจรเวยี ดมนิ ห • จีนและออสเตรเลยี ประกาศสงครามตอญ่ปี นุ • สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เนเธอรแลนดและ นิวซีแลนดประกาศสงครามตอญี่ปุน; กองทัพญ่ีปุนยึดหมู • โรมาเนียและบัลแกเรียประกาศสงครามตอสหรัฐอเมริกา เกาะกิลเบริ ต และสหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร • เยอรมนีและอิตาลีประกาศสงครามตอสหรัฐอเมริกา ประกาศสงครามตอบ; อินเดยี ประกาศสงครามตอญี่ปุน ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก าป ร ะก า ศส งคร า มต อ บ; ก อ งทั พ • กองทัพเยอรมันลาถอยไปยังแนวกาซาลา สหรัฐอเมริกาสามารถขับไลก ารยกพลขึ้นบกท่ีเกาะเวค; • ญี่ปนุ รกุ รานเกาะบอรเนยี ว ญี่ปนุ รุกรานพมา • การรุกกรุงมอสโกหยุดชะงักลงอยางสมบูรณสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจกั รประกาศสงครามตอบ • ฮงั การีประกาศสงครามตอสหรฐั อเมริกาและสหราชอาณาจักร สหรัฐอเมรกิ าและสหราชอาณาจกั รประกาศสงครามตอบ • ยทุ ธการแหง ซาเวสโตปอลเริม่ ตน • ญี่ปุนยกพลขนึ้ บกบนเกาะฮองกง • ฮิตเลอรขึ้นเปน ผูบ ัญชาการทหารสงู สดุ แหงกองทพั เยอรมนั • ฮอ งกงยอมจาํ นนตอกองทัพญี่ปุน NOTE • พลรมญป่ี ุนถูกสงไปยงั เกาะสมุ าตรา ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

เดือนมกราคม 1942 • กอตั้ง \"สหประชาชาติ\" โดยมีฝายสัมพันธมิตร 26 วันท่ี ประเทศรวมลงนามในการประกาศตอตานฝายอักษะ เปนครั้งแรกท่ีมีการใชคําวา \"สหประชาชาติ\" แทน • มะนิลาถูกญี่ปุนยึดไวได; ทหารอเมริกันลาถอยไปยัง ความหมายของฝายสมั พนั ธมิตร คาบสมุทรบาตาน • กองทัพแดงเร่ิมการรุกคืบคร้ังใหญภ ายใตการนําของนาย • ประธานาธบิ ดโี รสเวลตใ หค ําสญั ญาจะชว ยเหลอื อังกฤษมาก พลเกออรก ี จคู อฟ ขึน้ ท้งั ดานเครอ่ื งบนิ และกําลงั ทหาร • ญ่ีปุนยึดกัวลาลัมเปอรและมาลายา; ญี่ปุนประกาศ • มอลตาถกู ทงิ้ ระเบดิ ขนานใหญ ประมาณวา ปริมาณระเบดิ สงครามกับเนเธอรแลนด และโจมตีหมูเกาะอินเดีย ท่ที ้ิงบนเกาะคราวนี้มากเปน สองเทาของเมื่อคร้ังโจมตีกรุง ตะวนั ออกของดตั ช ลอนดอน • ญ่ีปุนจับตัวทหารชาวอังกฤษจํานวนมากเปน นกั โทษในสงิ คโปร • ญป่ี นุ รกุ รานอนิ โดนีเซยี ยกพลข้ึนบกท่ีเกาะเซลีเบส • กองเรอื อูของเยอรมนเี ขา ใกลช ายฝงสหรฐั อเมรกิ า NOTE • ทัพอเมริกันขึ้นเกาะซามัว ซึ่งเปนสวนของแผน ปองกันการรุกคืบของญ่ีปุนในสงครามมหาสมุทร …………………………………………………………… แปซิฟก …………………………………………………………… …………………………………………………………… • ประเทศไทยประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกา ……………………………………………………………. และสหราชอาณาจักร; ทัพญี่ปุนรุกรานหมูเกาะ ……………………………………………………………. โซโลมอน ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. • ทัพอเมริกันกลุมแรกไปถึงยุโรป โดยข้ึนฝงทางดาน เหนือของไอรแลนด • กองทัพองั กฤษถอนกําลังทงั้ หมดไปยังสิงคโปร • บราซิลตดั สมั พนั ธก บั ฝา ยอักษะ • ฮิตเลอรปราศรัยที่เบอรลิน สปอรต พาเลซเกี่ยวกับการ ทําลายลา งชาวยิว รวมถึงแจงวา ความลมเหลวในการบกุ โซ เวียตเนอื่ งมาจากสภาพอากาศไมดี • เยอรมนั ถอนทัพจากแนวรบดานตะวันออกหลายจุด

เดือนกุมภาพันธ 1942 • กองทัพเยอรมันภายใตการบัญชาการของนายพลรอม วนั ที่ เมลยดึ เมืองเอล กาซาลาทช่ี ายแดนลิเบยี • นายพลโจเซฟ สติลเวล ไดเปนหัวหนาท่ีปรกึ ษาของเจียง ไค เช็ค ผบู ญั ชาการสูงสดุ ของกองทพั สมั พนั ธมติ รในประเทศจีน • กองทัพอากาศญ่ีปนุ มงุ ไปโจมตเี กาะชวา • กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจากเคิรสค • ผูนําทางทหารของสหรัฐอเมริกาประชุมอยางเปนทางการ ซง่ึ เปน จดุ ยทุ ธศาสตรสาํ คัญในแผนการของเยอรมนี ครั้งแรกเกี่ยวกบั ยทุ ธศาสตรของกองทัพสหรฐั อเมรกิ า • ทัพอังกฤษเสริมกาํ ลงั พลไปยังสิงคโปรเพอื่ เตรยี มการตอ สู คร้งั สดุ ทาย • สิงคโปรยอมจํานนตอญปี่ ุน เปนความสูญเสียครั้งใหญ ของกองทัพอังกฤษ • \"การตฝี า ชอ งแคบ\" เรอื ประจัญบานเยอรมัน ชารนฮอรช ตและไก เซเนา พรอมดวยเรือลาดตระเวนหนัก พรินซ ยูจีน ไดแลนออก จากแบร็สตผานชองแคบอังกฤษเพื่อไปท่ีทาเรือตอนเหนือ รวมทั้ง Wilhelmshaven เยอรมนี หนวยกองเรืออังกฤษได ลมเหลวในการจมเรือของพวกเขา • เรือบรรทุกอากาศยาน ยูเอสเอส ซาราโตกา ไดโจมตีทําลายเรอื ดําน้ําของญปี่ นุ ที่ช่อื วา I-6 ดว ยระยะหาง 480 ไมล ทางตะวนั ตก เฉียงใตข องเพิรลฮารเบอร • แคนาดาประกาศเกณฑทหาร • กองทัพอากาศญป่ี ุน โจมตีดารวิน NOTE • กองทัพญ่ีปุนขามแมนํ้าสาละวิน; ญ่ีปุนรุกราน บาหลแี ละตมิ อร ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… • ประธานาธิบดีโรสเวลตออกคําส่ังใหนายพลดักลาส ……………………………………………………………… แมกอาเธอรถอนตวั ออกจากฟลิปปน ส …………………………………………………………….. ……………………………………………………………. • เรือดําน้ําญ่ีปุนไอ-17 โจมตีแผนดินใหญสหรัฐอเมริกา ……………………………………………………………. ไดเปนครั้งแรก โดยถลมโรงกลั่นน้ํามันในเอลวูด รัฐ ……………………………………………………………. แคลฟิ อรเ นีย • การกักตัวพลเมืองชาวอเมริกัน-ญ่ีปุนเริ่มตนข้ึนใน สหรฐั อเมรกิ าจากความวติ กที่เพ่มิ มากข้ึน

• การรุกของกองทัพแดงในคาบสมทุ รไครเมยี เริ่มตน ขนึ้ เดอื นมีนาคม 1942 • นายพลดักลาส แมกอาเธอรไดรบั คําส่ังใหถอยออกจาก วันที่ ฟลิปปนส เขาไดกลาวถอยคําที่เปนท่ีจดจําเอาไววา • ไดมกี ารออกกฎหมายการเกณฑทหารฉบบั ใหมในสหราช \"แลวผมจะกลบั มา\" (I shall return.); กองทัพญี่ปุนยก อาณาจกั ร ซึง่ รวมไปถึงชายหญิงทุกคนจนถึงอายุ 45 ป พลขึน้ บกบนเกาะมนิ ดาเนา • 6: ญ่ปี ุน ตีเมอื งยา งกงุ แตก • กองทพั ญ่ีปนุ ยกพลข้นึ บกบนหมูเกาะโซโลมอน • นายพลแมกอาเธอรเ ดนิ ทางมาถงึ ออสเตรเลยี • กองทัพอากาศหลวงไดถูกสงไปโจมตีฉาปฉวยท่ีลือเบค • กองทัพอากาศอังกฤษสง เคร่ืองบินไปทําลายเปาหมายหลายแหง ใน เมืองไดถูกทําลายไปกวา 30 % และศูนยกลางยุคกลาง ฝรงั่ เศสและเยอรมนี 80% ทําใหฮิตเลอรโ กรธเปน อยางมาก • ชาวยวิ ในกรุงเบอรลนิ ตองระบุบานของพวกเขาไวอ ยา งชัดเจน • หนวยคอมมานโดอังกฤษไดเริ่มปฏิบัติการแชรเรียท (Operation Chariot ) โจมตีบนทาเรือที่แซ็ง-นาแซร NOTE ฝร่ังเศส เรือ HMS Campbeltown ท่ีบรรจุไปดวยระเบิด ……………………………………………………………… แบบสายชนวนตั้งเวลา, ไดพุงชนประตูเทียบทาเรือและ ……………………………………………………………… หนวยคอมมานโดไดทําลายสวนอื่นๆของพ้ืนท่ีทางทะเล ……………………………………………………………… ทาเรือไดถูกทําลายอยางส้ินเชิงและไมสามารถใชงานได …………………………………………………………….. จนถงึ ป ค.ศ. 1947 อยางไรกต็ าม จํานวนราวประมาณสอง- ……………………………………………………………. สามสว นของกองกาํ ลงั จโู จมตอ งพบกับความสูญเสีย ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

• กองทัพผสมอเมริกัน-ฟลิปปนสถูกปดลอมท่ีคาบสมุทร วนั ที่ เดือนเมษายน-พฤษภาคม 1942 บาตาน; กองทัพญี่ปุน ยกพลขึ้นบกทเี่ กาะนวิ กนิ ี • กองทัพเรือแหงจักรวรรดิญ่ีปุนโจมตีกรุงโคลัมโบ • กองทัพเยอรมันเริ่มการบุกในคาบสมุทรไครเมยี บนเกาะศรลี ังกา • กองทัพญี่ปุนยึดครองคาบสมุทรบาตาน เชลยศึกฝาย สัมพันธมิตรถูกบังคับในเดินเทาไปยังคายกักกันทาง ตอนเหนือ • กองทัพญีป่ ุน ยกพลขึ้นบกทเ่ี กาะเซบู • แมนดาเลและเมืองทาอ่ืน ๆ ในพมาอยูภายใตก ารยึดครอง ของญี่ปนุ • กองทัพโซเวยี ตเริ่มตนการโจมตคี ร้งั ใหญที่เมอื งคารคอฟ • ยทุ ธนาวที ะเลคอรอลเรมิ่ ตน ข้ึน • กองทัพอังกฤษเร่ิมตนปฏิบัติการไอรอนแคลด: เร่ิมการ บุกมาดากัสการของวิชีฝร่ังเศส เพ่ือปองกันการโจมตี จากจักรวรรดญิ ปี่ ุน • ญป่ี นุ ยดึ ครองพมา อยา งสมบรู ณ NOTE • เม็กซิโกประกาศสงครามกับฝา ยอักษะ • ไดมีการลงนามในสนธิสัญญาอังกฤษ-โซเวียต โดยทั้งสอง ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ฝายตกลงวาจะไมมีการลงนามเปนพันธมิตรกับชาติใด ๆ ……………………………………………………………… โดยตอ งไดรบั การรับรองจากอีกฝายหน่ึงเสยี กอ น ……………………………………………………. ……………………………………………………………. • กองทพั เยอรมนั ไดร บั ชัยชนะท่เี มืองคารคอฟ ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

เดอื นมิถนุ ายน-กรกฎาคม 1942 วนั ที่ • ยทุ ธนาวีแหงมดิ เวยเ ริ่มตนข้ึน • สหรัฐอเมริกาประกาศสงครามกับบลั แกเรยี ฮังการี และโรมาเนยี • กองทพั เยอรมนั ขับไลกองทัพสัมพันธมิตรออกจากแนวกาซาลา • กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคคืนได กองทัพ • โครงการแมนฮัดตันถูกกอตั้งข้ึน ซ่ึงไดนําไปสูการผลติ อังกฤษลา ถอยไปยังอยี ิปตด วยขวัญกาํ ลงั ใจท่ตี กต่ํา ระเบิดปรมาณูในเวลาตอ มา • กองทัพเยอรมันมงุ หนา ไปยังเมอื งรอสตอฟ • กองทัพอังกฤษลาถอยไปยังเมืองเอล อาลาเมน ซึ่งอยูหาง • ปฏิบัติการสีนํ้าเงินเร่ิมตนข้ึน โดยมีเปาหมายที่จะยึด จากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล เพ่ือเตรียมตัวตอสูคร้ัง สุดทา ย ครองสตาลนิ กราดและเทอื กเขาคอเคซสั • กองทพั เยอรมนั เคลื่อนทัพมาถงึ เอล อาลาเมน • ยุทธการแหงเอล อาลาเมนครั้งท่ีหนึ่งเริ่มตนขนึ้ ในสงครามโลกคร้งั ที่ 2 เมื่อนายพลรอมเมลเร่ิมการโจมตีแนวตง้ั รับของ เกิดองคการสหประชาชาติ อังกฤษเปนครั้งแรก ข้ึนเปน คร้งั แรก • กองทัพเยอรมนั สามารถยึดเมืองซาเวสโตปอลได สําเร็จ เปนการยุติการรบตานทานของทหารโซ เวียตในคาบสมุทรไครเมยี NOTE • กองทัพญปี่ ุนยึดเกาะกวั ดาคาแนล • กองทัพเยอรมันหยุดชะงักที่เอล อาลาเมน เน่ืองจาก ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ขาดแคลนเครอื่ งกระสนุ ……………………………………………………………… • กองทัพเยอรมันยึดเมืองรอสตอฟ-ดอน-วอน ………………………………………………………………. ……………………………………………………………. กองทพั โซเวยี ตลาถอยไปตามแมน ํ้าดอน ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

เดือนสิงหาคม-กนั ยายน 1942 • ยุทธนาวีเกาะซาโวเกิดข้ึนใกลกับเกาะกัวดาคาแนล วันที่ เรือรบฝายสัมพนั ธมติ รไดร บั ความเสียหายจํานวนหนึ่ง • มหาตมะ คานธถี กู จับกมุ ตวั เนือ่ งจากการกอจลาจล • พลโท เบอรนารต มอนโกเมอรี ไดรับแตงตงั้ ใหเปนผูบ ัญชาการ ในอนิ เดยี กองทัพที่แปดแหง สหราชอาณาจกั รในแอฟริกาเหนอื • บราซิลประกาศสงครามกับประเทศฝายอักษะจํานวน • จอมพล เกออรกี จูคอฟ ไดรับแตงต้ังใหเปนผูบัญชาการ 6 ประเทศ การปองกันในนครสตาลินกราด; สตาลินกราดถูกท้ิง ระเบดิ อยางหนกั จากกองทพั อากาศเยอรมนั • ยุทธการแหงอลาม เอล ฮัลฟา ไมไกลจากเอล อาลาเมน • นครสตาลินกราดถูกปดลอมโดยกองทัพเยอรมัน; นายพล เกิดขึ้น เปนความพยายามท่ีจะเจาะทะลุแนวปองกันของ วาซิลี ซุยคอฟ ไดร ับแตง ตัง้ ใหบ ัญชาการการปองกันเมือง องั กฤษ • ลักเซมเบริ ก ถูกผนวกเขากับเยอรมนีอยางเปน ทางการ • กองทัพเยอรมันบางสวนถูกผลักดันออกไป ทหาร โซเวียตสง กําลงั ขามแมน ํา้ โวลกาในยามค่าํ คนื • นายพลรอมเมลถกู สง กลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว NOTE ในอินเดีย มีการตอสแู บบ ใหมข น้ึ นน่ั คอื สันติอหิงสา ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… นาํ โดย มหาตมะ คานธี ……………………………………………………………… ………………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

เดือนตุลาคม 1942 วันที่ • ยุทธนาวีแหงแหลมเอสเปอเรนซ ทางชายฝงดาน • การรุกของกองทัพเยอรมันในสตาลินกราด ตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะกัวดาคาแนล กองทัพเรือ หยดุ ชะงกั สหรัฐอเมริกาสามารถขัดขวางการเสริมกําลังทางเรือ ่ไ • การเกณฑทหารในสหราชอาณาจักรถูกจํากัดอายุลง เหลือ 18 ป • ฮติ เลอรออกคําส่งั คอมมานโด โดยใหประหารหนวยคอมมานโด ของฝา ยสัมพนั ธมติ รทถี่ กู จับไดในทนั ที • นายพลรอมเมลถูกสงกลับไปบัญชาการรบท่ีเอล อาลาเมน แมวา จะยังไมห ายจากอาการเจบ็ ปว ย • ยุทธการแหงเอล อาลาเมนคร้ังที่สองเริ่มตนขึ้น ฝาย สัมพันธมิตรทง้ิ ระเบดิ ทต่ี งั้ ของกองทพั เยอรมนั อยา งหนัก • ยทุ ธนาวีแหงซานตา ครซู เริม่ ตนข้นึ • ฝายญป่ี ุน ไดเ สรมิ กําลงั ของตนไปยังเกาะกวั ดาคาแนล • ยานเกราะฝายสัมพันธมิตรเจาะผานแนวต้ังรับของ เยอรมนี ทุง ระเบดิ ไมป ระสบผลในการรุกคร้งั นี้ NOTE อติ าลี พา ยแพใ นป ซง่ึ ผูน ําอยา ง เบนโิ ต มโุ สลินี ก็ถกู ประหาร ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ดวยการแขวนคอ ……………………………………………………………… ………………………………………………………………. เดือนพฤศจิกายน 1942 ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

• ฝายสัมพันธมิตรเร่ิมตีฝาออกจากเอล อาลาเมนของ วันที่ ญี่ปนุ ได • กองทพั เยอรมนั ลาถอยจากเอล อาลาเมนในยามค่าํ คืน • ปฏิบัติการคบเพลิง: ทหารฝายสัมพันธมิตรยกพลข้ึนบก • นาซีเยอรมนีรกุ รานวชิ ีฝรั่งเศส เน่ืองจากไดมีการลงนาม ทีอ่ ัลจเี รียและโมรอ็ กโก ขอ ตกลงหยดุ ยงิ กบั ฝา ยสัมพันธมติ ร • กองทัพท่แี ปดแหง สหราชอาณาจกั รปลดปลอ ยนครโทรบรุค • พลโทมอนโกเมอรีเร่ิมตนการบุกท่ีโซลลุมตามแนว • กองทัพโซเวียตภายใตก ารบัญชาการของจอมพล เกออร กี จูคอฟ เร่ิมตน ปฏิบัติการยูเรนัส โดยมีเปาหมายเพื่อ ชายแดนลิเบยี -อยี ิปต; เขาไดรับแตง ตง้ั ใหเ ปน อศั วนิ และ โอบลอมกองทัพเยอรมันในสตาลนิ กราด เล่อื นยศขนึ้ เปน พลเอก • แมวากองทัพเรือสหรัฐอเมริกาจะประสบความสูญเสียใหญ หลวงในยุทธนาวีรอบเกาะกัวดาคาแนล แตยังคงควบคุม นานน้าํ ไดอยู • กองทัพอังกฤษมุงหนา ตอ ไปยงั ตนู เิ ซีย • กองทัพเยอรมันถูกปดลอมที่นครสตาลินกราด; ฮิต เลอรส่งั ใหน ายพลพอลลสั หา มถอยออกจากนคร NOTE เดนิ ทางมาถึงชว งทีแ่ ตละประเทศ เองก็เจ็บหนกั พอสมควรกับการสรู บ ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ในสงครามแลวนะครบั ……………………………………………………………… ………………………………………………………………. ……………………………………………………………. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

เดอื นมกราคม 1943 • ชาวญ่ีปุนอพยพออกจาก บูนา นิวกีนี ไดอยางสมบรู ณ วนั ท่ี หลังจากตอสูยืดเย้ือดุเดือดกวาสองเดือน แสดงใหเห็น ถงึ ความผดิ พลาดของแผนปฏบิ ตั ิการของสหรัฐฯ • ทพั ญี่ปนุ ยกพลขึน้ บกเพ่ิมเติมท่ี Lae นวิ กนี ี • ทัพโซเวียตเร่ิมการโจมตีคร้ังใหมท่ีสตาลินกราด และเร่ิม การโจมตีใหมทางเหนือ (เลนินกราด) รวมถงึ คอเคซัส • การประชุมท่ีคาซาบลังกา ระหวางเหลาผูนําฝาย • สหภาพโซเวยี ตรบี ประกาศลว งหนาวา การปดลอมเลนินกราด สัมพนั ธมิตรเรม่ิ ตน ขึน้ เชอรชลิ ล กบั โรสเวลต หารือ ไดรับการปลดปลอยแลว เพื่อหาขอสรุปผลการรุกรานแผนดินใหญของยุโรป การรุกรานซิซิลีและอิตาลีท่ีกําลังจะเกิดข้ึน และ • ทัพอังกฤษเรมิ่ ตน การรกุ รานใหมยงั ทริโปลี ขอ ตกลงวาดว ย \"การยอมจํานนโดยไมมเี ง่ือนไข\" • อิรกั ประกาศสงครามกบั ฝายอักษะ • กองทัพอากาศอังกฤษเริ่มตนการโจมตีทิ้งระเบิดใสกรุง • ญ่ีชาวยิวในกรุงวอรซอวลุกฮือข้ึนเปนคร้ังแรก เปน จุดเร่มิ ตนของการกอจลาจลในโปแลนด เบอรล ินติดตอ กนั สองคนื • ชาวเมืองเลนินกราดไดรับการปลดปลอยจากกองทัพ • นายพล กิออรก้ี ชูคอฟ ไดเลื่อนข้ันเปนจอมพล โซเวยี ต เนื่องจากการโจมตีสตาลนิ กราดใกลส้นิ สุด • ทพั สัมพนั ธมิตรยดึ ทริโปลี ในลเิ บียไวได • สนามบินแหง สดุ ทายในสตาลินกราดถูกกองทพั • ทัพญ่ีปุนยังคงตอสูท่ีเกาะกัวดาคาแนล แตดูจะยกเลิก แดงยึดครองได ทําใหกองกําลังทางอากาศไม ส า ม า ร ถ ส ง เ ส บี ย ง ส นั บ ส นุ น ใ ห แ ก ก อ ง ทั พ การปฏิบัตกิ ารปาปว แลว เยอรมันไดอีก ฮิตเลอรยังคงส่ังการใหพอลลัส ทาํ การรบตอ • กองทัพแดงไดรับชัยชนะตอเนื่องท่ีคอเคซัส และเขายึด Vitebsk ไวไ ด • กองทัพเยอรมนั ในสตาลนิ กราดใกลจ ะพายแพ • กองกาํ ลังฝรงั่ เศสยกเขา ทรโิ ปลี

เดอื นมกราคม 1943 • เคร่ืองบินรบอเมริกัน 50 ลําเร่ิมการโจมตีเยอรมนี วันที่ (เปาหมายแรกคือ Wilhelmshaven ซ่ึงเปนฐาน ทพั เรอื ทใี่ หญทีส่ ุด) • เยอรมนีเร่ิมเกณฑทหารใหมอีกรอบ โดยเปดรับ ชายอายุระหวา ง 16 ถึง 35 และหญิงอายุระหวา ง • ยุทธนาวีท่ีเกาะเรนเนล (The naval battle of Rennel 17 ถงึ 45 Island) ใกลก บั เกาะกวั ดาคาแนล เรอื รบชคิ าโกอบั ปาง • ญี่ปุนอพยพออกจากเกาะกัวดาคาแนล ไดหมดดวยแผนอพยพ • การโจมตเี บอรล นิ ติดตอกันอีกครงั้ โดยกองทัพอากาศอังกฤษ ท่ชี าญฉลาดโดยทางฝายอเมริกันไมส ามารถตรวจจับได • กองกําลังสวนใหญของกองทัพท่ี 6 ของเยอรมนี ท่สี ตาลนิ กราด รวมทั้งจอมพลพอลลสั ยอมจํานน เชอ่ื หรอื ไมครบั วา สัญลักษณและธง ชาตเิ ยอรมนี แบบน้คี ือสัญลกั ษณ แหง ความตายในสงครามโลกครั้งท่ี 2 NOTE ....................................... ....................................... ....................................... .......................................

เดือนกมุ ภาพนั ธ 1943 • การรบท่ีสตาลนิ กราดส้ินสดุ ลงโดยการยอมจํานนอยาง วันที่ เปนทางการของกองทพั ที่ 6 แหง เยอรมนี • ฝา ยสมั พนั ธมติ รยดึ ครองลิเบียไวไ ดโ ดยสมบูรณ • รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนิเซีย และเร่ิมสรางแนว • Essen ถูกทิ้งระเบิด เปนจุดเร่มิ ตนการโจมตีกวา ปองกันใหมท่ี Mareth กองทัพสัมพันธมิตรเคลื่อนพล ไปยังตนู เิ ซยี เปนครั้งแรกภายในเวลา 2 วัน 4 เดือน ตอเขตอุตสาหกรรมในแควน Ruhr เยอรมัน • มีการประกาศในสหรฐั อเมรกิ าวาจะมีการปนสว นรองเทา เร่ิมตนในอีก 2 วนั ขา งหนา • กลมุ Chindits ภายใตก ารบญั ชาการของแมทัพอังกฤษ Orde Wingate เริ่มตน การรุกรานพมา • เกาะกัวดาคาแนลถูกยึดครองโดยสมบูรณ นับเปน ความสําเร็จครั้งแรกสุดของกองทัพอเมริกัน ใน • เนอิ รนแบรก ถูกทงิ้ ระเบดิ อยา งหนัก สงครามมหาสมุทรแปซฟิ ก • นายพลแหงกองทัพสหรัฐฯ ดไวท ดี. ไอเซนฮาวร ไดรับ • การรบที่เคิรสค (The Battle of Kursk) เร่ิมตนข้ึน เลือกใหบญั ชาการกองทัพสัมพนั ธมติ รในทวปี ยุโรป กองทัพแดงเขายึด Belgorod • จอมพลรอมเมลเริ่มการตีโตตอกองทัพอเมริกัน • มิวนิกและเวียนนาถูกท้ิงระเบิดอยางห นั ก ในทางตะวันตกของตูนิเซีย เขายึด Sidi bou Zid เชน เดียวกนั กับกรงุ เบอรลนิ และ Gafsa เริ่มตนการรบที่ชองแคบแคสเซอรีน ( The Battle of the Kasserine Pass) ก อ ง กํ า ลั ง • Rostov-on-Don ไดร บั การปลดปลอ ยโดยกองทัพแดง อเมริกันซ่ึงไรประสบการณถูกบีบใหถอยทัพไปใน เวลาไมน านนกั • สหภาพโซเวยี ตไดช ยั ชนะที่ Kharkov อีกครั้ง แตตอมา ถูกตโี ตกลับออกมาในการรบท่คี ารค อฟครัง้ ทสี่ าม • การปราศรัยที่ Berlin Sportpalast โดยรัฐมนตรี • อเมริกันยึดหมูเกาะรัสเซล ซ่ึงเปนสวนหน่ึงของ ประชาสัมพันธของเยอรมนี Joseph Goebbels ได Solomons chain ไวได ประกาศ \"สงครามเบด็ เสรจ็ \" กับฝายสมั พันธมติ ร พรรค น า ซี ไ ด จั บ กุ ม บ ร ร ด า ส ม า ชิ ก ข อ ง White Rose movement และกลมุ ยวุ ชนทตี่ อตานนาซี • กลุม Chindits ตัดขาดเสนทางรถไฟระหวางเมือง มัณฑะเลย กับ Myitkyina

• Rommel ถอนกําลังกลับข้ึนไปทางเหนือจาก เดือนกุมภาพนั ธ- มีนาคม 1943 แนวปองกัน Mareth ในตนู ิเซยี วนั ที่ • เรือลําเลียงพลของญ่ีปุน 8ลํา พรอมเรือพิฆาต 4 ลํา ท่ี • เรือ SS United Victory ซึ่งเปน เรือ Victory ลําแรก ถูก เดินทางจากลาเอล สูราวาล ถูกกองบินผสมอเมริกา/ ปลอยออกมา ซ่ึงทําใหเพ่ิมความสามารถในการขนสงคนและ ออสเตรเลยี เขา โจมตแี ละจมทีช่ องแคบเดมเปอร น่นี ับเปน เสบียงขา มมหาสมุทรอยางมาก คร้ังแรกท่ีเทคนิก\"การท้ิงระเบิดแบบสะทอนผิวนํ้า\"ถูก นาํ มาใช • ปฏิบัติการกันเนอรไซด (Operation Gunnerside) ชาว นอรเวย 6 คนนําโดย Joachim Ronneberg สามารถโจมตี โรงไฟฟาพลงั นาํ้ Vemork ไดส ําเรจ็ ป ค.ศ. เปน ปท่ไี มม ีการบนั ทกึ มากเทาท่ีควรเนอ่ื งจากสงคราม เร่มิ เละเทะและนอกแบบแผน มากขึน้ บางครั้งสับสนฝายก็มี NOTE ....................................... ....................................... ....................................... .......................................

• ยุทธการ Monte Cassino เรม่ิ ตน เดือนมกราคม 1944 • กองทัพยเู ครนท่ี 1 ของกองทัพแดง บกุ เขาถึงโปแลนด วนั ที่ • การรบครั้งแรกของยุทธการ Monte Cassino ทัพอเมริกัน • กองทัพอังกฤษเขายึดครอง Maungdaw เมืองทา ประสบความลม เหลว สําคญั ของฝา ยสมั พันธมิตรในประเทศพมา • กองทัพอังกฤษในอิตาลีเดินทัพขา มแมนาํ้ Garigliano • เคานต Ciano รัฐมนตรีตางประเทศของอิตาลี และบุตรเขย ของมสุ โสลินี ถูกประหาร • ฝายสัมพันธมิตรเร่ิมปฏิบัติการ Shingle เขายึด Anzio • กองทพั แดงรุกคืบไปทางตะวนั ตกเขาสกู ลุมประเทศบอลตกิ ในอิตาลี กองทหารราบที่ 45 ของสหรัฐอเมรกิ าตา นทาน • กองทัพอากาศอังกฤษทิ้งระเบิด 2,300 ตันเหนือกรุง การโจมตีที่ Anzio อยูนานถึง 4 เดือน โดยที่กองปนของ เยอรมนั รกุ ใกลจะถึงชายหาด เบอรลิน • กองทหารราบที่ 36 ของสหรัฐอเมรกิ าในอิตาลี ไดรับความ • กองกําลังอเมริกันยกพลขึ้นบกที่หมูเกาะ Admiralty ซึ่งเปน สวนหนง่ึ ของนิวกนี ี สญู เสียอยางหนักในการพยายามขา มแมน้าํ Rapido • กองกําลังอเมริกันขึ้นบกท่ีเกาะ Kwajalein และเกาะอ่ืนๆ • ทพั สมั พันธมิตรพา ยแพใ นการพยายามขา มแมนํ้า Rapido ในหมเู กาะมารแ ชลซ่งึ อยใู นอาณัติของญีป่ ุน • กองกาํ ลังอเมรกิ ันยงั คงพยายามปองกนั หัวหาดท่ี Anzio • กองทัพสหรฐั เขา รุกราน Majuro ในหมูเกาะมารแ ชล

เดือนกมุ ภาพนั ธ-มนี าคม 1944 • การยึดครองหมูเกาะมารแชลของกองทัพอเมริกันใกล วนั ท่ี จะสมบรู ณ • แผนการบุกฝรั่งเศสของฝายสัมพันธมิตร ปฏิบัติการโอ เวอรล อรด ไดร บั การอนุมตั ิ • กลุมตอตานฟาสซสิ ตเรม่ิ การตอบโตทางตอนเหนอื ของอติ าลี • กองทัพอากาศโซเวียตโจมตีนารวา (Narva) และทําลาย • ญี่ปุนเร่ิมรุกรานเขาสูอินเดีย เกิดสงครามรอบ Imphal เปน เมอื งลงได เวลา 4 เดอื น • กองทัพแดงรุกคืบไปทางตะวันตกจาก Dnieper ในยูเครน ทาํ ใหท พั เยอรมันตองถอยทพั ไปมาก • มีการทิง้ ระเบิดใสเมืองเวียนนาอยางหนัก • กองทพั อากาศโซเวยี ตทง้ิ ระเบิดทางอากาศใสเ มือง Tallinn ทาํ ใหมผี เู สียชีวติ ราว 800 คน • ฟนแลนดป ฏิเสธขอตกลงสันติภาพของโซเวียต • แฟรงกเ ฟรตถูกท้ิงระเบดิ หนักและมีพลเรอื นเสียชีวติ จาํ นวนมาก • Orde Wingate เสยี ชวี ิตจากเครือ่ งบินตก • ทัพญีป่ ุน ถอนกาํ ลังออกจากพมา • หลายเมืองในเยอรมนีถูกทิ้งระเบิดติดตอกันเปนเวลา กวา 24 ชัว่ โมง

เดือนเมษายน 1944 • เครื่องบินท้ิงระเบิดฝายสัมพันธมิตรโจมตีเมืองบูดาเปสต วนั ท่ี ในฮังการี และเมืองบูคาเรสตในโรมาเนีย ซึ่งอยูในอาณัติ ของเยอรมนั ในเวลานัน้ • นายพล Charles de Gaulle เขาบัญชาการกองกําลัง อสิ ระของฝรงั่ เศส • ทัพญี่ปุนรุกคืบเขาท่ีราบของ Imphal โดยท่ีฝายอังกฤษไม สามารถตานทานไวได • ทัพเยอรมนั ถอนตัวออกจาก Crimea • Crimea และ Odessa ไดร บั การปลดปลอยโดยกองกําลงั โซเวยี ต • ทัพอากาศสหรัฐฯ ลงที่เมืองมินดาเนา ทางใตของ • เครื่องบินของกองทัพเรือสหรัฐฯ โจมตีนิวกีนีโดยทั่วไป ทหาร ฟล ปิ ปน ส สหรัฐฯ สามารถขึ้นยดึ Hollandia และ Aitape ทางตอนเหนอื ของ • ทัพญ่ีปุนเคลอื่ นพลเขาสแู ผน ดินจีนตอนกลาง และมงุ หนา นิวกีนีได ทาํ ใหท พั ญีป่ นุ ในนวิ กีนีถูกตัดขาดจากภายนอก ลงไปทางตะวันออกเฉียงใตของจีนซึ่งเปนฐานทัพอากาศ ขนาดใหญทที่ ัพอเมรกิ นั ต้ังมน่ั อยู • Yalta เมืองทาสําคัญทางตะวันออกเฉียงใตของ Crimea • รฐั บาล Badoglio ของอิตาลีถกู โคนลง แตเ ขารบี จัดตงั้ คณะ ใหมข ้นึ ทันที • การท้ิงระเบิดอยางหนกั ในกรงุ ปารีส ทําใหพลเรือนเสยี ชวี ิต จาํ นวนมาก • กองกาํ ลังอังกฤษตีฝาเปด ทางจาก Imphal ไปยัง Kohima ในอนิ เดยี ได • โศกนาฏกรรม Slapton Sands : ทหารอเมริกันถูกสังหาร ระหวางการฝกซอมเพ่ือเตรียมการสําหรับวันดีเดย ท่ีเมือง Slapton ใน Devon • การเตรียมการครั้งใหญสําหรับวันดีเดย ตลอดท่ัวทาง ใตข องประเทศองั กฤษ

• ฝายสัมพันธมิตรท้ิงระเบิดขนานใหญบนแผนดินใหญ เดือนพฤษภาคม 1944 เพ่ือเตรียมการสําหรบั วันดเี ดย วันที่ • เกิดการรบใหญที่ \"แนวกุสตาฟ\" ใกล มอนตคิ าสิโน • กําหนดวันดีเดยสําหรับปฏิบัติการโอเวอรลอรด เปน วนั ท่ี 5 มิถุนายน • การรบที่มอนติคาสิโนส้ินสุดลงโดยฝายสัมพันธมิตรไดรับ • ทัพจนี ยกพลจาํ นวนมากเขารุกรานตอนเหนอื ของพมา ชัยชนะ ทหารโปแลนดแขวนธงสีแดงและขาวบนซาก • ฝายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดหนักข้ึนในเขตแดนฝรั่งเศสเพื่อ ปรักหักพังของเมือง ทัพเยอรมันถอยออกไป เตรียมการสําหรบั วันดเี ดย • การตานทานคร้ังสดุ ทา ยของทัพญี่ปุน ทห่ี มูเกาะ Admiralty ในนิวกนี สี ้นิ สดุ ลง • ทัพอเมริกันขึ้นยึด Biak เกาะในนิวกีนีซ่ึงเปนฐานทัพสาํ คัญ ของญี่ปุน แตฝายญี่ปุนยังด้ินรนตอสูยืดเยื้อจนถึงเดือน สงิ หาคม • ญี่ปุนถอนทัพออกจาก Imphal (ในอินเดีย) โดยไดรบั ความสูญเสีย อยา งหนัก การรุกรานอนิ เดยี เปนอันสิ้นสุด

เดือนมถิ นุ ายน-กรกฎาคม-สิงหาคม 1944 • งสางพลรมอเมริกันกระโดดรมลง นอรม็องดี เพื่อกอกวร วันท่ี แนวหลงั ของเยอรมันกอนการยกพลขึ้นบก • เร่ิมการรบท่ีนอรม็องดี วันดีเดยของปฏิบัติการโอเวอร • กองทัพสมั พนั ธมิตรสว นแรกสดุ ยกพลข้ึนบกท่ี นอรม อ็ งดี ลอรด พลทหารกวา 155,000 คนของทัพสัมพันธมิตรขน้ึ ฝง ทีน่ อรมอ็ งดี ประเทศฝร่งั เศส • พลเรือน 642 คนถูกสังหารท่ี Oradour-sur-Glane เมือง เลก็ ๆ ในฝรงั่ เศส • พลเรอื น 218 คนถูกสงั หารที่ Distomo massacre ในกรซี • ปฏิบัติการเบเกรชัน (Operation Bagration) : ทัพโซ เวยี ตขับไลเยอรมันออกจากเมืองเบลารุส • ทพั โซเวยี ตบกุ ถงึ เมอื งวิลนา ในลทิ ัวเนยี • \"ปฏิบัติการคอบรา\" (Operation Cobra) ดําเนินการ เตม็ รปู แบบ • กองทัพสัมพนั ธมิตรยดึ เมือง Myitkyina ในพมา • กองทัพสัมพันธมิตรยึดเมือง Saint-Hilaire-du-Harcouet ในฝรั่งเศส • เกดิ การจลาจลในกรุงวอซอร เมืองหลวงของโปแลนด • กองทพั สมั พันธมิตรเขา ถงึ ชานเมอื ง Florence ในอติ าลี

• เยอรมนีเริ่มการตีโต ปฏิบตั ิการนอรวนิ ด ตลอดดินแดน เดือนมกราคม 1945 ซารและต้งั เปาท่ีจะตีเมอื งสตราสบ รกู คืน วนั ที่ • ทพั อากาศสหรัฐอเมรกิ าโจมตบี นเกาะไตห วัน • กองทัพอเมริกนั ยกพลขึ้นบกบนเกาะลซู อน ฟลิปปนส • อดอลฟ ฮิตเลอรบ ัญชาการรบในบังเกอรใตดนิ ในกรงุ • ทพั โซเวียตโจมตคี ร้งั ใหญทป่ี รสั เซียตะวันออก เบอรล นิ • กองทัพที่หน่ึงและกองทัพที่สามแหงสหรัฐอเมริกาได เช่ือมตอกันหลังจากยุทธการแหงรอยโปง กองทัพโซเวียต ปดลอมกรุงบดู าเปสต • แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต ไดรับเลือกใหเปนประธานาธิบดี • ยุทธการแหงรอยโปงจบลง ทัพโซเวียตปลดปลอ ยคา ยกักกัน สมัยท่ีสามของสหรัฐอเมริกา โดยแตงต้ังให แฮรรี่ เอส. เอาชวิตชและกรุงวอรซอว ซ่ึงภายหลังไดกอต้ังรัฐบาลหุน ทรูแมน เปนรองประธานาธิบดี ทัพโซเวียตรุกถงึ ปรสั เซีย เชิดโปแลนด ตะวนั ออก ทพั เยอรมันตอ งลาถอยครั้งใหญ • ทพั โซเวียตปลดปลอ ยลทิ ัวเนยี • ทัพโซเวียตขามแมนํ้าโอเดอรเพื่อเขาตีนาซีเยอรมนี ตอนน้เี หลืออีกไมถงึ 50 ไมลจ ากกรุงเบอรลนิ

• กองทพั สหรัฐเขาสมู ะนลิ า เดือนกุมภาพนั ธ-มนี าคม 1945 • แนวตานของเยอรมนั แหงสุดทา ยแตกจากแมน ํา้ ไรน วนั ท่ี • เร่ิมการประชุมยอลตา และกองทัพเยอรมันลาถอย จากเบลเยย่ี ม • การทิ้งระเบดิ ครัง้ ใหญตอเมอื งเดรสเดน • กรงุ บดู าเปสตถกู ปลดปลอ ยโดยกองทัพโซเวยี ต • กองทพั อเมรกิ นั สามารถปลดปลอยมะนิลาไดสําเรจ็ • กองทัพอเมรกิ ันยกพลขน้ึ บกทเี่ กาะอิโวจิมา • กองทัพเยอรมนั โจมตีกองทัพโซเวยี ตในฮงั การี • กองทัพอเมริกันเดินเทาขามสะพานเรมาเกนสู แผน ดินเยอรมนี • กองทัพเยอรมันพา ยในฮังการอี ีกครง้ั • ก็อดฮารด ฮินริช่ี เปนแมทัพปองกันเบอรลินในแนว • กองทัพพันธมิตรตะวันตกชะลอการบุกของตน และ รบดานตะวนั ออก ปลอยใหกองทัพโซเวยี ตยดึ กรงุ เบอรลิน • กองทัพโซเวียตตีไดเมืองดันซิก • กองทัพโซเวียตเขาประเทศออสเตรีย สวนกองทัพ • นายพลดไวต ดี. ไอเซนฮาวน ออกอากาศและเรียกรอง พนั ธมิตรตะวนั ตกยึดเมืองแฟรงกเ ฟร ต ใหเยอรมนียอมแพ

เดือนเมษายน 1945 วนั ที่ • เร่ิมยุทธการโอกินาวา กองทัพสหรฐั ยกพลขน้ึ บกท่เี กาะ โอกินาวา ของญ่ีปนุ • กองทัพโซเวียตเขา โจมตีกรุงเวียนนา • เรือประจัญบานยามาโตะ ของญี่ปุน ถูกยิงจมลงที่ทะเลจีน ตะวันออก • ฝูงบินกามิกาเซ ของญ่ีปุน บุกโจมตีกองเรือของ • การรบท่ี Königsberg สนิ้ สุดลงโดยโซเวยี ตเปนฝายชนะ สหรัฐฯ ท่ีโอะกินะวะ อยางตอเนื่อง • ประธานาธิบดีแฟลงกลิน ดี. โรสตเวลต แหงสหรัฐอเมริกา ถึงแกอสัญกรรม แฮรร่ี เอส. ทรูแมน ขึ้นเปนประธานาธิบดี • โซเวียตไดช ยั ทกี่ รุงเวียนนา สหรัฐอเมริกา • มีการท้ิงระเบดิ ใสก รงุ โตเกยี วอยา งหนกั • วันเอลเบ (Elbe Day) : ทัพโซเวียตกับทัพอเมริกัน • มุสโสลินีถูกจับกุมตัว โดยกองกําลังปารติซานของ บรรจบกันทแ่ี มนา้ํ เอลเบ ใกลเ มอื ง Torgau ในเยอรมนี พรรคคอมมิวนิสตอิตาลี ท่ีบริเวณใกลชายแดน • มุสโสลนิ ีถูกประหารชีวิตดวยขอหาทรยศตอ ชาติ โดยคํา อิตาลี-สวิสเซอรแลนด ในขณะที่เขาพยายามจะ ตัดสินลับหลังของคณะลูกขุนแหงคณะกรรมการปลด หลบหนีออกจากอติ าลี แอกแหงชาติ รางของมุสโสลินี ภรรยานอย และผูนิยม ลัทธิฟาสซิสตคนอื่นๆ อีกประมาณ 15 คน ไดถูกนําไป ยงั เมอื งมิลาโน เพ่อื แขวนประจานตอ สาธารณชน • ฮติ เลอรกบั ภรรยาฆาตัวตาย โดยใชท้ังยาพษิ และปน โจเซฟ • ฮติ เลอรแ ตง งานกับอีวา บราวน เกบเบิลสไดข้ึนเปนมุขมนตรีแหงไรซ และพลเรือเอก คารล เดอนติ ช ไดรบั แตง ตงั้ เปน ประธานาธบิ ดแี หง ไรซ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook