Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการจัดการขยะ ตำบลช้างใหญ่

สรุปโครงการจัดการขยะ ตำบลช้างใหญ่

Published by NFE Changyai By Kru Chanachai., 2021-09-01 04:55:50

Description: สรุปโครงการจัดการขยะ

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนินงาน โครงการจัดการคดั แยกขยะภายในชมุ ชน วันท่ี 19 มิถุนายน 2564 กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

คำนำ เอกสารรายงานผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมทักษะชีวิต โครงการจัดการคัดแยกขยะภายใน ชุมชน จัดทำข้ึนเพื่อรายงานผลการดำเนินงานด้านการจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง ของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ ภายใต้การ ดูแลของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือตรวจสอบ ขนั้ ตอนการดำเนินกิจกรรม ประเมินผลและพัฒนาการดำเนินกจิ กรรมของ ผูจ้ ัดทำหวงั เป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารรายงานผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการจัดกิจกรรมใน คร้งั นี้ จะเป็นแนวทางในการพฒั นางานและการจัดกิจกรรมในคร้งั ต่อไป นายชนะชัย อยั กลู ผจู้ ดั ทำ

สารบญั หน้า คำนำ 1 สารบญั บทที่ 1 บทนำ 2 เหตผุ ลและความจำเปน็ 5 วัตถุประสงค์ 7 ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ ับ 12 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง ความสำคัญของการจดั การจดั การคดั แยกขยะภายในชมุ ชน ท่มี าและความสำคัญของกจิ กรรม บทที่ 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ วตั ถุประสงค์การดำเนนิ งาน วิธีดำเนนิ การ อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนากิจกรรม ภาคผนวก ภาพโครงการจัดการคดั แยกขยะภายในชุมชน รายช่ือผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม

บทที่ 1 บทนำ 1.โครงการ จัดการคัดแยกขยะภายในชุมชน นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2. สงสรมิ การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชวี ติ สำหรบั ประชาชนทเี่ หมาะสมกบั ทุกชวงวัย 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทํา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสราง นวัตกรรมและผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มคี วามหลากหลาย ทันสมยั และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูรบั บรกิ าร และสามารถออกใบรบั รองความรูความสามารถเพ่ือนาํ ไปใชในการพฒั นาอาชีพได 3. พัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจัด การศึกษาและการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมกับทุกกลุมเป าหมาย มีความทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน ความตองการของผูเรียน และ สภาวะการเรียนรูในสถานการณตาง ๆ ท่ีจะเกิดขนึ้ ในอนาคต 3.2 พัฒนาแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให สามารถ “เรยี นรูไดอยางท่วั ถึง ทกุ ที่ ทกุ เวลา” 4. บูรณาการความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชน อยางมคี ุณภาพ 4.1 รวมมือกับภาคีเครอื ขายท้งั ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถนิ่ รวมทง้ั สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพที่เปนอัตลักษณและบริบทของ ชุมชนสงเสรมิ การตลาดและขยายชองทางการจําหนายเพื่อยกระดับผลติ ภัณฑ/สนิ คา กศน. 5. พัฒนาศกั ยภาพและประสิทธภิ าพในการทาํ งานของบุคลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ใหกับบคุ ลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรัฐบาลดจิ ิทลั อยางมีประสิทธิภาพ รวมท้งั พฒั นาครใู หมีทักษะ ความรู และความชํานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตส่ือการเรียนรูและการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝกทักษะ การคิดวเิ คราะหอยางเปนระบบและมีเหตุผล เปนข้นั ตอน ภารกจิ ต่อเนอื่ ง 1. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.3 การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 2) จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ ใหก้ ับทุกกลมุ่ เป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผสู้ ูงอายทุ ่ีสอดคลอ้ งกับ ความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิต ตลอดจนสามารถ ประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเอง ให้อยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข สามารถเผชิญ สถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม สำหรับการปรับตัวให้ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงของข่าวสารขอ้ มลู และเทคโนโลยีสมัยใหมใ่ นอนาคต โดยจัดกจิ กรรมท่ี มเี น้ือหาสำคัญต่างๆ เช่นการอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกาย และสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรมและจริยธรรมการป้องกันภัยยา เสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการ อบรมเรียนร้ใู นรูปแบบต่างๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวติ การจัดตั้งชมรม / ชุมนุม การอบรมส่งเสริมความสามารถ พเิ ศษต่าง ๆ เปน็ ต้น

2. ดานหลักสูตร ส่อื รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู การวัดและประเมินผลงานบริการทางวชิ าการ และการประกันคุณภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลกั สตู รทองถ่นิ ท่สี อดคลองกบั สภาพบรบิ ทของพ้นื ทแี่ ละความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน ส่ืออิเลก็ ทรอนิกสและสอื่ อนื่ ๆ ท่ีเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียนกลุ่มเป าหมายท่ัวไปและกลุมเปาหมายพิเศษ เพือ่ ใหผูเรยี นสามารถเรียนรูไดทกุ ที ทกุ เวลา 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในท่สี อดคลองกบั บริบทและภารกิจของ กศน. มากขึน้ เพือ่ พรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมคี วามรู ความเขาใจ ตระหนกั ถึงความสาํ คัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาํ เนินการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเน่ืองโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และจัดใหมี ระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมินคุณภาพ ภายนอก ใหพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าํ หนด 6. ดานบคุ ลากรระบบการบรหิ ารจัดการ และการมีสวนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพฒั นาบุคลากร 1) พัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดบั ทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงขนึ้ อยางตอเน่ือง ทัง้ กอนและระหวางการดาํ รงตํา แหนงเพ่ือใหมีเจตคตทิ ่ีดีในการปฏบิ ตั งิ านใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาํ แหนง ใหตรงกับสายงาน ความ ชํานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏบิ ัติงานและบริหารจดั การการดําเนนิ งานของหนวยงานและ สถานศึกษาไดอยางมีประสทิ ธภิ าพรวมท้ังสงเสริมใหขาราชการในสงั กดั พัฒนาตนเองเพือ่ เลื่อนตาํ แหนงหรือเลื่อน วทิ ยฐานะโดยเนนการประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจักษ 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพ่ือการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/แขวง และ การปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสทิ ธภิ าพ โดยเนนการเปนนักจดั การความรูและผูอํานวยความสะดวก ในการเรยี นรูเพ่อื ใหผูเรียนเกดิ การเรยี นรูท่มี ปี ระสิทธิภาพอยางแทจรงิ 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการจดั การศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรยี นรูไดอยาง มคี ุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและ ประเมนิ ผล และการวิจัยเบื้องตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรูความสามารถ และมีความเปนมืออาชพี ในการจดั บรกิ ารสงเสรมิ การเรียนรูตลอดชวี ติ ของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มสี วนรวมในการบริหารการ ดาํ เนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทําหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมท้ังภาคีเครือขายท้ังในและตาง ประเทศในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพ่ือเสริมสรางสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางานรวมกันใน รูปแบบที่หลากหลายอยางตอเนื่องอาทิ การแขงขนั กฬี า การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาประสิทธิภาพ ในการทาํ งาน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 1) พฒั นาระบบฐานขอมูลใหมคี วามครบถวนถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทว่ั ประเทศอยาง เปนระบบเพ่ือใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเคร่ืองมือสําคัญในการบริหารการวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมี ประสิทธภิ าพ

2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเรงรัดการ เบิกจายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายทีก่ าํ หนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ทั่วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทนั ความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียนและการ บริหารจดั การอยางมปี ระสิทธภิ าพ 5) สรางความรวมมือของภาคเี ครอื ขายทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศและตาง ประเทศ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อสรางความเขาใจ และใหเกิดความรวมมือใน การสงเสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรียนรูใหกับประชาชนอยางมคี ุณภาพ 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิ ชอบ บริหารจัดการบนขอมลู และหลักฐานเชิงประจักษ มุงผลสมั ฤทธม์ิ คี วามโปรงใส 6.4 การกาํ กับ นิเทศตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล 1) สรางกลไกการกาํ กับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัยใหเช่ือมโยงกบั หนวยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครือขายทง้ั ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวของทกุ ระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและรายงานผล การนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแต ละเรื่องไดอยาง มีประสทิ ธิภาพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และส่ืออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกํากับนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมีประสทิ ธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปของ หนวยงาน สถานศึกษา เพอื่ การรายงานผลตามตวั ชี้วัดในคํารบั รองการปฏบิ ัติราชการประจําป ของสํานกั งาน กศน. ใหดาํ เนินไปอยางมีประสทิ ธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วิธกี าร และระยะเวลาทีก่ ําหนด 5) ใหมีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ต้ังแต สวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพ่ือความเป นเอกภาพในการ ใชขอมูลและการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. เหตผุ ลและความจำเป็น ปัจจุบันปริมาณขยะเฉลี่ยต่อคนต่อวันจากการดำรงชีวิต เป็นภาระของชุมชนมากขึ้น ส่งผลให้มี ขยะตกค้างในแต่ละวันมีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชน ได้แก่ การเสียทัศนียภาพใน บริเวณบ้านของตนเองและชุมชน ส่งกล่ินเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ เป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ ขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยากทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม ปริมาณ ขยะติดเช้ือที่ไม่มีถังคัดแยกขยะเพียงพอ นำไปสู่พาหนะนำโรคต่าง ๆ ทีกำลังระบาดในปัจจุบันอย่างโรคโคโรน่า ไวรัส (Covid-19) และปริมาณขยะที่พบในถังขยะสามารคัดแยกขยะได้จากต้นทาง การคัดแยกและใช้ประโยชน์ จากขยะมูลฝอยโดยเฉพาะเศษอาหาร ในแต่ละวัน ของแต่ละครัวเรือนสามารถนำมาสร้างประโยชน์ถือเป็นขยะ อินทรีย์ ในรูปแบบของปุ๋ยหมักชีวภาพ และการขจัดวัชพืชให้เกิดประโยชน์จากการทำปุ๋ยหมัก หรือการนำวัชพืช บางชนิดมาแปรรูปเพ่ิมมูลค่า การคัดแยกขยะรีไซเคิล เช่น ขวดน้ำพลาสติก สายไฟ เหล็กจากการสร้างอาคาร ซึ่งในการจัดกิจกรรมคร้ังนี้ จึงต้องมีหน่วยงานท้องถิ่นต่างๆ เช่น ผู้นำชุมชน สำนักงานปกครองท้องถ่ินอำเภอ และองค์การบริหารส่วนตำบล ในการที่จะสร้างความเข้าใจและถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อให้การจัดการขยะด้วย กระบวนการหนง่ึ ภายใต้การอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ มภายในชุมชนมีความสะอาดและน่าอยู่ ด้วยเหตุนี้ กศน.ตำบลช้างใหญ่ จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญในการบริหารชุมชนเรื่องของการ บริหารจัดการขยะในชุมชน ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อมุ่งเน้นให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการจัดการจัดการ ขยะประเภทตา่ งๆในชมุ ชน

3.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนผู้เขา้ ร่วมโครงการ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ในกระบวนการขน้ั ตอนการคัดแยกขยะ 2. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนผเู้ ข้ารว่ มโครงการ สามารถนำขยะมาสร้างคุณประโยชน์ และสร้างความตระหนักใน การกำจดั ขยะเพอื่ อนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มในชุมชน 4. เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้นื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ เพ่ือสร้างความ 1.ขั้นวางแผน เข้าใจในการดำเนนิ 1.ผู้บริหาร 1 คน กศน.อำเภอ 9 (Plan) โครงการ 2.ผรู้ บั ผิดชอบ 1 คน บางไทร มถิ นุ ายน โครงการ 2564 1.1 ประชุม 1.กำหนดเน้ือหา วางแผนการ และรปู แบบในการ ครู กศน.ตำบล 1 คน กศน.อำเภอ 10 ดำเนนิ งาน จัดโครงการ บางไทร มิถุนายน จัดทำโครงการและ 2564 1.2 ประสาน เสนอขออนุมัตติ อ่ ประชาชนใน 1 กศน.อำเภอ แผนการ ผู้บรหิ าร พื้นท่ี โครงการ บางไทร 11 ดำเนินงาน ต.ชา้ งใหญ่ มิถุนายน 2564 1.3 จัดทำ โครงการ/เสนอ ขออนุมัติ โครงการ 1.4 ประชุม กำหนดเนื้อหาและ ครู กศน.ตำบล 1 คน กศน.อำเภอ 14 20 คน บางไทร มิถนุ ายน ชี้แจงผทู้ ่ี รปู แบบในการจดั 2564 กศน.ตำบลช้าง เกีย่ วข้องทเี่ พื่อ กิจกรรม ใหญ่ 19 มถิ ุนายน กำหนดกิจกรรม 2564 2.ข้ันดำเนินการ 1. เพื่อให้ประชาชน ประชาชนใน 2,880 บาท (Do) ผู้เข้าร่วมโครงการ พ้นื ท่ี การจัดการคัด มีความรู้ความเข้าใจ ต.ช้างใหญ่ แยกขยะภายใน ใน ก ร ะ บ ว น ก า ร ชมุ ชน ขั้นตอนการคัดแยก ขยะ 2. เพื่อให้ประชาชน ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำขยะมา สร้างคุณประโยชน์ แ ล ะ ส ร้ า ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ใน ก า ร ก ำ จั ด ข ย ะ เ พ่ื อ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในชมุ ชน

3.ขน้ั ตรวจสอบ 1 เพอื่ ประเมนิ ความ ประชาชนใน 20 คน กศน.ตำบลชา้ ง 21 - (Check) พึงพอใจ พ้ืนที่ ใหญ่ มิถนุ ายน ประเมินความพึง 2 สรปุ รายงานผล ต.ชา้ งใหญ่ 2564 พอใจและ การดำเนินงาน รายงานผล 4.ขัน้ ปรบั ปรุงแก้ไข นำผลการประเมนิ ครู กศน.ตำบล 1 คน กศน.อำเภอ 22 - (Action) และครูที่ บางไทร มิถุนายน มาปรับปรงุ พฒั นา ปรกึ ษา 2564 การประเมินเพ่ือ ปรบั ปรงุ พัฒนา เชิงปริมาณ - ประชาชนทว่ั ไปตำบลช้างใหญ่ จำนวน 20 คน มคี วามร้คู วามเข้าใจ ในกระบวนการขนั้ ตอน การคดั แยกขยะ เชิงคุณภาพ - เพื่อให้ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำขยะมาสร้างคุณประโยชน์ และสร้างความ ตระหนกั ในการกำจัดขยะเพือ่ อนุรักษส์ งิ่ แวดล้อมในชมุ ชน 5. วธิ ีการดำเนินการ ระยะเวลา และสถานที่ 6. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ แผนงาน : พืน้ ฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลติ ท่ี 4 ผู้รับบรกิ าร การศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ งบดำเนนิ งาน (พัฒนาสงั คมและชมุ ชน) รหสั งบประมาณ 2000236004000000 รหัสกจิ กรรมหลัก200021400P2730 แหลง่ ของเงนิ 64112000 ภายในวงเงิน 3,880 บาท (สามพนั แปดร้อยแปดสบิ บาทถว้ น) 7.1 ค่าอาหารกลางวัน (20 คน x 50 บาท x 1 มอ้ื ) = 1,000-. บาท 7.2 คา่ อาหารว่างและเครื่องดื่ม (20 คน x 25 บาท x 2 ม้อื ) = 1,000-. บาท 7.3 ค่าวสั ดุ = 880- บาท จำนวนเงนิ ท้ังส้ิน = 2,880 - บาท (สองพันแปดร้อยแปดสบิ แปดบาทถว้ น) ***หมายเหตุ ถัวจา่ ยทุกรายการเท่าทีจ่ ่ายจริง 7. ระยะเวลา วนั ท่ี 19 มิถุนายน พ.ศ. 2564 8. สถานที่ ณ กศน.ตำบลช้างใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยุธยา 9. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ 9.1 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางไทร 9.2 กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ 10. โครงการทเี่ กย่ี วขอ้ ง 10.1 โครงการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต ประจำปงี บประมาณ 2564 10.2 โครงการจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชมุ ชน ประจำปีงบประมาณ 2564 10.3 โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน ประจำปีงบประมาณ 2564

11. หนว่ ยงานเครอื ข่าย 11.1 เทศบาบาลตำบลราชคราม 11.2 ผนู้ ำชมุ ชน 11.3 ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่

บทที่ 2 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง หลักสูตรการจัดการคัดแยกขยะในชุมชน จำนวน 6 ชั่วโมง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางไทร กลมุ่ อาชีพบริหารจดั การและการจดั การ ความเป็นมา จากนโยบายและจุดเน้นในการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 2564 ขอ้ ท่ี 3 จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาต่อเน่ือง ข้อย่อยท่ี 3 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัด กระบวนการเรียนรูแบบบูรณการในรูปแบบของการฝกอบรมการประชมุ สัมมนา การจดั เวทีแลกเปลย่ี นเรียนรูการ จัดกิจกรรมจิตอาสา การสรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของ ชุมชนแตละพื้นท่ี เคารพความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมท้ังสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการ ใหบุคคลรวมกลุมเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวน การจิตสาธารณะการสรางจิตสํานึก ความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบ ต่อห น าที่ ค วามเป น พ ลเมื องท่ี ดีภ ายใต การป กค รองระบ อบ ป ระช าธิป ไตย อัน มีพ ระมห ากษั ตริย เป น ป ระมุ ข การสงเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมการเปนจติ อาสา การบําเพ็ญประโยชนในชมุ ชนการ บริหารจัดการขยะ การรับมือ กับสาธารณภัยการอนุรักษพลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การชวยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนา สงั คมและชมุ ชนอยางย่งั ยนื ปจั จุบันปริมาณขยะเฉลย่ี ต่อคนต่อวนั จากการดำรงชวี ติ เปน็ ภาระของชมุ ชนมากขึ้น ส่งผลใหม้ ีขยะตกค้าง ในแต่ละวันมีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชน ได้แก่ การเสียทัศนียภาพในบริเวณบ้าน ของตนเองและชุมชน ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์ เป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ ขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยากทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม ปริมาณ ขยะติดเช้ือที่ไม่มีถังคัดแยกขยะเพียงพอ นำไปสู่พาหนะนำโรคต่าง ๆ ทีกำลังระบาดในปัจจุบันอย่างโรคโคโรน่า ไวรัส (Covid-19) และปริมาณขยะที่พบในถังขยะสามารคัดแยกขยะได้จากต้นทาง การคัดแยกและใช้ประโยชน์ จากขยะมูลฝอยโดยเฉพาะเศษอาหาร ในแต่ละวัน ของแต่ละครัวเรือนสามารถนำมาสร้างประโยชน์ถือเป็นขยะ อินทรีย์ ในรูปแบบของปุ๋ยหมักชีวภาพ และการขจัดวัชพืชให้เกิดประโยชน์จากการทำปุ๋ยหมัก หรือการนำวัชพืช บางชนิดมาแปรรูปเพิ่มมูลค่า การคัดแยกขยะรีไซเคิล เช่น ขวดน้ำพลาสติก สายไฟ เหล็กจากการสร้างอาคาร ซึ่งในการจัดกิจกรรมคร้ังน้ี จึงต้องมีหน่วยงานท้องถ่ินต่างๆ เช่น ผู้นำชุมชน สำนักงานปกครองท้องถิ่นอำเภอ และองค์การบริหารส่วนตำบล ในการท่ีจะสร้างความเข้าใจและถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อให้การจัดการขยะด้วย กระบวนการหน่งึ ภายใต้การอนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อมภายในชมุ ชนมคี วามสะอาดและนา่ อยู่ หลกั การของหลกั สูตร มุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษา ที่มุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความสามารถในการจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยเนน้ กิจกรรมการใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน 1. เปน็ หลกั สูตรที่ให้ความรู้เรอื่ งการบรหิ ารจดั การขยะ 2. เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้ประชาชนสามารถและสร้างความตระหนักในการกำจัดขยะเพื่ออนุรักษ์ สงิ่ แวดล้อม

จุดมุ่งหมาย 1. เพ่ือใหป้ ระชาชนผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ มคี วามร้คู วามเข้าใจ ในกระบวนการขัน้ ตอนการคดั แยกขยะ 2. เพอื่ ใหป้ ระชาชนผ้เู ข้ารว่ มโครงการ สามารถนำขยะมาสร้างคณุ ประโยชน์ และสร้างความตระหนักใน การกำจดั ขยะเพื่ออนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ มในชุมชน ระยะเวลา ภาคทฤษฏี 4 ชั่วโมง ภาคปฏบิ ตั ิ 2 ช่วั โมง โครงสรา้ งหลักสูตร เรือ่ ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ชัว่ โมง ทฤษฎี ปฏิบัติ 1. ความรู้พ้นื ฐาน1. 1. เพือ่ ใหผ้ ู้เข้ารับการ • 1. ความรู้เบอ้ื งตน้ เกย่ี วกับ วิทยากรบรรยาย เก่ยี วกบั 1 เกย่ี วกับการคัด อบรมมีความรู้พนื้ ฐาน ชนิดและประเภทของขยะ• 1. ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกับ ช่วั โมง แยกขยะ เกีย่ วกบั วธิ ีการ/ข้นั ตอน• 2. ความร้เู บื้องตน้ เก่ียวกับ ชนิดและประเภทของขยะ คัดแยกขยะ การคดั แยกขยะ 2. ความร้เู บอ้ื งตน้ เกยี่ วกับ การคัดแยกขยะ 2. หลกั การ 2. 1. เพอื่ ให้ผ้เู ขา้ รบั การ 1. หลกั การทำงานการ วิทยากรบรรยาย/สาธิต/ฝกึ 2 ทำงานการบรหิ าร อบรมมีความรู้ความ บริการจัดการขยะในชุมชน ปฏิบัติ เกยี่ วกับ ชัว่ โมง จัดการขยะใน เขา้ ใจเกย่ี วกับหลักการ - วิธกี ารคดั แยกขยะ 1. หลกั การทำงานการบริการ ชมุ ชน การคัด ทำงานการบริการจดั การ รไี ซเคลิ จัดการขยะในชมุ ชน แยกขยะแตล่ ะ ขยะในชมุ ชน - การคัดแยกขยะตดิ เชอื้ - การคัดแยกขยะตดิ เช้ือ ประเภท - การนำเศษอาหารมาทำ - ขยะติดเช้ือประเภท ปยุ๋ ชวี ภาพ โรคตดิ ตอ่ - ขยะติดเช้อื ประเภท สารเคมี - ขยะตดิ เช้อื ประเภทสาร ปนเปือ้ นจากโรงงาน อุตสาหกรรม -การนำเศษอาหารมาทำป๋ยุ ชวี ภาพ • 4. การบรหิ าร 3. 1. เพ่อื ใหผ้ ้เู ขา้ รับการ 1.การแลกเปล่ียนเรียนรู้ใน วิทยากรบรรยายและให้ 12 จดั การขยะ เพ่ือ อบรมได้ศกึ ษาเร่ืองการ การสร้างความตระหนัก ผู้เข้าร่วมปฏบิ ตั ิ เก่ียวกบั ช่วั โมง ชั่วโมง การอนุรักษ์ จัดการคดั แยกขยะเพอ่ื ใน ก า ร ก ำ จั ด ข ย ะ เพ่ื อ - การกำจดั วชั พชื บริเวณข้าง ส่งิ แวดล้อมใน การอนรุ ักษส์ ่งิ แวดล้อม อนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อม ภายใน ถนนท่ีผา่ นทางชุมชนของ ชุมชน เปน็ ชุมชนปลอดขยะ ชมุ ชน ตนเอง 4. 2.การมีธนาคารขยะเพื่อ - การจดั ตงั้ ธนาคารขยะ การสร้างความมีส่วนร่วม ชมุ ชน เพ่ือแยกขยะท่ี ในชุมชน แลกเปล่ยี นเปน็ สิ่งของตอบ • แทน ในการรักษาความ สะอาดในชมุ ชนและ ส่งิ แวดลอ้ ม

สือ่ การเรียนรู้ 1. ฟังการบรรยายตามกิจกรรมการเรียนรู้ 2. ใบความรู้ 3. วทิ ยากร 4. ตวั อยา่ งชิ้นงาน 5. วสั ดุ อุปกรณ์ ทใี่ ช้ในการฝึกปฏบิ ตั ิ การวัดและประเมินผล 1. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรยี นตอ่ การเรียนรู้ 2. ทกั ษะการปฏิบตั ิกจิ กรรม เง่อื นไขการจบหลักสูตร - ผูเ้ ข้ารบั การอบรมตอ้ งมเี วลาในการเข้าร่วมอบรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาอบรมท้งั หมด

บทที่ 3 วิธีการดำเนนิ งาน ขั้นตอนการดำเนินงานในการจัดโครงการจัดการขยะภายในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 9 คน จัดได้ 20 คน ในวันท่ี 19 มิถุนายน พ.ศ.2564 ณ กศน.ตำบลช้างใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีดังน้ี 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 สำรวจความต้องการ วิเคราะหค์ วามต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย 1.2 ประชุมชี้แจงผ้เู กีย่ วขอ้ งและแตง่ ต้ังคณะ ดำเนินงาน 1.3 จัดทำหลกั สูตร/ อนมุ ัติหลักสูตร 1.4 ประสานเครือขา่ ย 2. ข้ันดำเนินการ (Do) ดำเนินการจัดกจิ กรรม 2.1 จัดฝกึ อบรม จัดโครงการจัดการขยะภายในชมุ ชน จำนวน 6 ชว่ั โมง 3. ข้ันตรวจสอบ (Check) 3.1 ประเมินความพึงพอใจ (แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์) 3.2 การนิเทศตดิ ตามผล 4. ขนั้ ปรบั ปรุงแกไ้ ข (Action) 4.1 นำผลการนิเทศมาปรบั ปรงุ พัฒนา

บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน จากการสำรวจความพึงพอใจ การจัดกิจกรรมทักษะชีวิตโครงการรจัดการคัดแยกขยะภายในชุมชน โดย ใช้แบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 27 ฉบับ และได้รับกลับคืนมา จำนวน 27 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรม Excel ตามขั้นตอนตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปนี้ 1. วเิ คราะห์ขอ้ มูลจากแบบสอบถามตอนที่ 1 โดยแจกแจงความถ่แี ละค่ารอ้ ยละ 2. วิเคราะหข์ ้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 โดยหาค่าเฉล่ีย ( X ) แปลความหมายขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ ให้ระดับคะแนนในแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของ เบสท์ (Best. 1981 :182) ดังน้ี 4.51–5.00 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับดมี าก 3.51–4.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยู่ในระดบั ดี 2.51–3.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับปานกลาง 1.51–2.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยู่ในระดับพอใช้ 1.00–1.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 3 ข้อมูลท่ีเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (RatingScale) โดย หาค่าเฉลี่ย ( X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็น ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา(Content Analysis)จัดกลุ่มคำตอบและหาคา่ ความถ่ี สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ กิจกรรมการจัดกิจกรรมทักษะโครงการรจัดการคัดแยกขยะภายใน ชุมชน ท่ีเขา้ รว่ มโครงการดงั นี้

ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนตัวของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ข้อมูลทั่วไป จำนวน รอ้ ยละ เพศ ชาย 1 5.00 หญงิ 19 95.00 อายุ ตำ่ กว่า 15 ปี 0 0.00 การศึกษา 15-29 ปี 0 0.00 อาชีพ 30-39 ปี 4 20.00 40-49 ปี 5 25.00 50-59 ปี 8 40.00 60 ปีข้นึ ไป 3 15.00 ตำ่ กวา่ ป.4 - 0.00 ป.4 - 0.00 ประถมศึกษา 4 20.00 มัธยมศึกษาตอนตน้ 5 25.00 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. 9 45.00 ปวส 1 5.00 ปรญิ ญาตรี 1 5.00 อื่น ๆ - 0.00 รบั จ้าง 8 40.00 คา้ ขาย 6 30.00 เกษตรกรรม - 0.00 รบั ราชการ - 0.00 อ่นื ๆแม่บ้าน/พ่อบา้ น 6 30.00 จากตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด 20 คน เปน็ เพศชาย 1 คน(คิดเป็นรอ้ ยละ 5.00) เพศหญิง 19 คน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.00) ด้านอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากอยู่ช่วงอายุ 50 - 59 ปี จำนวน 8 คน (คิดเป็นร้อยละ 40.00) ช่วงอายุ 40-49 ปี จำนวน 5 คน (คิดเป็นร้อยละ 25.00) ช่วงอายุ 30-39 ปี จำนวน 4 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 20.00) และชว่ งอายุ 60 ปขี ้นึ ไป จำนวน 3 คน (คิดเป็นรอ้ ยละ 15.00) ตามลำดับ ด้านการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมาก มีการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาจอนปลาย จำนวน 9 คน (คิดเป็นร้อยละ 45.00) ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 5 คน (คิดเป็นร้อยละ 25.00) ประถมศึกษา จำนวน 4 คน (คิดเป็นร้อยละ 20.00) ระดับปริญญาตรี จำนวน 1 คน (คิดเป็นร้อยละ5.00 ) และระดบั ปวส จำนวน 1 คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.00) ตามลำดบั ด้านอาชีพ พบว่า ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากอาชีพรับจ้าง จำนวน 8 คน (คิดเป็นร้อยละ 40.00) รองลงมาอาชีพค้าขาย 6 คน (คิดเป็น ร้อยละ 30.00) ประกอบอาชีพอื่นๆแม่บ้าน จำนวน 6 คน (คิดเป็นร้อย ละ 30.00 ) ตามลำดบั สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจโครงการรจดั การคัดแยกขยะภายในชมุ ชนทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ ไดด้ งั นี้

แบบประเมินความพงึ พอใจ มี 4 ด้าน ความพงึ พอใจที่มีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน รายการประเมนิ ผลการประเมิน ความหมาย X 1. ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 4.21 ดี 2. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 4.24 ดี 3. ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร 4.28 ดี 4. ความพงึ พอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก 4.36 ดี รวม 4.27 ดี จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ใน ระดับ ดี ทุกรายการ เม่อื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า อนั ดับหนง่ึ คอื ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก รองลงมาความพึงพอใจต่อวิทยากร ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม และด้านความพึงพอใจ ดา้ นเนอ้ื หาตามลำดับ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเนื้อหา รายการประเมิน ผลการประเมนิ 1. เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ X ความหมาย 4.33 ดี 2. เนอื้ หาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.14 ดี 3. เน้อื หาปจั จบุ ันทันสมยั 4.18 ดี 4. เน้อื หามีประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 4.22 ดี รวม 4.21 ดี จากตอนท่ี 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการความพึงพอใจดา้ นเนื้อหาโดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับ ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือ เน้ือหาตรงตามความต้องการ เนื้อหามี ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย และเนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ ตามลำดบั ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม รายการประเมนิ ผลการประเมนิ 1. การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม X ความหมาย 4.29 ดี 2. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 4.22 ดี 3. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4.25 ดี 4. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย 4.22 ดี 5. วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 4.25 ดี รวม 4.24 ดี จากตอนที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมโดยรวมและ รายด้านอยู่ในระดับ ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือการเตรียมความพร้อมก่อนอบรม อนั ดับสอง เท่ากันคือการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา วัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อันดับสาม คือการออกแบบ กิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย ตามลำดบั

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร รายการประเมนิ ผลการประเมิน X ความหมาย 1. วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถ่ายทอด 4.29 ดี 2. วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใช้สือ่ เหมาะสม 4.18 ดี 3. วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม 4.37 ดี รวม 4.28 ดี จากตอนท่ี 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ อันดับหนึ่งวทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม อันดับสองวิทยากรมีความรู้ ความสามารถในเร่ืองท่ีถา่ ยทอด และสาม คือวทิ ยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ือ่ เหมาะสม ตามลำดับ ตอนที่ 4 ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก รายการประเมนิ ผลการประเมนิ X ความหมาย 1. สถานที่ วัสดุ อุปกรณแ์ ละส่งิ อำนวยความสะดวก 4.40 ดี 2. การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ 4.37 ดี 3. การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา 4.33 ดี รวม 4.36 ดี จากตอนท่ี 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวกโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก อันดับสอง คือสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และอันดับสาม การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ตามลำดบั

บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลการดำเนินโครงการรจัดการคัดแยกขยะภายในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการท่ีมีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน โดยใช้ แบบสอบถามจำนวน 20 ฉบับ เคร่ืองมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉล่ีย (X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคำตอบ และหาค่าความถี่ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รียน/ผู้รบั บริการ จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจสรุปผลได้ ดงั นี้ 1.ความพึงพอใจที่มีต่อโครงการความพึงพอใจด้านเน้ือหาโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ เน้ือหาตรงตามความต้องการ เน้ือหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เน้อื หาปัจจบุ นั ทันสมยั และเนื้อหาเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการตามลำดับ 2.ความพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ดี เม่ือพิจารณา เป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือการเตรียมความพร้อมก่อนอบรม อันดับสองเท่ากันคือการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับ เวลา วัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ อันดับสาม คือการออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ การจัด กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุม่ เปา้ หมาย ตามลำดบั 3.ความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับ หนึ่งวิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม อันดับสองวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองที่ถ่ายทอด และสาม คือวิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ่อื เหมาะสม ตามลำดับ 4.ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวกโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวกอันดับสอง คือสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการ เรียนรู้ และอนั ดับสาม การบริการ การชว่ ยเหลือและการแกป้ ญั หา ตามลำดบั ผลการดำเนนิ งาน ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการการจัดการคัดแยกขยะภายในชมุ ชนชุมชน ตลอดจน นำความรู้ท่ไี ด้มาประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ปญั หาและอุปสรรคในการปฏบิ ตั งิ าน - ขอ้ เสนอแนะ -

ภาคผนวก

ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดา้ นเนอ้ื หา ระดบั ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน น้อย น้อย เนื้อหาตรงตามความต้องการ ทส่ี ดุ กลาง ที่สุด เนือ้ หาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ เนื้อหาปจั จบุ นั ทันสมยั 5 15 เน้อื หามีประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ 3 17 4 16 3 17 ความพงึ พอใจดา้ นเนอื้ หา 18 16 14 12 10 8 6 4 2 0 มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ ระดับความพงึ พอใจ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ทสี่ ดุ กลาง ทสี่ ุด การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 10 10 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 9 11 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 10 10 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย 9 11 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 9 11 ความพงึ พอใจดา้ นการจดั กิจกรรมอบรม 12 10 8 6 4 2 0 มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ

ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร ระดบั ความพึงพอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเร่อื งที่ถ่ายทอด ท่สี ุด กลาง ทสี่ ดุ วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ อ่ื เหมาะสม วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ่วนรว่ มและซกั ถาม 10 10 11 9 12 8 ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร 14 12 10 8 6 4 2 0 มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก มากท่ีสุด ระดบั ความพงึ พอใจ น้อยทส่ี ดุ สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสง่ิ อำนวยความสะดวก มาก ปานกลาง น้อย 12 การสอ่ื สาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกดิ การเรียนรู้ 12 8 11 8 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา 9 ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 14 12 10 8 6 4 2 0 มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook