Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปขนมถั่วแปบ

สรุปขนมถั่วแปบ

Published by NFE Changyai By Kru Chanachai., 2021-09-01 04:57:09

Description: สรุปขนมถั่วแปบ

Search

Read the Text Version

รายงานผลดาเนนิ งาน หลักสูตรการทำขนมถั่วแปบ จำนวน ๓ ชัว่ โมง วันท่ี 17 มิถุนายน 2564 จดั ทำโดย นำยชนะชยั อยั กลู ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลชำ้ งใหญ่ ศนู ยก์ ำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั อำเภอบำงไทร สำนกั งำน กศน.จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยำ สำนกั งำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั สำนกั งำนปลดั กระทรวง

คำนำ กศน.ตำบลช้างใหญ่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำขนมถ่ัวแปบ จำนวน ๓ ชั่วโมง เพื่อให้ประชาชนผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจในการทำขนมถั่วแปบ และเพื่อให้ประชาชนผู้รับบริการ มที ักษะและมองเหน็ ช่องทางการทำขนมถ่วั แปบ ทาง กศน.ตำบลช้างใหญ่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอบางไทร หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำขนมถั่วแปบ จำนวน 3 ชั่วโมง จะเป็นประโยชน์กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ไม่มากก็น้อย และหากการจัดโครงการใน คร้ังนี้มีขอ้ บกพร่องประการใด ทาง กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอบางไทร ตอ้ งขออภยั ไว้ ณ ที่นี้ดว้ ย รายงานสรุปฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทำโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจน ประเมนิ ผลโครงการเพือ่ เป็นการเพิ่มพนู ความรู้และเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการในครง้ั ต่อไป ชนะชัย อัยกลู ผจู้ ดั ทำ

สารบัญ หน้า เร่อื ง ๑ บันทกึ ข้อความ ๑๐ คำนำ ๑๒ สารบญั ๑๕ บทท่ี ๑ บทนำ ๑๗ บทท่ี ๒ เอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ ง ๒๗ บทท่ี ๓ สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ๒๘ บทที่ ๔ แบบสอบถามความพงึ พอใจ ๒๙ บทท่ี ๕ สรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ ภาคผนวก รูปภาพประกอบโครงการฯ รายงานผลการจบหลกั สตู รการศึกษาต่อเน่ือง ใบสมัครผูเ้ รียนหลกั สูตรการจัดการศึกษาต่อเนื่อง แบบสำรวจความตอ้ งการเรยี นรูก้ ารศกึ ษาต่อเนื่อง บรรณานกุ รม คณะผ้จู ัดทำ

บทที่ 1 บทนำ 1. ชือ่ กิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง รปู แบบกลมุ่ สนใจ หลักสูตรการทำขนมถั่วแปบ จำนวน ๓ ชั่วโมง นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นโยบายเรง่ ด่วนเพ่อื รว่ มขับเคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 3. ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคณุ ภาพ 3.5 ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน สู่ “วสิ าหกิจชุมชน : ชุมชนพ่งึ ตนเอง ทำได้ ขายเปน็ ” 1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความ ต้องการของตลาดรวมทั้งสร้างเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายได้ให้กับชุมชน ให้ชุมชนพง่ึ พาตนเองได”้ 2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า การทำช่องทาง เผยแพร่และจำหน่ายผลิตภณั ฑ์ของวสิ าหกิจชมุ ชนใหเ้ ป็นระบบครบวงจร 4. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 4.5 พลิกโฉม กศน.ตำบล สู่ “กศน.ตำบล 4G” ขอ้ 1) – ขอ้ 4) 5. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นสง่ เสรมิ และจัดการศึกษาเพือ่ เสริมสร้างคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ลดการใชท้ รพั ยากรท่ีส่งผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม จุดเนนการดาํ เนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. สงสริมการจดั การศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตสําหรับประชาชนทเ่ี หมาะสมกับทกุ ชวงวัย 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสราง นวัตกรรมและผลติ ภณั ฑที่มีคณุ ภาพ มคี วามหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูรับบริการ และสามารถออกใบรบั รองความรูความสามารถเพ่อื นาํ ไปใชในการพฒั นาอาชีพได 3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจัดการศึกษา และการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมกับทุกกลุมเปาหมาย มีความทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน ความตองการของผูเรียน และ สภาวะการเรยี นรูในสถานการณตาง ๆ ท่ีจะเกิดข้นึ ในอนาคต 3.2 พัฒนาแหลงเรยี นรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให สามารถ “เรยี นรูไดอยางท่วั ถึง ทกุ ที่ ทุกเวลา” 4. บูรณาการความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชน อยางมคี ุณภาพ 4.1 รวมมือกับภาคีเครือขายทัง้ ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสวนทองถน่ิ รวมทงั้ สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพที่เปนอัตลักษณและบริบทของ ชุมชนสงเสริมการตลาดและขยายชองทางการจาํ หนายเพ่ือยกระดับผลติ ภัณฑ/สนิ คา กศน. 5. พฒั นาศักยภาพและประสทิ ธิภาพในการทาํ งานของบคุ ลากร กศน.

5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ใหกับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรัฐบาลดิจิทลั อยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนา ครูใหมีทักษะความรู และความชํานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรูและการจัดการเรียนการ สอนเพอื่ ฝกทักษะการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบและมีเหตุผล เปนข้นั ตอน ภารกิจตอเน่อื ง 1. ดานการจดั การศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 1.3 การศึกษาตอเนื่อง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยางยั่งยืน โดยใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อ การมีงานทําในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการรวมถึงการเนนอาชีพชางพน้ื ฐาน ท่ีสอดคลองกบั ศกั ยภาพของผูเรียน ความตองการและศกั ยภาพของแต ละพืน้ ที่มคี ณุ ภาพไดมาตรฐานเปนทีย่ อมรับ สอดรบั กับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีการสงเสริมการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การพัฒนาหนึ่งตําบลหน่ึงอาชีพเดน การประกวดสินคาดีพรีเมี่ยม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเส ริมและจัดหาชองทางการจําหนายสินคาและผลิตภัณฑ และใหมีการกํากับ ติดตาม และรายงานผลการจัด การศึกษาอาชพี เพอ่ื การมีงานทําอยางเปนระบบและตอเน่ือง 2. ดานหลกั สตู ร ส่ือรปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวดั และประเมนิ ผลงานบริการทางวิชาการ และ การประกันคณุ ภาพการศึกษา 2.1 สงเสริมการพฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรูและกจิ กรรมเพ่ือสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และหลกั สตู รทองถน่ิ ทสี่ อดคลองกับสภาพบรบิ ทของพนื้ ท่ีและความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน กลุ่มเปาหมายทว่ั ไปและกลุมเปาหมายพเิ ศษ เพอ่ื ใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกที ทุกเวลา 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในท่สี อดคลองกบั บริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพรอมรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก โดยพฒั นาบคุ ลากรใหมคี วามรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคณุ ภาพ และสามารถ ดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และ จัดใหมีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก ใหพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานทกี่ าํ หนด 6. ดานบคุ ลากรระบบการบรหิ ารจัดการ และการมสี วนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งกอนและระหวางการ ดํารงตําแหนงเพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหตรงกับสาย งาน ความชํานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงานของ หนวยงานและสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งสงเสริมใหขาราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อน ตาํ แหนงหรอื เล่อื นวทิ ยฐานะโดยเนนการประเมนิ วทิ ยฐานะเชงิ ประจักษ 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผูอํานวย ความสะดวกในการเรียนรูเพอื่ ใหผูเรยี นเกิดการเรยี นรูทีม่ ีประสทิ ธภิ าพอยางแทจริง

4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรูได อยางมีคุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมนิ ผล และการวจิ ยั เบื้องตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรู ความสามารถและมีความเปนมอื อาชพี ในการจัดบริการสงเสรมิ การเรยี นรูตลอดชีวติ ของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการบริหาร การดําเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมปี ระสทิ ธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทําหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือขายทั้งในและตาง ประเทศในทุกระดบั โดยจัดใหมกี ิจกรรมเพ่ือเสริมสรางสัมพนั ธภาพและเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการทํางานรวมกัน ในรูปแบบท่ีหลากหลายอยางตอเน่อื งอาทิ การแขงขนั กฬี า การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาประสิทธภิ าพ ในการทาํ งาน 6.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พฒั นาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวนถกู ตอง ทนั สมยั และเชอ่ื มโยงกันทว่ั ประเทศอยาง เปนระบบเพื่อใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเครื่องมือสําคัญในการบริหารการ วางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 2) เพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารจดั การงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกาํ กับ ควบคมุ และเรงรดั การ เบิกจายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายทก่ี าํ หนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยง กันทั่วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทนั ความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรยี น และการบรหิ ารจัดการอยางมีประสิทธภิ าพ 5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อสรางความเขาใจ และใหเกิด ความรวมมอื ในการสงเสรมิ สนับสนุน และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูใหกับประชาชนอยางมีคณุ ภาพ 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให ทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจัดการบนขอมูลและหลกั ฐานเชิงประจกั ษ มงุ ผลสมั ฤทธ์ิมคี วามโปรงใส 6.4 การกํากบั นเิ ทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล 1) สรางกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเชือ่ มโยงกับหนวยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือขายท้งั ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาท่เี กย่ี วของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากบั ตดิ ตามและรายงาน ผลการนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตละเรื่องไดอยาง มปี ระสิทธภิ าพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกํากับนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมปี ระสิทธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคํารบั รองการปฏบิ ัติราชการประจําปของ หนวยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําป ของสํานักงาน กศน.ใหดาํ เนนิ ไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วิธกี าร และระยะเวลาที่กาํ หนด

5) ใหมีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ตั้งแต สวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเป นเอกภาพในการ ใชขอมลู และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2. หลักการและเหตผุ ล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2545) และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดจุดมุ่งหมายสำคัญในการพัฒนาคนไทยให้ได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการ เปล่ยี นแปลงของสถานการณป์ ัจจบุ ันและอนาคต ทัง้ ด้านประชากร การเมืองการปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเชื่อมโยงสังคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดับโลก จึงจำเป็นที่จะต้องจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ที่ สอดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ท้ังดา้ นการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาทักษะชวี ิต และการพัฒนาสังคม และชุมชน ซึง่ จำเป็นตอ้ งใช้วธิ กี ารและรปู แบบท่หี ลากหลาย ตามความต้องการและความสนใจของประชาชน ทุกกลุ่มวยั โดยเนน้ กระบวนการคดิ เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตามหลักปรัชญาคิดเป็นและหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องมุ่งเน้นการพัฒนา เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ที่มั่งคั่งและมั่นคง เป็นบุคคลที่มีวินัย เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม เน้นการจัดการศึกษาที่ยึดพื้นที่เป็นฐาน โดยสถานศึกษาต้องวิเคราะห์ศักยภาพ 5 ด้าน ของแต่ละพื้นที่ ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพด้านภูมิอากาศ ศักยภาพด้านภูมิประเทศ ศักยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี และศักยภาพด้านทรัพยากรมนุษย์ และวิเคราะห์ข้อมูลวิถีการดำเนิน ชีวิต ความต้องการ และประชาชนในภูมิภาคต่าง ๆ ที่เป็นผู้ใช้บริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะห์ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วจะนำมาส่กู ารกำหนดหลกั สตู รอาชีพที่สถานศึกษาจะจัดการเรยี นการสอน การจัดการศึกษาของสำนักงาน กศน. เพื่อตอบสนองนโยบายดังกล่าว จึงต้องปรับเปลี่ยน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการปฏิบัติจรงิ มีการศึกษาดูงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ ในอาชีพโดยตรง ผู้สอนเป็นวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้ประกอบการในอาชีพนั้น ๆ ให้ความสำคัญต่อการประเมินผลการจบหลักสูตรที่เน้นทักษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ชิ้นงาน ที่ได้ มาตรฐานออกสู่ตลาดได้ การพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จึงต้องปรับใหม่โดยการพัฒนาให้ครบวงจร ประกอบด้วย ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะของอาชีพ การบริหารจัดการ และโครงการอาชีพพร้อมแหล่งเงินทุน และ ให้ผู้เรียนที่เรียนจบจากหลักสูตรอาชีพมีความมั่นใจว่าจะสามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ ได้อย่างแท้จริง จึงขอให้สถานศึกษาที่นำหลักสูตรที่ได้พัฒนาแล้วนั้น นำมาคัดเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการของพื้นที่ และนำไปอนมุ ตั ใิ ช้ในการจดั การเรียนการสอนตอ่ ไป จากแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2560 - 2579 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวยั และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ เรอื่ ง ส่งเสรมิ สนบั สนุน ใหค้ นทกุ ช่วงวยั มที กั ษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชวี ิตอย่างเหมาะสม เตม็ ตามศักยภาพ ในแตล่ ะช่วงวัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร จึงได้นำนโยบาย ยุทธศาสตร์และความจำเป็นดังกล่าวสู่การปฏิบัติเพื่อการพัฒนาหลักสูตรอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมายและ ประชาชนมีรายได้และมีอาชีพเสริมการทำขนมถั่วแปบสำหรับผู้ที่สนใจควรศึกษาหาความรู้และฝึกปฏิบัติจน เกดิ ความชำนาญสามารถนำไปประกอบอาชีพให้กับตนเองได้

ดังนั้นการส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทกั ษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพ ชีวติ อย่างเหมาะสม เต็มตามศกั ยภาพในแต่ละช่วงวัย และเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของประชาชน จึงได้ จัดทำโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สตู รการทำขนมถ่ัวแปบ ให้กับประชาชนและผู้สนใจให้สามารถนำไป ประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว ต้องการได้รับการพัฒนา และใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ 3. วตั ถุประสงค์ 3.1 เพอ่ื ใหป้ ระชาชนผู้รบั บรกิ ารมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจการทำขนมถ่วั แปบ 3.2 เพื่อใหป้ ระชาชนผู้รับบริการมที กั ษะและมองเห็นชอ่ งทางการทำขนมถั่วแปบ 4. กลุ่มเป้าหมาย 4.1 เชิงปริมาณ 4.1.1 ประชาชน และผูส้ นใจ ตำบลชา้ งใหญ่ จำนวน 9 คน 4.2 เชิงคณุ ภาพ 4.2.1 ผู้เรียนร้อยละ 85 เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทำขนม ถ่วั แปบ โดยเน้นการปฏบิ ตั จิ รงิ 4.2.2 ผู้เรียนร้อยละ 85 มที กั ษะ และมองเหน็ ช่องทางในการทำขนมถ่ัวแปบสามารถนำ ความรู้ไปปรบั ใช้ในการประกอบอาชพี ได้

5. วธิ ดี ำเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย พน้ื ท่ดี ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 1. ขั้นวางแผน ( Plan ) 1. เพอื่ ให้ 1.1 สำรวจกลุ่มเปา้ หมายและความต้องการ ประชาชน 1.2 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัด ผู้รับบริการมี กระบวนการเรียนรู้ให้ตรงตามศักยภาพความ ความรู้ความ 10 มถิ นุ ายน ต้องการของผเู้ รยี น เข้าใจการทำ 2564 1.3 ประชุมวางแผนช้ีแจงการปฏิบัตงิ าน ขนมถัว่ แปบ - จดั ทำหลกั สูตรและอนมุ ตั ิหลกั สูตร 2. เพ่ือให้ - เตรยี มสื่อเอกสาร , วัสดุ ประชาชน 2. ขน้ั ดำเนินการ ( Do ) ประชาชน ณ ศาลาประชาคม ค่าตอบแทน ผรู้ ับบริการมี และผ้สู นใจ หมู่ 9 วิทยากร 2.1 ดำเนนิ การตามโครงการทเ่ี สนอ ตำบลชา้ งใหญ่ ตำบลชา้ งใหญ่ 17 600 บาท ทกั ษะและ จำนวน ๗ คน อำเภอบางไทร มถิ ุนายน ค่าวัสดุ - กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เน่อื ง 2564 มองเห็นชอ่ ง จังหวดั 1,000 บาท รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำขนมถั่ว ทางการทำ พระนครศรีอยธุ ยา 17 แปบ ขนมถว่ั แปบ มิถุนายน 2564 3. ขน้ั ตรวจสอบ ( Check ) 3.1 ประเมนิ ความพงึ พอใจ 29 – 30 มถิ ุนายน ( แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ ) 2564 3.2 การนเิ ทศติดตามผล 4. ข้นั ปรบั ปรุงแกไ้ ข ( Action ) 4.1 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจาก แบบสอบถามความพึงพอใจและแบบ ประเมนิ ผลความรู้ , แบบนเิ ทศการจดั กจิ กรรม 4.2 ประชุมคณะทำงานเพื่อรับทราบผล การดำเนนิ งานทีผ่ า่ นมาในการจดั กจิ กรรม 4.3 นำปญั หา/อปุ สรรคและข้อเสนอแนะ ในการจัดกิจกรรมมาเป็นแนวทางในการ วางแผนพัฒนาในการจดั กจิ กรรมคร้ังต่อไป 6. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2564 แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ โครงการขับเคลอ่ื นการพฒั นาการศึกษาที่ย่งั ยืน กจิ กรรมสง่ เสรมิ ศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ 2000235052700019 รหัสกิจกรรมหลัก 200021400P2713 แหลง่ ของเงนิ 6411500 ศูนยต์ น้ ทุน 2000200214 จำนวนเงนิ 1,600 บาท (หน่ึงพันหกรอ้ ยบาทถว้ น) 1. ค่าวิทยากร จำนวน ๓ ชว่ั โมง x 200 บาท เป็นเงนิ 600 บาท 2. ค่าวัสดุ เป็นเงนิ 1,000 บาท รวมเป็นเงนิ ทง้ั สนิ้ 1,600 บาท (หน่งึ พนั หกร้อยบาทถ้วน) **หมายเหตุ ถัวจา่ ยทกุ รายการ

7. ระยะเวลา วันที่ 17 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 8. สถานท่ี ณ กศน.ตำบลช้างใหญ่ หมูท่ ี่ 3 ตำบลช้างใหญ่ อำเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา 9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 9.1 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางไทร 9.2 กศน.ตำบลช้างใหญ่ 10. โครงการที่เก่ียวขอ้ ง 10.1 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ ประจำปงี บประมาณ 2564 10.2 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2564 10.3 โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ 2564 10.4 โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน ประจำปงี บประมาณ 2564 11. หน่วยงานเครอื ขา่ ย 11.1 เทศบาลตำบลราชคราม 11.2 ผนู้ ำชุมชน 11.3 ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ 12. ผลลัพธ์ (OUT COME) 12.1 ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทำขนมถั่วแปบโดยเน้น การปฏิบัติจรงิ 12.2 ผเู้ รียนมีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทำขนมถว่ั แปบสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ใน การประกอบอาชีพได้ 13. ดชั นชี ว้ี ัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชว้ี ดั ผลผลิต (OUTPUT) 13.1.1 ผู้เรียนร้อยละ 85 เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทำขนมถ่ัว แปบโดยเน้นการปฏบิ ัติจริง 13.1.2 ผู้เรียนร้อยละ 85 มีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทำขนมถั่วแปบสามารถนำ ความร้ไู ปปรบั ใช้ในการประกอบอาชีพได้ 13.2 ตวั ชว้ี ัดผลลัพธ์ (OUTCOME) 13.2.1 ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการทำขนมถั่วแปบโดยเน้นการ ปฏบิ ตั จิ ริง 13.2.2 ผู้เรยี นมีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการทำขนมถ่วั แปบสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ ในการประกอบอาชีพได้

14. การติดตามและประเมินผล 14.1 แบบสำรวจความพึงพอใจ 14.2 แบบประเมินผลความรู้ 14.3 แบบนเิ ทศตดิ ตามงาน 14.4 แบบวดั ผลและประเมินผล 14.5 ติดตามจากแบบรายงานผลการดำเนินโครงการฯ

บทท่ี 2 เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง หลักสูตรตอ่ เนอื่ ง หลักสตู รอาชีพ การทำขนมถว่ั แปบจำนวน 5 ชั่วโมง หลกั สตู ร อาชีพพาณชิ ยกรรมและบรกิ าร ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางไทร ความเป็นมา แนวทางการพัฒนาตามยทุ ธศาสตรข์ องแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ ส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่าง เหมาะสม เตม็ ตามศักยภาพในแต่ละช่วงวยั ดังนั้นการส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแตล่ ะช่วงวัย และเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน จึงได้ จัดทำโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทำขนมถั่วแปบ ให้กับประชาชนและผู้สนใจให้สามารถ นำไปประกอบอาชพี สรา้ งรายได้ใหก้ ับตนเองและครอบครวั ตอ้ งการไดร้ ับการพัฒนา และใชเ้ วลาว่างให้เกิด ประโยชน์ หลกั การของหลกั สูตร 1. เป็นหลกั สูตรทตี่ อบสนองความต้องการเรียนรู้ของประชาชนในเรอ่ื งของการทำขนมถวั่ แปบ 2. เปน็ หลักสูตรการประกอบอาชีพทสี่ ่งเสริมการมงี านทำของประชาชน จุดมงุ่ หมาย 1. เพ่อื ให้ประชาชนผ้รู บั บรกิ ารมคี วามรู้ความเข้าใจการทำขนมถว่ั แปบ 2. เพ่ือใหป้ ระชาชนผ้รู ับบรกิ ารมีทักษะและมองเห็นชอ่ งทางการทำขนมถัว่ แปบ เป้าหมาย ประชาชนและผู้สนใจอำเภอบางไทร ระยะเวลาเรยี น ภาคทฤษฎี 1 ช่ัวโมง ภาคปฏบิ ตั ิ 2 ช่ัวโมง รวม 3 ชว่ั โมง

โครงสรา้ งหลักสตู ร เรื่อง จดุ ประสงค์ เนอื้ หา การจดั กระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชัว่ โมง การทำขนมถ่วั 1. เพอ่ื ให้ผู้เรียนมี 1. ความสำคัญในการ 1. ความสำคัญในการประกอบอาชพี ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ แปบ ความรู้ ความ ประกอบอาชีพการทำ การทำขนมถั่วแปบ 12 เขา้ ใจในงาน ขนมถ่วั แปบ 1.1 ความปลอดภยั ในการทำงาน พาณชิ ยกรรมและ 1.1 ความปลอดภัยใน 1.2 การใช้เครื่องมือและอปุ กรณ์ บริการ การทำ การทำงาน 1.3 วัสดุ-อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการทำขนมถัว่ ขนมถวั่ แปบ แปบ 2. เพอ่ื ให้ผ้เู รยี น 1.2 การใชเ้ คร่อื งมือ นำความรู้ทไ่ี ดร้ ับ และอปุ กรณ์ 1.4 ความรเู้ บ้อื งตน้ ในการทำขนมถว่ั ในการทำขนมถ่วั 1.3 วัสดุ-อปุ กรณท์ ีใ่ ช้ แปบ แปบไปใชใ้ น ในการทำขนมถัว่ แปบ 1.5 เทคนิคการทำขนมถั่วแปบ ชวี ิตประจำวนั 1.4 ความรู้เบือ้ งต้นใน 1.6 การทำขนมถวั่ แปบ การทำขนมถั่วแปบ 2. ความเปน็ ไปไดใ้ นการประกอบอาชพี 1.5 เทคนิคการทำ 3. การลดตน้ ทนุ การผลติ แตค่ ุณภาพคง ขนมถ่วั แปบ เดิม 2. ความเป็นไปได้ใน 4. ผู้เรยี น เรียนรู้และฝกึ ปฏิบัติการทำ การประกอบอาชพี ขนมถว่ั แปบ 3. การลดตน้ ทนุ การ 5. ดำเนนิ การตามกระบวนการจัดการ ผลติ แตค่ ณุ ภาพคงเดิม ตลาด เชน่ การคดิ ตน้ ทนุ การผลิต การ กำหนดราคาขายและการส่งเสริมการ ขาย สอื่ การเรียนรู้ 1. สือ่ บุคคล/วิทยากร 2. สอ่ื ตัวอยา่ งช้นิ งาน 3. เอกสารประกอบการเรียน/ใบความรู้ การวัดผลประเมินผล 1. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 2. แบบประเมินผลการจดั การศึกษาตอ่ เน่อื ง 3. แบบติดตามผู้เรยี นหลังจบหลักสูตรการศึกษาตอ่ เน่ือง 4. แบบรายงานผลการจดั การศึกษาต่อเน่ือง เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร 1. มีเวลาเรยี นและฝึกปฎิบตั ติ ามหลกั สตู รไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ผา่ นตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 3. มผี ลการประเมนิ ชน้ิ งานโดยวทิ ยากรไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80

บทที่ 3 สรุปผลการดำเนนิ งาน ขั้นตอนการดำเนินงานในการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำ สบู่สมุนไพรจากกระชาย กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 8 คน จัดได้ 9 คน ในวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2564 ณ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ หมทู่ ่ี 3 ตำบลชา้ งใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา มีดังน้ี 1. ขน้ั วางแผน (Plan) 1.1 สำรวจความต้องการ วิเคราะหค์ วามตอ้ งการ ของกลุ่มเป้าหมาย 1.2 ประชมุ ช้แี จงผูเ้ กีย่ วขอ้ งและแตง่ ตงั้ คณะ ดำเนนิ งาน 1.3 จัดทำหลักสูตร/ อนมุ ตั หิ ลกั สตู ร 1.4 ประสานเครือข่าย 2. ข้นั ดำเนินการ (Do) ดำเนนิ การจดั กจิ กรรม 2.1 จัดฝึกอบรม กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รปู แบบกลุม่ สนใจ หลกั สตู รการทำขนมถัว่ แปบ จำนวน 3 ชัว่ โมง 3. ขัน้ ตรวจสอบ (Check) 3.1 ประเมินความพึงพอใจ (แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ)์ 3.2 การนิเทศตดิ ตามผล 4. ขั้นปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Action) 4.1 นำผลการนิเทศมาปรบั ปรุงพฒั นา ขอ้ มลู ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ เปา้ หมายผเู้ ข้ารว่ มโครงการจำนวนทงั้ หมด 7 คน จดั ได้ 8 คน 1. เพศ เพศชาย จำนวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.00 เพศหญงิ จำนวน 9 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00 รวม จำนวน 9 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 2. อายุ ต่ำกวา่ 15 ปี จำนวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 00.00 โดยมอี ายเุ ฉลี่ยต้งั แต่ จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 อายุ 15 - 29 ปี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 11.11 อายุ 30 - 39 ปี จำนวน 0 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 00.00 อายุ 40 - 49 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 77.77 อายุ 50 - 59 ปี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.11 และอายุ 60 ปขี ้นึ ไป จำนวน 9 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 รวม

3. ระดบั การศกึ ษา จำนวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 00.00 ตำ่ กวา่ ประถมศึกษา จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 ประถมศึกษา จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 11.11 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.33 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 11.11 อนุปรญิ ญา/ปว.ส. จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 11.11 ปรญิ ญาตรี จำนวน 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 00.00 สงู กว่าปริญญาตรี จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 รวม คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 4. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉลี่ยประกอบอาชีพ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 44.44 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 00.00 รับราชการ จำนวน 0 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.11 คดิ เปน็ ร้อยละ 44.44 รบั จา้ ง จำนวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 เกษตรกร จำนวน 0 คน ค้าขาย จำนวน 1 คน พ่อบ้าน/แมบ่ ้าน จำนวน 4 คน อาชีพอ่ืน ๆ จำนวน 0 คน รวม จำนวน 8 คน ผลการดำเนนิ งาน 1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ที่ตั้งเป้าหมายไว้ จำนวน 8 คน จัดได้ 9 คน ประกอบอาชีพตาม กลมุ่ เปา้ หมาย 9 คน 2. วิทยากรใหค้ วามรู้ โดยวธิ กี ารบรรยาย วธิ กี ารสาธิต และวธิ ีการฝึกปฏิบัติจริง 3. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากที่สุด (ตามเอกสารบทที่ 4 แบบสอบถามความพงึ พอใจและสรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ) ปญั หาและอปุ สรรคในการปฏิบตั ิงาน งบประมาณในการจัดซือ้ วสั ดุมีจำนวนจำกัด วสั ดุอุปกรณ์ในการฝึกมีจำนวนจำกดั ไมเ่ พยี งพอต่อจำนวนผู้เรียน จำนวนหลกั สูตรบางหลกั สูตรจำนวนชัว่ โมงมากเกินไป ข้อเสนอแนะ งบประมาณจดั สรรคา่ วัสดใุ หเ้ พียงพอตอ่ จำนวนผู้เรียน

บทท่ี 4 สรปุ แบบสอบถามความพงึ พอใจ หลกั สตู ร/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จำนวน 3 ช่ัวโมง รูปแบบกลมุ่ สนใจ หลักสูตรการทำขนมถ่วั แปบ วนั ท่ี 17 เดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2564 สถานท่จี ดั กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ หมู่ท่ี 3 ตำบลชา้ งใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขอ้ มูลพืน้ ฐานของผูป้ ระเมินความพงึ พอใจ คำชีแ้ จง แบบประเมนิ ความพึงพอใจ มี 2 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไป คำช้ีแจง โปรดใส่เครื่องหมาย  ลงในชอ่ ง  ที่ตรงกับข้อมูลของทา่ นเพยี งชอ่ งเดียว เพศ  ชาย  หญงิ อายุ  ต่ำกวา่ 15 ปี  15 - 29 ปี  30 - 39 ปี  40 - 49 ปี  50 - 59 ปี  60 ปีขนึ้ ไป ระดบั การศึกษา  ตำ่ กว่าประถมศกึ ษา ประถมศึกษา  มัธยมศึกษาตอนต้น  มธั ยมศึกษาตอนปลาย  อนปุ รญิ ญา/ปว.ส.  ปรญิ ญาตรี  สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี  อนื่ ๆ โปรดระบุ............................................................................................. ประกอบอาชพี  ผู้นำท้องถิ่น  อบต./เทศบาล  พนักงานรฐั วิสาหกจิ  ทหารกองประจำการ  เกษตรกร  รับราชการ  คา้ ขาย  รับจ้าง  อสม.  แรงงานตา่ งด้าว  พ่อบ้าน/แมบ่ า้ น  อนื่ ๆ โปรดระบุ..........................

ตอนที่ 2 ดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมและความพงึ พอใจของผู้เรียน/ผู้รบั บริการ คำชแี้ จง โปรดใส่เครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ ง  ทต่ี รงกับความคิดเหน็ ของทา่ นเพยี งชอ่ งเดียว ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ มาก ระดบั ความพึงพอใจ หมายเหตุ ทสี่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่ีสดุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเน้ือหา 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 3 เนื้อหาปจั จบุ นั ทันสมยั 4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย 9 วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่อื งทถ่ี า่ ยทอด 11 วิทยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีส่วนรว่ มและซักถาม ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณแ์ ละสง่ิ อำนวยความสะดวก 14 การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกดิ การเรียนรู้ 15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ................................................................................................. ................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บทท่ี 5 สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ หลกั สูตร/โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน จำนวน 3 ชวั่ โมง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการทำขนมถ่วั แปบ วนั ท่ี 17 เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 สถานทีจ่ ัด กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ หมทู่ ี่ 3 ตำบลช้างใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป ผู้เรยี นหลักสูตรการทำขนมถัว่ แปบ จำนวน ๓ ชั่วโมง เป้าหมาย 8 คน จัดได้ 9 คน 1. เพศ เพศชาย จำนวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 เพศหญงิ จำนวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00 รวม จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 8 หญงิ 6 4 2 0 ชาย ผู้ตอบแบบสำรวจเปน็ เพศหญิง (รอ้ ยละ 100) ผูต้ อบแบบสำรวจเป็นเพศชาย (รอ้ ยละ 0.00) ๒. อายุ ต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 00.00 โดยมอี ายเุ ฉลีย่ ตัง้ แต่ จำนวน 0 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 00.00 อายุ 15 - 29 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 11.11 อายุ 30 - 39 ปี จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 00.00 อายุ 40 - 49 ปี จำนวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 77.77 อายุ 50 - 59 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 11.11 และอายุ 60 ปีข้นึ ไป จำนวน 9 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00 รวม 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 ผตู้ อบ0แบบสตำ่ารกววจา่ ส15ว่ ปนี มากอยู่ใน15ช-่ว3ง9อปาี ยุ 40-5940ป-5ีข9้นึ ปไี ป (รอ้ ยละ600ป.ีข0น้ึ 0ไป) และอายุ 60 ปีขึ้นไป

(ร้อยละ 50.00) 3. ระดบั การศกึ ษา จำนวน 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 00.00 ตำ่ กว่าประถมศกึ ษา จำนวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.33 ประถมศกึ ษา จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 11.11 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.33 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.11 อนปุ รญิ ญา/ปว.ส. จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 11.11 ปรญิ ญาตรี จำนวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 00.00 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00 รวม 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0 ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอน ปรญิ ญาตรี สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี ตอนตน้ ปลาย ผูต้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมีการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (รอ้ ยละ 50.00) และระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น (รอ้ ยละ 50.00) 4. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ โดยเฉลีย่ ประกอบอาชีพ รับราชการ จำนวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 คดิ เปน็ ร้อยละ 44.44 รับจ้าง จำนวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 00.00 คิดเปน็ รอ้ ยละ 11.11 เกษตรกร จำนวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 44.44 คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 ค้าขาย จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 พ่อบา้ น/แม่บ้าน จำนวน 4 คน อาชพี อนื่ ๆ จำนวน 0 คน รวม จำนวน 8 คน 8 คา้ ขาย เกษตรกรรม รบั ราชการ อ่นื ๆ 7 6 5 4 3 2 1 0 รบั จา้ ง

ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจตอ่ การจดั กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง รูปแบบกลุ่มสนใจ หลกั สตู รการทำขนมถัว่ แปบ จำนวน ๓ ชั่วโมง เป้าหมาย 8 คน จัดได้ 9 คน ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมายเหตุ มาก มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทส่ี ดุ ท่ีสุด ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเน้อื หา 1 เนือ้ หาตรงตามความตอ้ งการ 63 - -- 2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 81 - -- 3 เนอ้ื หาปจั จบุ ันทันสมยั 72 - -- 4 เนื้อหามีประโยชนต์ อ่ การนำไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ 9 - - -- ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 72 - -- 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 81 - -- 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 81 - -- 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย 81 - -- 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 81 -- ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วทิ ยากร 10 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่อื งทีถ่ า่ ยทอด 81 - -- 11 วทิ ยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม 81 - -- 12 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซกั ถาม 72 - -- ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก 13 สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อำนวยความสะดวก 72 - -- 14 การสือ่ สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ การเรียนรู้ 72 - -- 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา 72 - -- ส่วนประเมินผลความพึงพอใจด้วยเกณฑ์คะแนนเฉลยี่ รวม คะแนนและเกณฑ์ระดบั ความพึงพอใจเปน็ น้ี ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ปรับปรุง มคี า่ คะแนน 1 ระดบั ความพึงพอใจ / ความคดิ เห็น พอใช้ มคี ่าคะแนน 2 ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ปานกลาง มคี ่าคะแนน 3 ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เห็น ดี มคี ่าคะแนน 4 ระดบั ความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ดมี าก มีค่าคะแนน 5 และคา่ คะแนนเฉลี่ยมีเกณฑ์ดังน้ี คะแนนเฉลย่ี 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ปรบั ปรุง พอใช้ คะแนนเฉลยี่ 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ปานกลาง ดี คะแนนเฉลีย่ 2.51 – 3.50 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เห็น ดมี าก คะแนนเฉล่ยี 3.50 – 4.50 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็

สรปุ ความพึงพอใจในภาพรวม จากการจดั กิจกรรม การจดั การศึกษาตอ่ เนอื่ ง รูปแบบกลมุ่ สนใจ หลักสตู รการทำขนมถ่วั แปบ จำนวน ๓ ช่ัวโมง เปา้ หมาย 7 คน จดั ได้ 8 คน พบวา่ แบบสอบถามทั้ง 15 ข้อ ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีความพงึ พอใจในระดับ “ดีมาก” ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนอื้ หา ขอ้ รายการ ดีมาก จำนวน รอ้ ยละ 1 เนอื้ หาตรงตามความตอ้ งการ ดี 5 55.56 ปานกลาง 4 44.44 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรุง 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ดีมาก (ร้อยละ 55.56) และระดับดี (ร้อยละ 44.44) ขอ้ รายการ ดีมาก จำนวน ร้อยละ 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความตอ้ งการ ดี 4 44.44 ปานกลาง 5 55.56 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผ้ตู อบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก (ร้อยละ 55.56) และระดับดี (รอ้ ยละ 44.44) ตามลำดับ

ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 3 เน้ือหาปัจจุบันทันสมัย ดี 4 44.44 ปานกลาง 5 55.56 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผตู้ อบแบบสำรวจส่วนมากมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ดีมาก (ร้อยละ 55.56) และระดับดี (รอ้ ยละ 44.44) ตามลำดับ ขอ้ รายการ จำนวน รอ้ ยละ 4 เนอ้ื หามีประโยชนต์ ่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนา ดีมาก 8 88.89 ดี 1 11.11 คุณภาพชีวิต ปานกลาง 0 0.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดับดมี าก(รอ้ ยละ 88.89) และระดับดี (รอ้ ยละ 11.11) ตามลำดบั

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม ดี 2 22.22 ปานกลาง 7 77.78 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรงุ 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดมี าก(ร้อยละ 77.78) และ ระดับดี (ร้อยละ 22.22) ตามลำดบั ข้อ รายการ จำนวน ร้อยละ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ ดมี าก 2 22.22 ดี 7 77.78 ปานกลาง 0 0.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดมี าก(ร้อยละ 77.78) และ ระดับดี (ร้อยละ 22.22) ตามลำดบั

ข้อ รายการ ดีมาก จำนวน ร้อยละ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา ดี 6 66.67 ปานกลาง 3 33.33 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรงุ 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ดมี าก (ร้อยละ 66.67) รองลงมาระดบั ดี (ร้อยละ 33.33) ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย ดี 6 66.67 ปานกลาง 3 33.33 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผูต้ อบแบบสำรวจส่วนมากมีความพงึ พอใจอยูใ่ นระดับดมี าก (ร้อยละ 66.67) รองลงมาระดับดี (ร้อยละ 33.33)

ขอ้ รายการ จำนวน ร้อยละ 9 วธิ ีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ ดมี าก 1 11.11 8 88.89 ดี 0 0.00 ปานกลาง 0 0.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผ้ตู อบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ดี (ร้อยละ 88.89) รองลงมาระดับดีมาก (รอ้ ยละ 11.11) ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร ขอ้ รายการ จำนวน ร้อยละ 10 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรอื่ งที่ถา่ ยทอด ดีมาก 3 33.33 ดี 6 66.67 ปานกลาง 0 0.00 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรงุ 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผตู้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ด(ี รอ้ ยละ 66.67) รองลงมาระดับดีมาก (รอ้ ยละ 33.33)

ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 11 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใชส้ อ่ื เหมาะสม ดี 4 44.44 ปานกลาง 5 55.56 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผูต้ อบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดับด(ี ร้อยละ 55.56) รองลงมาระดับดีมาก (รอ้ ยละ 44.44) ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซกั ถาม ดี 7 77.78 ปานกลาง 2 22.22 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผูต้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดมี าก(ร้อยละ 77.78) รองลงมาระดบั ดี (ร้อยละ 22.22)

ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก จำนวน รอ้ ยละ ดมี าก 6 66.67 ข้อ รายการ ดี 3 33.33 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณแ์ ละส่ิงอำนวยความสะดวก ปานกลาง 0 0.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผ้ตู อบแบบสำรวจส่วนมากมีความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ดี (รอ้ ยละ 66.67) และระดับดีมาก (ร้อยละ 33.33) ข้อ รายการ ดีมาก จำนวน รอ้ ยละ 14 การสือ่ สาร การสร้างบรรยากาศเพอ่ื ให้เกิดการเรียนรู้ ดี 3 33.33 ปานกลาง 6 66.67 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับดี (รอ้ ยละ 66.67) และระดบั ดมี าก (ร้อยละ 33.33)

ข้อ รายการ ดีมาก จำนวน รอ้ ยละ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแก้ปญั หา ดี 7 77.78 ปานกลาง 2 22.22 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 0 0.00 ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผ้ตู อบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับดมี าก (รอ้ ยละ 77.78) และระดบั ดี (ร้อยละ 22.22)

ภาคผนวก

ขอ้ มลู ตดิ ตอ่ กศน.ตำบลช้างใหญ่ กศน.ตำบลช้างใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 098-9842541

ท่ีปรึกษา คณะผูจ้ ดั ทำ นางสาวมุกดา แขง็ แรง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภาชี นางสาววชิ ชุตา แก้วโมรา รักษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร นางสาวหทยั รัตน์ ศริ ิแกว้ บรรณารักษช์ ำนาญการ นางสาวฐิติพร พาสี ครู ครผู ู้ช่วย คณะทำงาน/ผ้รู วบรวมขอ้ มูล/สรปุ ผล/รายงานผล/จดั พมิ พ์รปู เล่ม นายชนะชัย อยั กลู ครู กศน.ตำบล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook