Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลช้างใหญ่

แผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลช้างใหญ่

Published by NFE Changyai By Kru Chanachai., 2021-09-08 10:58:42

Description: แผนตำบลช้างใหญ่

Search

Read the Text Version

ข้อตกลงการจัดทำแผนปฏิบตั ิการตำบลชา้ งใหญ่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ อำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ******************************************** การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำตำบล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ กศน.ตำบลช้างใหญ่ มีวัตถุประสงค์ เพ่ือเป็นทิศทางและแนวทางในการดำเนิน กิจกรรม/โครงการ ของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ โดยการนำไปใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในช่วง ระยะเวลา ๑ ปี หลักการในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำตำบลช้างใหญ่ครั้งนี้ เกิดจากการตกลงร่วมกันและ แสดงเจตจำนงร่วมกัน ระหว่าง กศน.ตำบลช้างใหญ่ กับชุมชนในการจัดการศึกษา การดำเนินงานตลอดจน การตดิ ตามและตรวจสอบร่วมกนั การดำเนินงานการจัดการศึกษาจะเป็นไปตามที่กำหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการ เล่มน้ี เพ่ือให้ บังเกดิ ผลในการปฏิบัติงาน ตามนโยบายของสถานศกึ ษา กศน.อำเภอบางไทร จึงได้ลงลายมือในการเห็นชอบร่วมกันตามรายละเอียด ในแผนปฏิบัติการประจำตำบลช้างใหญ่ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ลงนาม...........................................กรรมการ กศน.ตำบล ( นายสมยศ ชะราครุ ) ลงนาม...........................................กรรมการ กศน.ตำบล (นางสเุ ทพ สุขสามดาว) ลงนาม...........................................ประธานกรรมการ กศน.ตำบล (นายเฉลมิ พล ชะราครุ) ลงนาม...........................................ผอู้ นมุ ัตแิ ผน (นางสาวมุกดา แข็งแรง) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภาชี รักษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร

คำนำ การจัดทำแผนปฏิบัติการ กิจกรรม/โครงการ ประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๔ ได้ดำเนินการจัดทำโดย การบูรณาการ ให้สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ในการยกระดับการศึกษา ให้กับประชากรวัยแรงงาน ประชาชนทพี่ ลาดโอกาส ขาดโอกาส และด้อยโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งการ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนผู้สนใจได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยให้ทกุ ภาคสว่ นของสงั คมเขา้ มีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา แผนปฏบิ ัตกิ ารกจิ กรรม/โครงการ เล่มนี้ ประกอบด้วยขอ้ มูลพน้ื ฐานของตำบลชา้ งใหญ่ การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกและแผนการดำเนิน การจัดกิจกรรม/โครงการ กศน.ตำบล เพื่อใช้เป็น แนวทางในการดำเนินงาน ปี ๒๕๖๔ ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงคท์ ่ีกำหนดไว้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ นายชนะชัย อัยกูล ครู กศน.ตำบล

สารบัญ หน้า ขอ้ ตกลงการจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ๒๕๖๔....................................................................................ก คำนำ...................................................................................... ....................................................................... ข สารบัญ......................................................................................................................................................... ค บทท่ี ๑ ข้อมลู พนื้ ฐานตำบลช้างใหญ.่ ........................................................................................................๑ บทท่ี ๒ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม กศน. ตำบล / แขวง (SWOT Analysis).......................................๑๓ บทท่ี ๓ แผนการใช้งบประมาณท่ีได้รบั จัดสรร ประจำปีพุทธศกั ราช ๒๕๖๔.........................................๑๘ ภาคผนวก...................................................................................................................................................๔๒ - นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สนง.กศน. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

บทท่ี ๑ ข้อมลู พน้ื ฐานตำบลช้างใหญ่ สภาพท่วั ไปของตำบล ประวัติความเปน็ มา เดิมพ้นื ที่ชุมชนเป็นปา่ ชาวบ้านเล่ากันต่อๆ มาว่าบริเวณท่ีตั้งของตำบลช้างใหญ่ ในปัจจุบันมี ฝูงช้างมาอาศัยมากมาย เป็นป่าไผ่และมีรางเพนียดช้าง ซ่ึงเป็นที่ดักของช้างมารวมชุมนุมไว้ท่ีบริเวณแห่งน้ี ซ่ึง ชาวบา้ นเห็นรอยเท้าช้างใหญ่มาก จึงใช้เรยี กชอ่ื ตำบลแห่งน้ีวา่ “ตำบลชา้ งใหญ่” พ้ืนที่ สภาพท่ัวไปเป็นทุ่งนาเสียส่วนใหญ่ มีการทำสวนบ้างบางส่วน มีท่ีรกร้างว่างเปล่า เป็นป่าสะแก และ อา่ งนำ้ มโี รงงานแปรรูปมนั สำปะหลงั คลังสนิ ค้าทางการเกษตร และคลงั ปุ๋ยเคมี อาณาเขตตำบล ทิศเหนือ จรด ตำบลราชคราม อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา ทศิ ใต้ จรด ตำบลโพแตง อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยธุ ยา ทศิ ตะวนั ออก จรด ตำบลบางกระสนั้ อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยธุ ยา ทศิ ตะวันตก จรด แมน่ ้ำเจ้าพระยา

จำนวนประชากรของตำบล จำนวนหลงั คาเรือน : 482 หลงั คาเรอื น จำนวนประชากร : 2,456 คน จำนวนผู้สูงอายุ : 197 คน จำนวนผูส้ งู อายุ ที่ปว่ ยเปน็ โรคเรื้อรัง : 63 คน จำนวนเดก็ แรกเกิด ถงึ 6 ปี : 248 คน จำนวนผสู้ ูงอายุ ที่ช่วยตนเองไม่ได้ : 5 คน จำนวนผู้พกิ าร : 14 คน จำนวนสตรตี ั้งครรภ์ : 15 คน จำนวนสตรอี ายุ 35 ปี ขน้ึ ไป : 570 คน เขตการปกครอง ตำบลชา้ งใหญ่ แบง่ การปกครองเป็น 4 หมบู่ า้ น คือ หมู่ท่ี ๑ ชื่อบา้ น บ้านช้าง หมูท่ ี่ ๒ ชอื่ บา้ น บ้านชา้ ง หมู่ท่ี ๓ ช่อื บา้ น บา้ นชา้ ง หมทู่ ี่ ๔ ช่ือบ้าน บ้านไร่ ทำเนยี บกำนนั และผ้ใู หญบ่ ้าน

๑. นายเฉลิมพล ชะราครุ กำนนั ตำบลช้างใหญ่ ๒. นายวชิ าญ เขียวไทย ผ้ใู หญ่บา้ นหมทู่ ี่ 2 ๓. นางสเุ ทพ สุขสามดาว ผ้ใู หญบ่ า้ นหมูท่ ่ี ๓ ๔. นายนายวิทยา หลักวโิ รจน์ ผูใ้ หญบ่ ้านหมู่ท่ี ๔ คณะกรรมการ กศน.ตำบลช้างใหญ่ ๑. นายเฉลิมพล ชะราครุ ประธานกรรมการ ๒. นางสุเทพ สขุ สามดาว รองประธานกรรมการ ๓. นายบญุ สง่ โตสมบตั ิ กรรมการ ๔. นายทรงวุฒิ รกั ษช์ น กรรมการ ๕. นายสมเกยี รติ วบิ ูลย์ กรรมการ ๖. นายสมชาย สขุ สามดาว กรรมการ ๗. นายบญุ ชอบ พงษ์ปราโมทย์ กรรมการ ๘. นายสมพงษ์ หอมหวน กรรมการ ๙. นายประเสริฐ พลีรขุ ชาติ กรรมการ ๑๐.นายนายสมยศ ชะระครุ กรรมการ ๑๑.นายชนะชัย อัยกูล กรรมการและเลขานุการ อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ ๑. นางบรรจง ผลนาค ๒. นางหันตรา ชะราครุ ๓. นายวุฒิชยั อรัญวาศรี ๔. นายธีรวฒั น์ สขุ อำไพ ภูมปิ ญั ญา/วิทยากร ในตำบลช้างใหญ่ และอำเภอบางไทร

ที่ ชื่อ-สกุล ประเภทภูมิปญั ญา ความรูค้ วามสามารถ ท่อี ยู่ปจั จบุ ัน ๑ นางนำ้ ผงึ้ เดชาประเสรฐิ เกษตรกรรม ๒ นางสมั ฤทธ์ิ สุขสมทิพย์ ศลิ ปหัตถกรรม เกษตรผสมผสาน/ทำนา ๑๓ ม. ๓ ตำบลหนา้ ไม้ ๓ นางสมพิศ ปลืม้ สุข ศลิ ปหตั ถกรรม ๔ นางอารี มหาชัย ศลิ ปหัตถกรรม การสานพัด ๓๙ ม. ๓ ตำบลหนา้ ไม้ ๕ นายพวง หนุ่ ธานี ศลิ ปหัตถกรรม ๖ นายอภิเดช เดชาประเสรฐิ ศลิ ปหตั ถกรรม การสานพัด ๒๘ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ ๗ นางสมรัตน์ มรี อด ศิลปหัตถกรรม ๘ นางจรูญ ธาระพุฒิ ศลิ ปหตั ถกรรม การสานพดั ๑๓/๑ ม. ๓ ตำบลหนา้ ไม้ ๙ นางสมบัติ เกตโุ ชติ ศิลปหัตถกรรม ๑๐ นางยพุ า สุขสมพล ศลิ ปหตั ถกรรม การสานพัด ๔๖ ม. ๓ ตำบลหนา้ ไม้ ๑๑ นางแสวง หุ่นธานี ศลิ ปหัตถกรรม ๑๒ นางสนอง รามคุณ ศิลปหตั ถกรรม การสานพัด ๑๓ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ ๑๓ นางนงลกั ษณ์ สขุ สนทิ ศิลปหตั ถกรรม ๑๔ นางจำนง ชลสภุ าพ ศลิ ปหัตถกรรม การสานพดั ๓๓ ม. ๓ ตำบลหนา้ ไม้ ๑๕ นางสวิง ปิน่ พรหม ศลิ ปหตั ถกรรม ๑๖ นางสมใจ ปล้ืมสุข ศิลปหัตถกรรม การสานพัด ๒๖ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ ๑๗ นางราตรี ใจจนิ ดา ศิลปหัตถกรรม ๑๘ นางจำลอง รามคุณ ศลิ ปหตั ถกรรม การสานพัด ๔๐ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ ๑๙ นางมงคล ลทั ธิ ศิลปหัตถกรรม ที่ ชือ่ -สกุล การสานพัด ๑๕ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ ๒๐ นายประหยัด จติ รี ประเภทภมู ปิ ัญญา ศิลปหัตถกรรม การสานพดั ๒๕ ม. ๓ ตำบลหนา้ ไม้ การสานพัด ๑๘ ม. ๓ ตำบลหนา้ ไม้ การสานพัด ๘๙ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ การสานพดั ๒๘ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ การสานพดั ๓๑ ม. ๓ ตำบลหนา้ ไม้ การสานพัด ๒๘ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ การสานพดั ๔๖ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ การสานพัด ๑๖ ม. ๓ ตำบลหน้าไม้ การสานพดั ๒๓ ม. ๓ ตำบลหนา้ ไม้ ความรู้ความสามารถ ที่อยู่ปัจจุบัน สรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ย ๑๕ ม. ๙ ตำบลบา้ นกลงึ

พลอย ๒๑ รต.ชัยพร ชำนาญ ศิลปหตั ถกรรม ผลิตภัณฑ์เปา่ แกว้ ๑๐๐/๓ ม.๓ ตำบลบา้ นกลึง ๒๒ นางถนอม กล่ินระรนื่ เกษตรกรรม ๒๓ นางมาลี โกษะ ศิลปหตั ถกรรม การทำน้ำลกู ยอ ๓/๑ ม.๒ ตำบลชา้ งนอ้ ย ๒๔ นางมาลี โกษะ การแพทย์แผนไทย ๒๕ นางสนุ ยี ์ เดชาประเสริฐ ศลิ ปหตั ถกรรม ชา่ งแทงหยวกกล้วย ๑๕ ม.๔ ตำบลบ้านม้า ๒๖ นายวนิ ัย เจรญิ ผล ศิลปหตั ถกรรม ๒๗ นางสำเภา สุขสุแพทย์ ศิลปหตั ถกรรม หมอตา ๑๕ ม.๔ ตำบลบ้านม้า ๒๘ นายสวัสด์ิ อรรถอนิ ทรยี ์ เกษตรกรรม ประดษิ ฐ์ดอกไมใ้ ยบัว ๕/๑ ม.๑ ตำบลหน้าไม้ ๒๙ น.ส.เช้า สขุ เกษม เกษตรกรรม การทำเครื่องประดับมุก ๓/๑ ม.๒ ตำบลชา้ งน้อย ๓๐ นางบุญทอง เสาเวียง เกษตรกรรม ๓๑ นายเสวยี ง จติ ระทศ เกษตรกรรม ทำไม้กวาดทางมะพร้าว ๓/๑ ม.๒ ตำบลชา้ งน้อย ๓๒ นายบุญเร่มิ โกมุตบิ าล เกษตรกรรม ๓๓ นายประมาณ สวา่ งญาติ เกษตรกรรม ปุ๋ยหมกั ชวี ภาพ ๓/๑ ม.๒ ตำบลช้างนอ้ ย ๓๔ น.ส.จินดา กมตุ ริ า เกษตรกรรม ๓๕ นางประไพ แดงล่ิม เกษตรผสมผสาน/การทำ ๓/๑ ม.๒ ตำบลช้างน้อย ๓๖ นางกัญญนนั ท์ นิภทั รก์ ุลวฒั น์ ศิลปหัตถกรรม นา ศิลปหัตถกรรม ๓๗ นายมานพ ชมลาภ ปยุ๋ หมักชีวภาพ ๓๒/๒ ม.๒ ตำบลช้างนอ้ ย ศิลปหตั ถกรรม ท่ี ช่ือ-สกุล เกษตรผสมผสาน ม.๓ ตำบลราชคราม ๓๘ นายธนู สขุ สมโภชน์ เกษตรผสมผสาน ๖ ม.๑ ตำบลบา้ นแปง้ เกษตรผสมผสาน ๑๓ ม.๒ ตำบลชา้ งใหญ่ การเพาะเหด็ นางฟา้ ๒๙/๑ ตำบลบางไทร ปยุ๋ หมักชวี ภาพ ๑๙/๒ ม.๒ ตำบลหอ่ หมก ดอกไม้ประดษิ ฐจ์ ากผ้า ๒๔ ม.๔ ตำบลโพแตง ม.๑ ตำบลราชคราม กลองยาว ประเภทภมู ปิ ัญญา ความร้คู วามสามารถ ท่อี ยู่ปัจจุบัน เกษตรกรรม เกษตรผสมผสาน ๑๑ ม.๑ ตำบลชา่ งเหล็ก

๓๙ นายณรงค์ศักดิ์ กันต์งาม ภาษาและวรรณกรรม ศิลปะประดิษฐ์ดนตรี ๑๙/๑ ม.๔ ตำบลชา้ งใหญ่ ๔๐ นางกำไล โปร่งทอง คหกรรม ๖๑/๑ ม.๒ ตำบลบ้านเกาะ ๔๑ นางสมใจ แจง้ คง คหกรรม การทำขนมไทย ๓๑/๑ ม.๓ ตำบลสนามชัย ๔๒ นายสว่าง วงษจ์ ำนงค์ ศลิ ปหัตถกรรม การแปรรปู น้ำพรกิ ๒๗ ม.๗ ตำบลบางไทร เกษตรกรรม ๔๓ น.ส.กมลพร วงค์ถนอม เกษตรกรรม ดนตรีไทยประเภท ๔๔ นางวาสนา สุขพลกิจ เกษตรกรรม เครอ่ื งสาย ๔๕ นายสมชาย แร่ใจดี ๔๖ นางดวงเดือน ดังกอ้ ง ศิลปหัตถกรรม การทำป๋ยุ น้ำชวี ภาพ ๒๖ ม.๖ ตำบลบา้ นมา้ ๔๗ น.ส.องั คณา เกตุบนั เทงิ เกษตรกรรม การขยายพนั ธุ์พืช ๑๐ ม.๔ ตำบลแคตก ๔๘ นางเน่อื ง สมนกึ เกษตรกรรม การขยายพันธพุ์ ชื ๖๑/๑ ม.๒ ตำบลบ้านเกาะ ประดษิ ฐโ์ คมไฟ ๕ ม.๒ ตำบลไม้ตรา ๔๙ นางอำไพ มีพลู คหกรรม เกษตรผสมผสาน ๑๐ ม.๔ ตำบลกกแกว้ บรู พา เกษตรผสมผสาน ๑๙ ม.๒ ตำบลห่อหมก ๕๐ นายธนากร แกว้ พลู ศรี เกษตรกรรม การทำนาหวา่ นนำ้ ตม/ ๕๑ นายนภา สุขสมพืช ศลิ ปหตั ถกรรม เกษตรผสมผสาน ๔๔/๑ ม.๒ ตำบลกระแชง ๕๒ นายสชุ าติ เจยี มสิทธิพรกลุ เกษตรกรรม ๕๓ นายสมมาตร อ่อนน่มุ เกษตรกรรม การเลีย้ งปลา ๖ ม.๒ ตำบลกระแชง ๕๔ นางราตรี แกว้ พูลศรี เกษตรกรรม เรอื กระแชงจำลอง ๔๖/๒ ม.๕ ตำบลกระแชง ๕๕ นางสมถวลิ วจีสัจจะ ศิลปหัตถกรรม การเลีย้ งไสเ้ ดือนดิน ๔๙/๑๑ ม.๒ ตำบลกระแชง การเลย้ี งกุ้งกา้ มแดง ๔๖/๑ ม.๒ ตำบลกระแชง การผลิตกอ้ นเช้ือเหด็ ๑๘ ม.๒ ตำบลกระแชง ผลติ ภณั ฑ์จากผกั ตบชวา ๗ ม.๔ ตำบลกระแชง

ข้อมูลอาชีพของตำบล ประชากรตำบลช้างใหญ่ อาชพี หลัก ทำนา ทำสวน อาชีพเสรมิ รับจ้าง สถานที่ทีส่ ำคัญของตำบลช้างใหญ่ ๑. กศน.ตำบลช้างใหญ่ ๒. ศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร ๓. วัดช้างใหญ่ ๔. สถานีตำรวจภธู รตำบลชา้ งใหญ่ ๕. สถานีอนามยั ตำบลช้างใหญ่ ๖. สถานอี นามยั คัดนางค์ ๗. โรงเรยี นไทยรัฐวิทยา 2 เส้นทางคมนาคม การเดนิ ทางเขา้ ส่ตู ำบลชา้ งใหญ่ ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3309 มีรถโดยสารสายรงั สติ – บางปะอิน รถสายเชยี งรากน้อย – บางปะอิน และรถปรับอากาศสายกรุงเทพฯ – บางปะอิน วิ่งผ่านตลอดทุกฤดูกาล ต.ช้างใหญ่ อยู่ห่างจากอำเภอบางไทร 10 กม. สภาพพ้นื ท่แี ละระบบสาธารณปู โภค ๑. นำ้ ประปา ๒. ไฟฟ้า ๓. อินเตอรเ์ น็ต ๔. การคมนาคมสะดวก

แหลง่ เรียนร้ใู นตำบลชา้ งใหญ่ ศูนยศ์ ลิ ปาชีพบางไทร พระราชกรณียกิจท่ีสำคัญอย่างหน่ึงของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ คือการเสด็จ พระราชดำเนินตามพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไปทรงเยย่ี มราษฎรในทุกแห่งหน ทั่วทุกภาคของประเทศไทย พระราชกรณียกิจน้ี ได้ทรงปฏิบัติติดต่อกันมานานนับเป็นระยะเวลาหลายสิบปีแล้ว จึงทำให้ทรงเห็นสภาพ ความเป็นอยู่ท่ีแท้จริงของราษฎรว่ามีความทุกข์สุขอย่างไร ที่ทรงเป็นห่วงมากก็คือ ความยากจนของราษฎร จึงทรงมีพระราชประสงค์จะจัดหาอาชีพให้ราษฎรทำ เพื่อเพิ่มพูนรายได้ให้เพียงพอแก่การยังชีพ ในภาวะ ปัจจุบัน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงสนพระทัยในงานฝีมือพ้ืนบ้าน หรือศิลปกรรมพ้ืนบ้าน ที่จัดทำขึ้นโดยใช้วัสดุในท้องถิ่นมาก พระองค์จึงส่งเสริมในเร่ืองน้ีโดยการจัดให้มีครูออกไปฝึกสอนราษฎร เป็นการช่วยปรับปรุงคุณภาพ ของงานให้ดีย่ิงขึ้น เม่ือราษฎรมีความชำนาญแล้วผลงานท่ีผลิตออกมา ก็จะทรง รับซื้อไว้ด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ซ่ึงงานน้ีต่อมาได้ขยายออกเป็น มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เม่ือวันที่ 21 กรกฏาคม 2519 และได้ทรงจัดต้ังโรงฝึกอบรมศิลปาชีพ ขึ้นแหง่ แรกทพ่ี ระตำหนักสวนจิตรลดา ในวันฉัตรมงคลปี 2523 สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายธานินทร์ กรัยวิเชียร รองประธานกรรมการมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ สรรหาท่ีดินที่ใกล้เคียงกับ พระราชวังบางปะอนิ เพอ่ื จัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพอีกแห่งหน่งึ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร จัดหาที่ดินได้ 2 แปลง เป็น ท่ีดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้รฐั บาลจดั การปฏิรูปท่ีดินเพ่ือใหร้ าษฎรผยู้ ากไรไ้ ด้มที ่ีอยู่และทำมาหากินตามอัตภาพ แปลงหน่ึง อยู่ท่ีอำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก อีกแปลงหน่ึงอยู่ท่ี อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ล้นเกล้าฯ ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรท่ีดินแปลงท่ีอยู่ท่ีอำเภอบางไทรด้วยพระองค์เอง

ซ่ึงที่ดินแปลงน้ีมีพ้ืนท่ีท้ังหมดประมาณ 750 ไร่เศษ และทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยว่าสมควรจะสร้างศูนย์ ศิลปาชีพ ณ ที่น้ีวันท่ี 3 มิถุนายน 2523 รัฐบาลได้น้อมเกล้าฯ ถวายท่ีดินแปลงน้ีแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถในวโรกาสท่ีทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 4 รอบ และรัฐบาลยังได้มีมติให้หน่วยราชการ ต่าง ๆ สนับสนุนโครงการของศูนย์ศิลปาชีพ บางไทรฯ ซ่ึงสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงจัดต้ังขึ้นโดยมอบหมายให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยสำนักงานการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมเป็น ผู้รับผิดชอบในด้านการดูแลสถานที่และการฝึกอบรม และมีหน่วยทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ มาช่วยดูแล ในด้านการรักษาความสงบเรียบร้อย และประสานงานกับหน่วยงานตา่ ง ๆ ในการจัดฝึกอบรมศิลปาชีพเร่ือยมา และมีการซ้ือทีด่ นิ เพ่มิ เตมิ อีก 200 ไรเ่ ศษ รวมเปน็ เนื้อท่ีของศูนย์ฯ ทัง้ หมดเกือบ 1,000 ไร่ในปจั จุบัน สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิพระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จ พระราชดำเนินเปิดศูนย์ศิลปาชีพ บางไทรฯ อย่างเป็นทางการ เมอ่ื วนั ท่ี 7 ธันวาคม 2527 แหล่งเรียนรดู้ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง ตง้ั อยู่ หมู่ 2 ตำบลช้างใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา อยู่ภายใต้การดูแลของปราชญ์ ชาวบ้าน ประมาณ สว่างญาติ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง การปลูกผักสวนครัว การทำนาข้าว ให้แก่ประชาชนผสู้ นใจในพน้ื ท่ีตำบลชา้ งใหญ่ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ นายประมาณ สว่างญาติ ผลงานที่ประสบความสำเร็จ - รางวัลพระราชทานครอบครัวชาวนาดีเด่นประจำภาคกลางโดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกมุ รีฯ ประจำปี 2558 - โล่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอพียงชุมชนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2552 จากนายอนันต์ ภู่สิทธิกุล เลขาธิการ สำนักงานการปฏริ ูปทด่ี ินเพอื่ การเกษตรกรรม - รางวัลชนะเลิศระดับภาค (ภาคกลาง) ราษฎรที่นำความรู้จากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีไปใช้อย่าง ต่อเนื่องและพฒั นาปรากฏผลดีเด่น ประจำปี 2552 - รางวัลรองชนะเลิศระดับประเทศ ราษฎรท่ีนำความรู้จากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีไปใช้อย่างต่อเน่ือง และพฒั นาปรากฏผลดเี ด่น ประจำปี 2552 - รางวลั ที่ 1 จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา อาสาปฏริ ปู ท่ดี นิ เพอ่ื เกษตรกรรม (อสปก.) ประจำปี 2552 - รางวลั ชนะเลิศระดบั จงั หวดั ศนู ยส์ ง่ เสริมและผลติ พนั ธุข์ า้ วชุมชน ประจ าปี 2552 และ ประจำปี 2553 - รางวลั ชนะเลศิ ที่ 3 ระดบั เขต (เขต 1) ศนู ยส์ ่งเสรมิ และผลิตพันธ์ุข้าวชมุ ชน ประจำปี 2554 - รางวลั ชมเชย สาขาปราชญด์ เี ด่น ระดบั จงั หวดั ประจำปี 2555 - รางวลั ชนะเลิศระดบั จงั หวัด ศนู ยส์ ่งเสริมและผลติ พนั ธข์ุ า้ วชมุ ชน ประจำปี 2555 - ได้รับคัดเลือกเป็นศูนย์เรียนรู้เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านของสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2556 - เกษตรกรปราดเปร่อื ง ด้านขา้ ว จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ปี 2556

- รางวลั เกษตรกรทำนาดีเดน่ ระดับเขต (เขต 1) ปี 2557 - รางวัลเกษตรกรต้นแบบสาขาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับจังหวัด โดยสภาเกษตรกรจังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา ปี 2558 - รางวัลการสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดนิ ระดับจังหวัด สาขาปราชญเ์ กษตรดีเดน่ ปี 2561 สถานทต่ี ดิ ต่อ 62 ม.2 ต.ชา้ งใหญ่ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา 13190

บทที่ ๒ การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม กศน. ตำบล / แขวง (SWOT Analysis) ๑. ปัญหาและความต้องการทางการศกึ ษาของประชาชนที่จำแนกตามลักษณะของกลุ่มเปา้ หมาย ท่ี การจดั การศึกษา/ กลุ่มเปา้ หมาย ความต้องการทางการศกึ ษา ปัญหา 1 ดา้ นการรหู้ นังสอื กล่มุ ประชาชนผู้ไม่ร้หู นงั สือ - อ่านออก เขียนได้ - อ่านไม่ออก เขียน กลมุ่ ผู้สงู อายุ (60 ปขี นึ้ ไป) - นำความรู้ท่ไี ด้ไปใช้ในการค้นหาความรู้ ไม่ได้ เพ่ิมเติมจากแหล่งอื่น - ผูส้ งู อายุท่ีไม่ต้องการ เรียน - ไม่มเี วลามาเรยี น 2 ด้านการศึกษาข้นั กลมุ่ ผู้พลาดโอกาส - จบการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พนื้ ฐาน กลมุ่ ผขู้ าดโอกาส - เพม่ิ เตมิ ความรู้เดิมท่ียงั ไม่จบการศกึ ษา - เดก็ ออกกลางคนั ผดู้ ้อยโอกาส ข้นั พืน้ ฐาน - ทอ้ งก่อนวัยอันควร ผสู้ งู อายุ - นำวุฒิการศกึ ษาไปสมคั รงาน - อายุเกินเกณฑ์แต่ยัง - นำวฒุ กิ ารศกึ ษาไปปรบั ฐานเงินเดือน ไมจ่ บการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 3 ดา้ นอาชีพ กลมุ่ ประชากรวยั แรงงาน - หาอาชพี ใหม่ - ไมม่ ีงานทำ (15-59 ปี) - ประกอบอาชพี เสริม - รายไดไ้ ม่พอกบั กลุม่ ประชาชนตำบลชา้ งใหญ่ - ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ รายจา่ ย ทสี่ นใจ 4 ดา้ นการพัฒนาทกั ษะ กลมุ่ ประชากรวยั แรงงาน - เพมิ่ ความรู้ ความสามารถในการทำงาน อาชพี (15-59 ปี) - เพมิ่ ประสบการณ์ และความชำนาญใน - ขาดความรู้ ความ กลมุ่ ประชาชนตำบลช้างใหญ่ หน้าที่การงาน เขา้ ใจในการประกอบ ท่ีสนใจ อาชีพ 5 ดา้ นการพัฒนาสังคม กลมุ่ ผู้สูงอายุ (60 ปขี ้ึนไป) - สง่ เสริมให้ประชาชนเกดิ การเรยี นรู้ และชมุ ชน กลมุ่ ประชาชนตำบลชา้ งใหญ่ บรู ณการความรู้ ประสบการณแ์ ละทักษะ - มผี สู้ ูงอายุจำนวนมาก ทส่ี นใจ อาชีพ เขา้ มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนต์ ่อการพัฒนา - ความหา่ งระหว่างวยั สังคมและชุมชน

ท่ี การจดั การศกึ ษา/ กลุ่มเปา้ หมาย ความต้องการทางการศกึ ษา ปัญหา 6 ดา้ นปรชั ญาเศรษฐกจิ กลมุ่ ประชากรวัยแรงงาน - ประชาชนส่วนใหญป่ ระสบปญั หาหน้ีสิน พอเพียง (15-59 ป)ี ครวั เรอื น จึงควรนำแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง - ขาดการนำไปใช้ และ กลุ่มประชาชนตำบลช้างใหญ่ ไปใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ เพ่ือแกไ้ ขปัญหา ปฏบิ ัติจริง ท่ีสนใจ - สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหเ้ กดิ แหล่งเรียนรู้ - ขาดแหลง่ เรียนรู้ เศรษฐกจิ พอเพียงในชุมชน เศรษฐกจิ พอเพียงใน ชมุ ชน 7 ด้านการศึกษาตาม กลุ่มประชาชนตำบลชา้ งใหญ่ - ประชาชนมโี อกาสแสวงหาและรบั ความรู้ อัธยาศยั ที่สนใจ ทักษะ ทศั นคติ ความเข้าใจ อันจะนำไปสู่การ - ประชาชนในพน้ื ท่ี พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม ขาดความกระตือรือร้น ในการเรียนรู้ - สอื่ และอุปกรณย์ งั ไม่ เพียงพอต่อความ ตอ้ งการของประชาชน

สว่ นที่ 2 การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม กศน. ตำบล / แขวง (SWOT Analysis) 1. การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน ตารางวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในองค์กร ประเด็นพิจารณา จดุ แข็ง (S – Strength) จดุ ออ่ น (W - Weakness) ๑. ดา้ นบคุ ลากร - จบปริญญาตรี เอกคอมพวิ เตอร์ - ๒. ด้านงบประมาณ ศึกษา ๓. ด้านอาคารสถานที่ ๔. สอื่ วสั ดุอุปกรณ์ - มคี วามสามารถด้านการบริหาร - ไมใ่ ช่คนในพ้นื ท่ี จัดการ กศน.ตำบล - ประสานงานกบั ภาคเี ครือข่าย - ในพ้ืนท่ีไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ - วทิ ยากรมีความรู้ ความสามารถ - ในเรือ่ งท่สี อน - คณะกรรมการ กศน.ตำบลมี - ความรแู้ ละให้ความรว่ มมือเป็น อย่างดี - ได้รบั การสนบั สนนุ งบประมาณ - ข้ันตอนในการเบิกจา่ ย จากสำนักงาน กศน. อยา่ ง งบประมาณยงุ่ ยาก และลา่ ช้า ต่อเน่ือง - ไดร้ ับการสนบั สนุนงบประมาณ - งบประมาณท่ีได้รบั การจดั สรร จากภาคีเครือขา่ ยในท้องถ่ิน ไม่เพยี งพอต่อการจดั การเรียน การสอนแก่กล่มุ เป้าหมายอย่าง ทว่ั ถงึ - ไดร้ บั การเอ้ือเฟอื้ สถานทีท่ ่ีใชใ้ น - กศน.ตำบลไมเ่ ป็นเอกเทศ การจัดการเรยี นการสอน การศกึ ษาข้นั พื้นฐานจากภาคี เครือข่าย - อาคารสถานที่มีความมัน่ คง แขง็ แรง - มสี อื่ สำหรับใช้ในการจดั การ - สอื่ ท่ีใชจ้ ดั การเรียนการสอน เรียนการสอนหลากหลาย เนือ้ หาไม่ทันสมยั และมเี น้ือหาท่ี - มีสื่อและวัสดอุ ุปกรณเ์ พียงพอ ไม่ครอบคลุม ตอ่ ความต้องการ ตารางวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์กร

ประเด็นพจิ ารณา จดุ แขง็ (S – Strength) จดุ ออ่ น (W - Weakness) ๕. โครงสร้างองค์กร ๖. การบริหารจัดการ - มีส่อื และวัสดอุ ปุ กรณเ์ พียงพอ ๗. ค่านิยมองค์กร ต่อความต้องการ - มีคณะกรรมการ กศน.ตำบล ที่ - ไมค่ อ่ ยมีเวลาว่างตรงกนั ในการ มคี วามรู้ ความสามารถ พูดคยุ วางแผนการดำเนนิ งาน - มีองค์กรนักศึกษาคอยชว่ ยเหลอื ของ กศน.ตำบล ในการดำเนนิ กิจกรรมต่างๆ - มีการบรหิ ารจดั การการ - การจดั เกบ็ เอกสารหลักฐานใน ดำเนนิ งานของ กศน.ตำบล การบรหิ ารจัดการ กศน.ตำบล รว่ มกบั ภาคีเครือขา่ ย ยังไมเ่ ป็นระบบ - กำหนดปรชั ญา วิสยั ทศั นใ์ นการ ดำเนนิ งานของ กศน.ตำบล ร่วมกนั กับภาคเี ครือขา่ ย - เนน้ การทำงานร่วมกันเป็นทีม กบั ทกุ ภาคสว่ นในพ้ืนท่ี 2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก

ตารางวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร ประเด็นพิจารณา โอกาส (O – Opportunities) อุปสรรค (T - Threats) ๑. ด้านนโยบาย กฎหมายที่ - นโยบายเรง่ ด่วนด้านการสง่ เสรมิ - นโยบายบางตัวยังยากตอ่ การ เก่ยี วขอ้ ง อาชีพ การมีงานทำ นำไปปฏบิ ตั ิจริง ๒. ดา้ นความปลอดภัยในพน้ื ท่ี - ประชาชนในพื้นที่ช่วยกันเป็นหู เปน็ ตาสอดส่องดูแลความปลอดภัย ๓. ดา้ นสงั คม วัฒนธรรม - มีความเป็นอยู่แบบสังคมชนบท - ประชากรในวัยทำงาน ย้ายถิ่น อยู่รว่ มกันแบบเครอื ญาติ ที่อยู่อาศยั - มีขนบธรรมเนยี ม ประเพณีท่ีสบื ทอดกนั มายาวนาน เช่น การรดน้ำ ดำหัว การทำบญุ ในวันสำคญั ต่างๆ ๔. ดา้ นเศรษฐกิจ - ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ - ประชาชนบางสว่ นยังมีรายได้ เกษตรกรรม ไมพ่ อเลี้ยงครอบครัว - น้อมนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน ๕. ดา้ นเทคโนโลยี - นกั ศึกษาสว่ นใหญ่มีอปุ กรณ์ - สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นตขดั ข้อง สอ่ื สารทท่ี นั สมัย บอ่ ย ทำให้ใช้งานได้ไม่เต็มท่ี ๖. ด้านการคมนาคม - เสน้ ทางการคมนาคมในตำบลมี - ไมม่ ีรถโดยสารประจำทาง ตดิ ตอ่ ส่อื สาร ความสะดวก - มโี ครงข่ายโทรศัพท์ครอบคลุม พน้ื ที่ของตำบล ๗. ด้านสิ่งแวดล้อม - มรี ะบบนิเวศน์ที่อุดมสมบูรณ์ - มีการใชส้ ารเคมีในการประกอบ อาชีพเกษตรกรรม

บทที่ ๓ แนวทาง/กลยทุ ธ์การดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ จากผลการประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของสถานศึกษาสถานศึกษา สามารถนำมากำหนดทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ วสิ ัยทัศน์ ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตวั ช้ีวัดความสำเร็จและกลยทุ ธ์ ดงั น้ี ทิศทางการดำเนนิ งานของสถานศึกษา วิสยั ทศั น์ กศน.อำเภอบางไทร เป็นองค์กรหลักในการสร้างสังคมอุดมปัญญา ด้วยการจัดการให้เกิดการ เรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ประชาชนท่ีอยู่นอกโรงเรียนของอำเภอบางไทร เปิดโอกาสให้แก่ประชาชนอำเภอ บางไทร เขา้ ถึงการเรยี นร้อู ยา่ งต่อเน่ืองอยา่ งมีคุณภาพและท่ัวถึง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญา คดิ เป็น ทำเป็น แกป้ ัญหาเปน็ อตั ลักษณ์ ผูเ้ รยี นได้รับโอกาสในการเรยี นรู้ตลอดชีวิต เอกลกั ษณ์ สถานศึกษาพอเพียง พนั ธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของเครือขา่ ยในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. สง่ เสริมชุมชนใหพ้ ฒั นากระบวนการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ เพือ่ การพฒั นาท่ียั่งยนื

4. พัฒนาและส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มาใชใ้ ห้เกิดประสิทธิภาพตอ่ การศกึ ษาตลอดชีวิต 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อให้สามารถดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนอำเภอบางไทรได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั ทมี่ คี ุณภาพอย่างทัว่ ถงึ ครอบคลุมละเป็นธรรม 2. ผ้เู รียนและผู้รบั บรกิ ารได้รับการศึกษาที่มคี ุณภาพได้มาตรฐานและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือนำไปสู่ความเป็นพลเมืองดี มีความเชื่อม่ันศรัทธาในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ท่ีมพี ระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมขุ มีคุณธรรม จริยธรรม มคี วามภาคภมู ิใจในความเป็นไทย และมีภูมิคุ้มกนั ภยั จากยาเสพตดิ 3. ผู้เรียนและผู้รับบริการมีระดับการศึกษาและคุณภาพชีวิตท่ีสูงขึ้น มีอาชีพท่ีสามารถสร้าง รายได้ให้กับตนเองและครอบครัวอย่างยั่งยืน บนพ้ืนฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจเชิง สรา้ งสรรค์ 4. ชุมชนมีการจัดการความรู้และกระบวนการเรียนรู้เพ่ือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มแี หล่งการเรยี นรูอ้ ย่างทว่ั ถงึ มีกลุ่มอาชีพท่หี ลากหลาย สามารถพัฒนาเข้าไปสรู่ ะดบั วสิ าหกิจชุมชน (OTOP Mini MBA) 5. ประชาชนมีความรแู้ ละทักษะด้านภาษาอังกฤษ ภาษาจนี และภาษากลมุ่ ประเทศอาเซียน 6. ภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมดำเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่าง กว้างขวางและตอ่ เน่ือง 7. ชุมชนได้รับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ มีกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนา ชุมชนในรูปแบบของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมี กศน.ตำบลและศูนย์การเรียน ชุมชน

8. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษา และกิจกรรมการเรียนรู้ทาง วิทยาศาสตร์ ที่มีคุณภาพมาใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมายและประชาชนอย่าง ทวั่ ถึง 9.หน่วยงานและสถานศึกษานำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารองค์กร เพ่ือเพ่ิม ประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยได้อยา่ งมปี ระสิทธิผล 10.สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการท่ีมีคุณภาพ สามารถจัดบริการและตอบสนองความ ตอ้ งการของผู้เรียนและผู้รับบรกิ ารไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ตัวช้ีวดั ความสำเรจ็ 1. รอ้ ยละของผ้เู รยี น/ผ้รู บั บริการ ทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ ไดร้ บั บริการการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย สอดคล้องกบั สภาพปญั หาและความต้องการ 2. รอ้ ยละของผู้เรยี น/ผู้รับบริการทมี่ ีผลสัมฤทธ์ิตามจุดมุ่งหมายการเรยี นร้ขู องแต่ละหลกั สูตร หรือกิจกรรมการเรียนรู้ มีความเชือ่ มนั่ ศรัทธาในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มีคุณธรรม จริยธรรม มคี วามภาคภูมิใจในความเป็นไทย และมีภูมคิ ุ้มกันภัยจากยาเสพติด 3. จำนวนประชากรวยั แรงงาน (อาย1ุ 5-59ปี) กลมุ่ เป้าหมายที่เรยี นในระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานนอกระบบ กล่มุ เปา้ หมายท่ไี ด้รบั บรกิ ารการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ และการศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. รอ้ ยละของของชมุ ชน กลมุ่ เป้าหมายในพื้นท่ีทไี่ ดร้ ับการอบรม หลักสูตร OTOP Mini MBA ตามโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชนเพื่อการมีงานทำ 5. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ไดร้ ับบริการการเรียนร/ู้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง วทิ ยาศาสตร์ 6. ร้อยละของภาคีเครอื ขา่ ยทเ่ี พิ่มขน้ึ ในการเข้ามามีส่วนร่วมดำเนนิ การจดั การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั 7. จำนวนกลุ่มเป้าหมายทีไ่ ด้รบั การศกึ ษาอบรมหลักสูตรภาษาอังกฤษ ภาษาจนี และอาเซียน ศึกษา 8. ร้อยละของหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา กศน.ที่มกี ารพัฒนา/วิจยั พฒั นาส่ือและเทคโนโลยที างการ ศกึ ษาเพ่ือส่งเสริมการเรยี นรู้ของผู้เรยี น/ผู้รบั บริการ 9. รอ้ ยละของผ้เู รยี น/ผู้รับบริการ ท่มี คี วามพงึ พอใจในคุณภาพและปรมิ าณ/ความหลากหลาย ของส่ือการเรียนรู้ทีส่ ถานศึกษา กศน.จัดบรกิ าร 10. รอ้ ยละของสถานศึกษา กศน.ท่มี ีการบริหารจดั การและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื มาสนับสนุนการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ขององค์กร 11. ร้อยละ กศน.ตำบลและศนู ย์การเรียนชุมชน ที่จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เพ่ือพฒั นาชุมชน โดยใช้ ปญั หาของชุมชนเปน็ ศนู ย์กลาง 12. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน.ที่สามารถดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม ตาม บทบาทภารกิจท่ีรับผิดชอบ ได้สำเร็จตามเป้าหมายท่ีกำหนด โดยใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดตามแผนทก่ี ำหนด ไว้ 13. ร้อยละของสถานศึกษาทสี่ ามารถนำแผนการนิเทศไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กลยทุ ธห์ ลกั กลยทุ ธ์ท่ี 1 ลุยถงึ ที่ กลยุทธท์ ่ี 2 ตอบโจทย์ในใจผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 3 การขยายพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ให้หลากหลาย กลยทุ ธ์ท่ี 4 การส่งเสริม สนบั สนุน ใหภ้ าคเี ครอื ข่ายจดั การศกึ ษา กลยุทธท์ ี่ 5 การปรับระบบบริหาร มุง่ บรกิ ารที่มีคณุ ภาพ กลยทุ ธ์การดำเนนิ งาน 1. การประชาสัมพนั ธ์ท่ีหลากหลายรปู แบบและทั่วถึงกล่มุ เปา้ หมาย 1.1 การศึกษาสายสามัญ 1.1.1 ปลูกฝงั คุณธรรมพืน้ ฐาน 9 ประการ 1.1.2 จดั ทำแผนการเรียนรู้รายบคุ คล 1.1.3 ขยายช่องทางการเรียนรู้ ขยายและพฒั นาแหล่งการเรยี นรู้ (สอนเสริม,พบผู้รู้ออนไลน์) 1.1.4 ลยุ ถึงทเ่ี ข้าถึงกลุ่มเปา้ หมายที่หลากหลายอย่างท่วั ถึง 1.2 การศึกษาสายอาชพี /พัฒนาสังคมและชุมชน 1.2.1 ลุยถึงทีเ่ ขา้ ถึงกลุ่มเปา้ หมายท่ีหลากหลายอยา่ งทั่วถึง 1.2.2 ตอบโจทยใ์ นใจผู้เรียน 1.2.3 ขยายช่องทางการเรยี นรู้ ขยายและพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ 1.2.4 จัดหาวิทยากรท่มี คี วามรู้ ประสบการณแ์ ละมีเทคนิคในการถ่ายทอดองค์ความรู้ 1.2.5 ส่งเสรมิ สนับสนุนใหภ้ าคีเครือขา่ ยรว่ มจัดการศึกษา 1.2.6 การสร้างแรงจูงใจ 1.2.7 พัฒนาบคุ ลากรด้านการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 1.2.8 ระดมทุนทางสงั คมและทรพั ยากรมาสนับสนนุ การจัดกจิ กรรม กศน. 1.3 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ 1.3.1 ตอบโจทยใ์ นใจผ้เู รียน 1.3.2 จดั หาวิทยากรทม่ี คี วามรู้ ประสบการณ์และมเี ทคนคิ ในการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ 1.3.3 ระดมทรัพยากรจากภาคีเครือขา่ ย 1.3.4 การสร้างแรงจูงใจ 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

1.4.1 จัดกจิ กรรมสญั จร (ลุยถงึ ท)่ี 1.4.2 การหมนุ เวยี นส่ือ 1.4.3 จดั กิจกรรมหลากหลายโดนใจผเู้ รียน 1.4.4 บริการเป่ียมคุณภาพ 2. การทำงานเปน็ ทมี 2.1 จัดตัง้ ทีมงาน 2.2 แบ่งตามบทบาทหน้าทีค่ วามรู้ความสามารถ 2.3 พฒั นาศักยภาพและฝกึ อบรมให้กับบุคลากร 3. มมี นุษยสัมพันธ์เป็นนักประสานงานทีด่ ี 3.1 พัฒนาบคุ ลกิ ภาพ 3.2 ฝึกอบรม 4. นเิ ทศติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานสรุปผลการดำเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 4.1 เผยแพรใ่ หส้ าธารณชนทราบ 4.1.1 เอกสาร/แผ่นพับ 4.1.2 จัดนิทรรศการ 4.1.3 อนิ เทอรเ์ นต็ ได้แก่ เว็บไซต์ (www.nfe-bangban.com) บล็อก (gotoknow.org/blog/nfebangban)

แนวทางการดำเนนิ งานของ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ กศน.ตำบลช้างใหญ่ จะมีการปรับบทบาทภารกิจให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและบริบทของ พ้ืนท่ีตลอดจนรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนมากขึ้น ภายใต้การขับเคล่ือนการดำเนินงาน 4 ศนู ย์การเรียนรู้ ได้แก่ 1. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ เป็นศูนย์กลางการส่งเสริม จัดกระบวนการการ เรียนรู้ และหน่วยประสานงานแหลง่ เรียนรหู้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงภายในชุมชน ดำเนินงานร่วมกับกอง อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาจักร (กอ.รมน.) 2. ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) เพื่อสร้างการเรียรู้และความเข้าใจท่ีถูกต้อง เกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข โดยเฉพาะสิทธิและ หนา้ ที่ในระบอบประชาธิปไตยบูรณาการความร่วมมือกบั คณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.) 3. ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ซ่ึงบริหารจัดการฐานข้อมูลที่จำเป็นสำหรับ กศน. และชุมชน เพื่อให้มีความรู้ และรบั รทู้ เ่ี ทา่ ทนั ปรบั ตวั ใหส้ อดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกยคุ ดิจทิ ัล 4. ศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพท่ีสอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐานในการดำเนินงาน โดย กศน.ตำบลมีบทบาทเปน็ ผูป้ ระสานงานและอำนวยความสะดวก กศน.ตำบล 4 G G 1 Good Teacher รหู้ นา้ ที่ รบู้ ทบาท รเู้ วลา เต็มใจบริการ G 2 Good Activities หลกั สูตรดี เนอื้ หาชัดเจน กจิ กรรมเด่น ตรวจสอบได้ G 3 Good Partnership เขา้ ใจงาน เขา้ ใจกัน เข้าใจทีม เข้าใจบทบาท G 4 Good Places บรรยากาศดี สะอาด นา่ เรียนรู้ น่าเชค็ อนิ บทบาทภารกิจหนา้ ท่ขี องครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบลเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดการให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนอย่าง ต่อเน่ืองตลอดชีวิต ดังนน้ั จงึ มบี ทบาทหนา้ ทีท่ สี่ ำคัญในการขบั เคลื่อน กศน.ตำบลดังกลา่ วคอื 1. การวางแผนจัดการเรียนรตู้ ลอดชีวิต โดยมีกระบวนการทำงาน ดังนี้ 1.1 ศึกษาสำรวจชุมชนโดยละเอียดเพ่ือจัดทำฐานข้อมูลชุมชน ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลประชากร จำแนกตามตามอายุเพศ อาชีพ ฯลฯ ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติชุมชน ข้อมูลด้าน อาชพี รายได้ ข้อมลู ทางสังคม ประเพณีวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ 1.2 จัดทำเวทีประชาคมร่วมกับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น และหน่วยงานตา่ ง ๆ เพือ่ รว่ มกัน จัดทำแผนชุมชน ท่ีระบุความต้องการในการพัฒนาชุมชนความต้องการการเรียนรู้ หรือการศึกษาต่อ ฯลฯ ของประชาชนในชมุ ชน 1.3 จัดทำโครงการด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มาจากแผนชมุ ชนต่อ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเพ่ือขอรับการสนับสนุน และประสาน ขอความ รว่ มมือจากภาคเี ครอื ขา่ ย 1.4 ประสานงานแสวงหาความรว่ มมือจากภาคีเครอื ขา่ ย องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ตลอดจน อาสาสมคั รต่าง ๆ เพื่อร่วมจดั กิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศยั ของชุมชนท่ีรับผดิ ชอบ 2. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของ กศน. ตำบล โดยจำแนกกจิ กรรมการเรียนการสอน ดังนี้

2.1 การส่งเสริมการรู้หนังสือ 2.2 การจดั การศึกษาในหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบรับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 2.3 การจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรระยะสั้นเพ่ือการพัฒนาอาชีพ (วิชาทำมาหากิน) การพัฒนาทักษะชวี ติ และการพฒั นาสงั คมและชุมชน 2.4 การจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน 2.5 การจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาชุมชนเพื่อส่งเสริมการเรยี นรูต้ ามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง หรอื การสง่ เสริมวิสาหกจิ ชุมชน ทงั้ น้ีครู กศน. ตำบลจะมีบทบาทหลักเป็นผูอ้ ำนวยความสะดวก ( Facilitater ) ให้กลุ่มเปา้ หมาย ผู้รบั บริการได้รับประสบการณก์ ารเรยี นรู้ โดยมีกระบวนการทำงาน คือ 1) วางแผนการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียน ในแต่ละกิจกรรม/หลักสูตรเก่ียวกับวิธีเรียน เวลา เรยี น การใชส้ ือ่ หรือแบบเรียน และการวัดผลประเมนิ ผล 2) ประสานงานเพ่ือจัดหาวิทยากร หรือผู้สอนในแต่ละรายวิชาหรือแต่ละหลักสูตร ร่วมกับ กศน.ตำบล และจดั สง่ ผู้เรยี นไปเรยี นร้ตู ามแผนท่วี างไว้ 3) ให้ ค ำป รึ ก ษ าแ น ะ น ำ แ ล ะเป็ น พี่ เล้ี ย งช่ ว ย เห ลื อ ให้ ผู้ เรีย น ได้ เรีย น รู้ อ ย่ างมี ประสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั คอยช่วยแก้ไขปญั หาในการเรยี นและการสอนตลอด หลักสตู ร 4) ประสานงานกับ กศน.อำเภอ เพ่ือจัดหาสื่อและวัสดุอุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้ของ ผูเ้ รยี นในแต่ละหลักสตู ร 5) ประสานงานกับ กศน.อำเภอ เก่ียวกับการวัดผลและประเมินผลในแต่ละหลักสูตร เพือ่ ใหผ้ ้เู รยี นบรรลุผลตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการหรอื จดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร 6) สรปุ ผลและรายงานผลการจดั กจิ กรรมเรียนรตู้ ่อ กศน.อำเภอ 3. การให้ บ ริการการเรียนรู้ใน กศน.ตำบ ล โดยเฉพ าะกิจกรรมศูนย์ข้อมู ลข่าวสารของ ชุมชน ศนู ย์บริการชมุ ชน ซึง่ นอกเหนอื จากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เช่น 3.1 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน และมุมห้องสมดุ ชมุ ชน 3.2 การใหบ้ รกิ ารสื่อการเรียนรูต้ า่ ง ๆ เช่น โทรทศั น์ วีดีทัศน์ รายการวทิ ยเุ พ่ือการศกึ ษา 3.3 การประสานงานสนบั สนุนศนู ยซ์ ่อมสรา้ งเพื่อชมุ ชน (Fit it Center) หรือช่างชนบท 4. การสนับสนุนกิจกรรมของชุมชน ท้ังด้านสังคม วัฒนธรรม ประเพณี รวมท้ังสนับสนุนการใช้ บริการของประชาชนในชุมชน เพื่อเป็นท่ีพบปะแลกเปล่ียนเรียนรู้กันภายในชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการจัด กิจกรรมขององค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐอ่ืน และส่งเสริมการจัดต้ังกลุ่มหรือชมรมในชุมชน เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชน ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมคุ้มครองผุ้บริโภค สภาเด็กและเยาวชน และองค์กร นกั ศึกษา กศน. เปน็ ต้น 5. การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานขอความร่วมมือจากภาเครือข่าย องค์กร ชุมชนผู้รู้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถ่ินเพื่อร่วมเป็นอาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน เป็นตน้ แนวทางการจดั การศึกษากลุ่มเป้าหมายผู้สงู อายุ

จากการสำรวจข้อมูลประชากรวัยแรงงานตำบลช้างใหญ่ พบว่ามีแนวโน้มลดลง ส่วนหน่ึงเป็นผลมา จากการย้ายถ่ินฐานของแรงงานบ่อยเพ่ือการประกอบอาชีพ จำนวนประชากรแฝงเพิ่มมากขึ้น และมีแนวโน้ม กลุ่มผู้สูงอายุเพ่ิมมากขึ้น แต่ยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านอนามัยท่ีถูกต้องและเหมาะสมส่งผลต่อความ คุณภาพชีวิต การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้ใช้แรงงานและผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างย่ิง และควรจัดใหม้ ีการพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและมีพฤติกรรมเสย่ี งทางสขุ ภาพตำบลชา้ งใหญ่ มีกลุ่มประชากรช่วงอายุ 15-19 ปี จำนวนมากไม่ได้ศึกษาต่อในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประชากรมีรายได้น้อยเพียงพอต่อการใช้ จ่ายในครัวเรือน กลุ่มเด็กเล็กไม่ได้รับการบริการวัคซีน เน่ืองจากผู้ปกครองต้องประกอบอาชีพตั้งแต่เช้าจนค่ำ ไมม่ ีเวลาให้ความสนใจเรื่องดังกล่าว กลุ่มวัยรุ่นมีความเส่ียงทางสุขภาพมากข้นึ มปี ัญหาด้านยาเสพติด กลุ่มวัย ผู้สูงอายุในตำบลเขื่อนบางลาง มีปัญหาด้านสุขภาพมากขึ้น เช่น ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง และ โรคเบาหวาน ส่วนหน่งึ มาจากปัญหาการบริโภคทไี่ ม่ถูกสขุ อนามัย ขาดการออกกำลังกาย และขาดความรู้ความ เข้าใจในการดแู ลสขุ ภาพ แนวทางการจัดการศกึ ษาเพ่อื สง่ เสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรมวัฒนธรรม และประเพณใี นถิ่น ในปัจจุบัน กศน.ตำบลช้างใหญ่ เล็งเห็นถึงความสำคัญของสภาพปัญหาจึงมีแนวทางในการจัด การศึกษาเพื่อให้ความรู้กับประชาชนในชุมชน ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรม และคงไว้ซ่ึง ขนบธรรมเนยี มประเพณอี นั ดงี านในถ่ินใหส้ ืบตอ่ ไป ประชาชนในชมุ ชนตำบลเขอ่ื นบางลางมีคุณภาพชวี ิตท่ีดีขนึ้ แนวทางการจดั การศึกษาเพือ่ รองรับเปล่ยี นแปลงในกระแสโลกและประชาคมอาเซยี น ตำบลช้างใหญ่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทางการเกษตร ประชากรวัยแรงงานส่วนใหญ่หันไป ประกอบอาชีพตามแหล่งอุตสาหกรรม กศน.ตำบลช้างใหญ่ มุ่งเน้นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพให้กับ กลุ่มผู้ใช้แรงงานและกลุ่มผู้มีรายได้น้อย เพ่ือส่งเสริมด้านทักษะประกอบอาชีพและการมีงานทำอย่างย่ังยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ท้ังน้ีเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม อาเซยี นและเตรยี มความพรอ้ มในการแขง่ ขันด้านฝีมือแรงงานในอนาคต ทิศทางการพฒั นาและโอกาสของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ 1. การพฒั นาชมุ ชนตำบลช้างใหญต่ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลช้างใหญ่ ประชากรในพ้ืนที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร ค้าขาย รับจ้างท่ัวไป จำนวน 4 หมู่บ้าน เน่ืองด้วยมีพนื้ ท่ีเป็นท่ีราบราบลุ่มแมน่ ้ำ ทิศทางการพฒั นาชุมชนทีเ่ หมาะสมและมีความย่ังยืนคือ การใช้แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีมีอยู่ในชุมชนอย่างเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ีและวิถีการดำเนินชีวิตใน ประจำวันของคนในชุมชน เพ่ือเป็นภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมไทยเป็นสังคมที่มีคุณภาพ ก้าวสู่สังคมและ เศรษฐกิจสีเขียวที่มีแบบแผนการผลิตและบริโภคอย่างย่ังยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยนำความรู้และ จุดแข็งของตำบลช้างใหญ่ มาสร้างความย่ังยืนของภาคเกษตร รวมท้ังการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืนควบคู่ไปกับการเสริมสร้างระบบธรรมาภิบาลและความสมานฉันท์ในชุมชน เพื่ อให้ ประชาชนในพนื้ ทตี่ ำบลชา้ งใหญ่และชมุ ชนใกลเ้ คยี งอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างมคี วามสขุ และเป็นธรรม 2. การส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตของชมุ ชนตำบลชา้ งใหญ่

กศน.ตำบลช้างใหญ่ มุ่งเน้นให้ประชาชนในพ้ืนท่ีได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนา คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบโดยใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ในชุมชนมาช่วยในการจัดการศึกษา เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้จากการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพ่ือให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้ตลอดชีวิตด้านการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพ มีเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนในพ้ืนท่ีเป็นคนเก่ง คนดี มีความสุข มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะการประกอบอาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรมใฝ่เรียนรู้และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มีความสุข มีสุขภาพทั้งกายและใจที่สมบูรณ์สามารถประกอบอาชีพและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมคี วามสุข 3. การจัดการศึกษาเพือ่ สง่ เสริมศลิ ปะและวัฒนธรรมในท้องถน่ิ กศน.ตำบลช้างใหญ่ มุ่งเน้นให้ประชาชนในพื้นท่ีศึกษาเรียนรู้ด้านการทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะและ วฒั นธรรมในทอ้ งถิน่ ดังน้ี 3.1) จัดให้มีการศึกษาและการเรียนรู้โดยให้ความสำคัญการศึกษาทางเลือกตามความสนใจ ของผู้เรียนและกลุ่มเปา้ หมาย 3.2) สนบั สนุนการศกึ ษาให้สอดคล้องกับความจำเป็นของผู้เรยี นและลักษณะพืน้ ท่ีของ กศน. ตำบล มาปรบั ใชก้ บั การจดั การศึกษาของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ 3.3) ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เทศบาลอำเภอบางไทร กำนัน ผู้ใหญ่บ้านและประชาชนทวั่ ไป จัดการการเรยี นรูท้ ม่ี คี ณุ ภาพและทัว่ ถึง 3.4) จัดการศึกษาให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยเน้นความ รว่ มมือระหวา่ งผู้เกี่ยวข้องท้งั ในตำบลบางไทร 3.5) พฒั นาตนเองให้มคี ุณภาพและมีจิตวญิ ญาณของความเป็นครู 3.6) สนับสนุนการมีส่วนร่วมกับองค์กรทางศาสนาในชุมชน เพื่อการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การสร้างสันติสุข ค่านิยมไทย 12 ประการและจัดกิจกรรมเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ใน ชมุ ชนอย่างยัง่ ยืน 3.7) สนับสนุนภาคีเครอื ข่าย ประชาชนในพ้ืนทีใ่ ห้มกี ารอนุรักษ์ ฟืน้ ฟู และเผยแพรม่ รดกทาง วฒั นธรรม ภาษาไทย และภาษาถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือการเรียนรู้ การสร้างจิตสำนกึ ความเป็นไทยและการ เพมิ่ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ ใหแ้ ก่คนในชมุ ชน 3.8) สนับสนุนการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้านและ วัฒนธรรมสากลตลอดจนสง่ เสริมและอนุรกั ษ์ภาษาท้องถิ่นในชมุ ชน 3.9) ปลูกฝังค่านิยมและจิตสำนึกท่ีดีให้เยาวชนและประชาชนในพ้ืนท่ีตำบลช้างใหญ่ ไดม้ โี อกาสแสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรค์ 4. การจัดการศกึ ษาโดยเนน้ การมีสว่ นร่วมของประชาชนในชุมชน ดงั น้ี 4.1) พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยโดยยึดหลักการมสี ่วนรว่ ม และความตอ้ งการของประชาชนในพื้นท่ี 4.2) สร้างโอกาสทางการศึกษาในชุมชนตำบลช้างใหญ่ โดยให้ความสำคัญกับการสร้างความ เท่าเทยี มและเป็นธรรม 4.3) การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรทางการศึกษาท่ีให้ความสำคัญ กับการยกระดับความรู้ให้มีคณุ ภาพและไดม้ าตรฐานสากล

4.4) พัฒนาวิชาชีพครูเพื่อให้เป็นบุคลากรหลักในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ในระดับตำบล 4.5) การบริหารและปฏิบัติราชการในกศน.ตำบลช้างใหญ่ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน สถานศึกษา 5. การดำเนินงานของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ ใหเ้ ห็นผลใน 1 ปี ไดแ้ ก่ 5.1) เตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.2558 และการดำรงความต่อเนื่อง ภายหลงั การก้าวเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซียน 5.2) พัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมายในชุมชนตำบลช้างใหญ่ เพ่ือรองรับการแข่งขันและ สนับสนนุ การพัฒนาประเทศอย่างย่งั ยนื 5.3) มุ่งเน้นการพัฒนาครู กศน.ตำบล และบุคลากรทางการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับองค์กร/ สถานศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพ 5.4) พฒั นาการจัดการเรียนศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยโดยใช้สอ่ื สารสนเทศ เพอ่ื การศึกษาให้ทนั สมัย 5.5) พัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ 2558 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6. การดำเนินงานของ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ ตามนโยบายเรง่ ด่วนซึง่ ต้องดำเนินการให้เห็นผลใน 3 เดอื น ไดแ้ ก่ 6.1) สำรวจข้อมูลและให้ความช่วยเหลือเยียวยา รวมทั้งฟ้ืนฟูสถานศึกษา นักศึกษา ครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาท่ไี ด้รับผลจากอทุ กภยั 6.2) พัฒนาการจัดการนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้นักศึกษาพัฒนา กระบวนการคิดวิเคราะห์ มีเวลาทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ รวมท้ัง ปลูกฝังในเรื่องค่านิยมหลัก12 ประการ มีคุณธรรม จริยธรรม สร้างวินัย จิตสำนึก ความรับผิดชอบต่อสังคม การยดึ มน่ั ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และความภาคภูมิใจในการเป็นคนไทย 6.3) ใช้จ่ายงบประมาณการจัดการนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีประสิทธิภาพ รวมถึงการของบประมาณสนับสนนุ จากภาคีเครอื ข่ายเพื่อพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนของนกั เรยี น และการ จดั การศกึ ษาใหก้ บั เดก็ ยากจน พกิ าร เร่ร่อน และด้อยโอกาสทางการศกึ ษา 6.4) การมีส่วนร่วมกับภาคเอกชนในการจัดการศึกษาโดยเฉพาะการจัดทำข้อตกลงระหว่าง ผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ เอกชน (MOU) ในการให้การสนับสนุนและการรับนักศึกษาเขา้ ทำงานหลังสำเรจ็ การศึกษา และสนบั สนุนอ่ืนๆ ให้เพิม่ มากขน้ึ 6.5) ส่งเสริมให้นักศึกษาและประชากรกลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงมาตรการความปลอดภยั ใน ชวี ติ ประจำวนั และในการเดนิ ทางตา่ งๆ 6.6) ดำเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้เป็นไปตามเป้าหมาย ของสถานศึกษา ตามนโยบายเร่งด่วนของคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวข้องด้านการศึกษาให้เห็นผลในทางปฏิบัติอย่าง เป็นรปู ธรรม และเป็นไปตามเปา้ หมายและกรอบระยะเวลาท่ีกำหนด โอกาสของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ โอกาสความสำเร็จในการนำยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ 25๖๔ สู่การปฏิบัติเพ่ือดำเนินการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์และจุดเน้น

การดำเนินงานของสำนักงาน กศน. และสถานศึกษาเพื่อให้บรรลุผลตามบทบาทความรับผิดชอบของ กศน. ตำบล มดี ังน้ี 1. การพัฒนากลุ่มเป้าหมายในชุมชนที่มุ่งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต กศน.ตำบลช้างใหญ่ มุง่ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายในพ้ืนท่ีมีวินัยใฝ่รู้ รักการอา่ นตัง้ แต่วยั เด็ก โดยส่งเสริมการ เรียนรู้ร่วมกันของคนต่างวัย ควบคู่กับการส่งเสริมให้องค์กร กลุ่มบุคคล ชุมชน ประชาชน และสื่อทุก ประเภทเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ส่ือสารด้วยภาษาท่ีเข้าใจง่าย รวมถึงส่งเสริมการศึกษาทางเลือก ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และสนับสนุนปัจจัยที่ กอ่ ให้เกดิ การเรียนรู้ตลอดชีวติ ในชมุ ชนตำบลช้างใหญ่ ตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) 2. การใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปจั จุบนั สำนักงานกศน.มีนโยบายให้กศน.ตำบล ให้บริการประชาชนผู้รับบริการ นกั ศึกษา กศน.ตำบล ดา้ นการ สื่อสารโดยจดั สรรงบประมาณเพ่อื ส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์และการตดิ ตงั้ อินเทอรเ์ นต็ ความเร็วสูง รวมถงึ การ สนับสนุนการเรียนรู้จากสื่อโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV) เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักศึกษาและ ผู้รับบริการในชุมชน โดยประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซ่ึงปัจจุบัน สำนักงาน กศน. มีนโยบายให้ กศน.ตำบล มีระบบฐานข้อมูล เว็บไซต์ กศน.ตำบล เพ่ือเป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ชมุ ชน กศน.ตำบลช้างใหญ่ จัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการการใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์กับ ผู้ใช้บริการในชุมชน เป็นการให้ความสำคัญกับการนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ซึ่งทำให้ประชาชน สามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้โดยง่าย รวดเร็วและเท่าเทียมกันเป็นการเปิดระบบการเรียนรู้ใหม่ของประชาชน ประชาชนในพ้ืนที่สามารถเรียนรู้จากการศึกษาอย่างไม่เป็นทางการได้มากมาย ในเวลาเดียวกันความรู้ จะ กลายเป็นปจั จัยสำคัญของการแข่งขันทางเศรษฐกจิ ซ่ึงถือว่าเป็นทุนความรู้ ทงั้ น้ีสำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงาน หลักของภาครัฐหน่วยงานหน่ึงท่ีมีบทบาทสำคัญและมีความพร้อมในการส่งเสริมการเรียนรู้ของประชาชน ใน ระบบของการศึกษาทไ่ี ม่เป็นทางการหรือการศึกษาตามอัธยาศัยผ่านทางชอ่ งทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สารต่างๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ระบบเครือขา่ ยสารสนเทศ 3. การพัฒนาและการจัดการศึกษาโดยใช้แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถ่ินในชุมชน กศน.ตำบล ช้างใหญ่ มุ่งเน้นส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนในชุมชนโดยใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในชุมชนมาบูรณาการเข้ากับการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ แหล่งเรียนรู้ ประเภทบุคคล แหล่งเรียนรู้ประเภทธรรมชาติ แหล่งเรียนรู้ประเภทวัสดุและสถานท่ี แหล่งเรียนรู้ประเภทส่ือ แหล่งเรียนรู้ประเภทเทคนิค และแหล่งเรียนรู้ประเภทกิจกรรม แหล่งเรียนรู้แต่ละประเภทดังกล่าวสามารถ เป็นภาคีเครือข่าย เพ่ือจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนในชุมชน โดยประสานเชื่อมโยงการทำงานระหว่างประชาชนในพ้ืนท่ีตำบลเข่ือนบางลางเพ่ือใช้ แหล่งเรียนรู้/ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินในการจดั การศกึ ษา จากสภาวะความเสยี่ งของสภาพชุมชน ทิศทางและโอกาสของการพัฒนาตำบลช้างใหญ่ ดังที่กล่าวมา นั้นมีประเด็นสำคัญท่ีสถานศึกษาต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกัน ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา โดยนำไป กำหนดเปน็ ประเดน็ สำคญั ในขอ้ ยุทธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสถานศึกษาต่อไป ไดแ้ ก่ 3.1 การสร้างและกระจายโอกาสทางการศึกษา เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายใน ตำบลสามารถเขา้ ถงึ การจดั การศึกษาอยา่ งเทา่ เทยี ม

3.2 การส่งเสริมประชาชนให้เป็นพลเมืองดีของชุมชน มีคุณธรรม มีทักษะในการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เปน็ สมาชิกท่ีมศี กั ยภาพของชมุ ชน สงั คม และเป็นพลเมืองทม่ี ีคุณภาพ 3.3 การสร้างคนในชุมชนให้ใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต ประชาชนมีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รู้จักแสวงหาโอกาส เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จากการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเ้ ป็นสงั คมคุณธรรม สังคมเพ่อื คนทง้ั มวล และพร้อมรบั มือกับความเปลยี่ นแปลงทกุ รปู แบบ 3.4 การพัฒนาการดำเนินงานการศึกษาสำหรับกศน.ตำบล ท้ังด้านปัจจัย กระบวนการ ดำเนินงาน และงบประมาณให้สามารถดำเนินการขับเคล่ือนทิศทางการพัฒนาตามบริบท ภารกิจและ ยุทธศาสตรข์ องสถานศึกษาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทั้งในด้านเชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ

ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ยุทธศาสตร์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ (สามยทุ ธศาสตร์ทหี่ วงั ผลใน 3 เดือน) 1. การเร่งดำเนินการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้สามารถขับเคลื่อนนโยบาย ของสถานศึกษาในส่วนท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือนำไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพตามกรอบเง่ือนไข ระยะเวลาท่กี ำหนดไว้ ดงั น้ี 1.1) ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ีของ กศน.ตำบล ตลอดจนจัดบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยในพ้ืนท่ีตามข้อกำหนดการดำเนินงาน กศน.ตำบล ท่ีกำหนดไว้และตามท่ีได้รับ มอบหมายโดยใช้ “กศน.ตำบล” เป็นฐาน (สถานี) เติมเต็มความรู้ โดยยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลางการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยหคึ รอบคลุมทุกกลุม่ เป้าหมายอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 1.2) กศน.ตำบล มีการการประเมินผลการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย เพ่ือให้เอ้ือต่อการเรียนรู้และสอดคล้องกับวิถีชีวิต และสภาพปัญหาความเร่งด่วนของแต่ละ ชุมชน ตลอดจนพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง การ พัฒนาชุมชนและสังคมได้อย่างแท้จริง โดยยึดหลักประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และค วามคุ้มค่าในการ ดำเนินงาน 1.3) กศน.ตำบล มีการติดตามผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย กศน.ตำบล อย่างต่อเนื่อง เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาการดำเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพ โดยมี สถานศึกษาทำหน้าท่ีนิเทศ กำกับ ติดตามการบริหารจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และ รายงานผลการนำนโยบายสู่การปฏิบัติท่เี ชอื่ มโยงกบั สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 1.4) กศน.ตำบล มีการกระตุ้น ส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นท่ีมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างกว้างขวางโดยยึดหลักความคล่องตัวในการทำงาน การเข้าถึ ง กลุ่มเป้าหมายการศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพ และความต่อเนื่องอย่างยงั่ ยนื ของการเป็นภาคเี ครือข่ายซ่ึงกันและกัน 1.5) การสร้างความเข้าใจคณะกรรมการ กศน.ตำบล ให้เข้าใจบทบาทหน้าที่และสามารถ ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2. กศน.ตำบล ดำเนินการนำคูปองการศึกษาหรอื คูปองการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ มาใช้ เพ่ือส่งเสรมิ การ เข้าถึงโอกาสทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของประชาชนผู้รับบริการให้เกิด ประสิทธภิ าพและเป็นธรรมอย่างแท้จริง 3. จัดการศึกษาโดยใช้หลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรท้องถิ่น กศน.ตำบล จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยประยุกต์ใช้หลักสูตรที่สอดคล้องกับบริบทของแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการเรียนการสอน ที่มุ่งให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรมนำความรู้ และปฏิบัติตนตาม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มีส่วนร่วมในการสร้างความสมานฉันท์ และมีความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซยี น ยุทธศาสตรก์ ศน.ตำบลช้างใหญ่ (สามยทุ ธศาสตร์ที่หวงั ผลใน 1 ปี) 1. การเข้าถึงประชาชนในพื้นที่อย่างทั่วถึง ทุกกลุ่มอายุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ที่มีลักษณะเฉพาะทาง สังคม - ประชากรอย่างเสมอภาค และเป็นธรรมพร้อมทั้งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

1.1) การใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แผนจุลภาค ((Micro Planning) และแผนพัฒนา กศน. ตำบล เปน็ เคร่ืองมือสำคัญในการดำเนินงาน ทั้งการออกแบบกิจกรรม การนิเทศติดตามผล การปรับปรงุ พฒั นา การตัดสนิ ใจระดับปฏบิ ัติและสามารถรายงานสรปุ ความกา้ วหน้าเป็นรายไตรมาสไปยงั ได้อย่างเปน็ ระบบ 1.2) การนำส่ือและเทคโนโลยีทางการศึกษาท่ีหลากหลาย และมีคุณภาพมาใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดการศึกษา และขยายโอกาสในการเข้าถึงการ จัดบรกิ ารการศกึ ษาและการเรยี นรู้ของกล่มุ เปา้ หมายในชมุ ชน และสถานศึกษาทห่ี วังผลได้อยา่ งแท้จริง 1.3) การส่งเสริมสนับสนุนให้ กศน.ตำบล เป็นหน่วยจัดบริการการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย นำภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาพื้นบ้าน และแหล่งวิทยาการ ชุมชนทุกประเภทในพื้นที่มาใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ และมีการอนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์ใช้ต่อยอดสรา้ งสรรค์ และพัฒนาเพื่อความยั่งยืนและความเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่นตลอดจนการ พัฒนาชุมชนอย่างเป็นระบบ รวมทั้งพัฒนากลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบของตำบลเข่ือนบางลางให้มี ความคดิ วเิ คราะห์ มีเหตผุ ล และมีจิตวทิ ยาศาสตร์ 1.4) ดำเนินการปรบั รูปแบบกิจกรรมและวธิ ีการดำเนินการจาก “บ้านหนงั สอื อจั ฉรยิ ะ” ไปสู่ “บ้านหนังสือชุมชน” และขยายการบริการให้กระจายครบทุกหม่บู ้านในตำบลเขื่อนบางลาง โดยคำนึงถึงความ ต้องการทางการศึกษา/การเรียนรู้ของประชาชนในพ้ืนท่ีและบริบทเฉพาะของชุมชนตำบลเขื่อนบางลาง เพ่ือ ส่งเสริมการรู้หนังสือ การเสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน และการเข้าถึงข่าวสารข้อมูลและความรู้ของประชาชน อย่างท่ัวถึง มีการเช่ือมโยงการทำงานแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย กศน.ตำบลช้างใหญ่ กับประชาชนใน พ้นื ท่ีเพ่อื สรา้ งกระบวนการเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง 1.5) พัฒนาศักยภาพการจัดบริการการศึกษาเพื่อส่งเสริมการรู้หนังสือขั้นพื้นฐาน และ การศึกษาต่อเน่ืองของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ ให้มีความพร้อมสำหรับทุกกลุ่มเป้าหมายในชุมชน โดยร่วมมือกับ ภาคีเครอื ข่ายและการมสี ่วนรว่ มขององค์กรภาครัฐและเอกชนทเ่ี กย่ี วขอ้ งการดำเนินงาน กศน.ตำบล 1.6) มีแผนการนิเทศการจัดศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือการพัฒนา คุณภาพการศึกษาและความคล่องตัวในการจัดบริการการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายในชุมชน โดยมีการ เช่อื มโยงข้อมูลและการดำเนินการนิเทศจากระดบั สถานศึกษาไปสู่ระดับ กศน.ตำบล อยา่ งเปน็ ระบบ 1.7) มีแผนการดำเนินการจดั การการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับยุทธศาสตร์/บริบทของสถานศึกษา เพ่ือให้เป็นการศึกษาทางเลือกอีกประเภทหนึ่งที่สามารถตอบสนอง ความต้องการทางการศึกษาและการเรียนรู้ของประชาชนผู้รับบริการในชุมชนตำบลเขื่อนบางลาง ได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของภาคีเครือข่ายท้ังภาครัฐและเอกชนในภาคส่วนต่างๆ อย่างกว้างขวาง 2. การเร่งรัด ติดตาม ให้มีการพัฒนาสถานศึกษาและกศน.ตำบล โดยยึดภารกิจหลักเป็นตัวต้ัง เพื่อให้มีศักยภาพในการนำนโยบายสถานศึกษาเก่ียวข้องสู่การปฏิบัติจริงอย่างมีประสิทธิภาพทั้งด้านกำลังคน และทรัพยากรสนับสนุนการดำเนินงานของกศน.ตำบล ท่จี ำเปน็ ต่อการขับเคล่ือนนโยบาย จดุ เนน้ การดำเนนิ งานตามยุทธศาสตร์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่

1. จดุ เน้นด้านประชากรกลมุ่ เป้าหมาย 1.1 กศน.ตำบลช้างใหญ่ มุ่งเนน้ สร้างโอกาสทางการศึกษาท่ีมีความเป็นธรรมให้กับประชากรทุกกลุ่ม ในชุมชนตำบลช้างใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มผู้ด้อย ผู้พลาด และผู้ขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งน้ีจำแนก ประชากรกลุม่ เป้าหมายไว้ ดงั นี้ (1) จำแนกตามช่วงอายุ มี 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ (1.1) กล่มุ วยั เรยี นการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน(อายุ 6-14 ปี) (1.2) กลุม่ ประชากรวยั แรงงาน (อายุ 15-59 ปี) ซึง่ แบ่งออกเป็น 2 กลุม่ ย่อย 1.2.1 กลุ่มวัยแรงงานอายุ 15-39 ปี เป็นกลุ่มวันแรงงานที่ให้ความสำคัญในการ จดั บริการการเรียนรูเ้ ปน็ กลมุ่ แรก 1.2.2 กลุ่มวัยแรงงานอายุ 40-59 ปี เป็นกลุ่มวัยแรงงานที่ให้ความสำคัญในการ จัดบริการการเรียนรู้รองลงมา (1.3) กลุ่มผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อย โดยให้ความสำคัญในการจัดบริการการเรียนรู้จาก มากไปหานอ้ ย ตามลำดบั ดังน้ี 1.3.1 กลมุ่ อายุ 60-69 ปี 1.3.2 กลมุ่ อายุ 70-79 ปี 1.3.3 กลุม่ อายุ 80-89 ปี 1.3.4 กลมุ่ อายุ 90 ปขี น้ึ ไป (2) จำแนกตามคุณลักษณะเฉพาะทางสังคม - ประชากรที่เกี่ยวเน่ืองกับการเข้าสู่โอกาส ทางการศกึ ษา แบง่ เปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ ดังน้ี (2.1) กลุ่มท่ีมีเงื่อนไขข้อจำกดั ในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู้ จำแนกเป็น 3 กลมุ่ ใหญ่ 17 กลมุ่ ยอ่ ย ดังนี้ 2.1.1 กลุ่มผู้ด้อยโอกาส เป็นกลุ่มที่มีโอกาสในการท่ีจะเข้ารับบริการทาง การศึกษา/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติท่ัวไป อันเนื่องมาจาก (1) ข้อจำกัดทางร่างกาย/จิตใจ/ สติปัญญาหรือความสามารถในการเรียนรู้ (2) ข้อจำกัดทางด้านฐานะทางเศรษฐกิจ หรือความยากจนหรือ (3) ข้อจำกดั ดา้ นการติดตอ่ สอ่ื สารอนั เน่อื งมาจากความแตกต่างทางภาษา/วัฒนธรรม มี 3 กลมุ่ ย่อย ได้แก่ (1) กลมุ่ ผพู้ ิการ (2) กลมุ่ ผู้ประกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ (3) กลุ่มชาติพันธุ์ (ชนกล่มุ น้อย) 2.1.2 กลุ่มผู้พลาดโอกาส เป็นกลุ่มที่พลาดโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทาง การศึกษา/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้อันเน่ืองมาจาก (1) ความไม่สามารถในการที่จะรับการศึกษา/การเยนรู้ได้ อย่างต่อเน่ือง หรือไม่มีความประสงค์ท่ีจะรับการศึกษา การเรียนรู้จนจบหลักสูตรหรือระดับชั้นการศึกษาใดๆ ทผี่ า่ นมา (2) การย้ายถ่ิน/เร่ร่อน หรอื (3) เงอ่ื นไข ขอ้ จำกัดเกี่ยวกบั อายุ มี 7 กลุม่ ยอ่ ย ได้แก่ (1) กลุม่ เดก็ /เยาวชนท่ีออกกลางคันจากระดับการศึกษาภาคบงั คบั (2) กลุ่มผูจ้ บการศึกษาภาคบังคบั แต่ไมไ่ ด้เรยี นต่อ (3) กลุ่มทหารกองประจำการทีย่ งั ไม่จบการศกึ ษาภาคบังคับ (4) กล่มุ เด็ก/เยาวชนเรร่ อ่ น/ไรบ้ า้ น

(5) กลมุ่ เดก็ /เยาวชน/ลกู กรรมกรกอ่ สร้าง (6) กลุ่มเดก็ /เยาวชนทม่ี ีความพร้อมแตไ่ มต่ ้องการรบั การศึกษาในระบบปกติ (7) กล่มุ ผูส้ งู อายุ 2.1.3 กลุ่มผู้ขาดโอกาส เป็นกลุ่มท่ีไมส่ ามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา/รว่ มกิจกรรมการ เรียนรอู้ ันเน่อื งมาจาก (1) การอยู่ในพ้ืนท่ีเส่ียงภัยจากการก่อการรา้ ย/การก่อความไม่สงบบริเวณชายแดน (2) การอยู่ในพื้นที่ชนบทห่างไกล หรือยากลำบากในการคมนาคมติดต่อส่ือสาร (3) การมีถิ่นพำนักอยู่ใน ต่างประเทศ (4) การถูกจำคุก คุมขังหรือจำกัดบริเวณตามคำพิพากษา หรือ (5) การไม่มีสิทธิภาพในฐานะ พลเมอื งไทย มี 7 กล่มุ ยอ่ ย ได้แก่ (1) กลุ่มประชาชนในพื้นท่ีเสี่ยงภัยจากการก่อการร้าย การกอ่ ความไม่สงบในบริเวณ ชายแดน (2) กลุ่มประชาชนในพ้ืนท่ีชนบทห่างไกลหรือยากลำบากในการคมนาคม ตดิ ต่อส่อื สาร (3) กล่มุ คนไทยในต่างประเทศ (4) กลมุ่ ผ้ตู อ้ งขัง (5) กลุ่มเดก็ /เยาวชนในสถานพนิ ิจ (6) กล่มุ แรงงานต่างด้าว หรือแรงงานขา้ มชาติ (7) กล่มุ บคุ คลท่ีไมม่ ีทะเบยี นราษฎร์ (2.2) กล่มุ ที่ไมม่ ีเงื่อนไขข้อจำกดั ในการเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู้ จำแนกเปน็ 4 กลุม่ ย่อย ได้แก่ 2.2.1 กลมุ่ บคุ คลผ้เู ป็นภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน/ภูมิปัญญาพน้ื บา้ นหรอื ปราชญช์ าวบ้าน 2.2.2 กลมุ่ ผนู้ ำชุมชนท้ังทเ่ี ปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ 2.2.3 กลมุ่ นกั เรียน/นักศกึ ษาในระบบโรงเรียนทสี่ นใจเตมิ เต็มความรู้ 2.2.4 กลมุ่ ประชาชนทั่วไป 2. จุดเนน้ ของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ และภาคีเครือขา่ ย

2.1 ผู้บริหารสถานศึกษาครูบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน. ตำบล และครู กศน.ตำบล ทุกคน ได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพและความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจตาม บทบาทหน้าท่ีอย่างมีประสทิ ธิภาพ 2.2 มีการประสานเช่ือมโยงการทำงานตามโครงสร้างภายในกศน.ตำบล กับภาคีเครือข่ายท้ังในระดับ นโยบายและระดับปฏิบัติอย่างเป็นระบบ โดยมีเอกภาพในเชิงนโยบาย และเน้นผลสัมฤทธ์ิเป็นเป้าหมาย ความสำเร็จในการทำงาน 2.3 กศน.ตำบล มีแผนจุลภาค (Micro Planning) เป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมหรือออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ โดยมีข้อมูลพื้นฐานท่ีสำคัญ ได้แก่ สภาพทางกายภาพของชุมชน ปัญหา/ความต้องการทางการศึกษาของ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย แต่ละกลุ่ม แต่ละประเภท แหล่งวิทยากรชุมชน (ทุมมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ และทุกการเงนิ ) ซ่งึ มกี ารปรับปรุงข้อมูลดังกลา่ วให้เปน็ ปัจจบุ ันทกุ รอบปงี บประมาณ 3. จุดเน้นด้านผลสมั ฤทธิ์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ 3.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมายตำบลช้างใหญ่ ที่สำเร็จหลักสูตรหรือร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย มีผลสัมฤทธ์ิท่ีมีคุณภาพ ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรหรือกิจกรรมการศึกษา/ การเรียนรทู้ ่กี ำหนดไว้ และสามารถนำความรู้และประสบการณ์การเรยี นรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ 3.2 นักศึกษา/ผู้เรียน ที่สำเร็จหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ในการดำเนินชีวิตและมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเน่ือง ตลอดชวี ติ ตัวช้ีวัดความสำเรจ็ ตามยทุ ธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ ความสำเร็จในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน มุ่งที่ผลลัพธ์หรือ กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็น สำคัญ มี 10 ตัวช้ีวัด ดังต่อไปนี้ 1. สัดส่วนประชากรกลุ่มเป้าหมายในตำบลช้างใหญ่ ที่ได้รับการบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง การศึกษานอกระบบแต่ละกลุ่มอายุต่อจำนวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั จำแนกรายประเภทกิจกรรม 2. สัดส่วนประชากรกลุ่มเป้าหมายในตำบลช้างใหญ่ ท่ีได้รับการบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง การศึกษานอกระบบกลุ่มท่ีมีเง่ือนไขข้อจำกัดในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู้ และกลุ่มท่ีไม่มี เง่ือนไขข้อจำกัดในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู้ต่อจำนวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ทางการศกึ ษานอกระบบทัง้ หมด และจำแนกรายประเภทกจิ กรรม 3. สัดส่วนประชากรกลุ่มเป้าหมายในตำบลช้างใหญ่ ท่ีได้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง การศึกษานอกระบบในพื้นท่ีชนบท/และพื้นท่ีเมืองต่อจำนวนผ้รู ับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ทางการศึกษา นอกระบบท้ังหมด และจำแนกรายประเภทกจิ กรรม 4. สัดส่วนประชากรกลุ่มเป้าหมายในตำบลช้างใหญ่ ท่ีได้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง การศึกษาตามอธั ยาศัยแต่ละกลุ่มอายุตอ่ จำนวนผู้รบั บริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษาตามอัธยาศัย ทัง้ หมด และจำแนกรายประเภทกิจกรรม 5. สัดส่วนประชากรกลุ่มเป้าหมายในตำบลช้างใหญ่ ท่ีได้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง การศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มท่ีมีเง่ือนไขข้อจำกัดในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู้ และกลุ่มท่ีไม่มี

เง่ือนไขข้อจำกัดในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู้ต่อจำนวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ทางการศึกษานอกระบบทง้ั หมด และจำแนกรายประเภทกิจกรรม 6. สัดส่วนประชากรกลุ่มเป้าหมายในตำบลช้างใหญ่ ที่ได้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง การศึกษาตามอัธยาศัยในพื้นที่ชนบท/และพ้ืนที่เมืองต่อจำนวนผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง การศึกษาตามอธั ยาศยั ทงั้ หมด และจำแนกรายประเภทกจิ กรรม 7. สัดส่วนผู้เรียน/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ แต่ละ หลักสูตร/กิจกรรมท่ีจบหลักสูตรแต่ละระดับหรือแต่ละกิจกรรมต่อจำนวนผู้ลงทะเบียนเรียน/ร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบแต่ละหลักสูตร หรือแต่ละกิจกรรมทั้งหมด และจำแนกรายหลักสูตรหรือราย กิจกรรม 8. ร้อยละของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ ที่มีคะแนนผลการสอบแต่ละภาค เรียนในวิชาคณิตศาสตร์/วิทยาศาสตร์/ภาษาอังกฤษ/ภาษาไทย ร้อยละ 55 ขึ้นไปของคะแนนเต็มแต่ละวิชา ดงั กลา่ ว 9. ร้อยละของผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษา/การฝึกอบรมทางการศึกษานอกระบบของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ แต่ละหลักสูตรท่ีสามารถนำความรู้ หรือประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีได้รับไปใช้ได้จริงตามจุดมุ่งหมายของ หลกั สูตรนน้ั ๆ 10. ร้อยละของผู้รับบริการ/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบ/การศึกษาตามอัธยาศัย ของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ ท่ยี ึดถอื ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ ปัจจัยหลักแหลง่ ความสำเรจ็ กศน.ตำบลช้างใหญ่ 1. กศน.ตำบลช้างใหญ่ ยึดหลักวิชา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาคิดเป็น หลักธรรมา ภิบาล และผลสัมฤทธ์ิในการบริหารจัดการ ท้ังด้านวชิ าการงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหาร ทวั่ ไปท้ังภายใน กศน.ตำบลช้างใหญ่ และการทำงานร่วมกันกบั ภาคเี ครือขา่ ย 2. กศน.ตำบลช้างใหญ่ ใช้ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ในการดำเนินงาน ทั้งที่ยึดพื้นที่ ยึดสภาวะแวดล้อม ยึดกลุ่มเป้าหมาย ยึดประเด็นปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรือประเด็นการพัฒนา ยึด ความสำเร็จ และยดึ นโยบายเป็นฐาน 3. กศน.ตำบลช้างใหญ่ การเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ท้ังเครือข่ายเชิงพื้นท่ี เครือขา่ ยเชิงภารกิจและการสรา้ งความเข้มแข็งของความร่วมมือและความยั่งยืนในการเปน็ ภาคีเครอื ข่าย 4. กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ เปน็ ฐานและสถานีปลายทาง ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรใู้ หก้ บั ประชาชนใน พ้ืนที่ โดยไดร้ ับการพัฒนาให้มศี ักยภาพและความพรอ้ มในการปฏิบตั ิงานตลอดเวลา 5. กศน.ตำบลช้างใหญ่ ใช้สถานศึกษาเป็นกลไกขับเคลื่อนการบริหารนโยบายในระดับพ้ืนท่ี โดยมี คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตำบล เป็นผู้เสนอแนะ กำกับติดตาม นิเทศการดำเนินงาน เพื่อให้สามารถจดั การศึกษาในระดบั พ้นื ที่ได้อยา่ งคลอ่ งตัวและมีประสิทธิภาพ 6. กศน.ตำบลช้างใหญ่ มขี ้อมูลเกยี่ วกับกลุ่มเปา้ หมายทกุ กลุ่มตามจุดเน้น มาใชใ้ นการวางแผนการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชนได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 7. กศน.ตำบลช้างใหญ่ มีระบบการนิเทศกำกับติดตามและรายงานผล การปฏิบัติงานและการใช้จ่าย งบประมาณทส่ี ามารถตรวจสอบความก้าวหน้าในการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

8. กศน.ตำบลช้างใหญ่ มีกลไก/ระบบท่ีสามารถเช่ือมโยงการทำงานระหว่างส่วนราชการและ หน่วยงานต่างๆ ท่ีได้รับมอบหมายจากสถานศึกษา เช่น ระบบฐานข้อมูลที่เก่ียวข้องและการจัดกิจกรรมเพ่ือ ตอบสนองนโยบายเร่งด่วนหรือนโยบายเฉพาะท่ไี ด้รับมอบหมายจากสถานศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 9. กศน.ตำบลช้างใหญ่ มีหน่วยงาน/สถานศึกษารบั ผิดชอบตัวชี้วัดความสำเร็จ ตามยุทธศาสตร์และ จุดเน้นท่ีตรงตามภารกิจอย่างชัดเจนท่ีเชื่อมโยงการกำกับติดตามและรายงานผลตัวช้ีวัดท้ังส่วนกลาง ระดับ จงั หวัด และระดับสถานศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ บทที่ ๓

แผนการใชง้ บประมาณทไี่ ด้รบั จดั สรร ประจำปีพทุ ธศกั ราช 256๔ ท่ี กิจกรรม/โครงการ ระยะเวลา เปา้ หมาย งบประมาณ (คน) 1 การศึกษาข้นั พื้นฐานนอกระบบ 1 ต.ค.6๓-30 ก.ย.6๔ 4๐ - 2 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1 ต.ค.6๓-30 ก.ย.6๔ 3 โครงการจัดส่งเสรมิ และสนับสนนุ การศกึ ษาต่อเนื่องเพื่อ 30 2๒,000 1 ต.ค.6๓-30 ก.ย.6๔ ๔8 ๖,400 พัฒนาอาชีพ 1 ต.ค.6๓-30 ก.ย.6๔ ๓๖ ๔,๑๔๐ - ทักษะอาชพี 40 ชว่ั โมง ( ๒ กลมุ่ ) 1 ต.ค.6๓-30 ก.ย.6๔ ๒๓ ๙,๒00 - กลมุ่ สนใจ ( ๔ กลุ่ม ) 1 ต.ค.6๓-30 ก.ย.6๔ 4 โครงการจดั และส่งเสริมการศึกษาเพือ่ พฒั นาทักษะชวี ติ 1 ต.ค.6๓-30 ก.ย.6๔ 1๑ ๔,๔๐๐ 5 โครงการจัดและส่งเสรมิ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ 1 ต.ค.6๓-30 ก.ย.6๔ ชุมชน 1 ต.ค.6๓-30 ก.ย.6๔ - - 6 โครงการอบรมการเรยี นรแู้ ละสง่ เสรมิ อาชีพตามแนวปรชั ญา ๒๕ ๖,๔๕๐ เศรษฐกิจพอเพียง 7 โครงการ Smart Onie เพอ่ื สรา้ ง Smart Farmer ๑ ๑,๒๐๐ 8 โครงการสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดบั ตำบล 9 โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สารด้านอาชีพ 1๐0 - - ดา้ นการทอ่ งเที่ยว 50 - 10 กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 300 - - อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน - - - หนว่ ยบริการเคลื่อนท่ี (รถโมบาย) ๖๖๔ ๕๓,๗๙๐ - บา้ นหนังสอื ชมุ ชน - บรรณสัญจร รวม

ภาคผนวก

ข้อมูลติดต่อ กศน.ตำบลช้างใหญ่ กศน.ตำบลช้างใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 098-9842541

ผู้จัดทำ ช่ือ-นามสกุล : นายชนะชัย อัยกูล ทอ่ี ยู่ปัจจุบัน : 43/3 ม.1 ต.พระยาบนั ลือ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรอี ยุธยา ทำงาน/สังกัด : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภ อบางไทร สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตำแหน่งปจั จบุ นั จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา การศึกษา : ครู กศน.ตำบลช้างใหญ่ อ.บางไทร พ.ศ. 2558 : ปริญญาตรี ครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฎ พระนครศรีอยุธยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook